Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินงานอาชีวศึกษาวิถีพุทธ

แนวทางการดำเนินงานอาชีวศึกษาวิถีพุทธ

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2022-11-10 04:15:39

Description: แนวทางการดำเนินงานอาชีวศึกษาวิถีพุทธ

Search

Read the Text Version

คำนยิ ม

คำนำ

สารบัญ บทท่ี หน้า บทท่ี ๑ บทนำ……………………………………………………………………..……………………………………………………………………..1 บทท่ี ๒ แนวคิดการดำเนินการสคู่ วามเป็นสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาวิถีพุทธ…………………………………………….……….....4 บทที่ 3 แนวทางการจดั การเรยี นการสอนตามหลักไตรสิกขา……………………………….………………...……………………..49 บทที่ 4 การจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพทุ ธ……………………………………………....…5๒ บทที่ 5 การนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพทุ ธ………………..……………….....………6๔ บทท่ี 6 การเตรยี มความพร้อมเพื่อรบั การประเมิน…………………………………………………………………………...………….6๕ บทที่ 7 การจัดทำระบบฐานขอ้ มูลสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธ แบบออนไลน์...................................................6๗ ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………………………….……

-1- บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของการจัดการศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพุทธ วิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทยได้รับการกล่อมเกลาจากคำสอนของพระพุทธศาสนา ตั้งแต่ยุคแรก ของประวัติศาสตร์ชาติไทย จนกล่าวได้ว่า วิถีพุทธ คือ วิถีวัฒนธรรมของชาวไทย มีความเป็นเอกลักษณ์ที่ทั่วโลก ตระหนักและให้การยอมรับ โดยมีพุทธธรรมหรือพุทธศาสนาเป็นองค์ความรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้ศึกษาเข้าใจธรรมชาติ ของโลกและชีวิตที่แท้จริง และฝึกให้ผู้ศึกษาสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีกรอบการพัฒนา หลักเป็นระบบการศึกษา ๓ ประการ เรียกว่า “ไตรสิกขา” คือ ศีล สมาธิ และปัญญา ซึ่งเป็นการฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญา ไตรสิกขานี้เป็นการศึกษาที่ครอบคลุมการดำเนินชีวิตทุกด้าน และทุกวยั ตงั้ แต่ระดบั การดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั ของคนทว่ั ไป คอื “การกิน อยู่ ดู ฟงั เปน็ ” ไปจนถงึ ระดบั การดำเนิน ชีวิตของนักบวชผู้มุ่งมีชีวิตที่บริสุทธ์ิ และในทุกระดับยังส่งผลให้ผู้ศึกษามีความสุขพร้อม ๆ กับช่วยให้คนรอบข้าง และสงั คมมีความสขุ พรอ้ มกนั ไปดว้ ยอย่างชดั เจน การศึกษาตามแนววิถีพุทธ คือ การศึกษาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้เกิดวิถีการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างเป็นองค์รวมรอบด้านทั้งทางพฤติกรรม จิตใจและปัญญา ตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) เน้นให้ครูและผู้บริหารมีบทบาทเป็นกัลยาณมิตร ออกแบบวิถีชีวิตในโรงเรียนให้เป็นวิถีแห่งการเรียนรู้ ทางวัฒนธรรม แสวงปัญญาและวัฒนธรรมเมตตา จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ ให้เกื้อกูลต่อ การพัฒนาผู้เรียนตามหลักภาวนา ๔ (พัฒนาการทางกาย สังคม จิตใจ ปัญญา) เพื่อบรรลุถึงความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ในฐานะเป็นพลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่สอดคล้องกับความตอ้ งการในการพัฒนา พลเมืองของประเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีความเช่ือ ร่วมกันว่า การจัดการศึกษาตามแนวทางวิถีพุทธ กล่าวคือ ไตรสิกขา อันได้แก่ ศีล สมาธิ และปัญญา เป็นกระบวนการพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งเป็นองคร์ วมรอบด้านทง้ั พฤติกรรม จิตใจ และปญั ญา ทำใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะวชิ าชีพ ควบคู่กับทักษะชีวิตที่มีพุทธธรรมเป็นฐาน เกิดการเรียนรู้ อย่างมีสติ รู้เท่าทัน สื่อสังคม และอารมณ์ของตนเอง สะท้อนอัตลักษณ์วิถีวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของสังคมไทย เป็นคนดี เก่ง มีวินัย ภูมิใจในชาติ คำนึงถึง ประโยชน์ส่วนรวม เป็นไปตามเป้าหมายการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทุนมนุษย์ในแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ผ่านการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษาอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐ และเอกชน เมื่อวันท่ี ๑๔ - ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ร่วมกับสำนกั งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดงานสัมมนาวิชาการ “มาฆบูชา สมัชชาวิถีพุทธ ครั้งที่ ๑” ขึ้น ทำให้เกิด แนวความคดิ ในการพฒั นาและสรรหาสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ ีพุทธตน้ แบบเพ่ือเสนอให้เปน็ สถานศึกษาอาชีวศึกษา วิถีพุทธพระราชทาน ซึ่งมีสถานศึกษาที่ได้รับการพิจารณาเป็นรุ่นแรก จำนวน ๑๙ แห่ง จากที่ประชุมในงานสัมมนา “มาฆบชู า สมัชชาวถิ ีพทุ ธ” คร้งั ท่ี ๒ ระหวา่ งวนั ที่ ๔ - ๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ จงึ ไดม้ กี ารถอดบทเรียนอัตลักษณ์ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธรุ่นแรก เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาเป็นแนวทางการดำเนินงานสถานศึกษา อาชีวศึกษาวิถีพุทธมาโดยลำดับ จนมีการประชุมคณะอนุกรรมการกำหนดอัตลักษณ์สถานศึกษาวิถีพุทธ

-2- ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาตามแนววิถีพุทธในสถานศึกษา อาชีวศึกษา ในวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓ และมีข้อสรุปการกำหนดอัตลักษณ์สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ เพื่อใชใ้ นการขบั เคลอ่ื นการจัดการศึกษาตามแนววิถพี ทุ ธในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๑.๒ วตั ถุประสงคข์ องคู่มอื การดำเนินงานสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวิถีพทุ ธ ๑.๒.๑ เพื่อใหท้ ราบหลักการและแนวคดิ ในการดำเนนิ งานสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวิถีพทุ ธ ๑.๒.๒ เพือ่ เปน็ แนวทางในการสมคั รเข้ารว่ มโครงการสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวิถีพทุ ธ ๑.๒.๓ เพื่อเป็นแนวทางในการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพทุ ธ ๑.๒.๔ เพื่อเป็นแนวทางในการสมัครขอรับการประเมินคุณภาพยกระดับเป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษา วถิ ีพุทธช้ันนำ และพระราชทาน ๑.๓ สถานศกึ ษากลุม่ เป้าหมาย สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐ และภาคเอกชน ที่จดั การศึกษาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) ๑.๔ นิยามศัพท์ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ หมายถึง สถานศึกษาอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ที่นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเป็นกรอบในการพัฒนามนุษย์แบบองค์รวม และบูรณาการการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทาง การศึกษา และนักเรียน นักศึกษา ให้มีพฤติกรรมด้านกาย วาจา ใจ ในการดำเนินชีวิตที่ดีงาม (สะอาด สว่าง สงบ) สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และมีความเป็นจิตอาสา จิตสาธารณะ พัฒนาปัญญาอย่างสร้างสรรค์ คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ร่วมรักษาเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมอันดีงามของประเทศไทย และรู้รับผิดชอบตามบทบาท หน้าทข่ี องความเป็นพลเมืองไทย มหาวิทยาลัย หมายถงึ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ใช้อักษรวา่ มจร คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการดำเนินงานจัดการศึกษาตามแนววิถีพุทธในสถานศึกษา อาชีวศกึ ษา คณะอนุกรรมการ หมายถึง คณะอนุกรรมการกำหนดอัตลักษณ์วิถีพุทธในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และคณะอนุกรรมการขบั เคลือ่ นการจัดการศึกษาตามแนววิถีพุทธในสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา คณะผู้ประเมิน หมายถงึ คณะผ้ปู ระเมินสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพทุ ธช้นั นำ และพระราชทาน ผู้บริหาร หมายถึง บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการในสถานศึกษาทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้แก่ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการในสถานศึกษาภาครัฐ และผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการในสถานศึกษาภาคเอกชน ครู หมายถึง บุคลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่สอนในสถานศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน ที่ได้รับการบรรจุ แต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่สอน หรือไม่ได้รับการบรรจุแต่งตั้งแต่ปฏิบัติหน้าทีส่ อนในสถานศึกษา รวมถึงผู้ทำหน้าท่สี อน ทีส่ ถานศกึ ษาจา้ งให้ทำการสอนในสถานศกึ ษาเป็นประจำ

-3- บุคลากร หมายถึง บุคลาการของสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย บุคลากรทางการศึกษา (ครูแนะแนว, บรรณารักษ์, เทคโนโลยีการศึกษา, ทะเบียนวัดผล, บริหารงานทั่วไป) และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานอื่นในสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาภาครัฐและภาคเอกชน ผู้เรียน หมายถึง นักเรียน นักศึกษา ที่กำลังศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษาในระดับหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หลักสูตรระดับปริญญาตรีสาย เทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ หลกั สูตรวชิ าชีพระยะส้นั

-4- บทที่ ๒ แนวคิดการดำเนินการสคู่ วามเปน็ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ พี ุทธ ๒.๑ หลกั พุทธธรรมในการพัฒนาสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวถิ พี ุทธ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ คือ สถานศึกษาอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ที่จัดการศึกษา ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ที่นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเปน็ กรอบในการพัฒนามนุษยแ์ บบองค์รวม และบูรณาการการจัดการ เรียนการสอนในสถานศึกษาตามหลักไตรสิกขา เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศึกษา ให้มีพฤติกรรมด้านกาย วาจา ใจ ในการดำเนินชีวิตที่ดีงาม (สะอาด สว่าง สงบ) สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และมีความเป็นจิตอาสา จิตสาธารณะ พัฒนาปัญญาอย่างสร้างสรรค์ คำนึงถึง สิ่งแวดล้อม ร่วมรักษาเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมอันดีงามของประเทศไทย และรู้รับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ ของความเป็นพลเมอื งไทย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) ได้ให้แนวคิดไว้ว่า การที่จะตัดสินใจทำให้ถูกต้องในเรื่องอย่างนี้ได้ จะต้องมีความรู้เท่าทัน โดยเฉพาะวงการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นผู้นำทางปัญญา จะต้องนำเสนอทิศทางให้แก่สงั คม เช่น ในเรื่องการวางหลักสูตร เป็นต้น๑ เพื่อเป็นการวางระบบที่สอดคล้องกับแนวคิดทางพุทธศาสนา ซึ่งพระพุทธศาสนามีระบบในการพัฒนามนุษย์ เรียกว่า ไตรสิกขา ประกอบด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา ทั้งสามประการ บูรณาการกันอยู่ตลอดเวลา ศีล เป็นปัจจัยสนับสนุนให้จิตใจพร้อมในการเจริญสมาธิ สมาธิ เป็นปัจจัยเกื้อหนุน ให้รักษาศีลได้หนักแน่นจริงจังมากขึ้น สมาธิเป็นฐานให้แก่ ปัญญา ทําให้มีความคิด จิตใจที่มั่นคงแน่วแน่ กําหนดแน่วอยู่กับสิ่งใด ก็คิดสิ่งนั้นได้ชัด มองเห็นจะแจ้งขึ้น ช่วยให้ปัญญาแก่กล้า เมื่อมีปัญญาดี ย่อมส่งผล ให้สามารถพัฒนาจิตใจให้ดีขึ้นได้ด้วย รู้จักว่าควรจะปฏิบัติต่อจิตใจในด้านสมาธิอย่างไรจึงจะได้ผลดี และย้อนมา ช่วยให้การรักษาศีลพัฒนาไปได้ถูกต้องไม่งมงาย๒ และในการพัฒนามนุษย์ตามหลักไตรสิกขานั้น มีองค์ประกอบ สำคัญอยู่ ๒ ประการ ประการท่ี ๑ เปน็ องค์ประกอบภายนอก เรียกวา่ ปรโตโฆสะ เสยี งจากผอู้ ื่น ได้แก่ ส่งิ แวดล้อมทางสังคม ทดี่ ี หรอื การกระตุ้นชกั จงู จากภายนอก ได้แก่ การสง่ั สอน แนะนำ การถา่ ยทอด โฆษณา คำบอกเลา่ ขา่ วสารคำช้แี จง อธิบายจากผู้อื่นตลอดจนการเรียนรู้เรียนแบบต่าง ๆ ภายนอกหรืออิทธิพลภายนอก แหล่งสำคัญของการเรียนรู้ ประเภทนี้ เช่น พ่อแม่ ครูอาจารย์ เพื่อน คนแวดล้อมใกล้ชิด ผู้ร่วมงาน ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา บุคคลมชี อ่ื เสยี ง คนดัง คนไดร้ บั ความนยิ มในด้านต่าง ๆ หนังสือ มวลชนท้ังหลาย สถาบันทางศาสนาและวัฒนธรรม เป็นต้น ในที่นี้หมายถึงเฉพาะที่แนะนำในทางที่ถูกต้องดีงาม ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง โดยเฉพาะที่สามารถ ช่วยนำไปสู่ปัจจัยที่ ๒ ได้เป็นองค์ประกอบภายนอกหรืออาจเรียกว่า “ปัจจัยทางสังคม” บุคคลผู้มีคุณสมบัติ ๑ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), รุ่งอรุณแห่งการศึกษา เบิกฟ้าแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน, พิมพ์ครั้งที่ ๒ (กรุงเทพมหานคร : บริษัทพมิ พส์ วย จำกดั ,๒๕๔๖), หน้า ๗. ๒ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) การศึกษาเพื่อสร้างบัณฑิต หรือ การศึกษาเพื่อผลผลิต,พิมพ์ครั้งที่ ๗ (กรงุ เทพมหานคร : อมรนิ ทรพ์ ริ้นติ้งกรุฟ,๒๕๕๗), หนา้ ๑๒.

-5- เหมาะสม สามารถทำหน้าที่เป็นปรโตโฆสะ ที่ดีมีคุณภาพสูง มีคำเรียกเฉพาะว่า “กัลยาณมิตร” คือ แหล่งความรู้ และแบบอยา่ ง ประการที่ ๒ เป็นองค์ประกอบภายใน เรียกว่า โยนิโสมนสิการ ซึ่งควบคู่ไปกับองค์ประกอบภายนอก ได้แก่ การใช้ความคิดถูกวิธี อย่างมีเหตุมีผล คือ คิดสืบสาวให้ถึงต้นตอตามหลักความสัมพันธ์แห่งองค์ประกอบ และเหตุปจั จยั ตา่ ง ๆ๓ การบูรณาการไตรสิกขาในการจัดการศึกษา เป็นการพัฒนานักเรียน นักศึกษา ผ่านการพัฒนา “การกิน การอยู่ การดู และการฟัง”๔ มีปัญญารู้เข้าใจในคุณค่าแท้ ใช้กระบวนการทางวัฒนธรรมแสวงหาปัญญา และมีวัฒนธรรมเมตตาเป็นฐานการดำเนินชีวิต โดยมีผู้บรหิ าร และคณะครู อาจารย์เป็นกัลยาณมิตร ช่วยกันพัฒนา ดำเนินการจัดการศึกษาให้นักเรียน นักศึกษา มีวิถีการทำงาน วิถีชีวิต วิถีการเรียนรู้ วิถีวัฒนธรรมต่าง ๆ หรือผสาน วิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิตเข้าด้วยกันตามหลักไตรสิกขาที่นำไปสู่วิถีชีวิตที่ดีงาม ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านพฤติกรรม (กายภาวนา ศีลภาวนา) ทำให้เป็นผู้มีกิริยามารยาท กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น รู้จักพิจารณาเลือกเสพสิ่งบริโภค และสื่อต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์ด้วยปัญญารู้จักความพอดี พอประมาณ ในการแสวงหาบริโภค สะสมสิ่งต่าง ๆ ปฏิบัติตามระเบียบ กฎเกณฑ์ภายนอกที่ถูกต้องเพื่อให้เกิดวินัยในตนเองไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น โดยมีศีล ๕ เป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตมีชีวิตที่สัมพันธ์ด้วยดีกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ด้านจิตใจ (จิตภาวนา) ทำให้เป็นผู้มีสมรรถภาวะทางจิตท่ีดี คือ มีสมาธิ มีความตั้งมั่น เข้มแข็ง มุ่งมั่นทำดี ด้วยจิตใจกล้าหาญ อดทน สู้สิ่งยาก ขยันหมน่ั เพียร ไม่ย่อท้อ สามารถฟนั ฝา่ อุปสรรคผา่ นความยากลำบากไปได้ พ่งึ ตนเองได้ มีคุณภาวะ คอื มีความกตัญญูร้คู ณุ มจี ิตใจเมตตา กรณุ าโอบอ้อมอารีมีนำ้ ใจ ละอายชว่ั กลัวบาป ซอ่ื สัตย์ รบั ผดิ ชอบ กล้ารับผิด เกิดจิตที่เป็นบุญกุศลอย่างสม่ำเสมอ มีสุขภาวะที่ดี คือ มีความสุข ความร่าเริง เบิกบาน มองโลกในแง่ดี มีกำลังใจ เกิดแรงบนั ดาลใจในการเรียนรู้ ในการร่วมกิจกรรมงานต่าง ๆ ด้านปญั ญา (ปัญญาภาวนา) สติ ปญั ญา ความเฉลยี ว ฉลาด ทำให้เป็นผู้มีศรัทธาที่ประกอบด้วยปัญญาต่อพระรัตนตรัย เชื่อถอื กฎแห่งกรรม และบาปบุญคุณโทษ มีทักษะ และอุปนิสัยในการเรียนรู้ที่ดี เป็นผู้มีความใฝ่รู้ รู้จักการค้นคว้า การจดบันทึกให้เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การคิดวิเคราะห์ประมวลผล สามารถนำเสนอถ่ายทอดได้ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล มีทักษะชีวิตเท่าทันต่อสิ่งเร้า ภายนอก และกเิ ลสภายในตนสามารถแกป้ ัญหาชวี ิตได้ สามารถนำหลกั ธรรมไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการดำเนินชีวิต๕ การศึกษาจะต้องพฒั นาคนให้เต็มคน เปน็ ผูม้ ีชวี ติ ทส่ี มบรู ณ์ เปน็ ทเ่ี ก่ง ดี และมคี วามสขุ การศึกษาจะต้อง ทำหน้าที่นี้ให้ได้ คือ เมื่อเรียนอยู่ ก็ต้องมีความสุขเป็นคุณสมบัติในใจ เมื่อเขามีความสุข ถ้าเขาเป็นคนเก่ง เมื่อออกไปในสังคมเขาไม่ต้องเบียดเบียนคนอื่นในการหาความสุขแก่สังคม และใช้ความเก่งในการสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์สุขร่วมกันทั่วสังคม ฉะนั้น จะต้องสร้างคนให้มีคุณสมบัติทั้ง ๓ คือ เก่ง ดี และมีความสุข และในกระบวนการนี้ก็ต้องสร้างคุณสมบัติที่เป็นกรณีพิเศษ ซึ่งจะต้องทำให้ได้สำหรับ กาละ เทศะที่เป็นอยู่ ๓ อ่านเพ่มิ เติมใน บพุ ภาคของการศึกษา หรือ บุพพนิมิตแห่งมชั ฌิมาปฏิปทา, พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธธรรม , พิมพ์ครงั้ ที่ ๑๕ (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท สหธรรมิก จำกดั ,๒๕๕๒), หน้า ๖๖๗-๗๓๒. ๔ ศึกษารายละเอียดใน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนกินอยู่เป็น, พิมพ์ครั้งที่ ๕๔ (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท สหธรรมิก จำกดั , ๒๕๕๐). ๕ พระครโู อภาสนนทกิตต์ิ (ศกั ดา โอภาโส),พระมหาญาณวัฒน์ ฐติ วฑฒฺ โน (บดุ ดาวงษ์) เรียบเรียง, แนวคิดทางการศึกษา สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต), เอกสารถา่ ยสำเนา (๒๕๖๐).

6 เฉพาะหน้า คือ ความใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก หรือขยายให้เต็มว่า ใฝ่รู้ (วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์) ใฝ่สร้างสรรค์ (วัฒนธรรม) เทคโนโลยีในความหมายที่แท้) และบากบั่นสู้สิ่งยาก (วัฒนธรรมอุตสาหกรรม) วิชาพื้นฐานนี้แหละเป็นการสร้าง ตัวบัณฑิต เป็นการสร้างคนให้มีคุณภาพขนาดที่จะไปนำสังคมได้ สมกับคำพูดของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต)บุรพาจารย์มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัยทเ่ี คยกลา่ วไวว้ า่ “จะสอนวิชาเฉพาะวิชาชพี ให้ใช้ผเู้ ช่ยี วชาญ แตจ่ ะสอนพ้ืนฐานต้องใชน้ กั ปราชญ์”๖ การเรียนรู้วิถพี ุทธ จึงตอบโจทย์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทีร่ ฐั บาลใหก้ ารสง่ เสริม สนับสนุนโดยเฉพาะ อย่างยิ่งการพัฒนาเยาวชนไทย สอดรับกับคำปรารภของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต) ว่า \"เด็กไทย ต้องไม่ใช่เป็นเพียงแค่นักบริโภค แต่ต้องเป็นนักผลิตและเป็นนักสร้างสรรค์ในท่ีนี้การที่จะก้าวไปสู่ขั้นเป็น นักสรา้ งสรรค์นน้ั เขาจะต้องมคี วามสุขจากการกระทำด้วย แตเ่ วลาน้ี เดก็ ไทยกำลงั ขาดความสุข ข้ันน้ีอย่างหนัก เด็กไทยทั่วไปไม่มีความสุขจากการกระทำ ได้แค่หาความสุขจากการเสพบริโภค และถึงกับเห็นการกระทำ เป็นเร่ืองทกุ ข์ ถา้ อย่างนก้ี ใ็ กลอ้ วสานสังคมไทยจะไปไม่รอด\"๗ การส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้วิถีพุทธในสถานศึกษา จึงเปน็ ทางรอดของเดก็ และเยาวชนไทย ๒.๒ มาตรฐานสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวิถพี ทุ ธ การดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ได้ผ่านการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของสถานศึกษา อาชีวศึกษาทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยกระบวนการทางวิชาการจากความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั (มจร) และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.) ไดแ้ ตง่ ตั้งคณะอนกุ รรมการ กำหนดอัตลักษณ์สถานศึกษาวิถีพุทธในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา ตามแนววิถีพุทธในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ให้ไปศึกษา วิเคราะห์ ถอดบทเรียน การดำเนินงานสถานศึกษา อาชวี ศึกษาวิถีพุทธ จากสถานศึกษาตน้ แบบท่ีได้ดำเนนิ การมีผลเชิงประจักษ์แล้ว กำหนดเป็น มาตรฐานสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาวถิ ีพุทธ ๔ ดา้ น ๒๕ ตัวบง่ ชี้ ดงั นี้ ๖ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), การศึกษาเพ่ือสร้างบัณฑิต หรือการศกึ ษาเพอื่ ผลผลิต, หน้า ๑๒. ๗ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พัฒนาการแบบองคร์ วมของเด็กไทย,พิมพ์ครงั้ ที่ ๑๐, (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั สหธรรมกิ จำกัด,๒๕๔๖), หนา้ ๒.

๗ แผนภาพที่ ๑ : มาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพทุ ธ ๔ ดา้ น ๒๕ ตัวบง่ ช้ี

๘ ๒.๓ ระดับคณุ ภาพสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวถิ ีพุทธ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพทุ ธ มี ๓ ระดับคณุ ภาพ ดังนี้ ๑) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ คือ สถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ และเอกชน ที่จัดการศึกษา ตามหลักสตู รของกระทรวงศึกษาธิการ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ที่สมคั รเขา้ ร่วม และดำเนนิ การประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธ ๒) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ คือ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธที่มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ โดยผ่านการประเมินจากคณะผู้ประเมิน และได้รับการ คดั เลอื กประกาศให้เป็นสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ พี ุทธช้ันนำ ๓) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน คือ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำที่มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ โดยผ่านการประเมินจากคณะผู้ประเมิน และไดร้ บั การคดั เลือกประกาศใหเ้ ปน็ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพุทธพระราชทาน ๒.๔ วธิ ีการสมคั รเปน็ สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวิถพี ุทธ ๑) ข้นั ตอนและวิธกี ารสมคั รสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถพี ุทธ ดงั นี้ ๑. สมัครเข้าร่วมโครงการสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ พร้อมแนบหลักฐานการยินยอมเข้าร่วม ของผู้บรหิ าร ผา่ นระบบการประเมินสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวิถีพทุ ธ (Buddhist Vocational College Assessment System : BVCAS) เพอื่ ขอรับบัญชผี ู้ใช้ (Username & Password) ๒. เข้าระบบ BVCAS ด้วยบัญชีผู้ใช้ที่ได้รับ เพื่อบันทึกผลการดำเนินงานตามมาตรฐานสถานศึกษา อาชีวศึกษาวิถพี ุทธ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด 3. ส่งรายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ในระบบ BVCAS ตามระยะเวลาทกี่ ำหนด ๔. สถานศกึ ษาจะไดร้ ับใบประกาศเกียรติคุณรับรองเปน็ สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพุทธ ๒) ขัน้ ตอนและวิธีการสมคั รสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ ีพทุ ธชนั้ นำ ดงั น้ี ๑. สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธท่ีมผี ลการประเมนิ ตนเองต่อเนือ่ ง ๓ ปี หรือตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ สมัครขอรับการประเมินเป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพทุ ธช้นั นำ ในระบบ BVCAS ๒. บันทึกผลการดำเนินงานตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ ในระบบ BVCAS ตามระยะเวลาที่กำหนด ๓. ส่งรายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ ในระบบ BVCAS ตามระยะเวลาที่กำหนด ๔. แนบเอกสารประกอบ ดังรายการนี้ - โครงการหรือกิจกรรมด้านวิถีพุทธที่โดดเด่น สามารถพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรยี น นักศึกษา ไดเ้ ปน็ ทป่ี ระจักษ์ - กิจกรรมวิถีพุทธแบบมีส่วนร่วมที่เชื่อมโยงสถานศึกษากับชุมชน สังคม เครือข่ายภาครัฐ และเอกชน ท่ีแสดงถึงความมีจติ อาสาเพ่ือสังคมเป็นท่ปี ระจักษ์

๙ - หลักฐานหรือร่องรอยที่แสดงให้เห็นว่า ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศกึ ษา มคี ุณลักษณะวถิ ีพทุ ธ สามารถเป็นผูน้ ำในการประกอบศาสนพิธีได้ถกู ต้อง - หลักฐานหรือร่องรอยที่แสดงให้เห็นว่า ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้เข้าอบรม หลกั สูตรการบรหิ ารจติ และเจริญปัญญาจากเครอื ขา่ ยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๕. สถานศกึ ษาที่ผา่ นเกณฑ์การประเมินเอกสารรายงานผลการประเมินตนเอง และเอกสารประกอบ จะได้รับการนัดหมายเพ่ือรบั การการตรวจเยี่ยมเชงิ ประจักษ์ ๖. สถานศกึ ษาเตรยี มรบั การตรวจเย่ียมเชิงประจกั ษจ์ ากคณะผปู้ ระเมนิ ๗. สถานศกึ ษาที่ผา่ นการประเมนิ เชิงประจักษ์ จะได้รบั ใบประกาศเกียรติคุณรบั รองเป็นสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาวถิ พี ทุ ธชัน้ นำ และโล่รางวัล ๓) ขน้ั ตอนและวิธกี ารสมัครสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ พี ทุ ธพระราชทาน ดังนี้ ๑. สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ที่ได้รับใบประกาศเกียรติคุณรับรองเป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษา วิถีพุทธชั้นนำ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี สมัครขอรับการประเมินเป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน ในระบบ BVCAS ๒. บันทึกผลการดำเนินงานตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน ในระบบ BVCAS ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ๓. ส่งรายงานผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน ในระบบ BVCAS ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ๔. แนบเอกสารประกอบ ดังรายการน้ี - โครงการหรือกิจกรรมด้านวิถีพุทธที่โดดเด่น สามารถพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และนกั เรียน นักศึกษาไดเ้ ป็นทป่ี ระจักษ์ - เอกสารหรือหลักฐานร่องรอยการเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ให้คำปรึกษา คำแนะนำ กับสถานศึกษา อาชีวศกึ ษาอน่ื ๆ หรือไดร้ ับรางวลั เชดิ ชเู กียรติในดา้ นบริการวิชาการเก่ียวกบั วิถพี ุทธ - กิจกรรมวิถีพุทธแบบมีส่วนร่วมที่เชื่อมโยงกับสถานศึกษา ชุมชน สังคม เครือข่าย ทั้งภาครัฐ และเอกชน - นวัตกรรมด้านการดำเนินงาน การบริหารงาน หรือกิจกรรมการเรียนการสอนในการพัฒนา การศกึ ษาตามแนววถิ ีพทุ ธเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ - ผลการจัดการความรู้ด้านการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ จนสามารถนำไปใช้ ได้จรงิ และมกี ารเผยแพรต่ ่อสาธารณะ ๕. สถานศึกษาที่ผา่ นเกณฑ์การประเมินเอกสารรายงานผลการประเมินตนเอง และเอกสารประกอบ จะได้รับการนัดหมายเพอ่ื รับการการตรวจเยีย่ มเชิงประจักษ์ ๖. สถานศกึ ษารับการตรวจเย่ยี มเชิงประจักษ์จากคณะผู้ประเมิน ๗. สถานศกึ ษาทีผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ เชงิ ประจักษ์ จะได้รบั การนดั หมายเพอื่ นำเสนอผลงาน ๘. สถานศกึ ษานำเสนอผลงานตามเกณฑท์ กี่ ำหนด ๙. สถานศึกษาที่ผ่านการประเมิน จะได้รับใบประกาศเกียรติคุณรับรองเป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษา วถิ ีพุทธพระราชทาน และโล่รางวัลพระราชทาน

๑๐ 2.5 จดุ เนน้ การประเมินระดับคณุ ภาพสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวถิ ีพทุ ธ ๑) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ พิจารณาจากการประเมินตนเองในระบบ BVCAS โดยจะได้รับ ประกาศเกยี รติคณุ รับรอง จากมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ พิจารณาจากระดับคะแนนการประเมินตนเองในระบบ BVCAS ในระดับดีมาก พร้อมกับการประเมินเชิงประจักษ์ โดยจะได้รับประกาศเกียรติคุณรับรอง และโล่รางวัล จากมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๓) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน พิจารณาจากระดับคะแนนการประเมินตนเอง ในระบบ BVCAS ในระดับดีเยี่ยม พร้อมกับการประเมินเชิงประจักษ์ นวัตกรรมด้านการดำเนินงาน การบริหาร และการจัดการเรยี นรู้ และการจัดการความรูท้ ี่มีผลการเผยแพร่ต่อสาธารณะ โดยจะได้รับประกาศเกยี รตคิ ุณรับรอง และโล่พระราชทาน จากมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั 2.6 แนวทางการประเมิน และวิธกี ารประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธ แนวทางการประเมินและวิธีการประเมินตอนเองของสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ มีแนวทาง และวิธีการประเมินตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ๔ ด้าน ๒๕ ตัวบ่งชี้ ในแต่ละตัวบ่งชี้ มีคำอธิบาย มแี นวทางการให้ระดับคุณภาพ และวิธแี นวทางการให้ระดบั คณุ ภาพและแหลง่ ขอ้ มูล ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ดา้ นการบริหารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพุทธ คำอธิบาย การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ หมายถึง การที่สถานศึกษามีการจดั ทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี ที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ โดยมีระบบการสนับสนุนและส่งเสริม การนำแผนปฏิบัติการประจำปีทน่ี ำไปสกู่ ารปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม มกี ระบวนการในการกำกับ ตดิ ตาม ประเมินผล แผนปฏิบัติการประจำปี ปรับปรุงพัฒนาให้มีความทันสมัย มีการจัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำปี ที่เป็นระบบและมีความต่อเนื่องเป็นรูปธรรม พร้อมนำผลแนวทางการให้ระดับคุณภาพแผนปฏิบัติการ ประจำปมี าปรับปรงุ การดำเนนิ งานเพอื่ พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ตัวบง่ ช้ี ๑. มแี ผนปฏิบตั กิ ารประจำปที ส่ี ่งเสริมการดำเนนิ งานสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธ ๒. มีการสนับสนนุ และสง่ เสริมการนำแผนปฏิบัติการประจำปไี ปสู่การปฏิบัติอย่างเปน็ รปู ธรรม ๓. มกี ารกำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างเป็นรูปธรรม ๔. มีการสรปุ ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปอี ย่างเป็นรูปธรรม ๕. มกี ารนำผลการดำเนินงานมาปรบั ปรุงเพ่ือยกระดับคุณภาพแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี

๑๑ ภายใตม้ าตรฐานท่ี ๑ แตล่ ะตวั บง่ ช้ี มีคำอธิบาย แนวทางการใหร้ ะดับคุณภาพและแหล่งข้อมูล ดงั ต่อไปน้ี ตัวบง่ ช้ี ๑ มีแผนปฏบิ ัติการประจำปที ีส่ ่งเสริมการดำเนินงานสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ พี ทุ ธ สถานศึกษามีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษา คำอธิบาย วิถีพุทธ โดยการมีส่วนร่วมของครู และบุคลากรของสถานศึกษา โดยมีคณะกรรมการ ในการดำเนนิ การแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีและไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ๑ = มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ โดยการมสี ว่ นรว่ มของครูและบุคลากรของสถานศึกษา ๒ = มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ แนวทางการ โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรของสถานศึกษา มีคณะกรรมการในการดำเนินการ ใหร้ ะดบั ตามแผนอย่างเป็นรปู ธรรม และได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา คณุ ภาพ ๓ = มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ โดยการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรของสถานศึกษา มีคณะกรรมการในการดำเนินการ ตามแผนอย่างเป็นรูปธรรม และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา มคี วามตอ่ เนื่องในการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปี วธิ แี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงาน การใหร้ ะดับ การประชุม และมตขิ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณ์ผ้บู รหิ าร นกั เรยี น นกั ศึกษา ครูผสู้ อน บุคลากรและผเู้ ก่ยี วข้อง แหล่งข้อมลู ๓) สงั เกตสภาพการปฏบิ ตั ิงานจรงิ ตัวบ่งช้ี ๒ มีการสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การนำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีไปสูก่ ารปฏิบตั ิอย่างเปน็ รปู ธรรม สถานศึกษามีงาน กิจกรรม โครงการ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปีและมีการ คำอธิบาย กำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และมีบุคลากรของสถานศึกษาเข้าร่วมในงาน กิจกรรม โครงการ ๑ = มีงาน กิจกรรม โครงการ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี และมีการกำหนด ผรู้ บั ผดิ ชอบอย่างชัดเจน แนวทางการ ๒ = มีงาน กิจกรรม โครงการ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปีและมีการกำหนด ให้ระดับ ผ้รู ับผิดชอบอยา่ งชัดเจน และมกี ลุม่ เปา้ หมายครอบคลุมบคุ ลากรของสถานศึกษา คุณภาพ ๓ = มีงาน กิจกรรม โครงการ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปีและมีการกำหนด ผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และมีกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมบุคลากรของสถานศึกษา อยา่ งต่อเนือ่ ง วธิ ีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงาน การใหร้ ะดบั การประชุม และมตขิ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา โครงการและผลของโครงการ ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณ์ผู้บริหาร นกั เรียน นักศกึ ษา ครผู ู้สอน บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง แหล่งข้อมลู ๓) สงั เกตสภาพการปฏบิ ัติงานจรงิ

๑๒ ตัวบ่งชี้ ๓ มกี ารกำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างเป็นรูปธรรม สถานศกึ ษามีกระบวนการในการกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี และมี คำอธิบาย การกำหนดผ้รู ับผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน และมกี ารรายงานผลการกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล แผนปฏบิ ัติการประจำปีใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษารบั ทราบ ๑ = มีกระบวนการในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปี และมีการ กำหนดผู้รับผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน แนวทางการ ๒ = มีกระบวนการในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปี และมีการ ใหร้ ะดับ กำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และมีการรายงานผลการกำกับ ติดตาม ประเมินผล คณุ ภาพ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษารบั ทราบ ๓ = มีกระบวนการในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปี และมีการ กำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และมีการรายงานผลการกำกับ ติดตาม ประเมินผล แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษารับทราบ อย่างต่อเนือ่ ง วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการ การใหร้ ะดับ ประชุม และมติของคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ มีรายงาน คุณภาพและ ตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน ฯลฯ แหลง่ ข้อมูล ๒) สมั ภาษณ์ผู้บริหาร นักเรยี น นกั ศกึ ษา ครผู ้สู อน บคุ ลากรและผูเ้ กย่ี วข้อง ๓) สังเกตสภาพการปฏบิ ัติงานจรงิ ตวั บ่งชี้ ๔ มีการสรปุ ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปอี ย่างเปน็ รปู ธรรม สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการ คำอธิบาย ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามงาน กจิ กรรมและโครงการทก่ี ำหนดในแผนปฏบิ ัติการประจำปี ๑ = สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการ ดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ๒ = สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการ แนวทางการ ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามงาน ให้ระดบั กจิ กรรมและโครงการที่กำหนดในแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี คุณภาพ ๓ = สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการ ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามงาน กิจกรรมและโครงการที่กำหนดในแผนปฏิบัติการประจำปี อย่างเป็นระบบและมีความ ตอ่ เนอื่ ง วธิ แี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงาน การให้ระดบั การประชุม และมติของคณะกรรมการสถานศกึ ษา โครงการและผลของโครงการ รายงาน คณุ ภาพและ ผลการดำเนินงานตามงาน กิจกรรมและโครงการตามแผนปฏิบัติงานประจำปี แหล่งข้อมูล และแผนพฒั นาสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวิถีพุทธ ฯลฯ ๒) สัมภาษณ์ผบู้ รหิ าร นักเรยี น นักศึกษา ครผู สู้ อน บคุ ลากรและผเู้ ก่ยี วข้อง

๑๓ ๓) สังเกตสภาพการปฏิบัตงิ านจรงิ ตัวบง่ ชี้ ๕ มีการนำผลการดำเนินงานมาปรบั ปรุงเพอื่ ยกระดับคุณภาพแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี คำอธบิ าย สถานศึกษามีการนำผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีมาปรับปรุง การดำเนนิ งานอย่างต่อเนอื่ ง แนวทางการ ๑ = มีผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี ใหร้ ะดับ ๒ = มกี ารนำผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีมาปรับปรุงการดำเนินงาน คณุ ภาพ ๓ = มีการนำผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีมาปรับปรุงการดำเนินงาน อย่างตอ่ เน่อื ง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการ วิธีแนวทาง ประชุม และมติของคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ รายงานผล การให้ระดบั การดำเนินงานตามงาน กิจกรรมและโครงการตามแผนปฏิบัติงานประจำปี คณุ ภาพและ และแผนพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธ ฯลฯ แหล่งข้อมลู ๒) สัมภาษณผ์ บู้ รหิ าร นักเรียน นกั ศกึ ษา ครผู สู้ อน บุคลากรและผู้เก่ยี วข้อง ๓) สงั เกตสภาพการปฏบิ ัติงานจริง มาตรฐานท่ี ๒ ด้านการพัฒนาบุคลากรตามหลกั ไตรสิกขา คำอธิบาย การพัฒนาบุคลากรตามหลักไตรสิกขา หมายถึง การที่สถานศึกษามีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับตามหลัก ไตรสิกขา ครอบคลุมตั้งแต่ผู้บริหาร ครู บุคลากร ตลอดจนผู้เรียน โดยเริ่มจากการที่ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เห็นความสำคัญของการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาตามแนววิถีพุทธ และพัฒนาตนเอง ครู บุคลากร และผู้เรียน ในสถานศึกษา ให้เป็นผู้ที่รักษาศีล งดเว้นอบายมุข รักษาตนโดย “กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น” อย่างมีสติ มีความอ่อนน้อม ถอ่ มตน มีความเปน็ กัลยามิตรตอ่ ผู้อนื่ เข้ารบั การอบรมตามแนววิถีพุทธอยู่เสมอ มีความกตัญญู ซ่อื สตั ย์ สุจริต มีวนิ ัย และความรับผิดชอบ ตลอดจนเป็นผู้ที่มีนิสัยรักการเรียนรู้ และมีความคิดสรา้ งสรรค์ สามารถแก้ปัญหาความขัดแยง้ ในสถานศกึ ษาด้วยสันตวิ ิธีได้ ตัวบ่งชี้ 1. ผ้บู ริหารมวี ิสยั ทศั นต์ อ่ การบรหิ ารสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวิถพี ุทธ 2. ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผเู้ รยี น รักษาศีล งดเว้นอบายมุข และกนิ อยู่ ดู ฟัง อย่างมสี ติ 3. ผบู้ ริหาร ครู บุคลากร และผู้เรยี นมีความอ่อนน้อมถ่อมตน และมีความเป็นกัลยามิตรตอ่ ผูอ้ น่ื 4. ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียนได้รับการอบรมบ่มเพาะ การเรียนรู้วิถีพุทธ มีความกตัญญูซื่อสัตย์ สุจริต มวี นิ ัย และความรบั ผิดชอบ 5. ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียน มีความสามารถ ในการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธีมีนิสัย รกั การเรียนรู้ และมีความคดิ สรา้ งสรรค์

๑๔ ภายใตม้ าตรฐานที่ ๒ แตล่ ะตัวบง่ ชี้ มีคำอธบิ าย แนวทางการให้ระดับคุณภาพและแหล่งขอ้ มูล ดังต่อไปน้ี ตวั บง่ ชี้ ๑ ผู้บริหารมีวิสยั ทัศนต์ อ่ การบรหิ ารสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวิถพี ุทธ ผู้บริหารมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนางานดา้ นอาชีวศกึ ษาวถิ ีพุทธ และไดแ้ สดงออกถึงวิสัยทัศน์ คำอธบิ าย ให้ผูเ้ ก่ียวข้องมสี ว่ นร่วมในการกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนสถานศึกษาอาชวี ศึกษาวิถีพุทธ ใหบ้ รรลุวสิ ัยทศั นก์ ารบริหารสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวถิ พี ุทธ ๑ = ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางานด้านอาชีวศึกษาวิถีพุทธ และได้แสดงออก ถึงวสิ ยั ทัศน์ ๒ = ผู้บริหารสถานศึกษามีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางานด้านอาชีวศึกษาวิถีพุทธ และได้ แนวทางการ แสดงออกถึงวิสัยทัศน์ โดยมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงานในการกำหนดทิศ ใหร้ ะดบั ทางการขบั เคลื่อนสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาวิถีพุทธ คุณภาพ ๓ = ผู้บริหารสถานศึกษามีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางานด้านอาชีวศึกษาวิถีพุทธ และได้ แสดงออกถึงวิสัยทัศน์ โดยมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงานในการกำหนด ทิศทางการขับเคลื่อนสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ มีการแสดงออกถึงความมุ่งม่ัน ดำเนนิ งานให้บรรลุตามวิสัยทัศนข์ องผูน้ ำอยา่ งตอ่ เน่ือง วิธแี นวทาง ๑) พจิ ารณาจากหลักฐานเอกสารเชงิ ประจกั ษ์ เชน่ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี รายงานการ การให้ระดบั ประชุม และมติของคณะกรรมการสถานศกึ ษา โครงการและผลของโครงการ ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สัมภาษณ์คณะผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูผสู้ อน บุคลากรในสถานศกึ ษา และผ้เู รียน แหลง่ ข้อมูล ๓) ตรวจสภาพจริง และร่องรอยท่ปี รากฏ ตัวบง่ ช้ี ๒ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผูเ้ รยี น รักษาศลี งดเวน้ อบายมขุ และกิน อยู่ ดู ฟัง อยา่ งมีสติ ผู้บริหาร ครูผสู้ อน บุคลากร และผู้เรยี น มกี ารรักษาศีลอยา่ งเครง่ ครดั และสม่ำเสมอโดยได้ คำอธบิ าย งดเว้นทุก ๆ สิ่งที่เป็นอบายมุข และสามารถดำรงชีวิตด้านการกิน การอยู่ การดู การฟัง ด้วยสตอิ ย่างมีวิจารณญาณ ๑ = ผูบ้ ริหาร ครูผ้สู อน บคุ ลากร และผเู้ รียน มีการรักษาศีลตามโอกาสหรือเทศกาล แนวทางการ ๒ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีการรักษาศีลอย่างเคร่งครัดและสม่ำเสมอ ให้ระดับ โดยไดง้ ดเวน้ ทกุ ๆ ส่ิงทเ่ี ป็นอบายมุข คุณภาพ ๓ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีการรักษาศีลอย่างเคร่งครัดและสม่ำเสมอ โดยได้งดเว้นทุก ๆ สิ่งที่เป็นอบายมุข และสามารถดำรงชีวิตด้านการกิน การอยู่ การดู การฟงั ดว้ ยสติอย่างมวี ิจารณญาณ วิธแี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น รายงานกิจกรรม โครงการ ที่สะท้อน การให้ระดับ การส่งเสริมการรักษาศีล การงดเว้นอบายมุข และการส่งเสริมชีวิตด้านการกิน การอยู่ คณุ ภาพและ การดู การฟงั ดว้ ยสตอิ ย่างมวี ิจารณญาณ ฯลฯ แหล่งข้อมูล ๒) สมั ภาษณค์ ณะผบู้ ริหารสถานศึกษา ครผู ู้สอน บคุ ลากรในสถานศึกษา และผ้เู รียน ๓) ตรวจสภาพจริง และร่องรอยท่ปี รากฏ ตวั บ่งช้ี ๓ ผบู้ ริหาร ครู บุคลากร และผเู้ รยี นมีความอ่อนน้อมถ่อมตน และมีความเป็นกลั ยามติ รต่อผอู้ ่นื

๑๕ คำอธิบาย ผบู้ รหิ าร ครผู ้สู อน บุคลากร และผเู้ รียน มพี ฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน และความเป็นมติ รไมตรตี ่อผู้อ่นื โดยไม่เลือกปฏบิ ัติทัง้ ในและนอกสถานศึกษา แนวทางการ ๑ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีพฤติกรรมที่แสดงออกอย่างมีเอกภาพ ให้ระดับ ถึงความอ่อนน้อมถอ่ มตน และความเปน็ มติ รไมตรตี อ่ ผอู้ ื่น คณุ ภาพ ๒ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีพฤติกรรมที่แสดงออกอย่างมีเอกภาพ ถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน และความเป็นมิตรไมตรีต่อผู้อื่นโดยไม่เลือกปฏิบัติทั้งใน วิธีแนวทาง และนอกสถานศกึ ษา การให้ระดบั ๓ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีพฤติกรรมที่แสดงออกอย่างมีเอกภาพ คุณภาพและ ถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน มีความเป็นมิตรไมตรีต่อผู้อื่นโดยไม่เลือกปฏิบัติทั้งในและ แหลง่ ข้อมลู นอกสถานศกึ ษา อยา่ งต่อเน่ืองสมำ่ เสมอ ๑) พจิ ารณาจากหลกั ฐานเอกสารเชิงประจกั ษ์ เชน่ โครงการส่งเสรมิ สนับสนุน ๒) สมั ภาษณ์ผ้บู รหิ าร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรยี น ๓) ตรวจสภาพจริง และรอ่ งรอยที่ปรากฏ ตวั บง่ ช้ี ๔ ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากร และผูเ้ รียนไดร้ บั การอบรมบม่ เพาะ การเรยี นรวู้ ิถพี ุทธ มีความกตัญญู ซ่อื สัตย์ สุจรติ มีวินัย และความรับผิดชอบ ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรในด้านการเรียนรู้ คำอธิบาย วิถีพุทธ มีความกตัญญู รักษาความซื่อสัตย์ มีความสุจริต มีวินัยในตนเอง และความ รบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๑ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรในด้านการเรยี นรู้ วถิ พี ทุ ธ แนวทางการ ๒ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรในด้านการเรยี นรู้ ใหร้ ะดบั วิถีพุทธ มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความกตัญญู รักษาความซื่อสัตย์ มีความสุจริต มีวินัย คุณภาพ ในตนเอง และความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๓ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรยี น ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรในด้านการเรยี นรู้ วิถีพุทธ มีความกตัญญู รักษาความซื่อสัตย์ มีความสุจริต มีวินัยในตนเอง และความ รบั ผิดชอบต่อสังคม มีพฤตกิ รรมแสดงออกทเี่ ดน่ ชัดเปน็ เอกภาพและมคี วามต่อเนื่อง วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น โครงการและผลการดำเนินงานท่ี การให้ระดับ เกย่ี วข้อง ฯลฯ คุณภาพและ ๒) สมั ภาษณผ์ ้บู ริหาร ครผู ู้สอน บุคลากรในสถานศกึ ษา และผูเ้ รยี น แหลง่ ข้อมูล ๓) ตรวจสภาพจรงิ และรอ่ งรอยทปี่ รากฏ ตวั บ่งช้ี ๕ ผูบ้ ริหาร ครู บคุ ลากร และผู้เรยี น มคี วามสามารถ ในการแกป้ ัญหาความขัดแย้งดว้ ยสนั ติวิธี มนี สิ ัย รกั การเรียนรู้ และมคี วามคิดสร้างสรรค์

๑๖ คำอธิบาย ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีทักษะความสามารถต่อการแก้ปัญหา ความขัดแย้งภายในสถานศึกษาด้วยการนำแนวคิดแบบสันติวิธีมาเป็นฐานคิดต่อการ แนวทางการ ดำเนินการโดยภาพรวม มีนิสัยรกั การเรียนรู้ และมคี วามคิดสร้างสรรค์ ใหร้ ะดับ คณุ ภาพ ๑ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียน มีทักษะความสามารถต่อการแก้ปัญหา ความขัดแย้งภายในสถานศึกษาด้วยการนำแนวคิดแบบสันติวิธีมาเป็นฐานคิดต่อการ วิธแี นวทาง ดำเนินการโดยภาพรวม การให้ระดบั คณุ ภาพและ ๒ = ผูบ้ ริหาร ครผู ้สู อน บคุ ลากร และผูเ้ รียน มีทักษะความสามารถต่อการแก้ปัญหาความ แหลง่ ข้อมูล ขัดแย้งภายในสถานศึกษาด้วยการนำแนวคิดแบบสนั ติวิธีมาเป็นฐานคิดต่อการดำเนินการ โดยภาพรวม มีนิสัยรักการเรียนรู้และความคดิ สรา้ งสรรค์ ๓ = ผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากร และผู้เรียนมีทักษะความสามารถต่อการแก้ปัญหา ความขัดแย้งภายในสถานศึกษาด้วยการนำแนวคิดแบบสันติวิธีมาเป็นฐานคิดต่อการ ดำเนินการโดยภาพรวม มนี ิสัยรักการเรียนร้แู ละความคิดสร้างสรรค์ และมีความต่อเน่ืองท่ี พัฒนาไปส่กู ารสรา้ งความเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เชน่ แผนงาน กิจกรรม โครงการท่เี ก่ียวข้อง กับการส่งเสริมทักษะความสามารถต่อการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี การมีนิสัย รกั การเรยี นรูแ้ ละความคดิ สร้างสรรค์ ฯลฯ ๒) สัมภาษณ์ ผบู้ ริหาร ครูผู้สอน บุคลากรในสถานศึกษา และผเู้ รยี น ๓) สังเกตสภาพจรงิ และรอ่ งรอยที่ปรากฏ

๑๗ มาตรฐานท่ี ๓ ด้านการพัฒนาเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ีพุทธ คำอธบิ าย การพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ีพุทธ หมายถงึ การทส่ี ถานศึกษามีการพัฒนาเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักไตรสิกขา โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านการทำงานร่วมกับชุมชนและสังคม เพื่อส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ จิตอาสา และส่งเสริมทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรม และแก้ไขปัญหาด้วยปัญญา ครู และผู้เรียนกำหนดข้อตกลงในชั้นเรียน ร่วมกันด้วยสันติวิธี สถานศึกษามีกิจกรรมสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล แผ่เมตตา และกิจกรรมที่ส่งเสริม วัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรงการทำความดี สำหรับเอกลกั ษณ์ด้านกายภาพ สถานศึกษาควรมีอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ส่งเสริมการพัฒนาศีล สมาธิ และปัญญา มีพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอย่างเด่นชัด สะอาด สงบ เหมาะกับบริบทของสถานศึกษา มพี ้ืนท่สี ำหรบั ศกึ ษาธรรมะ มปี า้ ยพทุ ธสภุ าษิต หรือคำสอนส่งเสริมคุณธรรม ทีเ่ หน็ เด่นชัดเพื่อการบรหิ ารจิต และเจริญปัญญา นอกจากนี้สถานศึกษายังควรจัดให้มีบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ สามารถให้คำแนะนำเกยี่ วกับการเจริญสติ และปัญญาดว้ ย ตัวบ่งชี้ 1. จดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วมท่สี ่งเสรมิ สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ทบ่ี ูรณาการตามหลักไตรสิกขา 2. จัดกิจกรรมความร่วมมือกับชุมชน สังคม เพ่ือสง่ เสรมิ ความเป็นจิตอาสา จติ สาธารณะและการอยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื 3. จดั กิจกรรมเสริมสร้างทักษะความเป็นผ้นู ำดา้ นคุณธรรมและแก้ไขปัญหาดว้ ยปัญญา 4. จัดกิจกรรมการมสี ่วนรว่ มในการกำหนดขอ้ ตกลงการอยู่ร่วมกันในชัน้ เรยี นดว้ ยสันติวิธี 5. จดั กิจกรรมการสวดมนต์ ไหวพ้ ระ เจริญสติ ทบทวนศีล และแผเ่ มตตา 6. จดั กิจกรรมสง่ เสริมวฒั นธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรงการทำความดี 7. มีอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศทสี่ ่งเสริมการพัฒนาศีล สมาธแิ ละปญั ญา 8. มีพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอย่างเด่นชัด สะอาด สงบ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา 9. มพี น้ื ทสี่ ำหรับศึกษาธรรมะ มีปา้ ยพทุ ธสุภาษติ หรือคำสอนส่งเสริมคุณธรรมท่ีเห็นเด่นชัดเพ่ือการบริหาร จิตและเจรญิ ปญั ญา 10. มีบคุ ลากรท่ีมคี วามรู้ ความเช่ียวชาญ สามารถให้คำแนะนำการเจริญสตแิ ละเจริญปญั ญา

๑๘ ภายใตม้ าตรฐานท่ี ๓ แต่ละตวั บง่ ช้ี มคี ำอธิบาย แนวทางการใหร้ ะดบั คุณภาพและแหลง่ ขอ้ มลู ดังต่อไปนี้ ตัวบ่งช้ี ๑ จัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบมสี ่วนรว่ มทสี่ ง่ เสรมิ สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ทีบ่ รู ณาการตามหลักไตรสิกขา สถานศึกษามีกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะตาม คำอธบิ าย คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ของมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ที่บูรณาการตามหลักไตรสิกขา โดยบุคลากรของสถานศึกษามีส่วนร่วมในการ วางแผนและการจัดกิจกรรม ๑ = มีกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะที่พึงประสงค์ โดยบูรณาการตามหลักไตรสกิ ขาโดยบคุ ลากรของสถานศึกษามีส่วนรว่ มในการวางแผน แนวทางการ ๒ = มีกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะที่พึงประสงค์ ใหร้ ะดับ โดยบูรณาการตามหลักไตรสิกขาโดยบุคลากรของสถานศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผน คณุ ภาพ และการจัดกิจกรรมอยา่ งเป็นระบบ ๓ = มีกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะที่พึงประสงค์ โดยบูรณาการตามหลักไตรสิกขาโดยบุคลากรของสถานศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผน และการจดั กิจกรรมอย่างเปน็ ระบบ ครอบคลมุ หลกั ไตรสิกขาอยา่ งต่อเน่อื ง วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การให้ระดบั รายงานผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ฯลฯ คุณภาพและ ๒) สัมภาษณ์ ผ้บู ริหาร ครูผสู้ อน บุคลากรในสถานศึกษา และผ้เู รียน แหลง่ ข้อมูล ๓) สังเกตสภาพจริง และรอ่ งรอยท่ีปรากฏ ตัวบง่ ชี้ ๒ จัดกจิ กรรมความรว่ มมือกับชมุ ชน สังคม เพอ่ื สง่ เสริมความเปน็ จติ อาสา จติ สาธารณะและการอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื สถานศึกษามีความร่วมมือกับชุมชน สังคม ในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นจติ อาสา คำอธบิ าย จิตสาธารณะและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น มีผลการดำเนินงานร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับ ชมุ ชนและสงั คม ๑ = มีความร่วมมือกับชุมชน สังคม ในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นจิตอาสา จติ สาธารณะและการอยู่ร่วมกับผ้อู ่นื แนวทางการ ๒ = มีความร่วมมือกับชุมชน สังคม ในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นจิตอาสา ให้ระดบั จติ สาธารณะและการอยู่ร่วมกับผู้อืน่ และมีผลการดำเนินงานตามแผน คุณภาพ ๓ = มีความร่วมมือกับชุมชน สังคม ในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นจิตอาสา จิตสาธารณะและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น มีผลการดำเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบ และมคี วามตอ่ เน่อื ง วธิ แี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชงิ ประจักษ์ เชน่ แผนการจดั กจิ กรรมสร้างความรว่ มมือ การให้ระดับ รายงานผลการจดั กจิ กรรมตามแผน ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สัมภาษณ์ ผบู้ ริหาร ครูผูส้ อน บุคลากรในสถานศึกษา และผเู้ รยี น แหล่งข้อมลู ๓) สงั เกตสภาพจริง และรอ่ งรอยทีป่ รากฏ

๑๙ ตัวบง่ ชี้ ๓ จัดกจิ กรรมเสริมสร้างทักษะความเปน็ ผนู้ ำดา้ นคุณธรรมและแก้ไขปัญหาดว้ ยปญั ญา สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรมและแก้ไข คำอธบิ าย ปัญหาด้วยปัญญา โดยมีกระบวนการอย่างเป็นระบบและมีผลการดำเนินงานที่บรรลุผล สำเร็จและเกดิ ผลสมั ฤทธท์ิ ี่ดีต่อผ้เู รยี น ๑ = มีกระบวนการในการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรม และแกไ้ ขปัญหาดว้ ยปัญญา แนวทางการ ๒ = มีกระบวนการในการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรม ใหร้ ะดบั และแก้ไขปญั หาด้วยปัญญา มรี ะบบการดำเนินงานท่ีชดั เจน มผี ลการดำเนินงานที่บรรลุผล คุณภาพ สำเร็จและเกิดผลสมั ฤทธทิ์ ดี่ ตี อ่ ผู้เรยี น ๓ = มีกระบวนการในการส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรม และแกไ้ ขปญั หาดว้ ยปัญญา มีระบบการดำเนินงานที่ชัดเจน มีผลการดำเนนิ งานทบ่ี รรลุผล สำเร็จและเกดิ ผลสมั ฤทธทิ์ ่ีดีตอ่ ผูเ้ รียน อยา่ งต่อเนอ่ื ง วิธแี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น มีโครงการจัดกิจกรรม รายงานผล การใหร้ ะดับ การจดั กิจกรรมทสี่ ะท้อนถงึ ระบบการดำเนินงาน ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณ์ ผบู้ รหิ าร ครผู สู้ อน บคุ ลากรในสถานศึกษา และผูเ้ รียน แหลง่ ข้อมลู ๓) สังเกตสภาพจริง และร่องรอยทีป่ รากฏ ตัวบง่ ชี้ ๔ จัดกิจกรรมการมีสว่ นรว่ มในการกำหนดข้อตกลงการอยู่รว่ มกนั ในช้นั เรียนด้วยสันติวธิ ี คำอธบิ าย สถานศึกษามีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงการ อยู่ร่วมกนั ในชัน้ เรียนดว้ ยสนั ติวธิ ี แนวทางการ ๑ = มีการกำหนดข้อตกลงการอยูร่ ว่ มกันในชัน้ เรียน ให้ระดบั ๒ = มีการจัดกิจกรรมการมีสว่ นรว่ มในการกำหนดข้อตกลงการอยูร่ ่วมกนั ในชน้ั เรยี น คณุ ภาพ ๓ = มีการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน ด้วยสันติวิธี วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น มีโครงการจัดกิจกรรม รายงานผล การให้ระดับ การจัดกจิ กรรมที่สะทอ้ นถงึ ระบบการดำเนนิ งานฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สัมภาษณ์ ผูบ้ ริหาร ครูผูส้ อน บุคลากรในสถานศึกษา และผเู้ รียน แหลง่ ข้อมลู ๓) สงั เกตสภาพจริง และร่องรอยที่ปรากฏ

๒๐ ตัวบ่งช้ี ๕ จดั กจิ กรรมการสวดมนต์ ไหวพ้ ระ เจริญสติ ทบทวนศีล และแผ่เมตตา สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล และแผ่เมตตา คำอธบิ าย โดยมีกระบวนการในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีผลการดำเนินงานที่บรรลุผลสำเร็จ และเกิดผลสัมฤทธิท์ ดี่ ตี ่อผูเ้ รียน ๑ = มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล และ แผเ่ มตตา แนวทางการ ๒ = มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล และ ให้ระดับ แผ่เมตตา โดยมีกระบวนการในการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีความชัดเจน มีผลการ คุณภาพ ดำเนินงานที่บรรลุผลสำเรจ็ และเกดิ ผลสัมฤทธท์ิ ด่ี ตี ่อผเู้ รียน ๓ = มีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล และ แผ่เมตตา โดยมีกระบวนการในการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีความชัดเจน มีผลการ ดำเนินงานทบ่ี รรลุผลสำเรจ็ และเกิดผลสมั ฤทธิ์ท่ีดตี อ่ ผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนือ่ ง วธิ ีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น มีโครงการจัดกิจกรรม รายงานผล การใหร้ ะดบั การจัดกิจกรรมทีส่ ะทอ้ นถงึ ระบบการดำเนนิ งานฯลฯ คุณภาพและ ๒) สัมภาษณ์คณะผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครูผ้สู อน บุคลากรในสถานศกึ ษา และผู้เรยี น แหล่งข้อมูล ๓) ตรวจสภาพจริง และร่องรอยท่ีปรากฏ ตัวบ่งชี้ ๖ จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ วัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรงการทำความดี สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ วัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสรมิ แรงการทำความ คำอธบิ าย ดี มีกระบวนการในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีผลการดำเนินงานที่บรรลุผลสำเร็จ และเกดิ ผลสัมฤทธ์ิทด่ี ีต่อผู้เรียน ๑ = มีการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมวัฒนธรรมการยกยอ่ งคนดี และเสรมิ แรงการทำความดี ๒ = มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรงการทำความดี แนวทางการ มีกระบวนการในการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีความชัดเจน มีผลการดำเนินงาน ใหร้ ะดับ ทีบ่ รรลุผลสำเร็จและเกดิ ผลสมั ฤทธิท์ ี่ดีต่อผูเ้ รยี น คุณภาพ ๓ = มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรงการทำความดี มีกระบวนการในการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีความชัดเจน มีผลการดำเนินงาน ท่บี รรลผุ ลสำเรจ็ และเกดิ ผลสัมฤทธท์ิ ี่ดตี อ่ ผ้เู รียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น มีโครงการจัดกิจกรรม รายงานผล การให้ระดับ การจดั กิจกรรมท่สี ะทอ้ นถึงระบบการดำเนนิ งาน ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณค์ ณะผู้บริหารสถานศึกษา ครผู ู้สอน บคุ ลากรในสถานศึกษา และผู้เรียน แหล่งข้อมลู ๓) ตรวจสภาพจริง และรอ่ งรอยท่ปี รากฏ

๒๑ ตัวบ่งช้ี ๗ มีอาคาร หอ้ งเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีสง่ เสรมิ การพฒั นาศีล สมาธแิ ละปัญญา สถานศึกษามีการดำเนินการพัฒนาและดูแลอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อมและ คำอธิบาย บรรยากาศท่สี ง่ เสริม สนบั สนนุ การเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา ให้มีความพร้อมและเพียงพอ ตอ่ การใช้งาน ๑ = มีการดำเนินการพัฒนาและดูแลอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อมและบรรยากาศ แนวทางการ ที่ส่งเสริม สนบั สนนุ การเรียนรตู้ ามหลกั ไตรสิกขา ให้ระดบั คุณภาพ ๒ = มีการดำเนินการพัฒนาและดูแลอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อมและบรรยากาศ ท่สี ง่ เสริม สนับสนนุ การเรยี นรู้ตามหลกั ไตรสกิ ขา ใหม้ คี วามพรอ้ มตอ่ การใชง้ าน ๓ = มีการดำเนินการพัฒนาและดูแลอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อมและบรรยากาศ ท่ีสง่ เสริม สนับสนนุ การเรยี นรู้ตามหลักไตรสิกขา ใหม้ ีความพร้อมและเพียงพอต่อการใช้งาน วิธแี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น มีแผนและผลการดำเนินงานโครงการ การใหร้ ะดบั พัฒนาอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ส่งเสริมการพัฒนาศีล สมาธิ คณุ ภาพและ และปญั ญา ฯลฯ แหลง่ ข้อมลู ๒) สมั ภาษณค์ ณะผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครูผูส้ อน บุคลากรในสถานศกึ ษา และผู้เรียน ๓) ตรวจสภาพจรงิ และร่องรอยทป่ี รากฏ ตัวบ่งชี้ ๘ มีพระพุทธรปู ทป่ี ระดิษฐานอยา่ งเด่นชดั สะอาด สงบ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา สถานศึกษามีพระพุทธรูปประดิษฐานในสถานศึกษาที่มีความเด่นชัด สะอาด สงบ คำอธบิ าย เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและการดำเนินงานทำนุ บำรงุ รกั ษาที่เป็นรปู ธรรม ๑ = มีพระพุทธรปู ทปี่ ระดิษฐานในสถานศึกษา แนวทางการ ๒ = มพี ระพุทธรูปท่ีประดษิ ฐานในสถานศกึ ษาทีเ่ ดน่ ชัด และมคี วามสะอาด สงบ เหมาะสม ใหร้ ะดับ กบั บริบทของสถานศกึ ษา คุณภาพ ๓ = มพี ระพุทธรูปที่ประดิษฐานในสถานศึกษาท่เี ด่นชดั และมีความสะอาด สงบ เหมาะสม กับบริบทของสถานศึกษา มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและการดำเนินงานทำนุบำรุงรักษา ทีเ่ ปน็ รูปธรรม วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น มีแผนและผลการดำเนินงานโครงการ การให้ระดับ พัฒนาอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ส่งเสริมการพัฒนาศีล สมาธิ คณุ ภาพและ และปญั ญา ฯลฯ แหลง่ ข้อมลู ๒) สมั ภาษณผ์ ู้บริหาร ครูผู้สอน ผเู้ รียน และผ้เู ก่ียวขอ้ ง ๓) ตรวจสภาพจรงิ และร่องรอยท่ีปรากฏ

๒๒ ตัวบ่งชี้ ๙ มีพื้นที่สำหรับศึกษาธรรมะ มีป้ายพุทธสุภาษิต หรือคำสอนส่งเสริมคุณธรรมที่เห็นเด่นชัด เพื่อการบรหิ ารจติ และเจริญปญั ญา สถานศึกษาดำเนินการพัฒนาและดูแล จัดให้มีพื้นที่สำหรับศึกษาธรรมะ มีป้ายพุทธ คำอธิบาย สุภาษิต หรือคำสอนส่งเสริมคุณธรรมที่เห็นเด่นชัด มีความพร้อมและพอเพียงต่อผู้เรียน เอื้อต่อการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญั ญา และมีผู้รบั ผิดชอบและการดำเนินงานการดูแลรักษา ทเ่ี ป็นรูปธรรม ๑ = มพี ้ืนท่สี ำหรับศึกษาธรรมะ มปี ้ายพทุ ธสภุ าษติ หรือคำสอนส่งเสริมคุณธรรม ๒ = มพี ื้นทสี่ ำหรบั ศึกษาธรรมะ มีป้ายพุทธสภุ าษิต หรือคำสอนสง่ เสริมคุณธรรม ท่ีมีความ แนวทางการ เด่นชัด มีความพร้อมต่อการใช้งานและเอื้อต่อการบริหารจิตและเจริญปัญญา เพียงพอ ให้ระดับ ตอ่ ผเู้ รียน คุณภาพ ๓ = มีพนื้ ที่สำหรบั ศึกษาธรรมะ มีป้ายพทุ ธสภุ าษติ หรอื คำสอนสง่ เสริมคณุ ธรรม ท่ีมีความ เด่นชัด พร้อมต่อการใช้งานและเอื้อต่อการบริหารจิตและเจริญปัญญา เพียงพอต่อผู้เรียน มีผรู้ บั ผิดชอบและการดำเนินงานดแู ลรักษาทเ่ี ปน็ รปู ธรรม วธิ แี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น รายงานการประชุม การตรวจ การใหร้ ะดบั สภาพแวดล้อมสถานทีส่ งิ่ สนับสนุนฯลฯ คุณภาพและ ๒) สัมภาษณ์ผบู้ ริหาร ครูผู้สอน ผเู้ รียน และผเู้ กี่ยวขอ้ ง แหลง่ ข้อมลู ๓) ตรวจสภาพจรงิ และรอ่ งรอยทป่ี รากฏ ตัวบ่งชี้ ๑๐ มีบุคลากรที่มีความรู้ ความเชยี่ วชาญ สามารถให้คำแนะนำการเจรญิ สตแิ ละเจริญปญั ญา สถานศึกษามีกิจกรรมส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ สามารถให้คำแนะนำ คำอธบิ าย การเจริญสติและปัญญา มีกระบวนการในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีผลการ ดำเนินงานที่บรรลุผลสำเร็จและเกดิ ประโยชนต์ ่อสถานศกึ ษา ๑ = มีกิจกรรมส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ สามารถให้คำแนะนำการ เจริญสติและปญั ญา แนวทางการ ๒ = มีกิจกรรมส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ สามารถให้คำแนะนำการ ใหร้ ะดับ เจริญสติและปัญญา มีกระบวนการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีความชัดเจน มีผลการ คุณภาพ ดำเนนิ งานท่ีบรรลุผลสำเรจ็ และเกดิ ประโยชนต์ อ่ สถานศกึ ษา ๓ = มกี ิจกรรมส่งเสริมใหบ้ ุคลากรมคี วามรู้ ความเช่ียวชาญ สามารถให้คำแนะนำการเจริญ สติและปัญญา มีกระบวนการดำเนินงานที่เป็นระบบและมีความชัดเจน มีผลการ ดำเนนิ งานท่บี รรลุผลสำเร็จและเกดิ ประโยชน์ต่อสถานศกึ ษา อยา่ งต่อเนื่อง วิธแี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น รายงานการประชุม แผนการ การใหร้ ะดับ ปฏิบตั ิการประจำปี งาน กจิ กรรม โครงการทเ่ี กีย่ วข้อง ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สัมภาษณผ์ ้บู ริหาร ครผู สู้ อน ผเู้ รียน และผูเ้ กี่ยวขอ้ ง แหลง่ ข้อมูล ๓) ตรวจสภาพจริง และร่องรอยท่ีปรากฏ

๒๓ มาตรฐานท่ี ๔ ดา้ นการสง่ เสรมิ การสร้างเครอื ขา่ ยและการขยายผล คำอธิบาย การส่งเสริมการสร้างเครือข่ายและการขยายผล หมายถึง การที่สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่าย ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ บนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม ที่จะส่งผลให้สถานศึกษาสามารถทำงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยกิจกรรมดังกล่าว ได้แก่ การจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา การจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม การกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา การสรุปผล การดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา และการนำผลการประเมินแผนพัฒนาสถานศึกษาดังกล่าวมาปรับปรุง การดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนื่อง ตวั บ่งช้ี ๑. สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือขา่ ยในการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศึกษา ๒. สถานศึกษามีความรว่ มมือกับเครือข่ายในการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ๓. สถานศึกษามีความรว่ มมือกบั เครือข่ายในการกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำเนินงานตาม แผนพฒั นาสถานศกึ ษา ๔. สถานศกึ ษามีความรว่ มมือกบั เครือขา่ ยในการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนพฒั นาสถานศึกษา ๕. สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการนำผลการประเมินแผนพัฒนาสถานศึกษามาปรับปรุง การดำเนินงานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ภายใตม้ าตรฐานท่ี ๔ แตล่ ะตวั บง่ ช้ี มีคำอธบิ าย แนวทางการให้ระดับคุณภาพและแหลง่ ข้อมูล ดังตอ่ ไปนี้ ตวั บ่งช้ี ๑ สถานศกึ ษามีความร่วมมือกับเครอื ขา่ ยในการจดั ทำแผนพฒั นาสถานศึกษา สถานศึกษาได้สร้างความร่วมมือกับองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายต่อการจัดทำแผนงาน คำอธิบาย ในการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธได้อย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับเป้าหมาย และนโยบายการจัดการศึกษาสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ มีการพัฒนาและขยายผล เครอื ข่ายความร่วมมอื กับองค์กรทเ่ี ป็นสมาชิกเครือขา่ ยอย่างต่อเน่ือง ๑ = มีความร่วมมือกับองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายต่อการจัดทำแผนงานในการพัฒนา สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพทุ ธ แนวทางการ ๒ = มีการพัฒนาความร่วมมือกับองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายต่อการจัดทำแผนงาน ใหร้ ะดบั ในการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ สอดคล้องกับเป้าหมาย และนโยบายการ คณุ ภาพ จัดการศึกษาสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธ ๓ = มีการขยายผลเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่าย ในการจัดทำ แผนงานในการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ สอดคล้องกับเปา้ หมาย และนโยบาย การจดั การศกึ ษาสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ อยา่ งต่อเนอ่ื ง วิธแี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการ การใหร้ ะดับ ประชุม และมตขิ องคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณผ์ บู้ ริหารสถานศึกษา ครผู สู้ อน บุคลากร ผ้เู รยี น และผ้เู กีย่ วข้อง แหล่งข้อมลู ๓) สงั เกตจากสภาพจรงิ และรอ่ งรอยทปี่ รากฏ

๒๔ ตวั บ่งชี้ ๒ สถานศึกษามีความร่วมมือกบั เครอื ขา่ ยในการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม คำอธบิ าย สถานศึกษามีการจัด และพัฒนาการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมร่วมมือกับ องคก์ รสมาชกิ เครือข่าย อยา่ งสร้างสรรค์ และตอ่ เนอื่ ง ๑ = มีการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมร่วมมอื กับองค์กรสมาชกิ เครือข่าย แนวทางการ ๒ = มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมร่วมมือกับองค์กรสมาชิก ให้ระดบั เครือข่าย คุณภาพ ๓ = มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมร่วมมือกับองค์กรสมาชิก เครอื ข่าย อย่างสร้างสรรค์และตอ่ เนอ่ื ง วธิ แี นวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการ การใหร้ ะดับ ประชมุ และมตขิ องคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ ฯลฯ คุณภาพและ ๒) สมั ภาษณผ์ บู้ ริหารสถานศึกษา ครผู สู้ อน บุคลากร ผู้เรยี น และผู้เก่ยี วข้อง แหลง่ ข้อมูล ๓) สังเกตจากสภาพจรงิ และร่องรอยท่ีปรากฏ ตัวบ่งช้ี ๓ สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาสถานศึกษา คำอธบิ าย สถานศึกษามีกระบวนการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนา สถานศึกษา และรายงานผลการตดิ ตาม พรอ้ มท้ังแจ้งให้เครอื ขา่ ยความรว่ มมือรับทราบ ๑ = มกี ระบวนการกำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาสถานศึกษา แนวทางการ ๒ = มีการรายงานผลการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนา ให้ระดับ สถานศกึ ษา คณุ ภาพ ๓ = มีการแจ้งรายงานผลการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนา สถานศกึ ษาให้เครอื ข่ายความรว่ มมอื รับทราบ วิธีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการ การใหร้ ะดับ ประชมุ และมติของคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ ฯลฯ คุณภาพและ ๒) สัมภาษณผ์ ูบ้ รหิ าร ครผู ู้สอน บุคลากรในสถานศึกษา ผ้เู รียน และผเู้ ก่ียวข้อง แหลง่ ข้อมูล ๓) สังเกตจากสภาพจริง และรอ่ งรอยท่ปี รากฏ

๒๕ ตวั บ่งช้ี ๔ สถานศกึ ษามีความร่วมมือกบั เครอื ข่ายในการสรปุ ผลการดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา คำอธบิ าย สถานศึกษามีการจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษาและ แจ้งรายงานสรุปผลให้เครือขา่ ยความรว่ มมอื รับทราบอยา่ งต่อเน่ือง ๑ = มีการจดั ทำรายงานสรปุ ผลการดำเนินงานตามแผนพฒั นาสถานศึกษา แนวทางการ ๒ = มีการแจ้งรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษาสถานศึกษา ให้ระดับ ให้เครือข่ายความรว่ มมือรับทราบ คณุ ภาพ ๓ = มีการแจ้งรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษาสถานศึกษา ให้เครอื ขา่ ยความรว่ มมือรับทราบอยา่ งต่อเน่ือง วธิ ีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการ การให้ระดับ ประชมุ และมติของคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ ฯลฯ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณ์ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูผูส้ อน บุคลากร ผู้เรยี น และผู้เก่ียวข้อง แหลง่ ข้อมูล ๓) สงั เกตจากสภาพจริง และรอ่ งรอยทปี่ รากฏ ตวั บง่ ช้ี ๕ สถานศกึ ษามคี วามร่วมมือกบั เครือขา่ ยในการนำผลการดำเนินงานตามแผนพฒั นาสถานศกึ ษา มาปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง คำอธิบาย สถานศึกษามีการนำผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษามาปรับปรุงการ ดำเนินงานโดยการมีส่วนร่วมของเครอื ขา่ ยความร่วมมอื อย่างตอ่ เน่ือง ๑ = มกี ารนำผลการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาสถานศึกษามาปรับปรงุ การดำเนินงาน แนวทางการ ๒ = มีการนำผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษามาปรับปรุงการดำเนินงาน ให้ระดับ โดยการมสี ว่ นรว่ มของเครือขา่ ยความร่วมมอื คุณภาพ ๓ = มีการนำผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษามาปรับปรุงการดำเนินงาน โดยการมสี ่วนรว่ มของเครือขา่ ยความร่วมมอื อย่างต่อเนือ่ ง วธิ ีแนวทาง ๑) พิจารณาจากหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ เช่น แผนปฏิบัติการประจำปี รายงาน การให้ระดับ การประชมุ และมตขิ องคณะกรรมการสถานศึกษา โครงการและผลของโครงการ คณุ ภาพและ ๒) สมั ภาษณ์ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผูส้ อน บุคลากร ผูเ้ รียน และผเู้ กี่ยวข้อง แหลง่ ข้อมูล ๓) สังเกตจากสภาพจริง และร่องรอยท่ปี รากฏ

๒๖ 2.7 เกณฑ์การพิจารณาคดั เลอื กสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ การพจิ ารณาคัดเลือกสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวิถพี ุทธแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1. สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวิถีพุทธ 2. สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธชัน้ นำ 3. สถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธพระราชทาน โดยสถานศึกษาต้องสมัครเข้ารับการคัดเลือกตามมาตรฐานสถานศึกษาวิถีพุทธ จำนวน ๔ ด้าน ๒๕ ตัวบ่งชี้ สำหรับสถานศึกษาวิถีพุทธให้ประเมินตนเองตามมาตรฐานสถานศึกษาวิถีพุทธ ทั้ง ๒๕ ตัวบ่งช้ี การประเมินแบ่งเป็น ๒ ระดับ คือ ไม่มีการปฏิบัติ และมีการปฏิบัติ เพื่อขอรับการคัดเลือกเป็นสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาวถิ ีพทุ ธ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ สถานศึกษาต้องมีผลการประเมินตนเองอย่างต่อเนื่องมาแล้ว ๓ ปี สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน ต้องมีผลงานต่อเนื่องจากการได้รับการคัดเลือกเป็น สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำมาแล้ว ๒ ปี และมีการประเมินตนเองมาอย่างต่อเนื่องการประเมินการปฏิบัติ ตามตัวบ่งชี้แบ่งเป็น ๓ ระดับคุณภาพและมีผลการประเมินเชิงประจักษ์จากคณะกรรมการประเมินแต่ละระดับ กรรมการคนละชุดโดยมีรายละเอียด ดงั นี้ สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธ มีเกณฑก์ ารพจิ ารณาคดั เลือก ดังน้ี ๑. สมัครใจเขา้ รว่ มโครงการสถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ พี ุทธ ๒. มีความตั้งใจดำเนินการตามกระบวนการการบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ด้านการพัฒนาบุคลากรตามหลักไตรสิกขา ด้านการพัฒนาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ และด้านการส่งเสรมิ การสร้างเครอื ขา่ ยและการขยายผลสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธ ๓. มีการประเมินตนเองตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธในระบบการประเมินสถานศึกษา อาชวี ศึกษาวิถพี ุทธ (BVCAS) สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ พี ุทธชั้นนำ มีเกณฑ์การพจิ ารณาคดั เลือก ดงั น้ี ๑. เปน็ สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวิถีพุทธ ทมี่ ผี ลการประเมินตนเองต่อเน่ือง ๓ ปี หรอื ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบ ๒. มีผลการประเมินเชิงประจักษ์จากคณะผู้ประเมินตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ไดค้ า่ เฉลีย่ แตล่ ะดา้ นไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ไดค้ ่าเฉล่ยี รวมทุกด้าน ไม่ตำ่ กว่าร้อยละ ๘๑ ๓. มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศึกษาด้านวิถีพุทธจนได้ผล เปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ ๔. มกี ิจกรรมวิถีพุทธแบบมีสว่ นรว่ มท่ีเช่ือมโยงสถานศึกษากับชุมชน สังคม เครอื ข่ายภาครัฐ และเอกชน ทีแ่ สดงถงึ ความมจี ติ อาสาเพื่อสังคมเป็นทีป่ ระจกั ษ์ ๕. ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศึกษา มีคณุ ลกั ษณะท่ีสะท้อนมาตรฐาน ตวั บ่งชี้ วิถพี ทุ ธ เชน่ เป็นผู้นำในการประกอบศาสนพิธีไดถ้ ูกต้อง ๖. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้เข้าอบรมหลักสูตรการบริหารจิตและเจริญปัญญาจาก เครอื ข่ายของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

๒๗ สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวิถพี ุทธพระราชทาน มีเกณฑก์ ารพจิ ารณาคดั เลอื ก ดงั นี้ ๑. เป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี และมีผลการประเมินตนเอง อย่างต่อเนอ่ื ง ๒. มีผลการประเมินเชิงประจกั ษ์จากคณะผู้ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน ตวั บ่งช้ีสถานศึกษาอาชีวศึกษา วิถีพทุ ธ ได้ค่าเฉลีย่ แต่ละดา้ นไมต่ ่ำกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ไดค้ ่าเฉลย่ี รวมทุกด้าน ไมต่ ่ำกวา่ ร้อยละ ๙๑ ๓. มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศึกษาด้านวิถีพุทธจนได้ผล เป็นทป่ี ระจักษ์ ๔. มกี ิจกรรมวถิ ีพุทธแบบมีสว่ นรว่ มท่ีเช่ือมโยงสถานศึกษากับชุมชน สังคม เครอื ข่ายภาครฐั และเอกชน ท่ีแสดงถึงความมีจติ อาสาเพื่อสงั คมเปน็ ที่ประจกั ษ์ ๕. มีเอกสารหรือหลักฐานร่องรอยการเยี่ยมชมศึกษาดูงาน ให้คำปรึกษา คำแนะนำกับสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาอน่ื ๆ หรอื ได้รับรางวัลเชิดชูเกยี รตใิ นด้านบริการวิชาการเกี่ยวกบั วถิ ีพทุ ธ ๖. มีนวัตกรรมด้านการดำเนินงาน การบริหารงาน หรือการเรียนการสอนในการพัฒนาการศึกษา ตามแนววถิ ีพทุ ธเปน็ ท่ีประจักษ์ ๗. มีการจัดการความรู้ด้านการดำเนินงานสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธสามารถนำไปใช้ได้จริง และมกี ารเผยแพร่ต่อสาธารณะ

๒๘ 2.8 แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ พี ทุ ธ ๑) แบบประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ ีพุทธ แบบรายงานผลการประเมนิ ตนเองสำหรับการขอรบั การคดั เลือก เป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ พี ทุ ธ ปกี ารศกึ ษา.................  ขอรบั การคดั เลือกเปน็ สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ พี ทุ ธ ตอนที่ ๑ ขอ้ มูลท่วั ไปของสถานศึกษา คำชีแ้ จง : ให้สถานศกึ ษากรอกข้อมลู ใหถ้ ูกต้อง ครบถ้วน ชอ่ื สถานศกึ ษา ............................................................................................................................................................... ทอี่ ยู่................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................. ....................................................................... โทรศัพท.์ .....................................................................................เว็บไซต.์ ...................................................................... ประเภทวชิ า..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวชิ า ประเภทวิชา..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวชิ า ประเภทวิชา..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวชิ า ประเภทวชิ า..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวชิ า ประเภทวิชา..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวิชา จำนวนครู ...................... คน, จำนวนบคุ ลากรทางการศกึ ษา ....................... คน, จำนวนผู้เรยี น .......................... คน จำนวนพระสอนศีลธรรมในสถานศกึ ษา ........................ รปู ชื่อผปู้ ระสานงาน...................................................................................ตำแหนง่ .................................................. โทรศัพท.์ ........................................E-mail...............................................ID Line...............................................

๒๙ ตอนท่ี ๒ ข้อมลู การประเมนิ ตนเองสำหรบั การขอขน้ึ ทะเบยี นเป็นสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาวิถพี ทุ ธ คำชี้แจง: โปรดกรอกข้อมูลและทำเครื่องหมาย  ที่ตรงกับเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย ที่บ่งบอกถึงคุณภาพตาม มาตรฐานและตัวบง่ ช้ี จำนวน ๒๕ ตวั บ่งช้ี โดยในการเขยี นคำอธิบายหรือวธิ ีดำเนินการ ใหอ้ ธิบายตามหลัก 3A ได้แก่ ความตระหนัก (Awareness) ความพยายาม (Attempt) และผลสมั ฤทธ์ิ (Achievement) มาตรฐานท่ี ๑ ด้านการบริหารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษาวิถพี ทุ ธ ๕ ตวั บ่งช้ี ไมม่ ี มี คำอธิบาย/ (๐) (๑) วิธีดำเนนิ การ ๑) มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษา อาชีวศึกษาวิถพี ุทธ มี คำอธบิ าย / ๒) มีการสนับสนุนและส่งเสริมการนำแผนปฏิบัติการประจำปี (๑) วิธีดำเนินการ ไปสู่การปฏบิ ตั ิอย่างเป็นรูปธรรม ๓) มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปี อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ๔) มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ๕) มีการนำผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อยกระดับคุณภาพ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี รวมคะแนนดา้ นที่ ๑ มาตรฐานท่ี ๒ ด้านการพัฒนาบคุ ลากรตามหลักไตรสิกขา ๕ ตวั บง่ ชี้ ไม่มี (๐) ๑) ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ต่อการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา วถิ พี ทุ ธ ๒) ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียน รักษาศีล งดเว้นอบายมุข และกนิ อยู่ ดู ฟงั อย่างมีสติ ๓) ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียนมีความอ่อนน้อมถ่อมตน และมีความเปน็ กัลยามติ รตอ่ ผอู้ ืน่ ๔) ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียนได้รับการอบรมบ่มเพาะ การเรียนรู้วิถีพุทธ มีความกตัญญู ซ่อื สตั ย์ สุจรติ มีวินัย และความ รับผิดชอบ ๕) ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียน มีความสามารถ ในการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี มีนิสัยรักการเรียนรู้ และมคี วามคิดสร้างสรรค์ รวมคะแนนด้านท่ี ๒

๓๐ มาตรฐานท่ี ๓ การพฒั นาเอกลักษณข์ องสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธ ๑๐ ตวั บง่ ช้ี ไม่มี มี คำอธบิ าย/ (๐) (๑) วิธีดำเนินการ ๑) จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่ส่งเสริมสมรรถนะ ที่พงึ ประสงค์ท่ีบรู ณาการตามหลกั ไตรสิกขา มี คำอธิบาย/ ๒) จัดกิจกรรมความร่วมมือกับชุมชน สังคม เพื่อส่งเสริมความเป็น (๑) วิธีดำเนนิ การ จติ อาสา จิตสาธารณะและการอย่รู ว่ มกบั ผู้อ่ืน ๓) จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรมและ แก้ไขปญั หาดว้ ยปัญญา ๔) จดั กจิ กรรมการมสี ่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงการอยู่ร่วมกัน ในชน้ั เรียนด้วยสนั ติวธิ ี ๕) จัดกิจกรรมการสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล และ แผ่เมตตา ๖) จัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรง การทำความดี ๗) มีอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ส่งเสริม การพฒั นาศีล สมาธิและปัญญา ๘) มีพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอย่างเด่นชัด สะอาด สงบ เหมาะสม กบั บริบทของสถานศึกษา ๙) มีพื้นที่สำหรับศึกษาธรรมะ มีป้ายพุทธสุภาษิต หรือคำสอน ส่งเสริมคณุ ธรรมทเ่ี ห็นเด่นชัดเพื่อการบรหิ ารจิตและเจริญปัญญา ๑๐) มีบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ สามารถให้คำแนะนำ การเจริญสติและเจรญิ ปญั ญา รวมคะแนนด้านท่ี ๓ มาตรฐานท่ี ๔ ดา้ นการสง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ข่ายและการขยายผล ๕ ตวั บ่งช้ี ไมม่ ี (๐) ๑) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการจดั ทำแผนพัฒนา สถานศกึ ษา ๒) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๓) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการกำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษา ๔) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการสรุปผลการ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา

๓๑ มาตรฐานที่ ๔ ด้านการส่งเสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยและการขยายผล (ต่อ) ๕ ตัวบง่ ช้ี ไม่มี มี คำอธบิ าย/ (๐) (๑) วิธีดำเนินการ ๕) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการนำผลการ ประเมินแผนพัฒนาสถานศึกษามาปรับปรุงการดำเนินงาน คะแนน อย่างตอ่ เนื่อง รวมคะแนนด้านที่ ๔ สรุปผลคะแนนทงั้ ๔ ด้าน ขอรับรองว่าขา้ พเจ้าไดท้ ำการประเมนิ ตามความเปน็ จริงทุกประการ ลงชอื่ ......................................................... (..................................................................) ผูป้ ระเมินภายในของสถานศึกษา วันท่.ี ..........เดอื น.........................พ.ศ.............. ลงชือ่ ......................................................... (..................................................................) ตำแหนง่ ........(ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา)........ วนั ท่ี...........เดอื น.........................พ.ศ..............

๓๒ 2) แบบประเมนิ ตนเองสถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ พี ทุ ธชั้นนำ และพระราชทาน แบบรายงานผลการประเมนิ ตนเองสำหรบั การขอรับการคัดเลอื ก เป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ และชนั้ พระราชทาน ปกี ารศึกษา.................  ขอรับการคัดเลือกเป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ พี ุทธ  ชน้ั นำ  พระราชทาน ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา คำช้ีแจง : ใหส้ ถานศกึ ษากรอกขอ้ มลู ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ช่อื สถานศึกษา ............................................................................................................................. .................................. ที่อยู่......................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... โทรศัพท.์ .....................................................................................เวบ็ ไซต์....................................................................... ประเภทวชิ า..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวชิ า ประเภทวชิ า..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวิชา ประเภทวิชา..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวิชา ประเภทวชิ า..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวชิ า ประเภทวิชา..................................................................................................................... จำนวน...................สาขาวิชา จำนวนครู ...................... คน, จำนวนบคุ ลากรทางการศึกษา ....................... คน, จำนวนผูเ้ รยี น .......................... คน จำนวนพระสอนศลี ธรรมในสถานศึกษา ........................ รปู ชอ่ื ผ้ปู ระสานงาน...................................................................................ตำแหน่ง.................................................. โทรศพั ท.์ ........................................E-mail...............................................ID Line...............................................

๓๓ ตอนท่ี ๒ ขอ้ มลู การประเมินตนเองสำหรับการขอขึน้ ทะเบียนเปน็ สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถพี ทุ ธ คำชี้แจง: โปรดกรอกข้อมูลและทำเครื่องหมาย  ที่ตรงกับเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย ที่บ่งบอกถึงคุณภาพตาม มาตรฐานและตวั บง่ ช้ี จำนวน ๒๕ ตวั บง่ ช้ี โดยในการเขยี นคำอธิบายหรอื วิธดี ำเนนิ การ ใหอ้ ธิบายตามหลกั 3A ไดแ้ ก่ ความตระหนัก (Awareness) ความพยายาม (Attempt) และผลสัมฤทธ์ิ (Achievement) มาตรฐานที่ ๑ ดา้ นการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ ีพทุ ธ ๕ ตัวบง่ ช้ี ระดับคณุ ภาพ คำอธิบาย/ วธิ ดี ำเนนิ การ (๑) (๒) (๓) ๑ มีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ส่งเสริมการดำเนินงานสถานศึกษา อาชีวศึกษาวถิ พี ทุ ธ ๒ มีการสนับสนุนและส่งเสริมการนำแผนปฏิบัติการประจำปีไปสู่ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ๓ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลแผนปฏิบัติการประจำปีอย่าง เปน็ รปู ธรรม ๔ มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีอย่าง เป็นรูปธรรม ๕ มีการนำผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อยกระดับคุณภาพแผน ปฏบิ ตั ิการประจำปี รวมคะแนนด้านที่ ๑ มาตรฐานท่ี ๒ ดา้ นการพัฒนาบุคลากรตามหลักไตรสิกขา ๕ ตัวบง่ ชี้ ระดับคณุ ภาพ คำอธิบาย/ วธิ ดี ำเนินการ (๑) (๒) (๓) ๑ ผู้บรหิ ารมวี สิ ยั ทศั นต์ อ่ การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ๒ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียน รักษาศีล งดเว้นอบายมุข และกิน อยู่ ดู ฟงั อย่างมสี ติ ๓ ผูบ้ รหิ าร ครู บคุ ลากร และผ้เู รยี นมีความอ่อนน้อมถ่อมตน และมีความ เป็นกัลยามิตรตอ่ ผอู้ ่นื ๔ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียนได้รับการอบรมบ่มเพาะ การเรียนรู้ วถิ ีพทุ ธ มีความกตญั ญู ซ่อื สตั ย์ สจุ ริต มวี ินัย และความรับผิดชอบ ๕ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และผู้เรียน มีความสามารถ ในการแก้ปัญหา ความขดั แย้งดว้ ยสันตวิ ธิ ี มีนิสัยรักการเรยี นรู้ และมีความคิดสรา้ งสรรค์ รวมคะแนนดา้ นท่ี ๒

๓๔ มาตรฐานที่ ๓ ด้านการพฒั นาเอกลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวถิ ีพทุ ธ ๑๐ ตวั บ่งชี้ ระดบั คุณภาพ คำอธบิ าย/ วธิ ีดำเนินการ (๑) (๒) (๓) ๑) จัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบมสี ว่ นร่วมที่ส่งเสริมสมรรถนะที่พึงประสงค์ ทบี่ รู ณาการตามหลกั ไตรสกิ ขา ๒) จัดกิจกรรมความร่วมมือกับชุมชน สังคม เพื่อส่งเสริมความเป็นจิตอาสา จิตสาธารณะและการอยู่รว่ มกับผ้อู ่ืน ๓) จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะความเป็นผู้นำด้านคุณธรรมและแก้ไขปัญหา ด้วยปญั ญา ๔) จัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมในการกำหนดข้อตกลงการอยู่ร่วมกันในชั้น เรยี นด้วยสนั ติวธิ ี ๕) จัดกิจกรรมการสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญสติ ทบทวนศีล และแผ่เมตตา ๖) จัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมการยกย่องคนดี และเสริมแรงการ ทำความดี ๗) มีอาคาร ห้องเรียน สภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ส่งเสริมการพัฒนา ศีล สมาธิ และปญั ญา ๘) มีพระพุทธรูปท่ีประดิษฐานอย่างเด่นชัด สะอาด สงบ เหมาะสมกับบริบท ของสถานศึกษา ๙) มีพื้นที่สำหรับศึกษาธรรมะ มีป้ายพุทธสุภาษิต หรือคำสอนส่งเสริม คุณธรรมทเ่ี หน็ เด่นชัดเพื่อการบรหิ ารจิตและเจริญปัญญา ๑๐) มีบคุ ลากรท่ีมีความรู้ ความเช่ียวชาญ สามารถให้คำแนะนำการเจริญสติ และเจรญิ ปญั ญา รวมคะแนนดา้ นท่ี ๓ มาตรฐานท่ี ๔ ดา้ นการส่งเสริมการสร้างเครอื ข่ายและการขยายผล ๕ ตวั บง่ ช้ี ระดับคุณภาพ คำอธบิ าย/ วธิ ดี ำเนนิ การ (๑) (๒) (๓) ๑) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการจัดทำแผนพัฒนา สถานศึกษา ๒) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการจัดกิจกรรมส่งเสริม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

๓๕ มาตรฐานท่ี ๔ ดา้ นการส่งเสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยและการขยายผล (ต่อ) ๕ ตวั บ่งช้ี ระดับคุณภาพ คำอธิบาย/ วิธีดำเนินการ (๑) (๒) (๓) คะแนน ๓) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาสถานศึกษา ๔) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการสรุปผลการดำเนินงาน ตามแผนพฒั นาสถานศึกษา ๕) สถานศึกษามีความร่วมมือกับเครือข่ายในการนำผลการประเมิน แผนพัฒนาสถานศึกษามาปรับปรุงการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง รวมคะแนนด้านที่ ๔ สรุปผลการประเมนิ ขอรบั รองวา่ ข้าพเจา้ ไดท้ ำการประเมนิ ตามความเป็นจริงทุกประการ ลงชือ่ ......................................................... (..................................................................) ผูป้ ระเมนิ ภายในของสถานศกึ ษา วันท.่ี ..........เดือน.........................พ.ศ.............. ลงช่อื ......................................................... (..................................................................) ตำแหน่ง........(ผู้บรหิ ารสถานศึกษา)........ วันที.่ ..........เดือน.........................พ.ศ..............

๓๖ 2.9 เกณฑ์คะแนนการประเมนิ ระดับคะแนน ค่าระดับ ๙๑ - ๑๐๐ คะแนน ดเี ย่ียม ๘๑ – ๙๐ คะแนน ดีมาก ๗๑ - ๘๐ คะแนน ดี ๖๑ - ๗๐ คะแนน ปานกลาง ๕๐ - ๖๐ คะแนน กำลังพฒั นา หมายเหตุ *ชน้ั นำ ควรมรี ะดบั คณุ ภาพ “ระดบั ดมี าก” ขน้ึ ไป *ชน้ั พระราชทาน ควรมรี ะดับคณุ ภาพ “ระดับดีเยี่ยม” ข้ึนไป การปดั เศษจดุ ทศนยิ ม ใหป้ ดั เศษเปน็ ๑ คะแนน เฉพาะกรณีที่มคี ่าคะแนนตงั้ แต่ ๐.๕ ข้นึ ไป

๓๗ 2.10 ขัน้ ตอนการประเมินสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวถิ พี ทุ ธ 1) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ มขี นั้ ตอนการประเมิน ดงั น้ี แผนภาพท่ี ๒ : แสดงข้ันตอนการประเมนิ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพุทธ ตารางที่ ๑ แสดงรายละเอียดแต่ละขน้ั ตอนการประเมินสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวิถีพุทธ ดังน้ี สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถพี ุทธ ขั้นตอน ผรู้ ับผิดชอบ กจิ กรรม คำอธบิ าย ๑.๑ สถานศึกษา สถานศกึ ษา สถานศึกษาอาชีวศึกษา สมัครเข้าร่วม สมัครใจเขา้ รว่ มโครงการ โครงการสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ พร้อมแนบหลักฐานการยินยอมเข้ารว่ มของ ผู้บริหาร ผ่านระบบการประเมินสถานศึกษา อาชีวศึกษาวิถีพุทธ (Buddhist Vocational College Assessment System : BVCAS) เพื่อขอรับบัญช ีผู้ใช ้ ( Username & Password) ๑.๒ สอศ. กับ มจร สอศ. กับ มจร ตรวจสอบ Admin ระบบ BVCAS ดำเนินการตรวจสอบ ขอ้ มูลการสมคั ร ข้อมลู การสมัครของสถานศึกษา และอนุมัติ และออก User & Password บญั ชผี ใู้ ช้ (Username & Password) จากน้ัน แจ้งผลการตรวจสอบใหส้ ถานศกึ ษาทราบ

๓๘ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวิถพี ุทธ ข้นั ตอน ผรู้ ับผิดชอบ กิจกรรม คำอธิบาย ๑.3 สถานศึกษา สถานศึกษา สถานศึกษา เข้าระบบ BVCAS ด้วยบัญชี ประเมนิ ตนเอง ผู้ใช้ที่ได้รับ เพื่อบันทึกผลการดำเนินงาน ตามมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษา วถิ พี ทุ ธ ตามระยะเวลาท่กี ำหนด ๑.๔ สถานศึกษา สถานศกึ ษา สถานศึกษา ส่งรายงานผลการประเมิน ส่งรายงานผลการประเมนิ ต น เ อ ง ต า ม ม า ต ร ฐ า น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ตนเอง อาชีวศึกษาวิถีพุทธ ในระบบ BVCAS ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด ๑.๕ สอศ. กบั มจร สอศ. กบั มจร ตรวจสอบรับรอง Admin ร ะ บ บ BVCAS ด ำ เ น ิ น ก า ร รายงานการประเมนิ ตนเอง ตรวจสอบรายงานผลการประเมินตนเอง และออกใบประกาศเกยี รติคุณ ของสถานศึกษา แล้วอนุมัติออกใบประกาศ เกียรติคุณรับรองเป็นสถานศึกษา อาชีวศึกษาวิถีพทุ ธ

๓๙ 2) สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ มีขั้นตอนการประเมิน ๒ รอบ ประกอบด้วย รอบที่ ๑ พจิ ารณาเอกสาร และ รอบที่ ๒ พจิ ารณาเชงิ ประจักษ์ มรี ายละเอียดตาม Flow Chart นี้ แผนภาพที่ ๓ : แสดงขนั้ ตอนการประเมินสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพุทธชัน้ นำ รอบที่ ๑ แผนภาพที่ ๔ : แสดงขนั้ ตอนการประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ีพทุ ธชัน้ นำ รอบท่ี ๒

๔๐ ตารางท่ี ๒ แสดงรายละเอยี ดแตล่ ะขนั้ ตอนการประเมินสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธช้ันนำ ดงั นี้ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพุทธช้นั นำ การประเมินรอบที่ ๑ (พิจารณาเอกสาร) ข้นั ตอน ผูร้ ับผิดชอบ กิจกรรม คำอธิบาย ๑.๑ สอศ. กับ มจร สอศ. กับ มจร ประกาศรับ ๑) สอศ.กับ มจร ร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติ สมคั รสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ี การประจำปี โครงการสถานศ ึก ษา พทุ ธ อาชวี ศึกษาวถิ ีพุทธ ชน้ั นำ กำหนดเป้าหมาย ชั้นนำ ตัวชีว้ ดั ขอบเขตการดำเนินงาน ๒) สอศ. กับ มจร ประชาสัมพันธ์เชิญชวน สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธสมัครขอรับ ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ย ก ร ะ ด ั บ ก า ร พ ั ฒ น า เ ป็ น สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพทุ ธชนั้ นำ ๑.๒ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ส ถ า น ศ ึ ก ษ า อ า ชี ว ศ ึ ก ษ า ว ิ ถ ี พ ุ ท ธ ท ี ่ มี สมคั รขอรบั การประเมินเปน็ คุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด สมัครขอรับ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ การประเมินยกระดับการพัฒนาเป็น ช้นั นำ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ชั้นนำ ผ่านทางระบบ BVCAS ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ๑.3 สอศ. กับ มจร สอศ. กบั มจร คดั เลือกผู้ สอศ. กับ มจร คัดเลือกและแต่งตั้งคณะ ประเมนิ และแตง่ ตั้งคณะผู้ ผปู้ ระเมนิ ประเมนิ รวมทงั้ กำหนดสถานศึกษาทจ่ี ะประเมนิ ๑.4 สอศ.กับ มจร สอศ.กับ มจร จัดประชมุ คณะผู้ ๑) สอศ.กับ มจร จัดประชุมคณะผู้ประเมิน และ ประเมนิ เพื่อพิจารณาเอกสารรายงานการประเมิน คณะผ้ปู ระเมิน ตนเอง และเอกสารประกอบอื่น ๆ ในระบบ BVCAS ๒) คณะผูป้ ระเมนิ พิจารณาเอกสารรายงาน การประเมินตนเอง และเอกสารประกอบ อืน่ ๆ ในระบบ BVCAS ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย พรอ้ มสรปุ ประเดน็ การพิจารณาเพื่อส่งมอบ ให้เลขานุการคณะผู้ประเมินนำไป ดำเนนิ การในขั้นตอนตอ่ ไป ๑.5 คณะผูป้ ระเมนิ ประธานคณะผ้ปู ระเมนิ ๑) ประธานคณะผู้ประเมิน รวบรวม สรุป และรายงานผลการ สรุปผลการพิจารณาเอกสารฯ จากผู้ ประเมนิ รอบท่ี ๑ พิจารณา ประเมนิ เอกสาร ๒) ประธานคณะผูป้ ระเมินจดั ทำรายงานผล การประเมินรอบที่ ๑ พิจารณาเอกสารให้ สอศ./มจร รบั ทราบ

๔๑ สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถพี ุทธชั้นนำ การประเมินรอบที่ ๑ (พิจารณาเอกสาร) ข้ันตอน ผรู้ ับผิดชอบ กจิ กรรม คำอธบิ าย ๑.6 สอศ. กับ มจร สอศ. กับ มจร ประกาศผลการ ๑) สอศ.กับ มจร จัดทำประกาศผลการ ประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้น ประเมนิ รอบท่ี ๑ พิจารณาเอ นำ รอบการประเมินท่ี ๑ พจิ ารณาเอกสาร ๒) สอศ.กับ มจร แจ้งให้สถานศึกษาที่ผ่าน กาสร การประเมินรอบที่ ๑ พิจารณาเอกสาร รับทราบ เพื่อเตรียมรับการประเมินรอบท่ี ๒ พจิ ารณาเชิงประจกั ษ์ สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวิถพี ุทธชั้นนำ การประเมินรอบท่ี ๒ (พจิ ารณาเชงิ ประจักษ์) ข้ันตอน ผู้รบั ผดิ ชอบ กจิ กรรม คำอธิบาย ๒.๑ สอศ.กับ มจร สอศ.กับ มจร จัดประชมุ คณะผู้ สอศ.กับ มจร จัดประชุมคณะผู้ประเมิน ชี้แจงแนวทางการดำเนินการตรวจเยี่ยม และ ประเมิน เชิงประจักษ์พร้อมกับกำหนดขอบเขตและ มอบหมายงานให้คณะผูป้ ระเมินแต่ละคณะ คณะผูป้ ระเมิน ไดร้ ับทราบ ๒.๒ คณะผูป้ ระเมนิ คณะผู้ประเมิน คณะผู้ประเมินร่วมกันวางแผนการตรวจ จดั การประชุมเพื่อวางแผน เยี่ยม และการประเมิน กำหนดตารางการ ปฏิบัติงานและมอบหมายภาระงานให้ เตรียมการ ผู้ประเมินแต่ละคนอย่างชัดเจน และนัด กำหนดประเดน็ ประเมิน วันทจ่ี ะไปตรวจเยี่ยมสถานศกึ ษา ๒.3 คณะผู้ประเมิน สถานศกึ ษาเตรยี มความพร้อม ๑) คณะผู้ประเมินแจ้งสถานศึกษาก่อนเข้า และ รับการประเมิน ประเมินไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ วัน ๒) สถานศึกษาเตรียมพร้อมรับการประเมิน สถานศึกษา เ ช ิ ง ป ร ะ จ ั ก ษ ์ จ า ก ค ณ ะ ผ ู ้ ป ร ะ เ มิ น ตามกำหนดวัน เวลาทไ่ี ด้นัดหมาย ๒.4 คณะผู้ประเมิน คณะผู้ประเมนิ เดนิ ทางไปตรวจเย่ยี ม และ ๑) คณะผปู้ ระเมินเดินทางไปยังสถานศึกษา ตามกำหนดวัน เวลาที่ได้นัดหมายกับ ประเมนิ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ๒) คณะผู้ประเมินชี้แจงให้ผู้บริหาร ครู บุคลากรหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรับทราบ กระบวนการและเข้าใจวัตถุประสงค์ และ ขอบเขตการประเมนิ

๔๒ สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาวถิ พี ุทธชั้นนำ การประเมนิ รอบที่ ๒ (พจิ ารณาเชิงประจกั ษ์) ข้นั ตอน ผู้รับผดิ ชอบ กิจกรรม คำอธิบาย ๓) คณะผู้ปร ะ เม ิน ท ำก าร ปร ะ เ มิ น ๒.5 สอศ.กับ มจร สอศ.กับ มจร จัดประชุม สถานศึกษาตามขอบข่ายและประเด็นท่ี และ คณะผูป้ ระเมินตัดสิน คณะผู้ประเมินกำหนดไว้แล้วนำข้อมูล ท ั ้ ง ห ม ด ท ี ่ ไ ด ้ ม า อ ภ ิ ป ร า ย ร ่ ว ม ก ั น เ พ่ื อ คณะผปู้ ระเมิน ผลการประเมินคัดเลือก วเิ คราะห์ผลการประเมนิ สถานศึกษา ๔) คณะผู้ประเมินนำเสนอข้อสังเกตและ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากข้อค้นพบ อาชวี ศกึ ษาวิถพี ทุ ธชน้ั นำ ในการประเมินใหส้ ถานศึกษาได้รับทราบ สอศ.กับ มจร จัดประชุมคณะผู้ประเมิน ๒.๖ สอศ.กบั มจร สอศ.กบั มจร ประกาศผล พิจารณาผลการตรวจเยี่ยมเชิงประจักษ์ การประเมินคัดเลือก และตัดสินผลการประเมิน คัดเลือก สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวิถพี ทุ ธช้ันนำ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ ชัน้ นำ มจร จัดทำรายงานผลการประเมินคัดเลือก สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ และ จัดทำประกาศผลการประเมินคัดเลือก สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ เพื่อเสนอให้เลขาธิการ สอศ. ลงนาม ประกาศให้ทราบโดยทัว่ กัน

๔๓ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธพระราชทาน มีขั้นตอนการประเมิน ๓ รอบ ประกอบด้วย รอบที่ ๑ พจิ ารณาเอกสาร รอบที่ ๒ พจิ ารณาเชงิ ประจักษ์ และรอบท่ี ๓ พจิ ารณาผลงาน มีรายละเอียดตาม Flow Chart นี้ แผนภาพที่ ๕ : แสดงข้นั ตอนการประเมินสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาวิถีพทุ ธพระราชทาน รอบที่ ๑ แผนภาพที่ ๖ : แสดงขน้ั ตอนการประเมินสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพุทธพระราชทาน รอบท่ี ๒

๔๔ แผนภาพท่ี ๗ : แสดงขน้ั ตอนการประเมนิ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ ีพทุ ธพระราชทาน รอบที่ ๓ ตารางท่ี ๓ แสดงรายละเอียดแต่ละขนั้ ตอนการประเมินสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาวิถีพุทธพระราชทาน ดังนี้ สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาวิถพี ุทธพระราชทาน การประเมินรอบท่ี ๑ (พจิ ารณาเอกสาร) ขัน้ ตอน ผ้รู ับผิดชอบ กิจกรรม คำอธบิ าย ๑.๑ สอศ. กบั มจร สอศ. กบั มจร ประกาศรบั ๑) สอศ.กับ มจร ร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติ สมัครสถานศึกษาอาชีวศึกษาวถิ ี การประจำปี โครงการสถานศ ึก ษา พุทธ อาชีวศึกษาวิถีพุทธ พระราชทาน กำหนด พระราชทาน เปา้ หมาย ตวั ชี้วัด ขอบเขตการดำเนนิ งาน ๒) สอศ. กับ มจร ประชาสัมพันธ์เชิญชวน สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธสมัครขอรับ ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ย ก ร ะ ด ั บ ก า ร พ ั ฒ น า เ ป็ น สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ พระราชทาน

๔๕ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาวถิ พี ุทธพระราชทาน การประเมินรอบท่ี ๑ (พจิ ารณาเอกสาร) ขั้นตอน ผรู้ ับผิดชอบ กจิ กรรม คำอธิบาย ๑.๒ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพุทธ สถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธชั้นนำ ที่มี ชน้ั นำ สมคั รขอรบั การประเมิน คุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด สมัครขอรับ เป็น การประเมินยกระดับการพัฒนาเป็น สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวถิ ีพทุ ธ ส ถ า น ศ ึ ก ษ า อ า ช ี ว ศ ึ ก ษ า ว ิ ถ ี พ ุ ท ธ พระราชทาน พระราชทาน ผ่านทางระบบ BVCAS ตามระยะเวลาที่กำหนด ๑.3 สอศ. กบั มจร สอศ. กับ มจร คดั เลือกผู้ สอศ. กับ มจร คัดเลือกและแต่งตั้งคณะ ประเมิน และแต่งตั้งคณะผู้ ผู้ประเมิน รวมทั้งกำหนดสถานศึกษาที่จะ ประเมนิ ประเมนิ ๑.4 สอศ.กบั มจร สอศ.กับ มจร จดั ประชมุ คณะผู้ ๑) สอศ. กบั มจร จัดประชุมคณะผปู้ ระเมิน และ ประเมินพิจารณาเอกสาร เพื่อพิจารณาเอกสารรายงานการประเมิน คณะผปู้ ระเมิน ตนเอง และเอกสารประกอบอื่น ๆ ในระบบ BVCAS ๒) คณะผูป้ ระเมิน พจิ ารณาเอกสารรายงาน การประเมินตนเอง และเอกสารประกอบ อื่น ๆ ในระบบ BVCAS ตามที่ได้รับมอบหมาย พรอ้ มสรุปประเด็นการพิจารณาเพื่อส่งมอบ ให้เลขานุการคณะผู้ประเมินนำไป ดำเนนิ การในขน้ั ตอนต่อไป ๑.5 คณะผปู้ ระเมิน ประธานคณะผู้ประเมิน ๑) ประธานคณะผู้ประเมิน รวบรวม สรปุ และรายงานผลการ สรุปผลการพิจารณาเอกสารฯ จากผู้ ประเมินรอบที่ ๑ พจิ ารณา ประเมิน เอกสาร ๒) ประธานคณะผูป้ ระเมินจัดทำรายงานผล การประเมินรอบที่ ๑ พิจารณาเอกสาร ให้ สอศ.และ มจร รับทราบ ๑.6 สอศ. กบั มจร สอศ. กับ มจร ประกาศผลการ ๑) สอศ.กับ มจร จัดทำประกาศผลการ ประเมนิ รอบที่ ๑ พิจารณาเอ ประเมินสถานศึกษาอาชีวศึกษาวิถีพุทธ กาสร พระราชทาน รอบการประเมินที่ ๑ พิจารณาเอกสาร ๒) สอศ.กับ มจร แจ้งให้สถานศึกษาที่ผ่าน การประเมินรอบที่ ๑ พิจารณาเอกสาร รับทราบ เพื่อเตรียมรับการประเมินรอบ ท่ี ๒ พจิ ารณาเชิงประจกั ษ์

๔๖ สถานศึกษาอาชวี ศึกษาวิถพี ุทธพระราชทาน การประเมนิ รอบท่ี ๒ (พจิ ารณาเชิงประจกั ษ์) ขน้ั ตอน ผรู้ ับผิดชอบ กจิ กรรม คำอธิบาย ๒.๑ สอศ.กบั มจร สอศ.กบั มจร จัดประชุมคณะผู้ สอศ.กับ มจร จัดประชุมคณะผู้ประเมิน ชี้แจง และ ประเมนิ แนวทางการดำเนินการตรวจเยี่ยมเชิงประจักษ์ คณะผปู้ ระเมิน พร้อมกับกำหนดขอบเขตและมอบหมายงานให้ คณะผูป้ ระเมินแตล่ ะคณะไดร้ ับทราบ ๒.๒ คณะผปู้ ระเมนิ คณะผ้ปู ระเมนิ คณะผู้ประเมินร่วมกันวางแผนการตรวจเยี่ยม ประชุมวางแผนเตรยี มการ และการประเมิน กำหนดตารางการปฏิบัติงาน กำหนดประเดน็ ประเมิน และมอบหมายภาระงานให้ผู้ประเมินแต่ละคน อย่างชัดเจน และนัดวันที่จะไปตรวจเยี่ยม สถานศึกษา ๒.3 คณะผูป้ ระเมิน สถานศกึ ษาเตรียมความพร้อม ๑) คณะผู้ประเมินแจ้งสถานศึกษาก่อนเข้า และ รบั การประเมิน ประเมนิ ไม่น้อยกวา่ ๑๐ วนั สถานศกึ ษา ๒) สถานศึกษาเตรียมพร้อมรับการประเมินเชิง ประจักษ์จากคณะผู้ประเมิน ตามกำหนดวัน เวลาทไ่ี ด้นดั หมาย ๒.4 คณะผู้ประเมนิ คณะผปู้ ระเมนิ ๑) คณะผู้ประเมินเดินทางไปยังสถานศึกษา เดินทางไปตรวจเยีย่ ม และ ตามกำหนดวัน เวลาที่ได้นัดหมายกับ ประเมนิ สถานศึกษา สถานศึกษา ๒) คณะผู้ประเมินชี้แจงให้ผู้บริหาร ครู บุคลากรหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรับทราบ กระบวนการและเข้าใจวัตถุประสงค์ และ ขอบเขตการประเมนิ ๓) คณะผู้ประเมินทำการประเมินสถานศึกษา ตามขอบข่ายและประเด็นที่คณะผู้ประเมิน กำหนดไว้แล้วนำข้อมูลทั้งหมดที่ได้มาอภิปราย ร่วมกนั เพ่อื วิเคราะห์ผลการประเมนิ ๔) คณะผู้ประเมินนำเสนอข้อสังเกตและ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากข้อค้นพบ ในการประเมินใหส้ ถานศึกษาไดร้ ับทราบ ๒.5 สอศ.กบั มจร สอศ.กบั มจร จดั ประชุม สอศ./มจร จัดประชุมคณะผู้ประเมิน พิจารณา และ คณะผู้ประเมินตัดสิน ผลการตรวจเยี่ยมเชิงประจักษ์ และตัดสินผล คณะผปู้ ระเมนิ ผลการประเมนิ คัดเลอื ก การประเมิน คัดเลือกสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถานศกึ ษา วิถีพทุ ธพระราชทาน อาชวี ศกึ ษาวิถีพุทธพระราชทาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook