คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑ ๕.๕ วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ชีวิตประจาวันบนพ้นื ฐาน ของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ๕.๖ รเู้ ท่าทนั การเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับ และปรับตัว อยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานท่ีได้รับมอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบ่งปนั สงิ่ ของให้ผู้อื่น ๘.๓ ดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติของห้องเรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ประเมิน ลงชอ่ื .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรับปรุง
ใบความรู้ เร่อื ง การวิเคราะห์ข้อเทจ็ จริง และขอ้ คิดเหน็ การที่นักเรียนจะวิเคราะห์เนื้อหาสาระของการอ่านและการพูดนั้น นักเรียนจะต้องรู้ว่าอะไรเป็น ใจความสาคัญของเรื่อง อะไรเป็นเนื้อหาหลัก เน้ือหารอง ตอนใดเป็นใจความท่ีแสดงเหตุและผล ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ในขณะเดยี วกันกต็ อ้ งใช้ความคดิ ความรู้ และประสบการณข์ องนกั เรียน เพือ่ พิจารณาว่าเรื่องที่ฟังน้ี มีความสมเหตสุ มผลและมีความถกู ตอ้ งหรือไม่ มากนอ้ ยเพียงใด การวิเคราะห์ข้อความใดเป็นข้อเทจ็ จริง ข้อความใดเป็นข้อคิดเห็น นกั เรียนจะต้องตัง้ ใจอา่ นและตั้งใจ ฟังแลว้ ลองใช้หลกั ต่อไปนพ้ี จิ ารณาแยกแยะ ลกั ษณะของขอ้ เท็จจริง ลกั ษณะของขอ้ คิดเห็น ๑. มคี วามเป็นไปได้ ๑. เป็นข้อความท่ีแสดงความรู้สกึ ๒. มคี วามสมจรงิ ๒. เป็นขอ้ ความที่แสดงความคาดคะเน ๓. มีหลกั ฐานเช่อื ถือได้ ๓. เปน็ ขอ้ ความท่ีแสดงการเปรยี บเทยี บ อุปมาอุป ๔. มีความสมเหตุสมผล มยั ๔. เปน็ ข้อความท่ีเปน็ ขอ้ เสนอแนะหรือเป็นความ คดิ เหน็ ของผูพ้ ูดเอง ตัวอย่างข้อความทเี่ ป็นและข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ ลักษณะของข้อความทีเ่ ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ลกั ษณะของขอ้ ของข้อความท่ีเป็นคิดเห็น ๑. จงั หวดั เชียงรายอยทู่ างตอนเหนือของประเทศไทย ๑. เชยี งรายมภี ูมปิ ระเทศท่ีสวยงามนา่ อยู่ ๒. การทาลายป่าไม้ทาใหเ้ กดิ ความแห้งแลง้ ๒. กินผกั บุ้งทาให้ตาหวาน ๓. แมวมอื มฝี ีเทา้ เบามาก ๓. คนทเ่ี ชื่อถือโชคลาง เชอ่ื ว่าแมวเปน็ สตั วล์ ึกลับ ๔. เมื่อขา้ วราคาตกตา่ ทาให้ชาวนาเดอื ดร้อน ๔. บ่าววรี ้องเพลงได้อารมณ์มากที่สุด ๕. มงคลเปน็ นกั เรียนโรงเรยี นวดั ถ้าปลาวิทยาคม ๕. สมชายชอบวิชาภาษาไทย นักเรียนควรตระหนักถึงความสาคัญของการฝึกวิเคราะห์จาการอ่านการฟังและการดู เพราะทุกวันนี้ เป็นยุคแห่งข่าวสารข้อมูล เราจาเป็นต้องรับสารที่เข้ามาในชีวิตประจาวันอย่างมากมาย ทั้งสารท่ีเป็นเรื่องราว ความรู้ บอกเล่าให้ทราบ ให้แนวคิด ให้ความเพลิดเพลิน และสารเชิงโน้มน้าวใจ หากเราไม่สามารถแยกแยะ ประเด็นสาคัญๆ ท่ีประกอบกันข้ึนเป็นเรื่องได้ เราก็จะไม่สามารถนาประโยชน์จากการฟังและดูสารน้ันไปใช้ ประโยชนไ์ ด้เลย การฝึกใช้ความคิดไตร่ตรองในขณะท่ีอ่าน ฟงั และดู จะทาใหเ้ รากระจ่างชัดในเจตนาและความคิดของ ผู้เขียนและผู้พูดว่ามีความประสงค์และมีเหตุผลอย่างไร การอ่านการฟังและดูโดยใช้หลักการวิเคราะห์เช่นนี้ ทาให้เราเปน็ ผู้มปี ญั ญาทส่ี ามารถร้หู รอื ให้เหตผุ ลไดถ้ กู ต้อง
ใบงาน เรื่อง การแยกแยะข้อเทจ็ จริง และข้อคดิ เหน็ ช่ือ.....................................................................................................ชั้น....................เลขท่ี.................... ตอนท่ี ๑ นกั เรยี นแยกข้อเท็จจริงและขอ้ คิดเห็นจากข้อความต่อไปน้ี โดยทาเครอ่ื งหมาย / ใหต้ รงกบั ข้อความทเี่ ลือก ที่ ขอ้ ความ ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คดิ เห็น ๑. แมวไทยมหี น้าตานา่ รักและเฉลยี วฉลาด ๒. นายประยทุ ธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรขี องประเทศไทย ๓. พระพุทธศาสนามแี หลง่ กาเนิดในชมพูทวีป และไดเ้ ผยแพร่ เขา้ มาในประเทศไทยเป็นเวลานานมาแลว้ ๔. พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐ์อักษรไทย ๕. โรงเรียนวดั ถ้าปลาวิทยาคมมีบรรยากาศงดงาม ๖. วนั น้ีอากาศคร้ึมมากฝนคงจะตกหนัก ๗. พระตาหนักดอยตงุ เป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วในจงั หวัดเชียงราย ๘. การตื่นนอนแตเ่ ชา้ ตรูเ่ ปน็ กาไรของชีวติ ๙. บิว กัลยาณี ร้องเพลงไดเ้ พราะมาก ๑๐. แพนเค้กเป็นดาราที่สวยมาก ตอนที่ ๒ นักเรียนอ่านข้อความตอ่ ไปนแี้ ล้วบอกวา่ เป็นขอ้ เท็จจรงิ หรอื ข้อคดิ เหน็ ๑. “ยิ้มเป็นคุณลักษณะพิเศษของมนุษย์อย่างหนึ่ง ซึ่งหาไม่ได้จากบรรดาสัตว์ท่ีมีชีวิตอยู่ในโลก สัตว์บางชนิด เรายกย่องกันว่าแสนจะฉลาด สามารถฝึกได้นานาประการ แต่ฝึกให้ย้ิมน้ันฝึกไม่ได้จะแสดงความดีใจหรือพอใจ ได้แต่ดว้ ยทา่ ทางอย่างอ่ืน เชน่ กระดิกหาง เคลา้ แข้งเคลา้ ขาตะกยุ ตะกาย เปน็ ต้น ไม่สามารถแสดงออกมาทาง สหี น้าได้ คนเท่าน้นั ทย่ี ิ้มได้” ตอบ .............................................................................................................................................................................. ๒. ยิม้ ไมต่ อ้ งลงทนุ ไมต่ ้องซ้ือ ไม่ต้องหา มีอยปู่ ระจาตวั แล้วทกุ คน เหมือนมีอาวุธอยใู่ นมอื ของเราแลว้ อย่า ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ สนมิ เกรอะกรังจนชกั ไม่ออก ต้องชโลมนา้ มนั กันสนมิ ถงึ คราวจะใช้ชักออกมาไดท้ นั ทว่ งที ไม่เคย ย้มิ ถงึ คราวจะย้ิมก็ยิ้มไม่ออก ต้องหดั ยิม้ ไว้ใหเ้ ปน็ สมบัตปิ ระจาตวั “ย้ิมจะชว่ ยให้ปลอดภยั และสบายใจเสมอ” ตอบ ......................................................................................................... .....................................................................
๓. นสิ ยั ของช้างเอเชยี โดยทว่ั ไป เม่อื ไดน้ ามาฝึกให้เช่ือเพ่ือใช้งานแลว้ จะมีนิสยั ฉลาดสภุ าพและรักเจ้าของ เว้น แต่ในบางขณะ เช่น เวลาตกมัน ซึ่งก็เพียงในช่ัวระยะเวลาหนึ่งเท่าน้ัน ในเวลาตกมันช้างจะมีนิสัยดุร้าย จะทาร้าย ช้างด้วยกนั เอง หรอื ทารา้ ยเจ้าของหรอื สง่ิ ทีอ่ ยู่ใกล้ ๆ เม่อื พน้ ระยะตกมันแลว้ นสิ ัยดรุ ้ายกจ็ ะหายไป ตอบ ............................................................................................................................. ................................................. ๕. คาว่า “สลัด” เป็นภาษามลายู หมายความว่าช่องแคบในทะเล ชาวมลายทู อี่ ยบู่ นฝง่ั ทะเลในชอ่ งแคบ มัก ประพฤตติ นเปน็ โจร ดดั ปล้นเรือสาเภาที่แล่นผ่านช่องแคบมะละกา จึงเรยี กกันวา่ “โจรสลัด” ตอบ ............................................................................................................................................................. .................
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑๕ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ การใชภ้ าษาไทย เรื่อง การพดู ในโอกาสต่าง ๆ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๕ เรอ่ื ง การพดู อวยพร เวลาเรียน ๑ ช่วั โมง รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนมธั ยมวดั สิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรูส้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ตวั ชี้วัด ม. ๒/๔ พูดอวยพร พดู โนม้ น้าว และพูดโฆษณา ม. ๒/๖ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้สตู่ วั ช้ีวัด ๑. อธบิ ายหลกั การพดู อวยพรได้ (K) ๒. ใชถ้ ้อยคาสานวนโวหารไดถ้ ูกต้องสละสลวย (P) ๓. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู (A) สาระสาคญั (คาช้แี จง) การพูด เป็นทักษะการส่งสารที่สาคัญ มนุษย์ใช้ทักษะน้ีในการสื่อสารความคิดของตนเอง การพูดใน แตล่ ะโอกาสมีความแตกต่างกันทั้งสิน้ ไมว่ ่าจะเป็นองค์ประกอบของผู้พดู ผูฟ้ ัง สาร กาลเทศะหรอื สถานท่ี ความ แตกต่างของแต่ละโอกาสเหล่านี้ ผู้พูดที่ดีจะต้องพิจารณาเสมอว่า แต่ละโอกาสที่ตนเองพูดนั้นมีวัตถุประสงค์ อย่างไรเป็นสาคัญ เพื่อเตรียมการพูดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ อันจะนาไปสู่การพูดท่ี สมั ฤทธผิ ล การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนา ๑. ครูนาบทกวเี กี่ยวกับการพดู มาอา่ นใหน้ ักเรยี นฟงั เช่น “ เป็นมนุษยส์ ุดนยิ มเพยี งลมปาก จะได้ยากโหยหวิ เพราะชิวหา แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพเิ คราะหใ์ ห้เหมาะความ ” สุนทรภู่
ความหมายของบทประพันธ์นี้ คือ เป็นมนุษย์น้ันจะได้ดีหรือตกยากก็อยู่ท่ีการพูด ถ้าพูดดีก็มี คนรักใคร่เมตตา ดังน้ัน จะพูดอะไรควรคิดไตร่ตรองให้ดีเสียก่อนท่ีจะพูด “ ถึงบางพูดพูดดเี ปน็ ศรีศกั ดิ์ มีคนรกั รสถ้อยอร่อยจิต แม้พูดช่วั ตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษยเ์ พราะพดู จา ” สนุ ทรภู่ ความหมายของบทประพันธ์น้ี คือ ถ้าใครพูดดีก็จะมีคนรัก แต่ถ้าพูดไม่ดีก็ อาจจะเป็นภัยต่อตนเองได้อีกทั้งยังไม่มีใครคบ ไม่มีเพื่อนสนิทมิตรสหาย ทั้งการจะดูว่าใครดีไม่ดี ดูได้จากการพูด ๒. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การพูดมีประโยชน์แล ะโทษ อย่างไร แนวการตอบ ( ๓. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ขั้นสอน ๔. นกั เรยี นจบั คู่ แลว้ ศึกษาใบความรู้ท่ีครแู จกให้ เรื่อง การพูดอวยพร จากนน้ั ให้นักเรยี นเขียน สคริปอวยพร ตามหวั ข้อที่จับนกั เรียนจับสลากได้ - สลากใบท่ี ๑ ศกึ ษาและเขียนเรอื่ ง การพดู อวยพรวันเกิดของอาจารยท์ เี่ คารพ - สลากใบที่ ๒ ศกึ ษาและเขียนเรื่อง การพูดอวยพรวนั ปใี หม่ - สลากใบท่ี ๓ ศึกษาและเขียนเรือ่ ง การพูดอวยพรงานแตง่ งานใหญ้ าติอายมุ ากกว่าเรา ๕. ครูแจง้ กติกาวา่ หา้ มทุกคนลุกหรือพูดหยอกลอ้ เล่นกันจนกวา่ จะศึกษาและเขียนงานท่ไี ด้รับ มอบหมายแล้วเสรจ็ ถ้าคนใดสงสยั หรือไมเ่ ขา้ ใจจะต้องขอความชว่ ยเหลอื จากเพื่อน ๖. นกั เรยี นในแตล่ ะคนต้องแสดงความคิดเหน็ และเขยี นสครปิ ที่จะพูดให้เสร็จภายในเวลาทก่ี าหนด คือ ๑๐ นาที ๗. จากน้นั ใหน้ ักเรียนจับคู่กัน แล้วผลัดกันพูดตามสคริปทีต่ นไดเ้ ขียนใหเ้ พื่อนฟงั ให้เวลาในการพดู อวยพรตามหัวข้อทีจ่ ับสลากได้คนละ ๒ นาที แลว้ ประเมนิ การพูดของเพ่ือนลงในแบบประเมนิ ท่ีครูแจกให้ ครู สังเกตพฤตกิ รรมในการรว่ มกิจกรรม ขั้นสรุป ๘. นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายความรู้เรอ่ื ง การพูดอวยพร ๙. นกั เรยี นทุกคนส่งแบบประเมินการพดู ของเพื่อน สอ่ื การเรยี นรู้ ๓. ใบความร้เู รอ่ื ง การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ๔. ใบงาน การพูดอวยพร ๓. สลาก
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นสมรรถนะ เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ สาระการเรียนรู้ วัดทักษะด้านการสื่อสาร แบบประเมนิ การพดู ได้คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือ วา่ ผ่านเกณฑ์ พดู โน้มน้าวโดยนาเสนอ การพูดของนักเรียน หลกั ฐานตามลาดับเนื้อหา อย่างมเี หตุผลและนา่ เชื่อถือ ข้อเสนอแนะ - ใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการคิด ตอบคาถาม ครเู ป็นผแู้ นะนา ชื่นชมและให้กาลงั ใจเม่ือนักเรียนมีส่วนร่วม แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชแี้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในช่อง ท่ตี รงกับระดบั คะแนน ลาดับ ชื่อ-สกุล ความตัง้ ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผู้รับการประเมิน ในการทางาน รับผดิ ชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑
ประเมนิ ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๐ ปรับปรุง
แบบบนั ทกึ การสังเกต กจิ กรรมการพดู อวยพร ชอ่ื รายการสังเกต / ระดับคณุ ภาพ 1. ดา้ นการเรยี บเรียง 2. การใชภ้ าษา 3. ดา้ น ความคิดเห็นและ เนอื้ หา บคุ ลิกภาพ ขอ้ เสนอแนะ 1 2 3 4 1 2 312 3 ผู้ประเมิน.............................................................................ชนั้ .......................เลขท.ี่ ...........
แบบประเมนิ สมรรถนะของผ้เู รยี น ช่อื -สกุล เด็กชาย/เด็กหญิง ................................................................................................. เลขที่................... คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น แลว้ ทาเคร่อื งหมาย ✓ ลงในช่องท่ีตรงกับระดับคุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ สมรรถนะด้าน รายการประเมนิ ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุ สรุปผล มาก (๒) (๑) ง การ (๓) (๐) ประเมนิ ๑. ๑.๑ มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ความสามาร สงั เคราะห์ ดีมาก ถในการคดิ ๑.๒ มที กั ษะในการคดิ นอกกรอบอย่าง ดี พอใช้ สรา้ งสรรค์ ๑.๓ สามารถคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ ปรบั ปรุง ๑.๔ มีความสามารถในการสรา้ งองค์ความรู้ ๑.๕ ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาเกีย่ วกับตนเองได้อย่าง เหมาะสม สรุปผลการประเมินสมรรถนะทง้ั ๕ ดา้ น อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................................................................... ......................... .......................................................................................................... .................................................................... ...... ประเมนิ ลงชื่อ....................................................................ผู้ ........................................................ (........................................................) วนั เดือน ปี ท่ปี ระเมิน เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ ให้ระดบั ๓ คะแนน ดมี าก หมายถงึ พฤติกรรมท่ีปฏิบัติน้ันชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ระดบั ๒ คะแนน ดี หมายถงึ พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติน้นั ชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ระดับ ๑ คะแนน พอใช้ หมายถึง พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั ิบางครง้ั ให้ระดับ ๐ คะแนน ตอ้ งปรบั ปรงุ หมายถงึ ไม่เคยปฏิบตั พิ ฤตกิ รรมน้ันเลย เกณฑ์การสรปุ ผล ใช้หลักการหาคา่ กลางแบบฐานนิยม (MODE)
แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกับระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาติ รอ้ งเพลงชาตไิ ด้ และอธิบาย กษัตรยิ ์ ความหมายของ เพลงชาติ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหนา้ ที่ของนักเรียน ๑.๓ ใหค้ วามร่วมมือ รว่ มใจ ในการทางานกับสมาชกิ ในโรงเรยี น ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี นและชุมชน ๑.๕ เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนับถอื ปฏิบตั ิตนตามหลักของ ศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมทีเ่ ก่ียวกับสถาบัน พระมหากษัตริยต์ ามท่ีโรงเรยี นและชมุ ชนจดั ขึ้น ๒. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ๒.๑ ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกต้อง และเปน็ จริง ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่ิงท่ถี กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะทาความผิด ทา ตามสญั ญาทีต่ นให้ไวก้ ับเพ่ือน พ่อแม่ หรือผูป้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ิตอ่ ผู้อน่ื ดว้ ยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางที่ไม่ถูกตอ้ ง ๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั รับผิดชอบ และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ ใน ชีวิตประจาวัน และรับผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ การเรยี นรู้ต่างๆ ๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด พอเพียง คุม้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยัด คุ้มค่า และเก็บรกั ษาดูแล อยา่ งดี ๕.๓ ปฏบิ ัตติ นและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตผุ ล ๕.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่นื และไม่ทาใหผ้ ู้อน่ื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมอ่ื ผู้อ่นื กระทาผดิ พลาด
คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑ ๕.๕ วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ชีวติ ประจาวันบนพ้นื ฐาน ของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ๕.๖ รู้เท่าทนั การเปล่ียนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับ และปรับตัว อยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบง่ ปันสง่ิ ของให้ผู้อื่น ๘.๓ ดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติของห้องเรยี น โรงเรียน ชุมชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ประเมิน ลงชอ่ื .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ตา่ กว่า ๕๔ ปรับปรุง
ใบความรู้ เรอ่ื ง การพูดในโอกาสต่าง ๆ การพูดเป็นทักษะการส่งสารท่ีสาคัญ มนุษย์ใช้ทักษะน้ีในการสื่อสารความคิดของตนเองในโอกาสต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอ จนหลายครั้งมนุษย์คิดว่าการพูดไม่ว่าโอกาสใดก็ไม่แตกต่างกัน ความจริงแล้วการพูดในแต่ละ โอกาสมีความแตกต่างกันท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็นองค์ประกอบของผู้พูด ผู้ฟัง สาร กาลเทศะหรือสถานที่ ความ แตกต่างของแต่ละโอกาสเหล่าน้ี ผู้พูดท่ีดีจะต้องพิจารณาเสมอว่าแต่ละโอกาสท่ีตนเองพูดนั้นมีวัตถุประสงค์ อย่างไรเปน็ สาคัญ เพอ่ื เตรยี มการพูดให้สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดไวอ้ ันจะนาไปสู่การพูดทีส่ ัมฤทธผิ ล สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ นน้ี ักเรียนจะได้รจู้ กั การพดู ใน ๓ โอกาสด้วยกัน คอื การพูด อวยพร การพูดโนม้ น้าว และการพูดโฆษณา ๑. การพดู อวยพร การพูดอวยพร หรือการกล่าวอวยพรนั้นนอกจากจะใช้อวยพรคนสนิทแบบไมเ่ ป็นทางการแลว้ บางครั้ง มีความจาเป็นต้องกล่าวอวยพรแบบพธิ ีการทีต่ ้องเตรยี มร่างคากล่าวไว้ล่วงหน้า เลือกเฟน้ ถอ้ ยคา สานวนภาษาที่ ดีงาม ไพเราะและสุภาพตามวาระโอกาสต่าง ๆ เช่น งานมงคลสมรส งานวันเกิด งานข้ึนปีใหม่ เป็นต้น เมื่อ ได้รับเกียรติให้เป็นผู้กล่าวอวยพร ควรพูดข้อความให้สอดคล้องกับโอกาส กล่าวถ้อยคาอันเป็นมงคล มีใจความ ส้ันกะทดั รัด ดงั น้ี ตัวอยา่ ง งานวนั เกิด การกล่าวอวยพรวันเกิดมีแนวการพดู ดังนี้ ๑) กลา่ วปฏิสันถาร ๒) แสดงความยินดีท่ีได้รับเกียรตใิ หเ้ ป็นผู้กล่าวอวยพร ๓) กลา่ วถึงความสมั พนั ธข์ องผู้พดู กบั เจา้ ภาพ ๔) กล่าวถึงเกียรติคุณ ความดีงาม ผลงานอนั เปน็ คุณประโยชน์ทีป่ รากฏ ๕) อวยพรให้มีอายยุ ืนนาน มีความเจริญรุง่ เรอื งยิ่ง ๆ ขนึ้ เพื่อจะได้เป็นทีพ่ ่งึ ของ ครอบครวั และบตุ รหลานตลอดไป พร้อมทั้งเชิญชวนให้ทกุ ท่านด่มื อวยพร อวยพรวนั เกดิ สวสั ดี ท่านผู้มีเกียรติทเี่ คารพ ดิฉันมีความรู้สึกยินดีอย่างย่ิงท่ีได้รับเกียรติให้ขึ้นมากล่าวอวยพรวันเกิดในวันนี้ ซึ่งเป็นวันครบอายุ ๖๐ ปี ของท่านอาจารย์มงคล โตสกุล ตลอดระยะเวลาท่ีดิฉันได้ทางานใกล้ชดิ และรจู้ ักท่านอาจารย์มงคล โตสกุล มาน้ัน ทา่ นเปน็ คนมีความสามารถในด้านการวาดภาพอย่างหาใครเปรยี บไม่ได้ นอกจากนี้ยงั มีความเมตตาและเอ้ืออาทรต่อ ทุกคนท่ีร่วมงานด้วยกัน ดิฉันรู้สึกดีใจและปล้ืมปิติเป็นอย่างย่ิงที่ได้มาร่วมงานมงคลในวันน้ี ขออานาจส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลายจงปกป้องคุ้มครองให้ท่านมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง ปราศจากโรคภัยอันตรายท้ังปวง พร้อมด้วยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ครบทุกประการ สวัสดคี ะ่
ตัวอย่าง พูดอวยพรคูบ่ ่าวสาว สวสั ดที า่ นผู้มเี กยี รตทิ ่เี คารพทุกท่าน ผมรู้สึกมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับเกียรติจากเจ้าภาพให้ข้ึนมากล่าวในวันน้ี ผมขอกล่าวจาก ความรสู้ ึกท่ีได้มาพบเห็นงานมงคลสมรสในวนั น้ี ผมประทับใจมากท่ีได้เห็นใบหน้าย้ิมแย้มแจ่มใสของเจ้าบ่าว และเจ้าสาว ท้ังคู่มคี วามเหมาะสมกนั ดีมาก ทัง้ ผมเองก็เป็นผู้ท่ีเคยทางานร่วมกนั มาท้ังสองคน รู้สกึ ชอบพอ อัธยาศัยเป็นอย่างดีและเห็นว่าท้ังคู่มีความเข้าอกเข้าใจ ซื่อสัตย์ รักม่ันต่อกันมานานปี เม่ือมางานมงคล สมรสคร้ังนี้จึงมีความปล้ืมปิตเิ ป็นอย่างมากทีท่ ้ังสองมีความสมหวังสมปรารถนาด้วยกัน ผมหวงั วา่ ท้ังสองจะ ครองรกั กนั ให้มัน่ คงจรี งั ไดน้ านแสนนาน จงึ ขออวยพรใหค้ ่บู ่าวสาวจงรักกนั เข้าใจกัน ทะนุถนอมน้าใจ มีความซอื่ สัตย์ จรงิ ใจต่อกันและรูจ้ ักให้อภยั ต่อกนั ให้มีความรม่ เย็นเป็นสุขทุกคนื ทุกวัน สวสั ดีครบั ตวั อยา่ ง นักเรียนพดู อวยพรใหค้ รใู นโอกาสวันข้ึนปใี หม่ เนื่องในวารดถิ ีข้นึ ปีใหมผ่ มขออาราธนาคณุ พระศรีรัตนตรยั และสงิ่ ศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลกช่วย ดลบนั ดาลให้อาจารย์พบแต่ความสขุ และความสาเร็จในทุก ๆ สง่ิ รวมท้งั ขอให้อาจารย์มีสุขภาพร่างกาย ทแี่ ข็งแรง เปน็ ท่ีรักของพวกเราทกุ คนตลอดไปครบั ข้อสังเกต ผนู้ ้อยจะไม่พดู อวยพรผใู้ หญ่โดยกลา่ วขนึ้ มาลอย ๆ แตจ่ ะนยิ มเชญิ สงิ่ ศักดิ์สิทธ์มิ าอวยพร ควรใช้ภาษาทางการ เรียงรอ้ ยถ้อยคาอยา่ งไพเราะและจริงใจ ตัวอย่าง ครูพดู อวยพรให้นกั เรยี นในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ ในปใี หม่น้ีครูขอให้นกั เรียนทกุ คนมีความสขุ หากคิดหวังสิ่งใดก็ขอใหส้ มหวงั ประสบความสาเรจ็ ท้ังการเรยี นและการใช้ชวี ิต มีร่างกายแขง็ แรง เปน็ ลกู ทดี่ ีของพ่อแมแ่ ละเป็นลูกศิษยท์ ่ีดีของครูตลอดไป ข้อสังเกต ผใู้ หญส่ ามารถพดู อวยพรผู้น้อยไดโ้ ดยไม่ตอ้ งอ้างสิ่งศักดิส์ ิทธิ์ ภาษาทางการแตม่ ีความเปน็ กันเองมากขึน้ โดยยังคงความไพเราะและจรงิ ใจของถ้อยคาไวเ้ สมอ
๒. การพูดโนม้ น้าว การพดู โนม้ น้าว คือ การสง่ สารท่ีม่งุ ให้ผ้ฟู ังมีความคดิ เหน็ และความรสู้ ึกคล้อยตามผู้พูดหรอื กระทา การอยา่ งใดอย่างหน่งึ ตามที่ผู้พดู ต้องการ เช่น การพูดโฆษณาสนิ ค้า การพดู หาเสยี ง การพูดเชิญชวนใหท้ า กจิ กรรมที่เปน็ ประโยชน์ เชน่ รณรงคใ์ ห้รกั ษาความสะอาด เชิญชวนบริจาคโลหติ เปน็ ต้น ข้นั ตอนการพดู โน้มน้าวใจ ๑) นาเข้าสู้เร่อื งใหน้ ่าสนใจ ๒) ชใี้ หเ้ หน็ วา่ เปน็ เรื่องสาคญั จาเปน็ หรือบอกผลดี/ผลเสยี ๓) ให้ข้อแนะทมี่ องเห็นชัดเจน สามารถปฏิบตั ิตามได้ ๔) จบดว้ ยการขอร้อง วิงวอน หรือชักชวนใหป้ ฏบิ ัตติ าม ข้อควรคานึง การพดู โนม้ นา้ วเป็นการมงุ่ เปล่ียนความคิดหรือพฤตกิ รรมของผฟู้ ังโดยใช้กลวธิ กี ารพดู ของผูพ้ ดู เปน็ หลัก หากผูฟ้ ังรูส้ ึกต้องการเปลีย่ นความคิดหรอื พฤติกรรมโดยมเี หตุจากการถูกบังคับหรือราคาญต่อการเข้ามาวนุ่ วาย ของผู้พูดลกั ษณะดังกล่าวนไ้ี ม่ถอื เปน็ การพดู โน้มน้าว ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการพูดโนม้ น้าวที่ดี ๑) ผู้พูดควรมีคุณธรรมประจาใจเป็นพ้ืนฐาน การพูดโน้มน้าวที่ดีต้องไม่เกิดจากการกระทาทุกวิถีทาง เพื่อให้ได้ตามที่ผู้พูดต้องการโดยไม่คานึงถึงความถูกต้อง ดังนั้นผู้พูดต้องมีคุณธรรมและรู้จักเลือกใช้กลวิธีในการ โน้มน้าวอยา่ งจริงใจและคานึงถึงความสมเหตุสมผลเป็นสาคัญ ๒) ผู้พูดควรรู้ถึงความต้องการพ้ืนฐานของผู้ฟัง เพราะถือเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ผู้ฟังรู้สึกว่าควร คิดตามหรือปฏิบัติตามดีหรือไม่ เช่น ถ้าครูต้องการให้นักเรียนต้ังใจเรียน ครูควรรู้ว่านักเรียนส่วนใหญ่มีความ ต้องการพ้ืนฐานเก่ียวกับผลการเรียนท่ีดี การพูดโน้มน้าวของครูจึงควรใช้ความต้องการพื้นฐานนี้มาประกอบพูด โนม้ นา้ วใหน้ ักเรียนตั้งใจเรียน เป็นต้น ๓) ผู้พูดควรรู้จักใช้กลวิธีการโน้มน้าวอย่างเหมาะสม มีความรู้ชัดเจนในเร่ืองท่ีพูดเพื่อเป็นการสร้าง ศรัทธา และความน่าเช่ือถือ แล้วแสดงออกด้วยความจริงใจ ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย สร้างความรู้สึกเป็นมิตร กระต้นุ ให้มอี ารมณ์ความรู้สึกรว่ มกนั แต่ถา้ คิดตรงกนั ข้ามผู้ฟงั จะเสยี ประโยชนท์ ่ีควรไดร้ ับอย่างน่าเสยี ดาย ตัวอยา่ ง
เชญิ ชวนใชก้ ระดาษ ๒ หน้า เรียนคุณครทู ี่เคารพ และสวสั ดีเพือ่ นๆที่น่ารกั ครบั กระดาษเป็นวสั ดทุ เ่ี ราใช้กันอย่ทู กุ วนั เปน็ วสั ดทุ ี่สน้ิ เปลอื ง เพราะกระดาษทามาจากต้นไม้ ถ้าเราใช้ กระดาษอย่างไม่ประหยัดกเ็ ท่ากับตอ้ งตัดต้นไมม้ าทากระดาษมากข้ึน ทกุ วันนห้ี ากเพื่อน ๆ สงั เกตจะพบว่า เรามกั นยิ มเขียนกระดาษเพยี งดา้ นเดียว เช่น เวลาทารายงาน จดนั่นจดนี่ซึ่งทาให้ส้ินเปลืองกระดาษมากขน้ึ ถา้ เราหันมาใช้กระดาษใหค้ รบทัง้ ๒ ด้านจะทาใหใ้ ชก้ ระดาษได้คุม้ คา่ ต้นไม้กไ็ ม่ต้องถกู ตดั มาก เราก็ไม่ต้อง เสยี เงนิ ซือ้ บ่อยประหยดั เงินได้อกี ดว้ ย เวลาเราเขา้ เลม่ รายงานเล่มก็ไมห่ นาทาให้เย็บเขา้ เลม่ ไดง้ ่ายไม่เปลือง ท่ีเกบ็ เพราะเลม่ บาง เหน็ ไหมครับว่าการใชก้ ระดาษใหค้ รบ ๒ หนา้ มีประโยชน์มาก หนั มาช่วยกันใชก้ ระดาษ ๒ หน้ากนั เถอะครับ เพื่อโลกทีน่ ่าอยู่ของเราและประหยัดเงินในกระเป๋าของเราครับ สวสั ดีครับ ๓. การพดู โฆษณา การพดู โฆษณา คอื การพูดประกาศใหผ้ ูฟ้ ังรับรู้ข้อความ ส่วนใหญม่ เี นอ้ื หาเกี่ยวกับการค้าขายและธุรกิจ ผู้พูดต้องการให้ผู้ฟังสนใจและปฏิบัติตามการโฆษณานั้น เช่น การโฆษณาสินค้าและบริการเก่ียวกับโทรศัพท์รุ่น ใหมท่ ี่นาเข้าจากต่างประเทศ ผพู้ ดู จะพูดแนะนาคุณสมบัติและองค์ประกอบของการใชโ้ ทรศัพทร์ ุ่นใหม่นี้ รวมท้ัง ผ้พู ดู จะพยายามนาเสนอให้ผู้ฟงั เขา้ ใจถึงข้อดีและประโยชนต์ ่าง ๆ ที่ผูฟ้ งั จะได้รับ เป็นตน้ การพูดโฆษณาจัดเป็นการพูดโน้มน้าวรูปแบบหน่ึง ดังน้ันข้อควรปฏิบัติของการพูดโฆษณาจึงควรมี ลักษณะตรงกับการพูดโน้มน้าว คือ ผู้พูดโฆษณาต้องมีคุณธรรม รับรู้ถึงความต้องการพื้นฐานของผู้ฟังและ รู้จักใช้กลวิธีการพูดโฆษณาให้เหมาะสมตามลักษณะของสินค้า การบริการและสอดคล้องกับบุคคลที่เป็น กลมุ่ เป้าหมายของสนิ คา้ และบรกิ ารนน้ั ข้อควรคานึง ผู้พดู ควรมคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับสินคา้ และบริการทจี่ ะพูดโฆษณาใหม้ ากที่สุด รวมท้ังต้องรจู้ กั วเิ คราะหห์ าจุดเด่นจุดด้อยของสินค้าและบริการ และต้องรู้จกั นาเสนอจดุ เด่นของสนิ ค้าและบรกิ ารนนั้ ให้ผู้ฟัง เหน็ เปน็ รูปธรรม เข้าถึงไดง้ า่ ยและคดิ วา่ จะได้รับประโยชนจ์ ากจดุ เด่นท่ีนาเสนอน้ันมากท่ีสดุ สรปุ ความรู้ การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ท้งั การพดู อวยพร การพูดโนม้ น้าว และการพดู โฆษณา ล้วนเป็นสงิ่ ท่ีได้พบ อยู่เสมอในชีวิตประจาวัน ดังนั้นต้องมีความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนที่จะพูด การพูดให้ประสบความสาเร็จ คือ รวู้ ตั ถปุ ระสงค์ในการพูด มีคณุ ธรรมและความจรงิ ใจบนพื้นฐานของเหตุผลและมคี วามรู้ในกลวิธีการพูดทเ่ี หมาะสมตามโอกาสทแี่ ตกตา่ ง
ใบงาน เร่อื ง การรา่ งบทพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ช่ือ.........................................................................................ช้ัน...................เลขท่.ี .................. คาชแี้ จง ให้นักเรียนเขียนรา่ งบทพดู ในโอกาสต่าง ๆ ตามหัวขอ้ ทจี่ ับสลากได้ โดยใช้เวลาในการพดู ประมาณ ๓ นาที ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ใบงาน เรื่อง หลักการพูดในโอกาสต่าง ๆ ชอ่ื ..........................................................................................ชน้ั ...................เลขที่................... คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นอธิบายหลกั การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ต่อไปน้ี ๑. การพดู อวยพร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. การพูดโนม้ นา้ วใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. การพูดโฆษณา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๗ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๒ วรรณคดีและวรรณกรรม เรือ่ ง รามเกยี รติ ตอน นารายณป์ ราบนนทก แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง สรปุ ความรู้และรู้จักตวั ละคร เวลาเรยี น ๓ ชว่ั โมง รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนมัธยมวดั สงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปญั หา ในการดาเนินชีวติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มีมารยาทในการอา่ น จดุ ประสงค์การเรียนร้สู ู่ตวั ช้ีวัด ๑. บอกลักษณะของตัวละครในเร่ือง รามเกยี รต์ิ (K) ๒. หาความสัมพนั ธ์ของตวั ละครในเรอื่ ง รามเกียรติ์ (P) ๓. เห็นความสาคญั ของการศึกษาวรรณคดีมรดกของไทย (A) สาระสาคญั (คาชี้แจง) รามเกียรติ์เป็นวรรณคดีมรดกเรือ่ งหน่ึงของไทยทร่ี ้จู ักกนั แพร่หลาย จึงทาให้ตัวละครหลายตัว ในเรื่องนี้อยใู่ นความทรงจาของคนไทยสืบต่อมา การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนา ๑. ให้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามทา้ ทาย ดงั นี้ เม่อื พูดถงึ รามเกยี รต์ิ นักเรยี นนกึ ถงึ อะไร ข้ันสอน ๒. ครูนานกั เรียนสนทนาเกี่ยวกับตวั ละครเรื่อง รามเกยี รต์ิ ที่นักเรียนรู้จัก แล้วกระตนุ้ ความคิดของนักเรียน โดยใช้คาถาม ดงั นี้ นักเรียนรจู้ ักตวั ละครเหล่านนั้ ดีแคไ่ หน ๓. ให้นักเรยี นแบง่ เปน็ ๒ ฝา่ ย โดยนกั เรยี นท่มี เี ลขประจาตวั เปน็ เลขค่ีให้อยู่กลุ่มเดยี วกัน และเลขคู่อยกู่ ลมุ่ เดยี วกนั ๔. ครนู าภาพพระรามติดบนกระดาน แลว้ ให้แต่ละฝา่ ยผลดั กันบอกช่ือตวั ละครทเี่ กีย่ วข้องกบั พระราม พรอ้ มทงั้ บอกความเกี่ยวข้องด้วย ถ้าฝ่ายใดบอกไดแ้ ต่ช่ือหรือบอกไม่ได้เลย จะต้องสละสทิ ธใ์ิ ห้อีกฝ่าย ครูบนั ทึกส่งิ ท่ีนักเรยี นบอกบนกระดาน ดังตวั อยา่ ง
พระนารายณ์ นางสดี า (อวตารมาเป็นพระราม) (มเหสขี องพระราม) พระลักษมณ์ หนุมาน (พระอนชุ าของพระราม) (ทหารเอกของพระราม) ทศกัณฐ์ (ศัตรขู องพระราม) ๕. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๘ กลุ่ม สง่ ตวั แทนออกมาเลือกบัตรคาท่คี รูวางควา่ หนา้ ไว้ ได้ชอื่ ตัวละครตัวใด ใหส้ มาชกิ ในกลุ่มระดมสมอง เพ่อื บอกลักษณะเด่น ที่มา หรือข้อมูลอ่ืน ๆ เกีย่ วกับตวั ละครตัวน้ัน ได้แก่ กลุม่ ท่ี ๑ พระอิศวร กลุม่ ที่ ๒ พระนารายณ์ กลมุ่ ท่ี ๓ พระราม กลุ่มท่ี ๔ นางสีดา กลุ่มที่ ๕ พระลกั ษมณ์ กลุ่มที่ ๖ หนุมาน กลุ่มท่ี ๗ ทศกัณฐ์ กลมุ่ ที่ ๘ นนทก ๖. ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอ กลมุ่ อื่นช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้องหรืออธบิ าย เพิม่ เติมได้ ๗. ใหน้ ักเรยี นดภู าพตัวละครแต่ละตวั สงั เกตลักษณะของตัวละครในภาพว่าตรงกบั ทีน่ ักเรยี นเคยรู้มา หรือไม่ ครชู ่วยอธบิ ายเพิ่มเติม ๘. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ เลือกแถบปริศนาท่ีครเู ตรียมไว้ กลุ่มละ ๑ ปรศิ นา โดยเลอื กใหค้ รบทุกกลมุ่ กอ่ น ครูจงึ เปิดแถบปริศนาให้กลุม่ ทเี่ ป็นเจา้ ของช่วยกนั ทายคาตอบ ดงั นี้ ปริศนาที่ ๑ อะไรเอย่ เกิดมาหาวเป็นดาวเปน็ เดือน (หนมุ าน) ปรศิ นาที่ ๒ อะไรเอย่ มสี บิ หน้า ยี่สิบกร ตอ่ กรกับพระนารายณ์ (ทศกัณฐ์) ปรศิ นาท่ี ๓ อะไรเอ่ย เมื่อชาติกอ่ นเกดิ เป็นกบ กลับมาเกิดเปน็ คนยังมีช่ือเหมือนกบ(นางมณโฑ) ปริศนาที่ ๔ อะไรเอ่ย เปน็ นารายณ์อวตารปราบมารใหห้ มดสน้ิ (พระราม) ปรศิ นาที่ ๕ อะไรเอ่ย เป็นองคน์ ้องช่วยพ่ีปราบมารกายลว้ นสีเหลือง (พระลกั ษมณ์) ปรศิ นาที่ ๖ อะไรเอย่ อยู่บนสวรรค์ ชานาญดนตรีและขับรอ้ ง (คนธรรพ์) ปริศนาที่ ๗ อะไรเอย่ พระส่ีกรขวา้ งจกั รฤทธริ งค์ (พระนารายณ)์ ปริศนาท่ี ๘ อะไรเอย่ ตักนา้ ล้างเท้าเทวดา เกศาโกร๋นเกลยี้ งถงึ เพียงหู (นนทก) ๙. ให้นักเรยี นอา่ นบทนาเรื่องและที่มาของบทละครเรื่อง รามเกยี รตแิ์ ลว้ รว่ มกนั สรุปสาระสาคัญ ขัน้ สรปุ ๑๐. ให้นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ รามเกยี รต์ิเปน็ วรรณคดมี รดกเร่ืองหนง่ึ ของไทยท่ีรู้จักกนั แพร่หลาย จึงทาให้ตัวละคร หลายตัวในเรอ่ื งนี้อยู่ในความทรงจาของคนไทยสบื ต่อมา
สื่อการเรียนรู้ ๑. ใบงาน การบอกลักษณะหรือขอ้ มลู ทเี่ ก่ยี วกบั ตวั ละครในเรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ ๒. แบบทดสอบ เร่อื ง ตวั ละครในเร่ือง รามเกยี รติ์ ๓. สอื่ วิดีโอ ๔. ภาพตัวละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ ๕. บตั รคา ๖. แถบปรศิ นา การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านสมรรถนะ คุณลักษณะ คดิ วเิ คราะห์ อ่าน/คิด/เขยี น ๑. ใบงาน เรอื่ ง การบอก วัดทกั ษะดา้ นการส่ือสารการพูด ใฝ่เรียนรู้ และรักความ ลกั ษณะหรอื ขอ้ มลู ที่ บอกลักษณะหรอื ขอ้ มูลทเี่ กี่ยว เป็นไทย วัดจาก วดั จากการเขยี นและการพูด เกี่ยวกบั ตวั ละครในเร่อื ง ตวั ละครในเร่ือง รามเกยี รต์ิ แบบสอบถามทัศนคติ โดยใช้ชิ้นงานเร่อื ง บอกลักษณะ รามเกียรติ์ ท่ีมีต่อเน้ือหาสาระ หรอื ข้อมลู ทเ่ี ก่ียวตัวละคร ๒. แบบทดสอบ เรอ่ื ง ตวั ในเรอื่ ง รามเกียรต์ิ ละครในเรื่อง รามเกียรติ์ ขอ้ เสนอแนะ - ให้นกั เรียนคน้ ควา้ เกร็ดความรเู้ ก่ยี วกับตวั ละครในเรอ่ื ง รามเกยี รติ์ จากอินเทอร์เน็ต โดยเลอื กตวั ละคร ท่ีนกั เรียนสนใจ ๑ ตวั พร้อมภาพประกอบนามาจดั ป้ายนิเทศแสดงผลงาน
ใบความรู้ พระอิศวร พระอศิ วรสถติ ณ เขาไกรลาส พระวรกายสีขาว แต่พระศอเปน็ สดี า จากการด่ืมพิษ เมอื่ ครั้งกวนเกษียรสมุทรเพือ่ ปกป้องมนุษย์และเทวดา มีพระเนตร ๓ ดวง พระเนตรดวงท่ี ๓ อยู่กลาง พระนลาฏ(หน้าผาก) ซึ่งตามปกติจะหลบั อย่เู นื่องจากพระเนตรดวงน้ีมอี านุภาพรา้ ยแรงมาก หากลืมขึน้ เมื่อใด จะเผาผลาญทกุ อย่างใหม้ อดไหม้ มีนาคเป็นสังวาล (สร้อยเคร่ืองประดับท่ีใช้คล้องเฉวยี งบ่า) มพี ระจันทรเ์ ปน็ ป่ิน อาวุธประจาพระองค์ คือ ตรศี ูล (หลาวสามง่าม) พาหนะของพระองค์ คือ โคอุศุภราช (โคเผอื ก) พระอศิ วรมีพระอมุ าเป็นพระมเหสี มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ คือ พระขนั ทกุมารเทพเจา้ แห่ง สงคราม และพระพฆิ เนศเทพเจา้ แห่งศิลปวิทยาการ พระอศิ วรมีพระนามเรียกขานหลายพระนาม เชน่ พระศิวะ พระศุลี พระตรเี นตร พระสยมภู พระภเู ตศวร พระมเหศวร ชาวฮินดนู บั ถือพระอิศวรเปน็ เทพเจ้าสงู สดุ ในบรรดาเทพทัง้ สาม ไดแ้ ก่ พระอิศวร พระนารายณ์ พระพรหม พระนารายณ์ พระนารายณ์เทพเจา้ ผรู้ กั ษาคุ้มครองท้งั ๓ โลก พระวรกายมีสเี ปล่ียนไปตามยุค ฉลองพระองค์อย่าง กษตั รยิ ์ ทรงอาภรณ์สที อง ทรงมงกุฎชยั มี ๔ กร ถอื สงั ข์ จักร ตรี คฑา พระนารายณ์จะประทบั อย่กู ลางเกษียรสมุทร บรรทมอยูบ่ นหลงั อนนั ตนาคราช มีพญาครุฑเปน็ พาหนะ มีพระลักษมเี ปน็ พระมเหสี พระนารายณม์ ีพระนามอ่นื เช่น พระวิษณุ พระทรงครุฑ พระส่ีกร พระธราธร พระสังขกร พระหริ ชาวฮินดูที่นบั ถอื ไวษณพนิกายเชื่อว่า พระนารายณจ์ ะอวตารมาปราบยุคเข็ญ ในโลกถึง ๑๐ ครั้ง พระราม พระรามเปน็ ภาคหน่งึ ของพระนารายณ์ อวตารลงมาเพื่อปราบทศกัณฐ์ พระรามเป็นพระราชโอรสของ ท้าวทศรถและนางเกาสรุ ยิ า มีพระอนชุ าตา่ งพระมารดา ๓ พระองค์ ได้แก่ พระพรต พระลกั ษมณ์ และพระสัตรุด พระรามมพี ระวรกายสเี ขยี ว ทรงธนเู ป็นอาวธุ มีศรวิเศษ ๓ เลม่ คอื ศรพรหมาสตร์ ศรอัคนวิ าต และศรพลายวาต พระรามสามารถสาแดงอิทธฤิ ทธใ์ิ หป้ รากฏเปน็ ๔ กรอย่างพระนารายณ์ได้ พระรามมีนางสดี าเป็นพระมเหสี มีพระโอรส ๑ องค์ คอื พระมงกฎุ นางสดี า นางสดี าคอื พระลกั ษมีจุติลงมาเพ่อื เปน็ ชายาของพระราม นางสีดาเป็นธิดาของทศกัณฐ์กับนางมณโฑ เมอ่ื คลอดจากครรภม์ ารดาร้องว่า “ผลาญราพณ์” ๓ ครง้ั พเิ ภกและเหล่าโหราจารยท์ ้งั หลายต่างทานายว่า นางเป็นกาลกิณแี กพ่ ระบดิ าและบา้ นเมือง ทศกัณฐจ์ งึ ให้นานางใสผ่ อบลอยน้าไป พระฤาษีชนกพบผอบ นางสดี าจึงนามาเลี้ยงเปน็ บุตรบุญธรรม โดยฝังดนิ ฝากแม่พระธรณไี ว้ เวลาผ่านไป ๑๖ ปี พระฤาษี ชนกลาผนวชกลับไปครองกรุงมิถิลา จงึ พานางสีดาไปด้วย และจดั พิธยี กศรรตั นธนูเพื่อเส่ยี งทายเลอื กคู่ ใหน้ างสดี า พระรามยกศรได้จึงไดอ้ ภิเษกกับนางสีดา ศึกระหวา่ งพระรามกับทศกัณฐเ์ ร่มิ ขน้ึ เม่ือ ทศกัณฐท์ ราบถงึ ความงดงามของนางสีดา ตอ้ งการได้นางมาเปน็ มเหสีจึงใช้อบุ ายหลอกล่อจนสามารถ ลักพานางสีดามายงั กรงุ ลงกาได้ ทาใหพ้ ระรามต้องทาสงครามเพ่ือชิงตัวนางกลับคนื มา พระลักษมณ์ พระลกั ษมณ์ คือ พญาอนนั ตนาคราชทีป่ ระทับของพระนารายณจ์ ุตมิ าเปน็ พระราชโอรสของท้าว ทศรถกับนางสมุทรชา เป็นพระอนุชาของพระราม พระวรกายมสี เี หลอื งด่งั ทอง มีพระขรรค์เปน็ อาวธุ
พระลกั ษมณม์ ีความจงรกั ภักดีต่อพระรามมาก เห็นไดจ้ ากทต่ี ามเสดจ็ พระรามเดนิ ป่าถึง ๑๔ ปี และตอ่ สู้ เคยี งบ่าเคียงไหลก่ บั พระรามเสมอ ครงั้ หน่งึ กุมภกรรณพงุ่ หอกโมกขศักดใ์ิ ส่พระรามพระลักษมณ์ออกรบั หอกแทนจนบาดเจ็บสาหัสยง่ิ แสดงให้เหน็ ถงึ ความจงรกั ภกั ดขี องพระลักษมณท์ ่ีสละชวี ติ แทนได้ หนุมาน หนมุ านทหารเอกของพระราม เปน็ ลงิ เผอื ก กายสขี าว มกี ุณฑล (ตุม้ หู) ขนเพชร เขยี้ วแก้ว หาวเป็นดาวเปน็ เดือน ใช้ตรเี พชร (สามง่าม) เป็นอาวธุ ประจาตวั สามารถแผลงฤทธิ์ใหม้ ี ๔ หน้า ๘ มอื แปลงกาย และหายตวั ได้ ทงั้ ยังอยูย่ งคงกระพนั แมถ้ ูกอาวุธจนตายแต่เมอื่ ลมพดั มาก็ฟ้ืนขน้ึ ได้อีก ที่เปน็ เชน่ นเ้ี พราะหนมุ านเปน็ บตุ รของพระพาย (ลม) เกดิ เมื่อนางสวาหะถูกมารดาสาปให้ยนื ตีนเดยี ว เหน่ยี วกินลมพระอิศวรจงึ มพี ระบัญชา ใหพ้ ระพายนาเทพอาวุธของพระองค์ไปซดั เข้าปากของนางนาง จึงตั้งครรภ์และคลอดหนมุ านออกมา ทศกณั ฐ์ ทศกัณฐเ์ ปน็ ยักษ์ครองกรงุ ลงกา มีกายสเี ขียว มี ๑๐ พกั ตร์ ๒๐ กร ลกั ษณะปากแสยะ ตาโพลง สามารถแปลงกายได้ตามปรารถนาและไม่มีใครฆ่าให้ตายได้เนอ่ื งจากถอดดวงใจใส่กล่องฝากไว้ กบั พระฤาษีโคบุตร ทศกัณฐ์คอื นนทกท่กี ลับชาตมิ าเกดิ เปน็ โอรสของทา้ วลสั เตียนและนางรชั ดา ตน้ เหตแุ หง่ สงคราม ระหว่างทศกณั ฐก์ ับพระรามเกดิ ขน้ึ เม่ือทศกัณฐ์ไปลกั พาตัวนางสีดามาไว้ที่กรงุ ลงกา เพราะต้องการได้ นางเป็นมเหสีโดยทไ่ี มร่ ูว้ า่ นางสีดากค็ ือธดิ าของตน เหตกุ ารณ์คร้ังนที้ าให้ทศกณั ฐต์ ้องสูญเสยี ญาตมิ ติ ร และบริวารเปน็ จานวนมากแม้ผู้ใดจะทดั ทานก็ไม่ฟัง สดุ ทา้ ยแมแ้ ต่ตนเองก็ต้องตายด้วยศรพรหมาสตร์ ของพระราม นนทก นนทกเปน็ ยักษ์ทาหนา้ ท่ีล้างเทา้ เทวดาซง่ึ จะเข้าเฝา้ พระอิศวรท่ีเชิงเขาไกรลาส เดิมนนทกมนี สิ ยั ออ่ นน้อม ทาหน้าทดี่ ว้ ยความเพยี รและอดทน แตม่ ักถกู เทวดากลัน่ แกลง้ ถอนผม ตบหวั จนหวั โล้น จงึ เกิดความแคน้ ไปทลู ขอพระอิศวรให้มนี ว้ิ เปน็ เพชร พระอิศวรกป็ ระทานพรใหเ้ พราะเห็นแกค่ วามขยัน และซอื่ สตั ย์ที่นนทกทางานรับใช้มาชา้ นาน แตน่ นทกกลับนานิ้วเพชรมาชี้เทวดาลม้ ตายจานวนมาก พระอศิ วรจึงมบี ญั ชาให้พระนารายณม์ าปราบนนทก พระนารายณ์แปลงเปน็ นางฟา้ มาชวนใหน้ นทก ร่ายรา นนทกราตามจึงเผลอช้ีนิ้วเพชรไปทีข่ าตนเองจนขาหักลม้ ลง เม่ือนนทกเหน็ ว่าเป็นพระนารายณ์จึงต่อวา่ ที่พระนารายณ์แปลงเปน็ หญิงมาหลอกและบอกวา่ ตนมเี พยี ง ๒ มือ จะสพู้ ระนารายณ์ ซ่งึ มี ๔ มือได้อย่างไร พระนารายณจ์ ึงประทานพรใหน้ นทกไปเกิดใหม่ มี ๑๐ หนา้ ๒๐ มอื ถืออาวุธต่าง ๆ สว่ นพระองคจ์ ะไปเกิด เป็นมนุษยม์ เี พียง ๒ มือมาปราบวงศย์ กั ษ์ของนนทกให้สิน้ แล้วพระนารายณ์กส็ งั หารนนทก จากนนั้ นนทกจึง ไปกาเนดิ เปน็ ทศกัณฐท์ ี่กรุงลงกาและพระนารายณ์อวตารลงมาเป็นพระรามทก่ี รุงอโยธยา
ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ งบทละครเร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ได้ คะแนน วันท่ี เดอื น พ.ศ. คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ชือ่ ชน้ั เลขท่ี ให้นักเรยี นเขยี นแผนภาพโครงเรื่องบทละครเรือ่ ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ▪ ตวั ละคร ▪ ฉาก รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ▪ ขอ้ คิด ▪ ปญั หา ▪ เหตกุ ารณ์
ใบงานที่ ๒ เร่อื ง การอธิบายคณุ ค่าของบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ คะแนน ตอน นารายณป์ ราบนนทก ได้ วันท่ี เดอื น พ.ศ. คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ช่อื ชนั้ เลขที่ ให้นักเรียนอธบิ ายคณุ ค่าของบทละครเรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ในดา้ นเนอื้ หา ด้านแนวคดิ และด้านวรรณศิลป์ คณุ คา่ ดา้ นเน้อื หา ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ คณุ ค่าด้านแนวคิด ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ชือ่ -สกุล ความต้งั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผูร้ บั การประเมิน ในการทางาน รบั ผดิ ชอบ เวลา เรยี บร้อย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมนิ ลงชือ่ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ
แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง ท่ีตรงกับระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ดา้ น ๔๓๒๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย กษตั รยิ ์ ความหมายของ เพลงชาติ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน ๑.๓ ใหค้ วามร่วมมือ รว่ มใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี นและชุมชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏบิ ัตติ นตามหลักของ ศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมทีเ่ ก่ียวกับสถาบัน พระมหากษัตริยต์ ามท่ีโรงเรยี นและชมุ ชนจดั ขึ้น ๒. ซอื่ สัตย์ สุจริต ๒.๑ ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกต้อง และเปน็ จริง ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่ิงทถ่ี กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะทาความผิด ทา ตามสญั ญาทีต่ นให้ไวก้ ับเพ่ือน พ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ิตอ่ ผู้อน่ื ดว้ ยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางที่ไม่ถูกตอ้ ง ๓. มีวนิ ยั ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ ใน ชีวิตประจาวัน และรับผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นรู้ต่างๆ ๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สงิ่ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด พอเพียง คุม้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดูแล อยา่ งดี ๕.๓ ปฏบิ ัตติ นและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตผุ ล ๕.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่นื และไม่ทาใหผ้ ู้อน่ื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมอ่ื ผู้อ่นื กระทาผดิ พลาด
คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑ ๕.๕ วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ชีวติ ประจาวันบนพ้นื ฐาน ของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ๕.๖ รู้เท่าทนั การเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับ และปรับตัว อยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบง่ ปันสง่ิ ของให้ผู้อื่น ๘.๓ ดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติของห้องเรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ประเมิน ลงชอ่ื .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ตา่ กว่า ๕๔ ปรับปรุง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๘ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ วรรณคดีและวรรณกรรม เรือ่ ง รามเกียรติ ตอน นารายณ์ปราบนนทก แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ เรือ่ ง สรุปความรแู้ ละรู้จักตัวละคร เวลาเรยี น ๓ ชวั่ โมง รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ผูส้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิริมงคล กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนมัธยมวดั สงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่า และนามาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง ตวั ชีว้ ดั ท ๕.๑ ม. ๒/๕ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการอ่าน จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ู่ตัวช้ีวดั ๑. ทอ่ งจาบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอนทสี่ นใจ (K) ๒. แสดงความคดิ เห็นจากบทละครตอนทเี่ ลือก (P) ๓. เห็นคุณคา่ ของบทร้อยกรอง (A) สาระสาคญั (คาชแี้ จง) บทละครเรือ่ ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก มีตอนที่ ไพเราะ คารมคมคาย และมีความดีหลายตอน จึงมีคุณค่าควรแก่การท่องจาเพื่อนาไปใช้อ้างอิง การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นา ๑. ใหน้ ักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดังน้ี ความจามปี ระโยชน์อย่างไร ข้ันสอน ๑. ให้นักเรียนร่วมกันสนทนาเกีย่ วกบั นักแสดงซึง่ ตอ้ งทอ่ งบทก่อนเข้าฉาก ๒. ใหน้ กั เรียนทอ่ งบทละครเรือ่ ง รามเกยี รต์ิ ที่เตรยี มตัวมา โดยครูจดั กจิ กรรมเช่นเดยี วกบั การละเล่นมอญซ่อนผา้ ให้นกั เรียนนัง่ เป็นวงกลม ครจู ับฉลากหมายเลขประจาตวั ของนักเรียน ไดห้ มายเลขของใครคนนัน้ ต้องออกมา ท่องก่อน ขณะท่ที ่องใหเ้ ดินไปรอบวงและถอื ผ้าเชด็ หน้าไว้ในมือ เมื่อท่องจบให้นาผ้าวางไว้ข้างหลังเพอ่ื น จะเลอื กเพ่ือน คนใดก็ได้ แตไ่ ม่ให้ซา้ คนเดิม คนที่มีผา้ วางอย่ขู า้ งหลังต้องออกมาท่องเป็นคนตอ่ ไป สว่ นคนทท่ี ่องจบแล้วลงนง่ั แทนที่ จากน้ันบอก เหตผุ ลท่เี ลอื กท่องจาบทนั้น กิจกรรมจะดาเนินต่อไปจนนกั เรียนทอ่ งครบทกุ คน ขน้ั สรุป
ให้นักเรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังนี้ บทละครเร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก มีตอนท่ีไพเราะ คารมคมคาย และมี ความหมายดีหลายตอน จงึ มีคณุ ค่าควรแก่การท่องจาเพอ่ื นาไปใชอ้ ้างอิง ส่อื การเรยี นรู้ ๑. ใบงาน การท่องจาบทละครเร่อื ง รามเกยี รต์ิ ตอนท่ีสนใจ ๒. ผา้ เชด็ หนา้ ๓. ฉลาก การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านสมรรถนะ คณุ ลักษณะ คิดวิเคราะห์ อ่าน/คิด/เขยี น ๑. ใบงาน เรอ่ื ง การท่องจา วดั ทักษะดา้ นการส่ือสารการพูด ใฝ่เรยี นรู้ และรกั ความ บทละครเร่ือง รามเกยี รติ์ วัดจากการเขยี นและการพดู ตอนที่สนใจ การท่องจาบทละครเรื่อง เปน็ ไทย วดั จาก โดยใชช้ ิ้นงานเรือ่ ง การท่องจา บทละครเรื่อง รามเกยี รต์ิ รามเกยี รติ์ ตอนที่สนใจ แบบสอบถามทัศนคติ ตอนท่สี นใจ ที่มีตอ่ เน้ือหาสาระ ขอ้ เสนอแนะ - ใหน้ กั เรยี นค้นคว้าเกร็ดความรูเ้ ก่ยี วกับตัวละครในเรื่อง รามเกยี รต์ิ จากอนิ เทอรเ์ นต็ โดยเลือกตัวละคร ทีน่ กั เรยี นสนใจ ๑ ตวั พร้อมภาพประกอบนามาจดั ป้ายนเิ ทศแสดงผลงาน
การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมนิ กจิ กรรมนใี้ ห้ผู้สอนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เรอ่ื ง การทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ระดบั คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ (๑๐ คะแนน) (๙ คะแนน) (๗-๘ คะแนน) (๕-๖ คะแนน) เกณฑก์ ารประเมนิ การท่องจา ทอ่ งจาบทร้อยกรอง ท่องจาบทร้อยกรอง ทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ท่องจาบทร้อยกรอง บทรอ้ ยกรอง ไดถ้ ูกต้องทกุ คา ได้ถูกต้องทุกคา ได้ถูกตอ้ งทกุ คา ได้ถูกต้องทุกคา ไมม่ ีติดขัด ตกหล่น ไมม่ ีติดขัด ตกหล่น ไมม่ ตี ิดขดั ตกหลน่ ออก แตม่ ตี ิดขัดบ้าง ออกเสียงคาถกู ต้อง ออกเสยี งคาถกู ต้อง เสยี งคาถกู ตอ้ ง ชดั เจน ออกเสียงคาบางคา ชดั เจนทกุ คา ชัดเจนทุกคา ทุกคา ยังไม่ชดั เจน เวน้ จังหวะวรรคตอน เวน้ จังหวะวรรคตอน เว้นจังหวะวรรคตอน เว้นจังหวะ ถูกต้องทุกวรรค ถูกต้องทุกวรรค ถกู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ วรรคตอนถูกต้อง ใช้ระดับเสยี ง ใช้ระดบั เสยี ง ใช้ระดับเสียง เป็นบางวรรค แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ตาม ระดบั เสยี ง ตามบทประพันธ์ ตามบทประพนั ธ์ บทประพันธ์ ราบเรยี บ ได้ดีมาก ไดด้ ี ได้พอใช้ ไมแ่ สดงอารมณ์
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ชือ่ -สกลุ ความต้งั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผูร้ บั การประเมิน ในการทางาน รบั ผดิ ชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมนิ ลงชือ่ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ
แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกับระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย กษัตรยิ ์ ความหมายของ เพลงชาติ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน ๑.๓ ใหค้ วามร่วมมือ รว่ มใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี นและชุมชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏบิ ัตติ นตามหลักของ ศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมทีเ่ ก่ียวกับสถาบัน พระมหากษัตริยต์ ามท่ีโรงเรยี นและชมุ ชนจดั ขึ้น ๒. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ๒.๑ ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกต้อง และเปน็ จริง ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่ิงทถ่ี กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะทาความผิด ทา ตามสญั ญาทีต่ นให้ไวก้ ับเพ่ือน พ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ิตอ่ ผู้อน่ื ดว้ ยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางที่ไม่ถูกตอ้ ง ๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั รับผิดชอบ และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ ใน ชีวิตประจาวัน และรับผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นรู้ต่างๆ ๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ สงิ่ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด พอเพียง คุม้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดูแล อยา่ งดี ๕.๓ ปฏบิ ัตติ นและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตผุ ล ๕.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่นื และไม่ทาใหผ้ ู้อน่ื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมอ่ื ผู้อ่นื กระทาผดิ พลาด
คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑ ๕.๕ วางแผนการเรยี น การทางานและการใช้ชีวติ ประจาวันบนพ้นื ฐาน ของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ๕.๖ รู้เท่าทนั การเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับ และปรับตัว อยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบง่ ปันสง่ิ ของให้ผู้อื่น ๘.๓ ดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติของห้องเรยี น โรงเรียน ชุมชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ประเมิน ลงชอ่ื .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ตา่ กว่า ๕๔ ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๙ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เร่ือง โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง สรุปความรู้และร้จู ักตัวละคร เวลาเรียน ๓ ชว่ั โมง รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดาเนนิ ชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการอ่าน จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ่ตู วั ชี้วดั ๑. บอกความหมายของคาศัพท์จากโคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์ (K) ๒. จาแนกคาเอกโทษ และคาโทโทษ (P) ๓. เห็นความสาคัญของคาศัพท์จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ คาเอกโทษ คาโทโทษ เพ่ือจะ นาไปใชใ้ นการอ่านวรรณคดี และมีมารยาทในการอา่ น (A) สาระสาคญั (คาชแี้ จง) การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทโคลงนอกจากจะต้องรู้ความหมายของคาแล้วยังต้องเข้าใจ ลักษณะของคาเอกโทษและคาโทโทษด้วย การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนา ๑. ให้นักเรยี นร่วมกันสนทนา โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดังน้ี นักเรยี นรู้จกั สภุ าษติ ใดบ้าง ๒. ให้นักเรียนอา่ นบทนาเรื่องและทมี่ าโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์แลว้ สรุปสาระสาคญั จากน้นั บนั ทกึ ความรู้ลงสมุด ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสนทนาเก่ียวกับเน้อื เรื่อง ๓. ให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน โดยใหแ้ ต่งเร่ืองจากบตั รคาท่กี าหนดใหต้ ่อไปน้ีภายในเวลา ท่กี าหนด ความกลา้ ร่ารวย ประโยชน์ ราคาญ โสด หนงั สอื วาจา มิตร อธษิ ฐาน ปญั ญา ๔. ให้นักเรยี นส่งตวั แทนกล่มุ นาเสนอเรอื่ งที่แตง่ ใหเ้ พื่อนๆ ฟงั ครชู มเชยให้กาลังใจ ๕. ให้นกั เรียนพิจารณาคาทขี่ ีดเส้นใต้วา่ เปน็ คาเอกโทษหรือโทโทษแล้วเขยี นคาให้ถกู ต้อง ๑. อานาจศักดศ์ิ ฤงคาร มง่ั ข้ัง
๒. พูดมากเปลา่ เปลืองปน ปดเหล้น ๓. ศรัทธาทาจิตหมัน้ คงตรง ๔. ตามแบบบข่ าดหวนิ้ เสร็จแล้วบริบรู ณ์ ครูเฉลยคาตอบพร้อมอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ๖. ใหน้ กั เรยี นเขียนคาอ่านของคาท่ขี ีดเสน้ ใต้ ๑. โสฬสหมดหมวดปาง กอ่ นอา้ ง (โส-ลด) ๒. หวงั สวสั ดขิ์ จัดทุกข์สร้าง สืบสรอ้ งศภุ ผล (สุบ-พะ-ผน) ๓. อานาจศกั ดศ์ิ ฤงคาร มั่งขงั้ (สงิ -คาน) ๔. สรรพางคโ์ สภาคพรอ้ ม ธญั ลกั ษณ์ (สนั -ระ-พาง)(ทัน-ยะ-ลัก) ๕. สามส่วนควรใฝ่เฝ้า แตต่ งั้ อธิษฐาน (อะ-ทิด-ถาน) เมอ่ื เสร็จแลว้ ครูเฉลยคาตอบ ๗. ใหน้ กั เรียนจับคู่กบั เพ่อื นโยงเส้นจับค่คู ากับความหมายให้สมั พนั ธ์กัน โดยใชพ้ จนานุกรมชว่ ยใน การหาความหมาย เสรจ็ แล้วครเู ฉลยคาตอบ ไตรยางค์ ☼ ☼ คาพูดทีด่ ี ธญั ลักษณ์ ☼ ☼ ผลของความดงี าม มาตกิ า ☼ ☼ สบิ หก ภาษิต ☼ ☼ มุง่ รา้ ย เบยี ดเบียน ศฤงคาร ☼ ☼ ลกั ษณะดี ศภุ ผล ☼ ☼ สิง่ ใหเ้ กดิ ความรัก โสฬส ☼ ☼ สามส่วน หงึ ☼ ☼ เป็นอสิ ระ โสด ☼ ☼ ลาเอียงเพราะความโกรธ โทสาคติ ☼ ☼ แม่บท ๘. ใหน้ ักเรียนอา่ นออกเสยี งโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ ทั้งแบบธรรมดาและอ่านเปน็ ทานองเสนาะ โดยสลบั กนั อ่านกบั เพื่อน พร้อมให้เพื่อนชว่ ยวจิ ารณ์ขอ้ บกพร่องเพ่ือจะไดน้ าไปปรบั ปรงุ การ อา่ นในครั้งตอ่ ไป ๙. ใหน้ ักเรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดังนี้ เขา้ ใจลกั ษณะของกคาารเออก่าโนทอษอแกลเสะียคงาบโททโรท้อษยดก้วรยองประเภทโคลงนอกจากจะต้องรู้ความหมายของคาแล้วยังตอ้ ง ส่ือการเรียนรู้ ๑. บัตรคา ๒. พจนานกุ รม
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นสมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ คดิ วเิ คราะห์ อา่ น/คดิ /เขียน ๑. ใบงาน เร่ือง การอ่าน วัดทักษะด้านการส่ือสารการ ใฝเ่ รยี นรู้ และรกั ความ ออกเสียงโคลงสุภาษิตโสฬส การอ่านออกเสียงโคลงสุภาษิต เปน็ ไทย วัดจาก วัดจากการเขยี นและการอ่าน ไตรยางค์ โสฬสไตรยางค์ แบบสอบถามทัศนคติ โดยใช้ช้ินงานเร่ือง การอ่าน ท่ีมตี ่อเนื้อหาสาระ ออกเสียงโคลงสุภาษิตโสฬส ไตรยางค์ ขอ้ เสนอแนะ - ใหน้ กั เรยี นคน้ คว้าเกร็ดความรูเ้ กี่ยวกบั การอา่ นออกเสียงโคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางค์
การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมนิ กจิ กรรมนใี้ ห้ผู้สอนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เรอ่ื ง การทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ระดบั คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ (๑๐ คะแนน) (๙ คะแนน) (๗-๘ คะแนน) (๕-๖ คะแนน) เกณฑก์ ารประเมนิ การท่องจา ทอ่ งจาบทร้อยกรอง ท่องจาบทร้อยกรอง ทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ท่องจาบทร้อยกรอง บทรอ้ ยกรอง ไดถ้ ูกต้องทกุ คา ได้ถูกต้องทุกคา ได้ถูกตอ้ งทกุ คา ได้ถูกต้องทุกคา ไมม่ ีติดขัด ตกหล่น ไมม่ ีติดขัด ตกหล่น ไมม่ ตี ิดขดั ตกหลน่ ออก แตม่ ตี ิดขัดบ้าง ออกเสยี งคาถกู ต้อง ออกเสยี งคาถกู ต้อง เสยี งคาถกู ตอ้ ง ชดั เจน ออกเสียงคาบางคา ชดั เจนทกุ คา ชัดเจนทุกคา ทุกคา ยังไม่ชดั เจน เวน้ จังหวะวรรคตอน เวน้ จังหวะวรรคตอน เว้นจังหวะวรรคตอน เวน้ จังหวะ ถูกต้องทุกวรรค ถูกต้องทุกวรรค ถกู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ วรรคตอนถูกต้อง ใช้ระดับเสยี ง ใช้ระดบั เสยี ง ใช้ระดับเสียง เปน็ บางวรรค แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ตาม ระดบั เสยี ง ตามบทประพันธ์ ตามบทประพนั ธ์ บทประพันธ์ ราบเรยี บ ได้ดีมาก ไดด้ ี ได้พอใช้ ไม่แสดงอารมณ์
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ชือ่ -สกลุ ความต้งั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผูร้ บั การประเมิน ในการทางาน รบั ผดิ ชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมนิ ลงชือ่ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๐ ปรับปรงุ
แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกับระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ ้าน ๔๓๒๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบาย กษัตรยิ ์ ความหมายของ เพลงชาติ ๑.๒ ปฏิบัตติ นตามสิทธิและหน้าท่ีของนักเรียน ๑.๓ ใหค้ วามร่วมมือ รว่ มใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมและมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทสี่ ร้างความ สามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ โรงเรยี นและชุมชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏบิ ัตติ นตามหลักของ ศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทีเ่ ก่ียวกับสถาบัน พระมหากษัตริยต์ ามท่ีโรงเรียนและชุมชนจดั ขึ้น ๒. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ๒.๑ ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกต้อง และเปน็ จริง ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่ิงทถ่ี กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะทาความผิด ทา ตามสญั ญาทีต่ นให้ไวก้ ับเพ่ือน พ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ิตอ่ ผู้อน่ื ดว้ ยความซื่อตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางที่ไม่ถูกตอ้ ง ๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครวั รับผิดชอบ และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ใน ชีวิตประจาวัน และรับผิดชอบในการทางาน ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ๔.๒ มีการจดบนั ทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรไู้ ด้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใช้ทรัพยส์ นิ ของตนเอง เชน่ ส่งิ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด พอเพียง คุม้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี และใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดูแล อยา่ งดี ๕.๓ ปฏบิ ัตติ นและตดั สนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตผุ ล ๕.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผู้อ่นื และไม่ทาให้ผู้อน่ื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมอ่ื ผู้อ่นื กระทาผดิ พลาด
คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น ๔๓๒๑ ๕.๕ วางแผนการเรยี น การทางานและการใชช้ ีวติ ประจาวันบนพ้นื ฐาน ของความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ๕.๖ รู้เท่าทนั การเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรับ และปรับตัว อยู่รว่ มกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างมีความสุข ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางาน ๖.๒ มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคดิ ช่วยทา และแบง่ ปนั ส่งิ ของใหผ้ ู้อื่น ๘.๓ ดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติของห้องเรยี น โรงเรยี น ชุมชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ประเมิน ลงชอ่ื .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ ๓ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรับปรุง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ วรรณคดีและวรรณกรรม เรื่อง โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๐ เรื่อง ปรศิ นาสุภาษิต เวลาเรยี น ๓ ชว่ั โมง รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๒ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิรมิ งคล กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมธั ยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน การดาเนินชีวิต และมีนสิ ยั รักการอ่าน มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๒ จบั ใจความสาคญั สรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรอ่ื งที่อา่ น ท ๕.๑ ม. ๒/๑ สรุปเนือ้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นในระดบั ทีย่ ากข้ึน จุดประสงค์การเรียนร้สู ตู่ วั ช้ีวัด ๑. สรุปความโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ (K) ๒. เขยี นบทละครสน้ั ๆ จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ (P) ๓. เหน็ ความสาคญั ของการจับใจความสาคญั การสรปุ เนอ้ื หาจากเร่ืองท่ีอ่าน (A) สาระสาคญั (คาชแ้ี จง) การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมแล้วสามารถจับใจความสาคัญจนสรุปเน้ือหาท่ีอ่านได้จะทาให้ไดร้ บั ความรจู้ ากเร่ืองท่อี า่ นไดเ้ ปน็ อย่างดี การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนา ๑. ใหน้ กั เรียนรว่ มกันสนทนา โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดังนี้ ๑. ให้นักเรยี นรว่ มกนั สนทนา โดยครใู ช้คาถามท้าทาย ดงั นี้ นกั เรยี นมสี ุภาษิตประจาใจวา่ อย่างไร ๒. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๑๖ กลุ่ม จากน้ันให้ส่งตัวแทนออกมาจับฉลากโคลงสุภาษิตโสฬส ไต รยางค์ท้งั ๑๖ บท ๓. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ท่ีได้รับ จากน้ันให้นามาเขียนเป็นบท ละครเพื่อแสดงบทบาทสมมุตใิ ห้เพือ่ น ๆ ชว่ ยกันทายวา่ เป็นโคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางคบ์ ทใด ๔. ครตู รวจสอบบทละครพร้อมท้ังใหค้ าแนะนาเพ่ิมเติม ๕. ให้นักเรยี นซักซอ้ มบทบาทสมมุติตามเวลาท่ีกาหนด และเตรียมแสดงในช่ัวโมงตอ่ ไป
๖. ใหน้ กั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมแล้วสามารถจับใจความสาคัญจนสรุปเน้ือหาท่ีอ่านได้จะทาให้ ไดร้ ับความร้จู ากเร่อื งท่ีอ่านได้เป็นอยา่ งดี ส่ือการเรียนรู้ ๑. ฉลาก ๒. พจนานุกรม การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นสมรรถนะ คณุ ลักษณะ คิดวิเคราะห์ อ่าน/คดิ /เขยี น ๑. ใบงาน เรื่อง การอ่าน วัดทักษะด้านการสื่อสารการ ใฝ่เรียนรู้ และรกั ความ ออกเสียงโคลงสุภาษิตโสฬส การอ่านออกเสียงโคลงสุภาษิต เป็นไทย วดั จาก วดั จากการเขยี นและการอ่าน ไตรยางค์ โสฬสไตรยางค์ แบบสอบถามทัศนคติ โดยใช้ชิ้นงานเร่ือง การอ่าน ทีม่ ตี อ่ เนื้อหาสาระ ออกเสียงโคลงสุภาษิตโสฬส ไตรยางค์ ขอ้ เสนอแนะ - ใหน้ กั เรียนคน้ คว้าเกรด็ ความร้เู กย่ี วกบั การอา่ นออกเสยี งโคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางค์
การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมนิ กจิ กรรมนใี้ ห้ผู้สอนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) เรอ่ื ง การทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ระดบั คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ (๑๐ คะแนน) (๙ คะแนน) (๗-๘ คะแนน) (๕-๖ คะแนน) เกณฑก์ ารประเมนิ การท่องจา ทอ่ งจาบทร้อยกรอง ท่องจาบทร้อยกรอง ทอ่ งจาบทรอ้ ยกรอง ท่องจาบทร้อยกรอง บทรอ้ ยกรอง ไดถ้ ูกต้องทกุ คา ได้ถูกต้องทุกคา ได้ถูกตอ้ งทกุ คา ได้ถูกตอ้ งทุกคา ไมม่ ีติดขัด ตกหล่น ไมม่ ีติดขัด ตกหล่น ไมม่ ตี ิดขดั ตกหลน่ ออก แตม่ ตี ิดขัดบ้าง ออกเสยี งคาถกู ต้อง ออกเสยี งคาถกู ต้อง เสยี งคาถกู ตอ้ ง ชดั เจน ออกเสยี งคาบางคา ชดั เจนทกุ คา ชัดเจนทุกคา ทุกคา ยังไม่ชัดเจน เวน้ จังหวะวรรคตอน เวน้ จังหวะวรรคตอน เว้นจังหวะวรรคตอน เวน้ จังหวะ ถูกต้องทุกวรรค ถูกต้องทุกวรรค ถกู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ วรรคตอนถูกต้อง ใช้ระดับเสยี ง ใช้ระดบั เสยี ง ใช้ระดับเสียง เปน็ บางวรรค แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ตาม ระดบั เสียง ตามบทประพันธ์ ตามบทประพนั ธ์ บทประพนั ธ์ ราบเรยี บ ได้ดีมาก ไดด้ ี ได้พอใช้ ไม่แสดงอารมณ์
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ชือ่ -สกุล ความต้งั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผูร้ บั การประเมิน ในการทางาน รบั ผดิ ชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมนิ ลงชือ่ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ดา้ น ๔๓๒๑ ๑. รักชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ รอ้ งเพลงชาติได้ และอธบิ าย กษตั ริย์ ความหมายของ เพลงชาติ ๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าท่ีของนักเรยี น ๑.๓ ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทางานกบั สมาชิกในโรงเรียน ๑.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมท่ีสรา้ งความ สามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรยี นและชมุ ชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบตั ติ นตามหลักของ ศาสนา ๑.๖ เขา้ รว่ มกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมทเ่ี ก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามท่โี รงเรยี นและชุมชนจดั ขึน้ ๒. ซอื่ สัตย์ สจุ รติ ๒.๑ ให้ขอ้ มลู ที่ถูกตอ้ ง และเป็นจริง ๒.๒ ปฏบิ ตั ิในสิง่ ท่ถี ูกตอ้ ง ละอาย และเกรงกลวั ทจี่ ะทาความผดิ ทา ตามสญั ญาทีต่ นให้ไว้กับเพ่ือน พอ่ แม่ หรือผ้ปู กครอง และครู ๒.๓ ปฏบิ ัตติ อ่ ผอู้ น่ื ดว้ ยความซ่ือตรง ไม่หาประโยชน์ในทางท่ีไมถ่ ูกต้อง ๓. มวี นิ ยั ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว รับผิดชอบ และโรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ งๆ ใน ชวี ติ ประจาวนั และรับผิดชอบในการทางาน ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ ๔.๒ มกี ารจดบันทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ ๔.๓ สรปุ ความรู้ได้อย่างมีเหตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เชน่ สงิ่ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั พอเพยี ง คุ้มคา่ และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยดั คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ล อยา่ งดี ๕.๓ ปฏิบัติตนและตัดสนิ ใจด้วยความรอบคอบ มีเหตผุ ล
๕.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ ่ืน และไมท่ าให้ผู้อนื่ เดอื ดร้อน พร้อมให้อภัยเม่อื ผูอ้ ื่นกระทาผิดพลาด คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ดา้ น ๔๓๒๑ ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ วี ติ ประจาวนั บนพื้นฐาน ของความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ๕.๖ รู้เทา่ ทันการเปลย่ี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับ และปรับตวั อยรู่ ่วมกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ๖. มุง่ มนั่ ในการ ๖.๑ มีความตัง้ ใจและพยายามในการทางานท่ีได้รับมอบหมาย ทางาน ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสาเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มีจิตสานกึ ในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ ๘.๑ รจู้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ชว่ ยคิด ชว่ ยทา และแบง่ ปนั สิ่งของให้ผู้อน่ื ๘.๓ ดแู ล รักษาทรัพยส์ มบตั ิของห้องเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ประเมนิ ลงชอื่ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ ๔ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ ๒ คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดมี าก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ตา่ กวา่ ๕๔ ปรับปรงุ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๑ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เร่อื ง โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑๑ เรอ่ื ง อา่ นไดเ้ ขา้ ใจความ เวลาเรยี น ๓ ชวั่ โมง รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิรมิ งคล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาใน การดาเนนิ ชีวิต และมีนสิ ยั รกั การอา่ น มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ คา่ และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม. ๒/๒ จับใจความสาคญั สรปุ ความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเรอื่ งท่ีอา่ น ท ๕.๑ ม. ๒/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่านในระดบั ท่ยี ากขึ้น จุดประสงค์การเรยี นรูส้ ่ตู ัวชี้วัด ๑. อธบิ ายรายละเอียดในโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ (K) ๒. อ่านจบั ใจความและสรุปความโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ (P) ๓. เห็นความสาคญั ของการจับใจความสาคญั การสรุปเน้ือหาจากเรื่องที่อ่าน (A) สาระสาคัญ (คาชีแ้ จง) การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมแล้วสามารถจับใจความสาคัญจนสรุปเนื้อหาที่อ่านได้จะทาให้ได้รบั ความรู้จากเร่ืองท่อี า่ นได้เป็นอยา่ งดี การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นา ๑. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท่ีได้ฝึกซ้อมบทบาทสมมุติโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ท่ีได้รับมอบหมาย ออกมาแสดงและให้เพ่ือนๆ ทายว่าเป็นโคลงสุภาษิตบทใด กลุ่มท่ีแสดงเฉลยคาตอบ ครูชมเชยการแสดงของ นักเรยี น ๒. เมื่อทุกกลุ่มแสดงเสร็จแล้วให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓๖ เรื่อง การสรุปความโคลงสุภาษิตโสฬสไต รยางค์ ครตู รวจสอบความถกู ต้อง ๓. ให้นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมแลว้ สามารถจับใจความสาคัญจนสรุปเนื้อหาที่อ่านได้จะทา ใหไ้ ด้รับความรู้จากเรอื่ งทีอ่ า่ นได้เป็นอยา่ งดี ๔. ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดังนี้ นักเรยี นชอบโคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางคบ์ ทใดมากทส่ี ดุ สอื่ การเรียนรู้
๑. ใบงานการสรปุ ความโคลงสภุ าษิตโสฬสไตรยางค์ ๒. พจนานุกรม การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นสมรรถนะ คุณลักษณะ คดิ วิเคราะห์ อา่ น/คดิ /เขยี น ๑. ใบงาน เร่ือง การอ่าน วัดทักษะด้านการสื่อสารการ ใฝ่เรยี นรู้ และรกั ความ ส รุ ป ใ จ ค ว า ม ส า คั ญ โ ค ล ง การอ่านสรุปใจความสาคัญของ เป็นไทย วัดจาก วดั จากการเขยี นและการอา่ น สุภาษติ โสฬสไตรยางค์ โคลงสภุ าษติ โสฬสไตรยางค์ แบบสอบถามทัศนคติ โดยใชช้ ิ้นงานเร่อื ง การอ่าน ท่ีมตี ่อเน้ือหาสาระ สรุปใจความสาคญั ของโคลง สภุ าษิตโสฬสไตรยางค์ ขอ้ เสนอแนะ - ให้นกั เรียนค้นคว้าเกรด็ ความรู้เก่ยี วกับการอา่ นออกเสียงโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมินใบงานน้ใี หผ้ ู้สอนพิจารณาจากเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอ่ื ง การสรปุ ความโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ ระดับ ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน (๑๐ คะแนน) (๙ คะแนน) (๗-๘ คะแนน) (๕-๖ คะแนน) เกณฑ์การประเมนิ สรุปความไดถ้ ูกต้องมี สรปุ ความได้ถูกต้อง สรุปความได้ถูกต้อง สรปุ ความส้ันมาก การสรปุ ความ โคลงสภุ าษิต สาระสาคญั ครบถ้วน มสี าระสาคญั ครบถว้ น ขาดสาระสาคัญ แตส่ ามารถ โสฬสไตรยางค์ ใช้ภาษาเรยี บเรียง แตพ่ ยายามอธบิ าย บางสว่ น แตเ่ นอื้ ความ จับประเด็น สละสลวย รายละเอยี ดมาก โดยรวมตรงตาม ได้ตรงตาม เกนิ ไปจนทาให้ บทร้อยกรองและต้อง บทรอ้ ยกรอง ขอ้ ความไม่กระชับ ปรบั ปรุงเรื่อง การใช้ภาษาใหก้ ระชับ มากขึ้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116