Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Conceptual Metaphor of Happiness in Thai Blogs

Conceptual Metaphor of Happiness in Thai Blogs

Published by Suphattra Promdam, 2019-12-25 02:28:55

Description: อุปลักษณ์ความสุขในบล็อกไทย
รัชนีย์ญา กลิ่นน้ำหอม

Search

Read the Text Version

132 อุปลกั ษณค์ วามสุขในบลอ็ กไทย CONCEPTUAL METAPHOR OF HAPPINESS IN THAI BLOGS รัชนียญ์ า กลนิ่ นำ�้ หอม / RATCHANEEYA KLINNAMHOM ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ DEPARTMENT OF THAI AND ORIENTAL LANGUAGES, FACULTY OF HUMANITIES, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY บทคัดย่อ บทน�ำ บทความวิจัยน้ีศึกษาถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขของผู้ใช้ ภาษาไทยในเว็บบล็อกโดยมุ่งตอบคำ�ถามว่าถ้อยคำ�อุปลักษณ์ท่ีใช้ ความสุขเป็นสภาวะทางกายและใจท่ีมนุษย์ทุกคน สะทอ้ นมโนทศั นเ์ กย่ี วกบั ความสขุ อยา่ งไร ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษารวบรวม ปรารถนา แสวงหาและพยายามทกุ วถิ ีทางท่จี ะสร้างหรอื เพ่มิ พนู จากบทความในเวบ็ บลอ็ กสามแหง่ ไดแ้ ก่ บลอ็ กแก็งค์ (bloggang) ใหไ้ ด้มากยงิ่ ขน้ึ แตห่ ากใหท้ กุ คนนยิ ามความสุขจะพบว่าความสขุ เอก็ ซ์ทนี บลอ็ ก (exteenblog) และโอเคเนชัน่ บล็อก (oknationblog) เป็นนามธรรมที่อธิบายและให้นิยามได้ยาก หลายคนจึงกล่าวถึง ในระหวา่ ง เดอื นมกราคม 2550 ถึง ธันวาคม 2553 ผลการศึกษา ความสุขในลักษณะต่างๆ กัน เช่น ความสุขคือการให้ ความสุข พบว่าผู้ใช้ภาษาใช้ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขสะท้อนมโนทัศน์ คือความสบายใจ ความสุขคอื ความพอใจ ความสุขคอื ความมง่ั ค่งั ตอ่ ความสขุ วา่ ความสขุ คอื สง่ิ จำ�เปน็ ทท่ี กุ คนปรารถนาและครอบครอง ฯลฯ การอธิบายความหมายและลักษณะของ “ความสขุ ” ใหช้ ัดเจน และความสุขคือสิ่งที่มีสภาวะไม่คงทนและไม่แน่นอน มโนทัศน์ จงึ มีความซบั ซ้อน และแตกต่างหลากหลายซึ่งอาจมีปัจจยั มาจาก ท้งั สองลักษณะน้มี ีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตในสังคมและหลักค�ำ สอน ความคดิ ท่แี ตกตา่ งกนั ของคนตา่ งวัฒนธรรมและสงั คม ในพระพุทธศาสนา นักภาษาศาสตร์ปริชานมีความเช่ือพ้ืนฐานว่าภาษา ค�ำ สำ�คญั : อุปลกั ษณค์ วามสขุ บลอ็ กไทย เป็นส่วนหนึ่งของระบบวิธีคิด กล่าวคือ เรามีวิธีคิดหรือมุมมอง ตอ่ สง่ิ ตา่ งๆ เชน่ ไรเรากม็ กั จะมพี ฤตกิ รรม การแสดงออก รวมถงึ การ Abstract ใช้ภาษาที่สอดคลอ้ งกบั ระบบวธิ ีคิดเหลา่ นนั้ ดว้ ย เชน่ หากเราคดิ This article aims to examine metaphorical expressions และมีทศั นคตวิ ่าเวลาเปน็ ส่ิงท่ีสำ�คญั และมอี ยอู่ ยา่ งจำ�กัด เรากจ็ ะใช้ used by people who access Thai blog websites. The research เวลาทุกๆ นาทีอย่างคุ้มค่าและไม่ปล่อยเวลาให้ล่วงไปโดยไม่เกิด question is “What is the happiness concept reflected in ประโยชน์ ทำ�งานต่างๆ อย่างรวดเร็วและเราก็มักจะใช้ภาษา metaphorical expressions?” The data used in this study were หรอื พดู ถงึ เวลาทส่ี ะทอ้ นมมุ มองวา่ เวลาเปน็ สง่ิ ทม่ี คี า่ เปน็ ตน้ เลคอฟ derived from the happiness articles in the three Thai Blogs, และจอหน์ สัน (Lakoff & Johnson) [1] เป็นผู้ที่ศึกษาระบบวิธคี ดิ ‘Bloggang’, ‘Exteenblog’ and ‘Oknationblog’ during 2008-2010. และมุมมอง ทีผ่ ูใ้ ชภ้ าษามีต่อส่ิงตา่ งๆ ในโลกตามแนวทางของ The study result reveals that Thai Blog users tend to convey ภาษาศาสตรป์ รชิ านโดยวเิ คราะหจ์ ากการใช้ “อปุ ลกั ษณ”์ (metaphor) ‘metaphorical expressions’ that is reflected in the two main ซ่งึ เป็นลักษณะการใชภ้ าษาแบบเปรียบเทียบ โดยกลา่ วว่าอปุ ลักษณ์ concepts of happiness, those are “Happiness is the desirable ซ่ึงเป็นถ้อยคำ�เปรียบเทียบที่ผู้ใช้ภาษาใช้ในการสื่อสารในชีวิต things that everyone need” and “Happiness is not sustainable ประจ�ำ วนั หรอื เรยี กอกี อยา่ งไดว้ า่ “ถอ้ ยค�ำ อปุ ลกั ษณ”์ (metaphorical things. These concepts has related with their lifestyle and the expressions) นัน้ เปน็ ส่งิ ท่ีได้มาจากระบบวธิ คี ดิ หรอื มโนทัศน์ท่ีผใู้ ช้ doctrine of Buddhist teaching. ภาษาไดร้ บั มาจากการเรยี นรผู้ า่ นประสบการณ์ วฒั นธรรมและสงั คม Keywords : happiness metaphor, Thai blog ของผู้ใช้ภาษานั้นๆ เลคอฟและจอห์นสันเรียกอุปลักษณ์ในระดับ มโนทัศน์ว่า “มโนอปุ ลกั ษณ์” (conceptual metaphor) กลา่ วอกี นัยหนึ่งคือ ถ้อยคำ�อุปลักษณ์เป็นผลผลิตที่ได้จากมโนอุปลักษณ์ ในระบบวิธีคิด ดังนั้นหากเราต้องการเข้าใจมโนทัศน์ที่ผู้ใช้ภาษา มีต่อสิ่งต่างๆ ในโลกนี้ เราสามารถศึกษาได้จากการใช้ถ้อยคำ� อุปลักษณท์ ผี่ ู้ใช้ภาษาใช้ในการสอ่ื สารทั่วๆ ไปได้

วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ (สาขามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 133 แนวคิดการศึกษาอุปลักษณ์ตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน วตั ถุประสงค์ของการวิจยั ของเลคอฟและจอห์นสันได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและได้มี 1. เพอ่ื ศกึ ษาถอ้ ยค�ำ อุปลกั ษณค์ วามสุขจากการใชภ้ าษา ผู้สนใจนำ�แนวคิดดังกล่าวมาใช้เป็นแนวทางในการศึกษาอุปลักษณ์ ในเว็บบลอ็ กไทย เพิ่มมากข้นึ ทผ่ี า่ นมาได้ มีงานวิจยั ทน่ี �ำ แนวคิดน้มี าใชใ้ นการศึกษา 2. เพ่ือศึกษามโนอปุ ลกั ษณ์ความสขุ ที่สะทอ้ นจากถอ้ ยค�ำ มมุ มองของผใู้ ชภ้ าษาทม่ี ตี ่อ “ความสขุ ” ในกลุม่ ผใู้ ช้ภาษาตา่ งๆ อุปลกั ษณ์ความสขุ ของคนไทยในเวบ็ บล็อกไทย เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาอารบิก และภาษาจนี ผลจากการศึกษา ท�ำ ใหท้ ราบวา่ ผพู้ ดู ภาษาตา่ งๆ มมี มุ มองหรอื ระบบวธิ คี ดิ ตอ่ ความสขุ ขอบเขตของขอ้ มลู ที่เหมือน และต่างกัน ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวแสดงให้เห็น งานวิจัยน้ีจะรวบรวมข้อมูลถ้อยคำ�อุปลักษณ์จากเว็บ ความสมั พันธ์ของการใช้อุปลักษณ์และวฒั นธรรม กลา่ วคือ การใช้ บลอ็ ก 3 แหง่ ไดแ้ ก่ เอ็กซ์ทีนบล็อก (exteenblog) บลอ็ กแก็งค์ อุปลักษณ์เป็นส่ิงที่ได้มาจากระบบวิธีคิดของผู้ใช้ภาษาซึ่งมาจาก (bloggang) และโอเคเนชน่ั บล็อก (oknationblog) ซง่ึ เปน็ เว็บบล็อก ประสบการณพ์ น้ื ฐานของมนษุ ยแ์ ละสงั คมวฒั นธรรมของผใู้ ชภ้ าษานน้ั ๆ ของคนไทยที่มีสมาชิกทุกระดบั อายุจ�ำ นวนมาก ทรฮู ติ (Truehits) น่าสนใจว่าแนวคิดดังกล่าวนี้หากนำ�มาวิเคราะห์การใช้ถ้อยคำ� ซ่งึ เปน็ เว็บไซตท์ ่จี ดั อนั ดับความนิยมของเว็บต่างๆ ในประเทศไทย อุปลักษณ์ของผู้ใช้ภาษาไทยจะทำ�ให้ทราบวิธีคิดหรือมุมมอง ได้แสดงผลการจัดลำ�ดับให้เป็นเว็บบล็อกท้ังสามชื่อดังกล่าวเป็น ทีม่ ตี อ่ ความสุขซงึ่ เปน็ เรื่องนามธรรมและซับซ้อนอยา่ งไร เวบ็ ยอดนยิ มของคนไทย ในภาษาไทยเราสามารถพบข้อความหรือถ้อยคำ�ที่ ในงานวิจัยน้ีผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากข้อความใน ใช้สื่อสารในชีวิตประจำ�วันของผู้ใช้ภาษาท่ีกล่าวถึงความสุข บลอ็ กในระหว่างเดอื นมกราคม 2550 ถงึ ธันวาคม 2553 ทก่ี ล่าว ในลักษณะตา่ งๆ เชน่ “ถ้าเราคดิ ดีๆ เราจะพบว่ามีความสขุ เล็กๆ ถงึ ความสุขโดยจ�ำ แนกถอ้ ยค�ำ อปุ ลกั ษณ์ความสขุ จากขอ้ ความทั่วไป แอบซอ่ นอยู่” “วันทีค่ วามสุขเบ่งบาน” “เตมิ เตม็ ความสุข” “เสน้ ทาง ตามนยิ ามอุปลกั ษณ์ กลา่ วคอื อปุ ลกั ษณ์ หมายถงึ ข้อความหรอื แหง่ ความสขุ ” และ “4ปี ความสขุ ทห่ี ายไป 4ปี มารว่ มสรา้ งความสขุ ถ้อยคำ�ท่ีแสดงการเปรียบเทียบส่ิงหนึ่งกับส่ิงใดสิ่งหนึ่งที่อยู่ต่างวง กนั ใหมเ่ พอ่ื ไทยทกุ คน” เป็นตน้ จากตัวอย่างจะเห็นว่าผ้ใู ชภ้ าษา ความหมายกันในการเปรียบเทียบอาจจะปรากฏหรือไม่ปรากฏค�ำ ไทยกล่าวถึงความสุขโดยการใช้ถ้อยคำ�อุปลักษณ์เปรียบเทียบความ เชื่อมแสดงการเปรียบเทียบก็ได้ เช่น สุขกับสงิ่ ตา่ งๆ ทห่ี ลากหลาย กล่าวอกี นัยหนงึ่ คอื ผู้พูดภาษาไทย (1) คนเราเกดิ มาเหมอื นกนั แตป่ รมิ าณความสขุ มกั ไมเ่ ทา่ กนั กล่าวถึงความสุขด้วยการเปรียบความสุขกับวัตถุที่มีขนาด (2) ความสุข คือ ทรัพยส์ ิน เงินทอง เกียรติยศ หรอื ปริมาณ ความสุขเป็นดอกไมท้ เี่ บง่ บาน เป็นพื้นท่ีหรอื บรเิ วณ ตัวอย่าง (1) ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขที่เปรียบเทียบ เป็นเส้นทางหรือจุดหมายของการเดินทางและเป็น สิง่ ท่ีสร้างขนึ้ ได้ ความสุขกบั สสารท่มี ีปรมิ าณซง่ึ ไมป่ รากฏคำ�เช่อื ม เชน่ เป็น เหมือน ตามล�ำ ดับ การเปรียบเทียบดงั กล่าวน�ำ ไปส่กู ารสะท้อนความคดิ หรอื คือ ถอ้ ยคำ�อปุ ลักษณด์ ังกลา่ วน้มี สี สารทีม่ ีปรมิ าณสามารถวดั และมมุ มองทผี่ ู้ใชภ้ าษาไทยมีตอ่ ความสุขได้ หรอื ตวงไดเ้ ปน็ แบบเปรยี บ (source domain) และความสขุ เปน็ สง่ิ ท่ี ปัจจุบันนับว่าโลกมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ถูกเปรยี บ (target domain) อย่างมาก การเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนระหว่างคนต่างภาษา ตวั อย่าง (2) ถ้อยคำ�อปุ ลกั ษณ์ความสุขท่ีปรากฏคำ�เช่ือม ต่างวัฒนธรรมและสังคมส่งผลให้วิถีการด�ำ เนินชีวิตของผู้คนในโลก “คอื ” ทแี่ สดงการเปรียบ ความสขุ กบั ทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง เกยี รตยิ ศ เปลยี่ นแปลงไปดว้ ย มีผูก้ ลา่ วว่าความเจริญก้าวหน้าของโลกสมัย โดย ทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง เกียรติยศ เปน็ แบบเปรยี บ (source ใหม่อาจเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทำ�ให้ระดับความสุขของคนเราลดน้อยลง domain) และ ความสุขเป็นสิ่งท่ถี กู เปรยี บ (source domain) โดยเฉพาะในสังคมไทย น.พ.บญุ สิน ตงั้ ตระกูลวนชิ [2] กล่าวว่า “คนไทยทุกวนั นีส้ ว่ นใหญเ่ ปน็ โรคขาดแคลนความสุข ไม่ว่าจะไป แนวคิดเกยี่ วกบั การศึกษาอุปลักษณ์ แหง่ หนต�ำ บลใดกจ็ ะพบแตผ่ ้คู นทีม่ สี ีหน้าแววตาเคร่งเครยี ด ไมย่ ้มิ ผู้ศึกษาอุปลักษณ์ส่วนหนึ่งอาจมีความเข้าใจว่าอุปลักษณ์ ไมเ่ ปน็ สยามเมอื งยม้ิ เหมอื นในอดตี ความสขุ ของคนไทยหายไปไหน เป็นโวหารภาพพจน์ (Figure of speech) ซง่ึ เป็นสว่ นหนง่ึ ของ และหายไปตั้งแต่เมื่อไหร่ ทำ�ไมคนไทยในปัจจุบันจึงทุกข์ง่าย การศึกษาที่เก่ียวกับความงามทางภาษาหรือวรรณศิลป์ในงาน สุขยากและอนาคตจะเกิดอะไรข้ึนถ้าสังคมไทยเป็นสังคมอมทุกข์ ประพนั ธ์ ทผ่ี า่ นมาการศกึ ษาอปุ ลกั ษณ์ จงึ มงุ่ เนน้ วเิ คราะหอ์ ปุ ลกั ษณ์ ความสุขของคนไทยเปล่ียนไปอย่างไร” ในเชิงท่ีเป็นศิลปะของการประพันธ์หรือมุ่งวิเคราะห์ความสามารถ จากค�ำ กลา่ วขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั จงึ สนใจวา่ คนไทยในยคุ สมยั ใหม่ เฉพาะตวั ของนกั ประพนั ธห์ รอื กวี ปจั จบุ นั ไดม้ ผี สู้ นใจศกึ ษาอปุ ลกั ษณ์ มีมโนทัศน์หรือมุมมองเกี่ยวกับความสุขอย่างไร บทความวิจัยนี้ ในมุมมองที่ต่างไป กล่าวคือมีผู้สนใจศึกษาอุปลักษณ์ในมุมมอง จึงมุ่งศึกษาอุปลักษณ์ความสุขของผู้ใช้ภาษาไทยตามแนวทาง ด้านภาษาศาสตร์ ปรชิ าน (cognitive linguistics) มากขน้ึ ภาษาศาสตรป์ รชิ านโดยจะรวบรวม และวเิ คราะหข์ ้อมลู อุปลกั ษณ์ ความสุขจากเวบ็ บลอ็ ก (Weblog) ซงึ่ เป็นแหล่งรวมรวบบทความ ประเภทต่างๆ ของคนยุคใหม่ที่สามารถเข้าถึงและก้าวตามทัน การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวา่ ผู้ใช้ภาษาไทยใช้ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขใดและอุปลักษณ์ เหลา่ น้ันสะท้อนมุมมองของคนไทยท่มี ีตอ่ ความสุขเชน่ ไร

134 เลคอฟและจอหน์ สนั (Lakoff & Johnson) เปน็ ผทู้ ่ไี ดเ้ สนอ ตัวอย่างข้างต้น (a.) - (h.) เป็นถ้อยคำ�อุปลักษณ์ มุมมองเก่ียวกับการศึกษาอุปลักษณ์ตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน (metaphorical expressions) ทีส่ ะทอ้ นให้เห็นมโนอุปลักษณ์ โดยกล่าวว่าอุปลักษณ์ไม่ได้เป็นเพียงศิลปะในการประพันธ์หรือเป็น (conceptual metaphor) วา่ [ARGUMENT IS WAR] การน�ำ ค�ำ ศพั ท์ ความสามารถเฉพาะของนักประพันธ์เท่านั้น หากแต่อุปลักษณ์ indefensible, attacked every weak point, right on target, มีอยู่ทวั่ ไปในการใชภ้ าษาในชวี ิตประจำ�วนั และเปน็ ความสามารถ demolished, won, shoot, strategy, wipe out และ shot down ที่คนธรรมดาทั่วไปมี เนื่องจากพื้นฐานระบบความคิดของเรามี ซึ่งเดิมอยู่ในวงความหมายของ WAR มาใช้ในการกล่าวถึง ลกั ษณะเปน็ อปุ ลกั ษณ์ ดงั นน้ั อปุ ลกั ษณจ์ งึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งถอ้ ยค�ำ หรอื ARGUMENT นัน้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ WAR มลี กั ษณะหรือคุณสมบตั ิ รปู ภาษา หากแตค่ วามคดิ ของเรากเ็ ปน็ การเปรยี บแบบอปุ ลกั ษณด์ ว้ ย บางประการท่ีสอดคลอ้ งกับ ARGUMENT ในมมุ มองของผพู้ ูด “Metaphor is pervasive in everyday life, not just in language ภาษาองั กฤษ but in thought and action. Our ordinary conceptual system, ท่ีผ่านมาได้มีผู้ศึกษาอุปลักษณ์ความสุขในภาษาต่างๆ in term of which we both think and act, is fundamentally โดยใช้แนวคิดภาษาศาสตร์ปริชานอย่างกว้างขวางและได้นำ�เสนอ metaphorical in nature.” (Lakoff & Johnson) [1] ผลการวิจัยทีน่ า่ สนใจแต่ในภาษาไทยยงั ไมม่ ีผ้ศู กึ ษามากนกั โคเวค ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ที่เราใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำ�นั้น เซส (Kovecses) [3] กล่าวว่า ความสขุ เป็นอารมณ์ของมนษุ ยท์ ่มี ี จึงเป็นผลผลติ ท่ีไดม้ าจากมโนทัศน์ของเรา การใช้อุปลกั ษณ์ท�ำ ให้ ความเปน็ รูปธรรม เม่อื กล่าวถงึ ความสุขจึงสามารถใช้อุปลักษณท์ ี่ เราเขา้ ใจและเรยี นรูส้ ง่ิ ทเ่ี ป็นนามธรรม สงิ่ ไกลตวั หรอื ส่งิ ท่ีเราไม่ สะท้อนมโนทัศน์และความเข้าใจความสุขได้หลายมิติแตกต่างไป คุ้นเคยหรือไม่มีประสบการณ์มาก่อนได้ชัดเจนขึ้นโดยนำ�สิ่งที่เป็น ตามแบบเปรียบ(source domain) ทต่ี า่ งกัน เช่น “HAPPY IS UP” รปู ธรรมมาเปรยี บกบั ส่งิ ที่เปน็ นามธรรม นำ�ส่ิงทอี่ ยู่ใกลต้ วั มาเปรียบ สะทอ้ นมมุ มองวา่ เปน็ สง่ิ ทด่ี ที ย่ี ง่ิ มคี วามสขุ มาก ความสขุ กย็ ง่ิ เพม่ิ ขน้ึ กับสิ่งที่อยู่ไกลตัวและนำ�สิ่งที่เราคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์มากกว่า และ “HAPPINESS IS LIGHT” สะท้อนมมุ มองวา่ ความสุขเป็น มาเปรียบกับสิ่งท่ีเราไม่คุ้นเคยหรือไม่มีประสบการณ์มาก่อน พลงั งานและความมชี วี ติ เปน็ ตน้ ในงานวจิ ยั ของนงิ ยู (Ning Yu) [4] ทง้ั น้ี มโนทศั นเ์ ปน็ สง่ิ ทก่ี �ำ หนดการใชถ้ อ้ ยค�ำ อปุ ลกั ษณท์ เ่ี ราใชส้ อ่ื สาร เรอื่ ง “Metaphorical Expressions of Anger and Happiness in ในชีวติ ประจ�ำ วัน กล่าวอกี นยั หนึ่งคอื เรามมี โนทัศนเ์ ช่นไร เราก็จะ English and Chinese” พบว่าแมท้ ั้งภาษาอังกฤษและภาษาจีน ใชถ้ ้อยค�ำ อปุ ลักษณท์ ่สี ะท้อนมโนทัศนเ์ ชน่ นน้ั สะทอ้ นมโนอปุ ลักษณ์ความสขุ ผ่านแบบเปรยี บ “UP” “LIGHT” และ เลคอฟและจอห์นสันจ�ำ แนกอปุ ลักษณเ์ ปน็ 2 ระดับ คอื “CONTAINER” เช่นเดียวกัน แตม่ ลี ักษณะของแบบเปรียบทีต่ ่าง (1) อปุ ลกั ษณ์ในระดับถอ้ ยค�ำ เรยี กว่าถอ้ ยค�ำ อุปลกั ษณ์ กันเน่ืองจากมีพื้นฐานทางวัฒนธรรมทีต่ า่ งกัน กล่าวคือ ภาษาจีน (metaphorical expressions) หมายถงึ ถอ้ ยคำ�ท่ีเปน็ การเปรียบ จะเน้นการเปรียบกับอวัยวะภายในร่างกายมากกว่าภาษาอังกฤษ เทียบซงึ่ ผูใ้ ช้ภาษาใชส้ ื่อสารกนั ท่วั ไปในชีวติ ประจ�ำ วนั เนื่องจากความเชือ่ เรอ่ื งหยนิ -หยางและการแพทย์แผนจนี (2) อุปลักษณ์ในระดับมโนทัศน์เรียกว่ามโนอุปลักษณ์ อัล-อเบด อัล-ฮคั และ อาหเ์ มด เอล-ชารีฟ (Al-Abed (conceptual metaphor) หมายถงึ ความคดิ ซง่ึ มีลกั ษณะเป็นความ Al-Haq & Ahmad El-Sharif) [5] ได้ศึกษาอุปลักษณ์เรื่อง เปรยี บทีอ่ ยู่ในระบบการรบั ร้หู รอื ระบบปริชานของผใู้ ชภ้ าษา “A Comparative Study for the Metaphors use in Happiness อุปลักษณ์ทั้งสองระดับมีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ and Anger in English and Arabic” ผลจากการศกึ ษาพบวา่ ทัง้ ภาษา โดยพื้นฐานมนุษย์มีระบบวิธีคิดที่เป็นแบบอุปลักษณ เมื่อเรามี อารบิกและภาษาอังกฤษมีการใช้อุปลักษณ์ในระดับพ้ืนฐานร่วมกัน ระบบวธิ ีคดิ เช่นนี้ การคิด การมองโลกและการแสดงออกในชวี ติ แต่มีการใช้อุปลักษณ์ย่อย ที่แตกต่างกันไปตามลักษณะเฉพาะ ประจ�ำ วนั ของเราซ่งึ รวมถึงการใช้ภาษาใน การส่ือสารดว้ ยนน้ั จงึ มี ของทั้งสองภาษา เช่น อากาศ องค์ประกอบทางธรรมชาติ ลักษณะเป็นการเปรยี บแบบอุปลักษณด์ ้วย ดงั น้นั ถ้อยคำ�อปุ ลกั ษณ์ และการดำ�เนินชวี ติ ทเ่ี ราใช้สื่อสารในชีวติ ประจ�ำ วนั จงึ นบั เปน็ หลักฐานส�ำ คัญท่ีสามารถ ในท�ำ นองเดยี วกัน เพย่ เหลย เฉิน (Peilei Chen) [6] สะท้อนระบบวิธีคิดหรือมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษา ตัวอย่างเช่น ไดศ้ กึ ษาอปุ ลกั ษณค์ วามสขุ เรอ่ื ง “A Cognitive Study of “Happiness” ผู้ใช้ภาษาอังกฤษมี มโนทัศน์ที่สะท้อนจากถ้อยคำ�อุปลักษณ์ว่า Metaphors in English and Chinese Idioms” โดยมุง่ เนน้ การใช้ ARGUMENT IS WAR ดังปรากฏในค�ำ กริยาท่ผี ูใ้ ชภ้ าษาอังกฤษ อุปลักษณ์ความสุขในสำ�นวนโดยเปรียบเทียบระหว่างภาษาจีน เลอื กใช้ เมื่อกลา่ วถงึ การโต้แย้ง (Argument) ดงั น้ี และภาษาอังกฤษ ผลจากการศึกษาพบว่าอุปลักษณ์ความสุข a. Your claims are indefensible. ในสำ�นวนภาษาจีนและสำ�นวนภาษาอังกฤษมีมโนทัศน์ความสุข b. He attacked every weak point in my argument. ทีค่ ล้ายกนั ได้แก่ “HAPPY IS UP” “HAPPINESS IS FLUID IN c. His criticisms were right on target. A CONTAINER” และ “HAPPINESS IS THE PHYSIOLOGY d. I demolished his argument. REACTION OF HAPPINESS” นอกจากนย้ี ังพบว่าในภาษา e. I’ve never won an argument with him. อังกฤษมมี โนทศั น์ความสขุ “BEING HAPPY IS BEING OFF THE f. You disagree? Okey, shoot! GROUND” ซึ่งไม่ปรากฏในภาษาจนี ในขณะท่พี บว่าในภาษาจีน g. If you use that strategy, he’ll wipe you out. มมี โนอปุ ลกั ษณ์ความสขุ “HAPPINESS IS REACTIONS IN h. He shot down all of my arguments. EYES AND BROWS” แต่ในภาษาองั กฤษพบมโนอุปลกั ษณ์ (Lakoff & Johnson) [1] “HAPPINESS IS REACTIONS IN EYES” เท่าน้นั สำ�หรับ

วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ (สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 135 มโนอปุ ลกั ษณท์ พ่ี บเฉพาะในภาษาจนี คอื “HAPPINESS IS THE ในตัวอยา่ งมีการใช้คำ� มีคา่ ขโมย หาย สิง่ ล้�ำ ค่า บญั ชี FLOWER IN ONE’S HEART” ความเหมือนของมโนอุปลักษณ์ รวย ธนาคาร จ่าย ค่า และ ซือ้ แสดงใหเ้ หน็ การเปรียบความสุข เกิดจากการรับรู้และความเข้าใจเก่ียวกับพ้ืนท่ีและร่างกายซึ่งเป็น กบั สิง่ ทมี่ ีมูลคา่ และราคา ผ้ใู ช้ภาษาไทยมองความสขุ ผ่านทรพั ยส์ ิน มโนทัศน์พื้นฐานของมนุษยชาติ ในขณะที่ความแตกต่างของ และเงินทองซ่งึ ทกุ คนปรารถนาและอยากได้ไว้ครอบครอง มโนทศั น์เกิดจากความแตกตา่ งของวัฒนธรรม 1.2 [ความสุข คือ ส่ิงที่ต้องค้นหา] จากงานวจิ ยั อปุ ลกั ษณค์ วามสขุ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ อาจกลา่ ว ผู้ใช้ภาษาไทยกล่าวถึงความสุขโดยการเปรียบแบบ ได้ว่ามโนทัศน์ความสุขท่ีพบจะมีความแตกต่างกันตามแต่ อปุ ลกั ษณซ์ ง่ึ มองความสขุ เปน็ เหมอื นสง่ิ ทต่ี อ้ งคน้ หา เปน็ สง่ิ ทท่ี กุ คน วฒั นธรรมซ่ึงสามารถสะท้อนให้เหน็ วิธคี ดิ ระเบียบแบบแผนหรือ เชื่อว่ามีอยู่จริงหากแต่ไม่ปรากฏแหล่งที่อยู่ที่ชัดเจน ดังนั้นทุกคน วถิ ปี ฏิบัติของวัฒนธรรมน้นั ๆได ้ จึงตอ้ งค้นหาเพอื่ ท่จี ะไดพ้ บและไดค้ รอบครอง ถอ้ ยค�ำ อปุ ลักษณท์ ่ี สะทอ้ นมมุ มองเกย่ี วกบั ความสขุ คอื สง่ิ ทต่ี อ้ งคน้ หามที ง้ั สน้ิ 56 ถอ้ ยค�ำ ผลการศึกษา ตัวอยา่ ง ความสุขท่เี ฝ้าตดิ ตามหาอยทู่ ่ีใจเราน่ีเอง ในการรายงานผลการศึกษาผู้วิจัยจะเสนอผล ความสขุ อย่หู นใด... เราต้องออกไปหาความสขุ การวิเคราะห์เป็นสองส่วนได้แก่ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุข คุณพบความสุขในใจเสมอถ้าเป็นผู้ให้แก่ผู้อื่นโดยไม่หวัง และมโนทศั นท์ สี่ ะทอ้ นจากแบบเปรยี บ ส่วนทส่ี องเปน็ การวิเคราะห์ สงิ่ ตอบแทน มมุ มองท่ผี ู้ใช้ภาษาไทยมตี ่อความสขุ ตามลำ�ดับ คุณสามารถหาความสขุ ใหต้ ัวเองไดต้ ัง้ แตเ่ ดยี๋ วน้ี ความสุขท่ีค้นพบท่ามกลางอากาศที่หนาวเหน็บ 1. ถอ้ ยคำ�อุปลกั ษณ์กบั มโนอุปลกั ษณ์ความสุข ในกรงุ เบอร์ลินและร้อนอบอ้าวในกรงุ ปารีส จากการศกึ ษาพบถอ้ ยค�ำ อปุ ลกั ษณ์ รวม 210 ถอ้ ยค�ำ อยากมคี วามสุขไหม ออกไปไล่ล่ามนั ซิ อปุ ลักษณ์ ซ่ึงเปรยี บความสขุ กับส่ิงตา่ งๆ และสะทอ้ นเป็นมโนทศั น์ ในตัวอย่างมีถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขท่ีเปรียบความสุข ได้ 7 ชดุ มโนทศั น์ เรยี งตามล�ำ ดบั จากมากไปหานอ้ ย ไดแ้ ก่ [ความสขุ กบั ส่งิ ทีต่ อ้ งคน้ หา ซง่ึ แสดงไดจ้ ากการใชค้ �ำ เฝา้ ติดตามหา หา พบ คือ วัตถสุ ่ิงของท่ีมมี ูลค่า] [ความสุข คือ สงิ่ ทีต่ อ้ งคน้ หา] [ความสขุ คน้ พบ และ ไลล่ า่ ถอ้ ยคำ�อปุ ลกั ษณ์ดงั กลา่ วน้ีสะทอ้ นมุมมองของ คอื สสารท่มี ีปรมิ าณ] [ความสุข คือ วตั ถสุ ร้างได]้ [ความสขุ คือ ส่งิ มี ผู้ใชภ้ าษาทมี่ ีต่อความสุขว่าเป็น ส่งิ ท่ีทกุ คนตอ้ งการแมไ้ มม่ ีแหลง่ ชีวิต] [ความสุข คอื อาหาร] และ [ความสขุ คอื ธุรกจิ ] ตามล�ำ ดบั ทีอ่ ยูท่ ช่ี ดั เจน แต่เชอื่ ว่ามอี ยู่จรงิ ดงั นน้ั หากตอ้ งการความสุขจงึ ในงานวิจยั นีผ้ ู้วจิ ยั ใช้ [ ] เป็นสญั ลักษณท์ ่แี สดงส่งิ ท่ีเปน็ จ�ำ เปน็ ต้องค้นหา ความสขุ จึงเปน็ ส่งิ ท่ีอยู่ปลายทางของการคน้ หา ความคิดหรือมโนทัศน์ที่ผู้ใช้ภาษามีในระบบวิธีคิดซ่ึงได้มาจาก เป็นเหมอื นความหวังทที่ กุ คนอยากพบ สัมผสั หรือไดค้ รอบครอง ประสบการณ์และการเรียนรู้จากวัฒนธรรมในสังคมที่ผู้ใช้ภาษาร่วม ในทสี่ ุด เปน็ สมาชกิ อยู่ด้วย ดงั นน้ั ถอ้ ยคำ� อุปลกั ษณ์ท่อี ยู่ในเคร่อื งหมาย 1.3 [ความสขุ คือ สสารทมี่ ปี ริมาณ] ดังกลา่ วจึงไมไ่ ดแ้ สดงความหมายเฉพาะของรูปภาษา ถ้อยคำ�ท่สี ะท้อนมโนอุปลักษณ์ [ความสขุ คือ สสารทมี่ ี ปรมิ าณ] มีจ�ำ นวน 41 ถอ้ ยคำ� ถอ้ ยค�ำ อปุ ลกั ษณ์ดงั กลา่ วเปรยี บ 1.1 [ความสขุ คอื วตั ถสุ ิ่งของทม่ี ีมลู คา่ ] ความสุขกับสสารท่ีมีมวลเป็นของเหลวหรือแข็งที่มาสามารถวัด จากการวิเคราะห์พบถ้อยคำ�อุปลักษณ์ที่เปรียบความ ปรมิ าณหรือนับจำ�นวนได้ การเปรียบนส้ี ะทอ้ นให้เห็นมมุ มองของ สุขกับทรพั ยส์ ินซ่ึงเป็นวัตถุสิง่ ของทมี่ ีมูลคา่ จำ�นวน 56 ถ้อยคำ� ผู้ใช้ภาษาว่าความสุขเป็นสิ่งที่สามารถสะสมหรือเพ่ิมพูนให้มี ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ดังกล่าวเปรียบความสุขกับวัตถุส่ิงของท่ีมีคุณค่า ปริมาณทม่ี ากขน้ึ ได้ กลา่ วคอื ยิง่ มีปริมาณมากเทา่ ใดความสขุ และเงินซ่ึงสะท้อนให้เห็นมุมมองต่อความสุขว่าเป็นสิ่งมีราคาที่ผู้ใช้ ก็จะยิ่งมากขนึ้ เท่าน้นั ภาษาปรารถนาครอบครอง มีความส�ำ คญั และจำ�เปน็ ต่อชีวติ ตัวอย่าง ตวั อย่าง เตมิ ความสขุ อกี คร้งั @ spring field @sea ความสุขน้นั มคี ่า จงตักตวงความสุขนัน้ ไว้ ใครนะทข่ี โมยความสุขของเราไป ปน้ั ความสขุ รอยย้มิ หยอกล้อกบั ชวี ติ ซะบ้าง ทุกคนมกี ลอ่ งความสขุ ที่บรรจุสิ่งล้ำ�ค่าทเี่ รยี กวา่ ความสขุ คนเราเกดิ มาเหมอื นกนั แตป่ รมิ าณความสขุ มกั จะไมเ่ ทา่ กนั ขอความสขุ ที่หายไปจงกลบั คนื มา เม่ือเราแบ่งปนั ความสุข ความสุขจะเพิม่ พนู ก�ำ ลงั สอง ขอแคใ่ หค้ วามสขุ ในบญั ชเี พม่ิ พนู ไมอ่ ยากไดอ้ ะไรมากมาย... รอยยิม้ เลก็ ๆ ของเรามนั มีอำ�นาจมหาศาลท่ีจะกอบโกย ขอรวยความสุข ความสุขมาใหเ้ ราได้ ธนาคารความสขุ มนั ปลมื้ จนมนั ก่อตวั เปน็ ความสขุ ก้อนใหญ่เชียว ความสุข 20 จา่ ยคา่ ความสขุ ทเี่ รามอบใหน้ ั้น สุขก็สุขนะแต่จะไม่ยอมให้ความสุขทับถมลงบนจิตใจจน เป็นการซื้อความสุขให้ตัวเองเปน็ รางวัลชีวิต มองไมเ่ ห็นความทุกข์อกี

136 จากตัวอยา่ งจะพบวา่ มีการใชถ้ ้อยค�ำ งอกงาม เคาะ ยนื วิ่งหนี เกดิ มาหา และเสียง เป็นกลุม่ ถอ้ ยคำ�ที่ใช้อธบิ ายกิรยิ า จากตวั อย่างปรากฏการใชค้ �ำ เตมิ ตกั ตวง ปน้ั ปริมาณ หรือการกระทำ�หรือคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ การใช้ แบ่งปนั เพม่ิ พูน กอบโกย กอ่ ตวั เป็นกอ้ น และ ทับถม เพื่ออธบิ าย คำ�ว่า เจ้า ยังเป็นการใช้คำ�นำ�หน้าเพื่อเรียกสิ่งที่มีชีวิตที่แสดง ความสขุ การใช้ค�ำ ดังกล่าวเหล่าน้ีแสดงให้เหน็ การเปรียบเทยี บ ในนยั ยะทางความรสู้ ึกของผ้พู ดู ว่าเอน็ ดดู ้วย การใชถ้ อ้ ยค�ำ ดงั กลา่ ว ความสขุ กับสงิ่ ที่มปี ริมาณ และหากพิจารณาจากบรบิ ทของถ้อยค�ำ แสดงให้เห็นการเปรียบเทียบความสุขกับสิ่งที่มีชีวิตท่ีเคล่ือนที่ได้ แสดงความหมายที่สะท้อนว่าผู้ใช้ภาษามองความสุขว่าเป็นสิ่งท่ีมี หากพจิ ารณาจากบรบิ ทของถอ้ ยค�ำ ความสขุ เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ท่ไี มห่ ยดุ นง่ิ ปริมาณสามารถสะสมและหามาเพ่ิมเตมิ เม่ือพร่องได้ แ ล ะ อ า จ จ ะ ม า พ บ ห รื อ จ า ก ไ ป ไ ด้ โ ด ย ที่ ไ ม่ ส า ม า ร ถ กำ � ห น ด 1.4 [ความสุข คอื วตั ถุสรา้ งได]้ หรือควบคุมได้ จากข้อมูลพบถ้อยคำ�อุปลักษณ์ที่สะท้อนมุมมองว่า 1.6 [ความสขุ คือ อาหาร] ความสขุ คือวัตถุที่สรา้ งได้มที ัง้ สิน้ 37 ถ้อยคำ� ผู้ใช้ภาษาเปรยี บ ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขที่เปรียบความสุขกับอาหาร ความสุขนำ�ส่ิงก่อสร้างที่มีโครงสร้างและฐานมาเป็นแบบเปรียบ มจี �ำ นวนไมม่ าก กลา่ วคอื ปรากฏใชเ้ พยี ง 3 ถอ้ ยค�ำ ผใู้ ชภ้ าษามองวา่ การเปรียบนี้แสดงให้เห็นมุมมองของผู้ใช้ภาษาต่อความสุขว่าเป็น ความสุขเป็นส่ิงที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตท่ีช่วยหล่อเลี้ยงให้ชีวิต สิง่ ท่ีสามารถสร้างและเสริมใหม้ นั่ คงได้ ในขณะเดียวกนั ความสขุ ด�ำ รงอยไู่ ด้ มุมมองดงั กล่าวน้ชี ว่ ยเนน้ ย�้ำ ว่าความสขุ เปน็ ส่ิงท่มี นุษย์ ก็เป็นสง่ิ ท่ีมีวนั ส่ันคลอนและไม่แขง็ แรงด้วยเช่นกัน ทุกคนปรารถนาและตอ้ งการครอบครองเพอ่ื ทีจ่ ะมีชวี ิตต่อไป ตวั อย่าง ตวั อย่าง คุณภาพประชากรเกิดจากการมคี วามสุขเปน็ พน้ื ฐาน เมอ่ื คณุ หวิ กท็ กุ ข์ พออม่ิ กส็ ขุ สกั นดิ เดยี วกบั หวิ ทกุ ขอ์ กี แลว้ ... ความสขุ สร้างได้ ก็ตอ้ งหาความสขุ มาปอ้ นเร่อื ยๆ สะสมอารมณส์ รา้ งสขุ ให้ไดท้ ุกวัน ความสุขค�ำ โต๊โต สคส. เสริมความสขุ วันน้ี ชีวติ อยู่กบั เศษความสุขเล็กนอ้ ยทค่ี นรอบขา้ งทำ�ตกไว้ การเสรมิ สรา้ งความสขุ ในการท�ำ งาน จากตัวอย่างถ้อยคำ�อุปลักษณ์จะพบการใช้ถ้อยคำ� แลว้ จะมสี กั กค่ี นทร่ี ถู้ งึ วธิ สี รา้ งความสขุ อยา่ งแทจ้ รงิ ใหแ้ กช่ วี ติ ปอ้ นค�ำ โตโ๊ ต และเศษ ซง่ึ เปน็ ถอ้ ยค�ำ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อาหารหรอื ของท่ี ฉันยังคงเป็นเด็กคนหน่ึงท่ีมองเห็นเพียงประตูแห่ง สามารถบรโิ ภคไดแ้ ละเปน็ สง่ิ ทช่ี ว่ ยใหช้ วี ติ อยไู่ ด้ การใชถ้ อ้ ยค�ำ เหลา่ น้ี ความสขุ บานทอี่ ยู่ตรงหน้า สะทอ้ นมโนทศั นข์ องผใู้ ชภ้ าษาวา่ ความสขุ เปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ ทห่ี ลอ่ เลย้ี งชวี ติ จากตัวอย่างเป็นถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขที่ผู้ใช้ภาษา ใชค้ �ำ พน้ื ฐาน สรา้ ง เสรมิ และ ประตู เพอ่ื กลา่ วถงึ ความสขุ การใชค้ �ำ 1.7 [ความสขุ คอื ธุรกจิ ] เหล่านี้แสดงการเปรียบความสุขกับสิ่งก่อสร้างที่มีฐานสามารถ จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่ามีถ้อยค�ำ อุปลักษณ์ความสุข สรา้ งและเสรมิ ให้ม่ันคงแข็งแกร่งขึ้นได้ การใชอ้ ุปลกั ษณด์ งั กล่าวนี้ ที่สะท้อนใหเ้ หน็ วา่ ความสขุ เปรยี บเหมือนการท�ำ ธรุ กิจ 3 ถ้อยค�ำ สะท้อนมุมมองของผู้ใช้ภาษาว่าความสุขเป็นส่ิงที่สร้างได้ ถอ้ ยค�ำ ทง้ั สามแสดงใหเ้ หน็ นยั ยะของมมุ มองทผ่ี ใู้ ชภ้ าษามตี อ่ ความสขุ และสามารถเสรมิ สรา้ งใหม้ น่ั คงขน้ึ ได้ อยา่ งไรกด็ กี ารสะทอ้ นมมุ มอง ว่าเป็นเหมือนการทำ�ธุรกิจท่ีจะต้องมีการลงทุนซ่ึงกำ�ไรหรือส่ิงท่ี ต่อความสุขว่าสร้างได้ยังสะท้อนภาพในอีกด้านหน่ึงว่าความสุข ไดม้ าจากการลงทุนกค็ อื ความสขุ อย่างไรกด็ ีมมุ มองน้ชี ว่ ยเน้นยำ�้ กเ็ ป็นสง่ิ ท่ีไม่มั่นคง สัน่ คลอนหรอื ล่มสลายลงได้ มมุ มองวา่ ความสุขคือสงิ่ ทม่ี มี ลู คา่ ให้ชดั เจนมากยิง่ ข้นึ 1.5 [ความสุข คือ สงิ่ มชี วี ิต] ตัวอย่าง ผู้ใช้ภาษาเปรียบความสุขกับสิ่งมีชีวิตที่สามารถ ถ้าเรานิยามความสำ�เร็จคือความสุขแล้ว เราลดต้นทุน เคล่ือนไหว เติบโตได้ การเปรยี บเช่นนีส้ ะท้อนให้เห็นว่าความสขุ ความสขุ ลงมาโอกาสทีเ่ ราจะสำ�เรจ็ กม็ ากข้ึนตามไปด้วย เป็นส่ิงที่ไม่อยู่นิ่งนานและมีธรรมชาติท่ีมีเวลาของการมาและไป มนั เปน็ ความสขุ ทห่ี าไดง้ า่ ยดายโดยไมต่ อ้ งลงทนุ อะไรเลย ท่ีไมแ่ น่นอน จากข้อมูลพบถอ้ ยคำ�อปุ ลกั ษณท์ ส่ี ะทอ้ นมโนทศั น์ ห้นุ สว่ นแหง่ ความสขุ [ความสุข คอื ส่งิ มีชวี ิต] 15 ถ้อยค�ำ จากตัวอย่างเป็นถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขที่ใช้คำ� ตัวอยา่ ง ตน้ ทนุ ลงทุน และห้นุ ส่วน ซง่ึ เป็นถอ้ ยค�ำ ทีอ่ ยู่ในวงความหมาย แลว้ ความสุขทแี่ ท้และย่งั ยนื จะงอกงามตามวถิ ี ของการทำ�ธรุ กิจ การนำ�ค�ำ จากแวดวงทางธรุ กิจมาใชเ้ ปรยี บเทียบ วันหนงึ่ ความสุขกม็ าเคาะประตบู ้าน ความสขุ แสดงใหเ้ หน็ มมุ มองทผ่ี ใู้ ชภ้ าษามตี อ่ ความสขุ วา่ เปน็ เหมอื น ความสขุ นน้ั มายนื อยูต่ รงหน้าแคเ่ อื้อมมอื ผลก�ำ ไรหรอื สง่ิ ทไ่ี ดม้ าจากธรุ กจิ มมุ มองดงั กลา่ วนช้ี ว่ ยย�ำ้ ใหม้ โนทศั น์ คนในโลกนี้จึงได้ไลก่ วดความสุข แต่ไมท่ นั ความสขุ ซกั ที ความสุขเป็นสิ่งที่มีมูลค่าท่ีมนุษย์ทุกคนต้องการครอบครองได้อย่าง ความสขุ วง่ิ หนีไปข้างหนา้ เรื่อยๆ ชัดเจน ความสขุ เกิดใหม่ สวสั ดปี ีกระตา่ ย ความสุขของชวี ติ อยู่ ณ ช่วงเวลาขณะน้ี ชว่ งเวลาปจั จบุ นั จากการวิเคราะห์ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ที่พบแสดงให้เห็น ไมต่ อ้ งรอให้ความสขุ มาหาเราในอนาคต มโนอปุ ลกั ษณ์เกย่ี วกับความสขุ 7 ชุด มโนอุปลักษณ์ดังกล่าว ฉนั ได้ยินเสียงของความสขุ แวว่ ผา่ นมาในทุง่ นายามเยน็ บทความของผมน่าจะท�ำ ให้เพือ่ นๆหาเจา้ ความสุขเจอ

เปรียบความสขุ กับแบบเปรยี บหลายลกั ษณะ ซึ่งสะท้อนมมุ มอง วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ ที่ผใู้ ชภ้ าษามีต่อความสุขหลายมติ ิ ทง้ั นี้ การเปรยี บความสขุ ซง่ึ เป็น (สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ ส่ิงทถ่ี กู เปรยี บ (target domain) กับแบบเปรียบ (source domain) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หลายลักษณะน้ันแสดงให้เห็นว่าความสุขเป็นสิ่งท่ีเป็นนามธรรม และมีความซบั ซอ้ น สามารถน�ำ ลักษณะเด่นมาเปรียบเทียบกับ 137 สิ่งต่างๆ ไดห้ ลายแง่มมุ อย่างไรก็ดี มโนอปุ ลกั ษณ์ที่พบทั้ง 7 ชดุ ตาราง แสดงมโนทัศน์ความสขุ ของผู้ใชภ้ าษาไทย สามารถวเิ คราะหล์ กั ษณะร่วมที่สะท้อนมมุ มองเก่ียวกับความสุขได้ ทมี่ า : ตารางจัดท�ำ ขนึ้ โดยผวู้ ิจยั 2. มมุ มองความสขุ ของผูใ้ ช้ภาษาไทยในบลอ็ ก จากการวเิ คราะหม์ โนอปุ ลกั ษณท์ ง้ั 7 ชดุ สามารถวเิ คราะห์ สรุปและอภิปรายผล ลักษณะร่วมของมโนอุปลักษณ์ที่สะท้อน มโนทัศน์หรือมุมมองที่ บทความวิจัยน้ีเสนอผลการวิเคราะห์ถ้อยคำ�อุปลักษณ์ เด่นชดั ของผู้เขยี นใช้ภาษา 2 มุมมอง ได้แก่ ความสุขของผู้ใช้ภาษาไทยโดยรวบรวมข้อมูลจากเว็บบล็อก 2.1 ความสขุ เปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ ทท่ี กุ คนปรารถนาและครอบครอง ภาษาไทย 3 แหง่ ไดแ้ ก่ เอ็กซ์ทนี บล็อก (exteenblog) บลอ็ กแก็งค์ ผู้ใช้ภาษามีมุมมองว่าความสุขเป็นสิ่งท่ีจำ�เป็นในการ (bloggang) และโอเคเนช่นั บล็อก (oknationblog) ในระหว่าง ดำ�เนินชีวิตเป็นเคร่ืองช่วยให้ชีวิตอยู่รอดซึ่งสะท้อนจากมโนทัศน์ เดือนมกราคม 2550 ถึง ธันวาคม 2553 งานวจิ ัยน้ีมีวัตถปุ ระสงค์ [ความสุข คือ อาหาร] ซึ่งผู้ใช้ต้องบริโภคเพื่อให้ชีวิตอยู่รอด วิเคราะห์ถ้อยคำ�อุปลักษณ์เพ่ือให้ทราบว่าว่าผู้ใช้ภาษาไทยเปรียบ ในท�ำ นองเดียวกันมโนอปุ ลักษณ์ [ความสขุ คอื วตั ถสุ ิง่ ของที่มีคา่ ] ความสุขกับสิ่งใดและถ้อยคำ�อุปลักษณ์เหล่าน้ันสะท้อนมโนทัศน์ และมโนอปุ ลกั ษณ์ [ความสขุ คอื สสารทม่ี ปี รมิ าณ] กส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ หรือมมุ มอง ทผี่ ใู้ ช้ภาษามีต่อความสุขอยา่ งไร ความสุขเป็นทรัพย์สินเงินทองหรือสิ่งที่มีค่าซึ่งทุกคนปรารถนา ผลจากการวิเคราะห์พบว่าผู้ใช้ภาษาไทยใช้ถ้อยคำ� และต้องการมีไว้ครอบครองเพราะยิ่งมีปริมาณหรือจำ�นวนมาก อปุ ลกั ษณ์ความสขุ ทีส่ ะท้อนมโนอุปลักษณ์ 7 ชดุ คอื [ความสุข เท่าใดกส็ ะท้อนใหเ้ หน็ วา่ มีความสุขมากเทา่ น้ัน นอกจากนีก้ ารมี คือ วตั ถสุ ง่ิ ของทมี่ ีมูลค่า] [ความสขุ คอื สิ่งที่ต้องคน้ หา] [ความสุข มโนทัศน์วา่ [ความสขุ คอื การลงทนุ ] ยังสะทอ้ นวา่ ความสุขเปน็ สิ่ง คอื สสารทีม่ ปี รมิ าณ] [ความสุข คือ ส่ิงก่อสรา้ ง] [ความสขุ ท่มี ีมลู คา่ เปรยี บไดก้ บั ผลกำ�ไรอีกดว้ ย คือ สิ่งมชี วี ิต] [ความสุข คือ อาหาร] และ [ความสขุ คือ ธุรกจิ ] 2.2 ความสุขเปน็ สิ่งท่ีมสี ภาวะไม่คงทนและไม่แน่นอน มโนอุปลักษณ์เหล่านี้มีลักษณะร่วมกันที่สามารถสะท้อนมุมมอง จากการวิเคราะห์มโนอุปลกั ษณ์ทง้ั 7 ชดุ พบวา่ นอกจาก ของผูใ้ ช้ภาษาไทยที่มีตอ่ ความสุขได้ 2 ลักษณะ คอื สิ่งจ�ำ เปน็ ท่ี ลกั ษณะรว่ มของมมุ มองทผ่ี ใู้ ชภ้ าษามตี อ่ ความสขุ จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ทุกคนปรารถนาและครอบครองและความสุขเป็นส่ิงที่มีสภาวะ ความสุขเปน็ สง่ิ จ�ำ เป็นสำ�หรับชีวติ ดังกลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ ลกั ษณะร่วม ไมค่ งทนและไม่แนน่ อน อีกประการหนึ่งคือผู้ใช้ภาษามองว่าความสุขเป็นสิ่งท่ีมีสภาวะ เมื่อพิจารณามุมมองท้ังสองลักษณะบนพ้ืนฐานของ ไมค่ งทนและไมแ่ นน่ อน มมุ มองนส้ี ะทอ้ นจากมโนอปุ ลกั ษณ์ [ความสขุ แนวคิดทางด้านภาษาศาสตร์ปริชานท่ีมีความเชื่อพื้นฐานว่าระบบ คอื สิง่ ทีต่ อ้ งค้นหา] ซ่งึ ผูใ้ ชภ้ าษามองความสขุ ว่าไม่ปรากฏเปน็ วธิ คี ดิ ได้มาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์และการหล่อหลอมจาก รปู ธรรมชดั เจน หาแหลง่ ทเ่ี กดิ และรปู พรรณสนั ฐานไดแ้ ตท่ กุ คนเชอ่ื วา่ วัฒนธรรมและสงั คมแล้ว ผูว้ ิจยั มีข้อสงั เกตว่ามุมมองต่อความสุข ความสขุ มอี ยจู่ รงิ ทกุ คนสามารถคน้ หาและสมั ผสั ได้ ในท�ำ นองเดยี วกนั ของผู้ใช้ภาษาไทยมีความสัมพันธ์กับวิถีของสังคมไทยและแนวคิด มโนอุปลักษณ์ [ความสุข คอื สงิ่ มชี ีวิต] ก็เป็นอปุ ลกั ษณ์ทน่ี �ำ ของพระพุทธศาสนา กล่าวคือ ในสังคมปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ ลักษณะเด่นของการเคล่ือนที่ การไม่อยนู่ งิ่ ของสง่ิ มีชีวติ ซึง่ เปน็ ไป ให้ความสำ�คัญกับวัตถุ สิ่งของที่จับต้องได้และดำ�เนินชีวิตแบบ ตามธรรมชาติที่ไม่มีผู้ใดสามารถควบคุมหรือกำ�หนดให้เป็นไปตาม วัตถุนยิ ม มองวา่ ทรพั ย์สินเงินทองหรอื การไดค้ รอบของสิ่งตา่ งๆ ต้องการได้มาเป็นแบบเปรียบนั้นช่วยเน้นสภาวะของความสุข เป็นสาระสำ�คัญของชวี ติ วิถีชีวติ แบบวตั ถนุ ยิ มอาจเป็นปจั จัยหนง่ึ ท่ีมลี ักษณะไมแ่ นน่ อน ให้ชดั เจนยิ่งข้ึน นอกจากน้มี โนอปุ ลักษณ์ ท่ีส่งผลให้ผู้ใช้ภาษามองความสุขเป็นวัตถุและส่ิงท่ีมีมูลค่า [ความสุข คอื วัตถทุ ี่สรา้ งได้] ก็ยังช่วยเน้นสภาวะท่ีไมแ่ น่นอนของ และปรารถนาจะไดค้ รอบครอง ความสุขด้วยเน่ืองจากการใช้ความเปรียบความสุขว่าเป็นสิ่งที่ต้อง ในขณะที่การมองความสุขเป็นส่ิงท่ีมีสภาวะไม่คงทน สรา้ งหรอื เสรมิ ใหแ้ ขง็ แรงขน้ึ เหมอื นสรา้ งอาคารหรอื บา้ นใหม้ น่ั คงนน้ั และไม่แน่นอนน้ันก็สอดคล้องกับคำ�สอนในพระพุทธศาสนากล่าว สะท้อนสภาวะของการไม่มีอยู่เดิมของความสุขหรืออาจมีอยู่แต่ก็ คือ หลกั คำ�สอนของพระพทุ ธศาสนากล่าววา่ ความสขุ มหี ลายระดบั อ่อนไหวตอ่ การหายหรือพังทลายลงไป ความสขุ จงึ เป็นเสมือนส่งิ ท่ี แตค่ วามสขุ ทแ่ี ทจ้ รงิ คอื ความวา่ งจากความอยากทง้ั มวล ทง้ั ทอ่ี ยากได้ สามารถสร้างหรือทำ�ให้มีข้ึนได้แต่ในขณะเดียวกันความสุขก็อาจ สัน่ คลอน ไม่แขง็ แรงหรือพงั ทลายลงได้ กลา่ วอีกนัยหนง่ึ คือ ความสขุ เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน แม้วา่ จะสามารถสรา้ งได้ เกดิ ข้ึนได้ ในขณะเดียวกันก็สลายไปได้โดยไม่มีผู้ใดสามารถกำ�หนดให้เป็นไป ตามความตอ้ งการของตนเอง

138 มากข้ึนหรือดำ�เนินการวิจัยอีกในอนาคตผลจากการศึกษา อาจเหมือนหรือแตกต่างไปตามสภาพสังคมและวัฒนธรรมท่ี อยากมี อยากเป็น และไมอ่ ยากได้ ไมอ่ ยากมีและไมอ่ ยากเปน็ เปลีย่ นแปลงได้ ส�ำ หรบั ปถุ ุชนท่วั ไปความสขุ เป็นเพียงมายา มอี ย่แู ต่ไม่ใช่ของจริง เพราะความสุขของคนทั่วไปคือความสุขที่อยู่ภายใต้กฎของ ขอ้ เสนอแนะ ไตรลกั ษณ์ กลา่ วคอื มคี วามเกดิ ขน้ึ ด�ำ รงอยแู่ ละสญู ไปตามธรรมชาติ ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์ความสุขในช่วงยุค ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ตามที่มนุษย์ต้องการ การมองความสุข สมัยที่แตกต่างกันเพ่ือให้เข้าใจมุมมองและความคิดของคนไทยว่า ดว้ ยมมุ มองดงั กลา่ วนจ้ี งึ อาจมปี จั จยั มาจากวถิ ชี าวพทุ ธทห่ี ยง่ั รากลกึ มกี ารพัฒนาหรอื เปลีย่ นแปลงไปในทศิ ทางใด ในสงั คมไทย โดยสรุปอาจกล่าวได้ว่า มโนทัศน์หรอื มุมมองทผ่ี ู้ใช้ ภาษาไทยมีต่อความสุขมีความสัมพันธ์กับวิธีการดำ�เนินชีวิต เอกสารอ้างอิง ใ น ยุ ค ส มั ย ใ ห ม่ แ ล ะ ส ะ ท้ อ น ค ว า ม คิ ด ที่ ม า จ า ก ห ลั ก คำ � ส อ น [1] Lakoff, George and Mark, Johnson. 1998, 2003. Metaphor ในพระพทุ ธศาสนาด้วย we live by. USA: Chicago Press. ผู้วิจัยพบว่าการวิจัยน้ีมีผลการวิเคราะห์แตกต่างจาก [2] บญุ สนิ ต้งั ตระกูลวนิช. (2548). ทำ�ไมความสขุ จงึ หายไปจาก ผลการศึกษาของ นิง ยู (Ning Yu) ท่พี บวา่ ทงั้ ภาษาอังกฤษ สังคมไทย. สบื ค้นเมื่อ 20 กุมภาพนั ธ์ 2554, จาก http:// และภาษาจนี สะทอ้ นมโนอปุ ลักษณ์ความสขุ ผา่ นแบบเปรยี บ “UP” www.eng56.com/main/index.phpoption=com_content “LIGHT” และ “CONTAINER” และงานวิจัยของ เพย่ เหลย เฉนิ &task=view&id=54&Itemid=37. (Peilei Chen) ที่พบว่าอุปลักษณ์ความสุขในสำ�นวนภาษาจีน [3]Kovecses,Zoltan.(2002). Metaphor:Apracticalintroduction. และสำ�นวนภาษาอังกฤษมีมโนทัศน์ความสุขที่คล้ายกันได้แก่ USA: Oxford University Press. “HAPPY IS UP” “HAPPINESS IS FLUID IN A CONTAINER” [4] Ning Yu. (1995, November). “Metaphorical Expressions of และ “HAPPINESS IS THE PHYSIOLOGY REACTION OF Anger and Happiness in English and Chinese” HAPPINESS” ในขณะทถ่ี อ้ ยค�ำ อปุ ลกั ษณค์ วามสขุ ของผใู้ ชภ้ าษาไทย Metaphor and Symbol, 10(2). ไมป่ รากฏแบบเปรยี บความสขุ กบั “UP” “LIGHT” และ “CONTAINER” [5] Fawwaz Al-Abed Al-Haq & Ahmad El-Sharif. (2008, หรือปฏิกริยาที่แสดงออกทางร่างกายเช่นเดียวกับผลการศึกษา November). “A comparative study for the Metaphors ของทง้ั สองเรอ่ื งดงั กลา่ ว แตพ่ บวา่ มโนอปุ ลกั ษณค์ วามสขุ [ความสขุ use in happiness and anger in English and Arabic.” คอื สสารทม่ี ปี รมิ าณ] สะทอ้ นวา่ รา่ งกายเปน็ เหมอื นภาชนะทม่ี พี น้ื ท่ี US-China Foreign Language, 6(11). และความสขุ เปน็ สง่ิ ท่เี ตมิ เตม็ เขา้ ไปภายในได้ เชน่ “บางคนไปเพ่อื [6] Peilei Chen. (2010, August). “A Cognitive Study of “Anger” เตมิ เต็มความสขุ ” “...มเี วลาหาความสขุ ใสต่ วั ” ที่เปน็ เชน่ น้เี พราะใน Metaphors in English and Chinese Idioms.” Asian งานวจิ ยั นผ้ี วู้ จิ ยั เกบ็ ขอ้ มลู จากการปรากฏใชค้ �ำ วา่ “ความสขุ ” แตไ่ มไ่ ด้ Social Science, Vol.6(8). รวบรวมอารมณห์ รอื ความรสู้ กึ ของความสขุ หรอื การแสดงออกตา่ งๆ อนั เน่อื งมาจากการมคี วามสขุ เชน่ ตัวอย่างถอ้ ยคำ�อุปลกั ษณ์ในงาน วจิ ยั ของ นงิ ยู ซ่ึงรวบรวมข้อมูลทีเ่ ปน็ การแสดงออกของสภาวะ อารมณ์ ท่มี ีความสุขด้วย เช่น Ta hen gao-xing. (He is very high-spirited/happy) หรอื Ta xiao zhu yan kai. (He smiled, which caused his face to beam./ He beamed with smiled.) เป็นตน้ นอกจากน้ีมโนอุปลักษณ์ความสุขของผู้ใช้ภาษาไทย ยังแตกต่างจากมโนอุปลักษณ์ความสุขในภาษาอารบิกซึ่งเป็นผล จากการศึกษาของ อัล-อเบด อัล-ฮัค และ อาห์เมด เอล-ชารีฟ (Al-Abed Al-Haq & Ahmad El-Sharif) ทีพ่ บว่าผใู้ ช้ภาษาอารบิก ใช้ถ้อยค�ำ อปุ ลกั ษณ์ที่สะทอ้ นมโนอปุ ลักษณ์ ความสุขคอื ความเยน็ “HAPPINESS IS COLDNESS” และความสุขคอื บรรยากาศ “HAPPINESS IS AN ATMOSPHERE” แตไ่ ม่พบในภาษาไทย แต่พบว่าบางถ้อยคำ�อุปลักษณ์ความสุขในภาษาไทยมีลักษณะ ใกลเ้ คียงกบั มโนอุปลักษณ์ความสุขคือบรรยากาศ เชน่ “ความสขุ อยู่รอบๆ ตวั เรา” เป็นต้น กล่าวไดว้ ่าความแตกต่างของแบบเปรียบ อาจสะท้อนลักษณะท่ีเหมือนหรือแตกต่างกันได้ตามแต่วัฒนธรรม ของผูใ้ ชภ้ าษานั้นๆ อยา่ งไรกต็ าม ผวู้ จิ ัยดำ�เนินการวจิ ัยและรวบรวมขอ้ มลู ใน ชว่ งระยะเวลา 3 ปี คือระหวา่ ง พ.ศ.2550-2553 ผลการศกึ ษาท่ีได้ จงึ เป็นมาจากข้อมลู ของช่วงเวลาดงั กล่าว ทงั้ น้ีหากมกี ารรวบรวม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook