ใบงานเร่อื ง การสรปุ ความโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ ได้ ___ คะแนน วันท่ี ___ เดือน ________ พ.ศ. ____ คะแนนเต็ม ๑๐ ชือ่ _________________ ชน้ั ________ เลขท่ี _____ คะแนน ใหน้ ักเรียนสรุปใจความสาคัญของโคลงสุภาษิตแต่ละบท ๑. สามสงิ่ ควรรกั ______________________________________________________________________________ ๒. สามสง่ิ ควรชม ______________________________________________________________________________ ๓. สามสิ่งควรเกลยี ด ______________________________________________________________________________ ๔. สามสิง่ ควรรังเกยี จตเิ ตียน ______________________________________________________________________________ ๕. สามสงิ่ ควรเคารพ ______________________________________________________________________________ ๖. สามสิ่งควรยนิ ดี ______________________________________________________________________________ ๗. สามสง่ิ ควรปรารถนา ______________________________________________________________________________ ๘. สามสิ่งควรอ้อนวอนขอ ______________________________________________________________________________ ๙. สามส่ิงควรนบั ถอื ______________________________________________________________________________ ๑๐. สามสง่ิ ควรจะชอบ ______________________________________________________________________________ ๑๑. สามส่งิ ควรสงสยั ______________________________________________________________________________ ๑๒. สามสิ่งควรละ ______________________________________________________________________________ ๑๓. สามสง่ิ ควรจะกระทาให้มี ______________________________________________________________________________ ๑๔. สามสง่ิ ควรจะหวงแหนหรือต่อสเู้ พ่ือรักษา ______________________________________________________________________________ ๑๕. สามสง่ิ ควรครองไว้ _____________________________________________________________________________ ๑๖. สามสงิ่ ควรจะเตรยี มเผอ่ื _____________________________________________________________________________
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑๒ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เรอ่ื ง โคลงสุภาษติ โสฬสไตรยางค์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๒ เร่อื ง ความคิดหลากหลาย ขยายโลกทศั น์ เวลาเรยี น ๓ ชว่ั โมง รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิรมิ งคล กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนมัธยมวดั สงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน การดาเนนิ ชวี ิต และมีนสิ ยั รักการอ่าน มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่า และนามาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จริง ตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๔ อภิปรายแสดงความคดิ เห็นและข้อโตแ้ ย้งเกย่ี วกับเร่ืองท่ีอ่าน ท ๕.๑ ม. ๒/๒ วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณว์ รรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ที่อ่าน พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูส้ ตู่ วั ช้ีวดั ๑. อธิบายการอภปิ รายเกย่ี วกับเรอ่ื งทีอ่ ่าน (K) ๒. อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นและโต้แย้งเกย่ี วกบั โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์ (P) ๓. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เห็นโคลงสุภาษติ โสฬสไตรยางค์ (P) ๔. เห็นความสาคัญของการอภิปรายแสดงความคิดเห็น การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรอื โตแ้ ย้งวรรณคดี วรรณกรรมอยา่ งมีเหตผุ ล (A) สาระสาคัญ (คาช้แี จง) การอภิปรายและการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ เป็นการแสดงความคิดเห็นซ่ึงประกอบด้วยเหตุผลท่ี ถกู ต้อง มีคณุ ธรรม ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อผรู้ ับสารและสังคม ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แย้ง การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นา ๑. ใหน้ ักเรียนรว่ มกันสนทนา โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดังนี้ นกั เรียนเคยเห็นการอภปิ รายจากท่ีใดบา้ ง และส่วนใหญ่อภิปรายเกยี่ วกบั เร่อื งใด ๒. ให้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๘ กลุ่ม รว่ มกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นและวเิ คราะห์ วิจารณ์ขอ้ ความ จากแถบข้อความที่ครแู จกให้ ดงั น้ี มารยาทเรยี บเสยี่ มสาน เสง่ยี มเง่อื น งามนอ อีกหนึง่ ห่อนรคู้ ุณ ใครปลูก ฝังแฮ
ทุจริตมารยาปน ปกไว้ ประพฤตเิ พ่ือประโยชนศ์ รี สวสั ดิท์ ่วั กันแฮ จติ สะอาดปราศสิง่ พะวง วนุ่ ขุ่น หมองแฮ สุจริตจติ โอบอ้อม อารี พกั ตรจ์ ติ ผดิ กันประมาณ ยากรู้ คนรักรว่ มอัธยา- ศัยสขุ ทุกขแ์ ฮ จากนนั้ ให้สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการอภิปรายหนา้ ช้ันเรียนครูอธิบายเพิ่มเติม และชมเชยผล การทางาน ข้นั สอน ๓. ให้นักเรียนร่วมกนั อภิปรายถึงสามสงิ่ ท่ีควรกระทาใหม้ ี คือ หนงั สือดี เพอื่ นดี ใจเย็นดี วา่ สามส่งิ นจี้ ะทาให้มไี ด้อย่างไร และเมื่อมีแล้วจะเกิดผลดีได้อยา่ งไรโดยครเู ป็นผูด้ าเนินการอภปิ ราย ๔. เม่ืออภิปรายเสรจ็ ส้ินให้นักเรียนบนั ทึกความคิดลงในใบงานท่ี ๓๘ เรอ่ื ง การอภิปรายเกีย่ วกบั เรื่อง ท่อี ่าน ขน้ั สรุป ๕. ใหน้ กั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี การอภปิ รายและการเขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ เป็นการแสดงความคดิ เห็นซงึ่ ประกอบด้วย เหตุผลทีถ่ ูกต้อง มคี ุณธรรม ก่อให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ผู้รบั สารและสังคม ไม่กอ่ ใหเ้ กิดความขดั แยง้ ส่อื การเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เร่อื ง การอภิปรายเกยี่ วกับเรอื่ งท่อี า่ น ๒. พจนานุกรม การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านสมรรถนะ คุณลกั ษณะ คดิ วิเคราะห์ อา่ น/คดิ /เขียน ๑. ใบงาน เรอื่ ง การ วัดทักษะด้านการสื่อสารการ ใฝเ่ รยี นรู้ และรักความ อภิปรายเกี่ยวกบั เรื่องท่ีอา่ น การอภปิ รายเกยี่ วกบั เรื่องที่อา่ น เปน็ ไทย วัดจาก วดั จากการเขียนและการอา่ น ๒. แบบทดสอบ แบบสอบถามทัศนคติ โดยใชช้ นิ้ งานเร่ือง การ ท่มี ีต่อเนื้อหาสาระ อภิปรายเก่ียวกบั เร่ืองท่ีอา่ น
การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมินใบงานนี้ให้ผูส้ อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เร่อื ง การอภปิ รายเกย่ี วกับเรื่องท่ีอา่ น ระดับคะแนน ๔๓๒๑ เกณฑ์การประเมิน (๑๐ คะแนน) (๙ คะแนน) (๗-๘ คะแนน) (๕-๖ คะแนน) การอภปิ รายเกยี่ วกับ เร่อื งท่ีอา่ น แสดงความคดิ แสดงความคดิ แสดงความคิด แสดงความคดิ อย่าง หลายประเด็น หลายประเด็น หลายประเด็น กวา้ ง ๆ ไม่ระบุ ทกุ ประเด็น ทุกประเดน็ ซ่งึ บางประเดน็ ประเดน็ ชดั เจน แต่ก็มี ลว้ นน่าสนใจ ล้วนนา่ สนใจ น่าสนใจ และแสดง เหตุผลประกอบ มีเหตผุ ลประกอบ มีเหตุผลประกอบท่ีดี เหตุผลทด่ี ี ท่ีสมั พนั ธ์กัน นา่ เช่ือถือ เสนอแนวทางทีน่ าไปใช้ เสนอแนวทางท่ีเป็น เสนอแนวทางส้นั ๆ เสนอแนวทางที่ ในชวี ติ ไดจ้ รงิ ใช้ภาษา ประโยชน์แมจ้ ะใช้ แตก่ เ็ ปน็ ประโยชน์ นาไปใช้ในชีวิตได้จรงิ เข้าใจงา่ ย ภาษาวกวนไปบา้ งแต่ ตอ้ งปรบั ปรุง ใชภ้ าษาเข้าใจงา่ ย ก็ยังเขา้ ใจไดด้ ี เรอื่ งการใชภ้ าษา กระชับ ชดั เจน
ใบงาน เรอื่ ง การอภิปรายเกี่ยวกบั เรอ่ื งทอี่ า่ น ได้ คะแนน วันท่ี เดอื น พ.ศ. คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ชอื่ ชัน้ เลขที่ โคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางคก์ ล่าวถึงสามสิง่ ท่คี วรกระทาให้มี คอื หนงั สือดี เพื่อนดี ใจเยน็ ดี ให้นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายว่า สามส่งิ น้จี ะทาใหม้ ีขึ้นไดอ้ ย่างไร และเมือ่ มแี ลว้ จะเกิดผลดีอยา่ งไร หลังจาก การอภปิ รายให้นกั เรยี นบนั ทึกความคิดทไ่ี ด้
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑๓ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เรอื่ ง โคลงสุภาษติ โสฬสไตรยางค์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓ เร่ือง ภาษาสานสัมพนั ธ์ เวลาเรยี น ๓ ช่วั โมง รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวช้วี ดั ท ๔.๑ ม. ๒/๕ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย จดุ ประสงค์การเรียนรูส้ ตู่ วั ชี้วดั ๑. อธบิ ายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (K) ๒. รวบรวมคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย (P) ๓. เห็นคณุ คา่ ของคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทย (A) สาระสาคัญ (คาช้ีแจง) ปจั จุบันการตดิ ต่อสื่อสารกับต่างชาติมากข้นึ มีการยืมคามาจากภาษาต่างประเทศเป็นจานวนมาก จึงจาเป็นตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจความหมายของคาที่มาจากภาษาต่างประเทศเพื่อให้การส่ือสารประสบ ความสาเรจ็ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นา ๑. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครใู หค้ าถามท้าทาย ดงั นี้ นกั เรียนคิดวา่ ถ้าไม่มีคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยจะเปน็ อย่างไร ขนั้ สอน ๒. ให้นักเรียนทบทวนความรู้เร่ืองคาทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ โดยให้ตอบคาถามต่อไปนี้ ภาษาต่างประเทศท่ียืมใช้ในภาษาไทยได้แก่ภาษาใดบ้าง (บาลี-สันสกฤต จีน เขมร อังกฤษ เกาหลี ญี่ปุน่ ) สาเหตกุ ารยืมภาษาอน่ื มาใช้มีอะไรบ้าง (ความสัมพันธ์ทางศาสนาและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ทางถิ่นฐาน ความสัมพันธ์ทางการค้า ความสัมพันธ์ทางการศึกษาและกีฬา ทางการ เผยแพร่ศิลปะวรรณคดี) ไทยรับภาษาบาลี-สันสกฤต มาจากทางใด (ทางศาสนาพุทธและพราหมณ์) ไทยรับภาษาเขมร มาจากทางใด (ทางราชาศพั ท์เปน็ ส่วนใหญ)่
ไทยรบั ภาษาจีนมาจากทางใด (ทางการค้าขาย) ไทยรับภาษาอังกฤษมาจากทางใด (ทางการศึกษาและกีฬา) ครอู ธิบายเพม่ิ เติม ๓.ให้นักเรยี นจบั คกู่ ับเพ่ือน จากนน้ั ครูแจกหนงั สอื พมิ พใ์ ห้ ๓-๔ คตู่ ่อหนงั สอื พิมพ์ ๑ ฉบบั โดยใหเ้ ลอื ก บทความ ๑ บทความ แล้วพิจารณาว่ามีคาใดเป็นคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ให้ลอกคาน้ันลงในกระดาษ รายงาน และอธิบายความหมายของคาน้ัน เม่ือทาเสร็จแล้วส่งตัวแทนนาเสนอหน้าช้ันเรียน และติดผลงานท่ี ปา้ ยนิเทศ ๔. ให้นักเรียนทาแผนผังความคดิ เกยี่ วกบั ภาษาต่างประเทศ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และ ภาษาอังกฤษ ตามหัวขอ้ ที่ครกู าหนดให้ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ ง ข้นั สรุป ๕. ให้นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้ การอภิปรายและการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ เปน็ การแสดงความคิดเห็นซง่ึ ประกอบดว้ ย เหตุผลทีถ่ ูกต้อง มีคุณธรรม ก่อให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ผ้รู บั สารและสงั คม ไม่ก่อให้เกดิ ความขดั แย้ง สื่อการเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เรื่อง คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ๒. หนังสือพมิ พ์ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นสมรรถนะ คุณลกั ษณะ คดิ วิเคราะห์ อา่ น/คิด/เขียน ๑. ใบงาน เรือ่ ง คาท่ีมาจาก วดั ทกั ษะด้านการส่ือสารด้านคา ใฝ่เรยี นรู้ และรกั ความ ภาษาตา่ งประเทศ ที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ เปน็ ไทย วัดจาก วดั จากการคดิ วเิ คราะห์ ๒. แบบทดสอบ แบบสอบถามทัศนคติ การอ่านและการเขียน ทมี่ ีตอ่ เน้ือหาสาระ โดยใชช้ น้ิ งานเรื่อง คาท่ีมา จากภาษาต่างประเทศ
การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมินใบงานน้ีใหผ้ สู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เร่ือง การรวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ระดบั คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ (๑๐ คะแนน) (๙ คะแนน) (๗-๘ คะแนน) (๕-๖ คะแนน) เกณฑก์ ารประเมิน การรวบรวมและ รวบรวมคาไดถ้ ูกต้อง รวบรวมคาได้ถูกตอ้ ง รวบรวมคาไดถ้ ูกตอ้ ง รวบรวมคาได้ถูกต้องตามท อธบิ ายความหมาย ตามทีก่ าหนดทกุ คา ตามท่ีกาหนดทุกคา ตามที่กาหนดทุกคา กาหนดทกุ คา ของคา อธบิ ายความหมายของ อธิบายความหมายของ อธิบายความหมายของคา อธิบายความหมายของคา ภาษาตา่ งประเทศ คาได้ถูกต้องทั้งหมด คาได้ถกู ต้องทั้งหมด บางคาไมถ่ ูกตอ้ ง บางคาไมถ่ ูกต้อง ท่ใี ชใ้ นภาษาไทย เขียนสะกดคาได้ เขียนสะกดคาบางคา เขียนสะกดคาบางคา เขียนสะกดคาไมถ่ ูกต้อง ถูกต้อง ไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่ถูกต้อง หลายคา
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๔ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เรอื่ ง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๔ เรือ่ ง คณุ คา่ ข้อคิด สถติ ในใจ เวลาเรียน ๓ ชว่ั โมง รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิริมงคล กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรียนมธั ยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ตัวช้ีวดั ท ๕.๑ ม. ๒/๓ อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน ท ๕.๑ ม. ๒/๔ สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากการอ่านไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ท ๕.๑ ม. ๒/๕ ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความ สนใจ จุดประสงคก์ ารเรยี นร้สู ู่ตวั ช้ีวัด ๑. ทอ่ งจาบทอาขยานจากโคลงสุภาษติ นฤทุมนาการ (K) ๒. อธิบายคุณคา่ ของโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ (K) ๓. สงั เคราะห์ความรูแ้ ละข้อคดิ จากการอา่ นโคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ (P) ๔. เหน็ คุณค่าของโคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการทสี่ ามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง (A) สาระสาคญั (คาชแี้ จง) การสรุปความรแู้ ละการนาขอ้ คดิ ที่ได้จากการอ่านไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ จะทาให้การอา่ นวรรณคดี เรอื่ งน้นั ๆ เกดิ ประโยชนใ์ นการดาเนินชีวติ และรูจ้ ักแกป้ ญั หาที่เกิดขึน้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ๑. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั สนทนา โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั นี้ นักเรียนเคยปฏบิ ตั ขิ ้อใดแล้วในกจิ ๑๐ ประการจากโคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ ขน้ั สอน ๒. ครูอ่านนิทานเรือ่ ง “เต่ากับงู” ใหน้ ักเรียนฟงั จากนัน้ ใหน้ ักเรียนช่วยกันบอกขอ้ คดิ ท่ีได้ จากเรอื่ ง ครูอธิบายเพิ่มเติม
นิทาน เร่ือง “เตา่ กบั ง”ู นทิ านเกา่ เต่ากับงปู ู่เคยเลา่ รมิ ป่าใหญ่ชายเขาอันกวา้ งใหญ่ เต่าตัวใหญเ่ พลดิ เพลนิ ออกเดินทางพบงกู รา่ งเล้ือยเงยี บจึงเหยยี บเอา เจา้ เตา่ จงึ ตกใจรบี ขอโทษ แต่งูโหดโกรธจดั รัดฉกเข้า เตา่ จงึ หลบในกระดองป้องภยั เบา งฟู ัดเตา่ ไม่เกดิ ผลแสนจนใจ อีกาเห็นจึงบอกถึงสาเหตุ เต่ามคี รูพิเศษบอกสอนให้ งจู ึงขอใหก้ ารีบพาไป กาจึงจบั งกู ินได้สมใจตน นทิ านกลอนสะท้อนจติ ให้คิดได้ ทาสงิ่ ใดให้พนิ จิ คิดเหตุผล ทาความดีมีสุขไมท่ ุกขท์ น ทาความชวั่ ไม่พน้ เศรา้ โศกา อีกสอนใหไ้ มห่ เู บาเช่ือเขางา่ ย อันตรายภัยผองจะมาหา ฟังไม่คิดติดกบั คนชัว่ นานา มีแตพ่ าชวี ิตหมองต้องภยั พาล โกรธโมโหคือโง่บ้าพาเศรา้ หมอง สติเป็นยนั ต์ป้องภยั รอบดา้ น จงละเถดิ ซ่ึงความช่ัวกเิ ลสมาร ใชช้ ีวติ คิดอา่ นแต่กรรมดี ธนดิ า เจนกสกิ ิจ ๓. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๓-๔ คน ช่วยกันอธิบายคุณค่าโคลงสภุ าษติ นฤทุมนาการ ท้ังคุณค่า ด้านเน้อื หา และด้านวรรณศิลป์ ครูเลอื ก ๒-๓ กลุม่ นาเสนอหน้าชนั้ เรยี น จากน้ันบันทกึ ความรูล้ งในใบงาน ท่ี ๓๙ เรอื่ ง พนิ จิ คุณค่าโคลงสภุ าษติ นฤทุมนาการ ครูอธิบายเพ่มิ เติม ๔. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ทบทวนความทรงจาเก่ียวกบั เหตุการณท์ ี่ทาให้นกั เรยี นเกิดความเสียใจ นาเรื่องราวจากเหตุการณน์ ัน้ มาวิเคราะห์เป็นแผนภาพความคิดแล้วเสนอแนวทางแก้ไขโดยใชค้ าสอนจาก โคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ เพือ่ เป็นอุทธาหรณ์ไม่ให้เกดิ เหตุการณ์เช่นนน้ั ขนึ้ อกี โดยทาลงในใบงานที่ ๔๐ เรื่อง ใชข้ ้อคิดจากโคลงสภุ าษิตนฤทมุ นาการในชวี ิตจริง ๕. ให้นกั เรยี นสง่ ตัวแทนนาเสนอหน้าชนั้ เรยี น ครูอธบิ ายเพ่มิ เติมและติดผลงานบนป้ายนิเทศ ๖. ให้นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ ความรู้ ดังนี้ การสรุปความร้แู ละการนาขอ้ คดิ ท่ีได้จากการอ่านไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริงจะทาใหก้ ารอา่ น วรรณคดีเรอื่ งนั้น ๆ เกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวติ และรู้จักแกป้ ญั หาท่เี กิดขนึ้ ขน้ั สรปุ ๗. ให้นักเรียนทอ่ งจาบทอาขยานจากโคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ เพ่ือทดสอบเป็นรายบคุ คล สอ่ื การเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เรือ่ ง พนิ ิจคุณค่าโคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ ๒. ใบงาน เรอื่ ง ใช้ข้อคดิ จากโคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการในชีวิตจริง ๓. การท่องจาบทอาขยานจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
๔. นทิ าน เรอื่ ง เตา่ กับงู การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านสมรรถนะ คณุ ลักษณะ คิดวเิ คราะห์ อ่าน/คดิ /เขยี น ๑. ใบงาน เรื่อง ใช้ขอ้ คิด วดั ทักษะด้านการสื่อสารดา้ นใช้ ใฝเ่ รยี นรู้ และรักความ จากโคลงสุภาษิตนฤทุมนา ขอ้ คิดจากโคลงสภุ าษติ นฤทมุ เป็นไทย วัดจาก วดั จากการคดิ วเิ คราะห์ การในชวี ิตจรงิ นาการในชีวิตจรงิ แบบสอบถามทัศนคติ การอา่ นและการเขยี น ๒. แบบทดสอบพนิ ิจคณุ ค่า ทมี่ ตี ่อเน้ือหาสาระ โดยใช้ช้นิ งานเร่ือง ใช้ขอ้ คดิ โคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ จากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ๓. การท่องจาบทอาขยาน ในชีวิตจรงิ จากโคลงสุภาษิตนฤทุมนา แบบทดสอบพินจิ คณุ คา่ โคลง การ สภุ าษติ นฤทมุ นาการ และ การท่องจาบทอาขยาน จากโคลงสภุ าษิตนฤทุมนาการ
การประเมินใบงานน้ีใหผ้ ู้สอนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เร่ือง การวเิ คราะห์สาเหตแุ ละเสนอแนวทางแก้ไขโดยใชค้ าสอนจากโคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ ระดับคะแนน ๔๓๒๑ เกณฑ์การประเมนิ วเิ คราะหส์ าเหตุและ วิเคราะห์สาเหตแุ ละ วิเคราะหส์ าเหตุและ วเิ คราะหส์ าเหตขุ อง การวิเคราะห์สาเหตุ ผลของเหตุการณ์ ผลของเหตกุ ารณ์ และเสนอ ไดช้ ัดเจน ไดช้ ัดเจน ผลของเหตกุ ารณ์ เหตกุ ารณ์ไมช่ ดั เจน แนวทางแก้ไข เสนอแนวทาง เสนอแนวทางแกไ้ ข แกไ้ ขท่สี รา้ งสรรค์ ที่สรา้ งสรรค์ ไดส้ ัมพันธ์กนั เหน็ แต่ผลท่ีเกดิ ข้ึน และสามารถปฏบิ ัติ และบางแนวทาง ได้จริงทุกแนวทาง สามารถปฏบิ ัติ เสนอแนวทางแกไ้ ขท่ี เทา่ นนั้ จงึ ทาให้ ได้จรงิ ดี และสามารถปฏิบัติ แนวทางแก้ไข ได้ ที่เสนอ ไมต่ รงประเด็นนัก การประเมินใบงานนี้ใหผ้ สู้ อนพจิ ารณนาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Runrics) เรือ่ ง การอธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดี ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑก์ ารประเมิน อธบิ ายคุณค่า อธบิ ายคณุ ค่า อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดี ของวรรณคดี ของวรรณคดี การอธิบายคุณค่า อธบิ ายคุณค่า ได้ถูกต้อง ได้ถูกตอ้ งทุกด้าน ได้ถูกต้องทกุ ด้าน ครอบคลุม แต่อธิบายได้ แต่อธิบายอย่างสน้ั ๆ ของวรรณคดี ของวรรณคดี เกอื บทุกดา้ น ครอบคลุมบางด้าน มีการยกตัวอย่าง ได้ถูกตอ้ ง ประกอบ ครอบคลุมทุกด้าน อธิบายชัดเจน เข้าใจงา่ ย ยกตัวอยา่ งประกอบ
การประเมินกจิ กรรมนีใ้ ห้ผ้สู อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เรอื่ ง การท่องจาบทอาขยาน ระดบั คะแนน ๔๓๒๑ เกณฑก์ ารประเมนิ การทอ่ งจา ทอ่ งจาบทอาขยาน ท่องจาบทอาขยาน ท่องจาบทอาขยาน ท่องจาบทอาขยาน บทอาขยาน ได้ถูกตอ้ งทกุ คา ได้ถูกตอ้ งทกุ คา ได้ถูกต้องทกุ คา ได้ถูกต้องทกุ คา ไมม่ ีติดขัด ตกหลน่ ไมม่ ตี ดิ ขัด ตกหลน่ ไม่มีตดิ ขดั ตกหล่น แตม่ ตี ิดขัดบ้าง ออกเสียงคา ออกเสยี งคา ออกเสียงคา ออกเสียงคาบางคา ถูกต้อง ชดั เจน ถกู ต้อง ชัดเจน ถกู ต้อง ชัดเจน ยังไม่ชดั เจน ทกุ คา เว้นจงั หวะ ทกุ คา เว้นจังหวะ ทุกคา เว้นจังหวะ เว้นจงั หวะ วรรคตอนถูกต้อง วรรคตอนถูกตอ้ ง วรรคตอนถูกตอ้ ง วรรคตอนถูกตอ้ ง ทกุ วรรค ใชร้ ะดบั - ทุกวรรค ใช้ระดบั - เป็นสว่ นใหญ่ เป็นบางวรรค เสยี งแสดงอารมณ์ เสียงแสดงอารมณ์ ใชร้ ะดับเสยี ง ระดับเสียง ตามบทประพันธ์ ตามบทประพันธ์ แสดงอารมณต์ าม ราบเรียบ ได้ดมี าก ได้ดี บทประพนั ธ์ ไม่แสดงอารมณ์ ได้พอใช้
ใบงานที่ ๑ เรื่อง พินิจคุณคา่ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. ได้ คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ชอื่ ชั้น เลขที่ ใหน้ กั เรียนอธิบายคุณคา่ ของโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ท้งั คุณค่าดา้ นเน้ือหาและคุณค่า ดา้ นวรรณศิลป์ คณุ คา่ ด้านเนอื้ หา _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศิลป์ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________________
ใบงานท่ี ๒ เรื่อง ใชข้ อ้ คิดจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการในชีวติ จริง วนั ที่ เดอื น พ.ศ. ได้ คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ชื่อ ชนั้ เลขท่ี ใหน้ กั เรียนทบทวนความทรงจาเกี่ยวกบั เหตุการณ์ที่ทาใหน้ กั เรียนเกิดความเสียใจ นาเร่ืองราวจาก เหตุการณ์น้นั มาวเิ คราะห์เป็นแผนภาพความคิด แลว้ เสนอแนวทางแกไ้ ขโดยใชค้ าสอนจากโคลงสุภาษิต นฤทุมนาการ เพื่อเป็ นอุทาหรณ์ไมใ่ หเ้ กิดเหตุการณ์เช่นน้นั ข้ึนอีก __________________ เหตกุ ารณ์ ผลทเ่ี กิดขนึ ้ __________________ __________________ _________________ _____________________ ___ _________________ _____________________ _____________________ สาเห ___ _____________________ ตุ _____________________ _____________________ __________________ _____________________ __________________ ______________ __________________ ___ แนวทางแก้ไข ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________ ______________________________________
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116