Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ##ebook_คู่มือวิทยานิพนธ์ มจร. (2561)

##ebook_คู่มือวิทยานิพนธ์ มจร. (2561)

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-09-18 05:45:16

Description: ##ebook_คู่มือวิทยานิพนธ์ มจร. (2561)

Search

Read the Text Version

๙๒ I บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๓.๔ ระยะการพมิ พ์ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาไทย กาหนดระยะห่างระหว่างบรรทัด หน่งึ เท่า หรอื Single ส่วนดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาอังกฤษ กาหนดระยะห่างระหว่าง บรรทดั ๑.๕ เทา่ (1.5 lines) เม่ือพิมพด์ ้วย font Times New Roman ๓.๕ การยอ่ หนา้ บรรทัดแรกทุกย่อหน้า ให้เว้นระยะไปจากแนวปกติ โดยกาหนดเย้ืองซ้ายบรรทัดแรกท่ี ๐.๗ นิ้ว หรือ ๑.๗๕ ซม. และในแต่ละย่อหน้า (Paragraph) ให้กาหนดระยะห่างก่อนหน้าไว้ท่ี ๖ พ้อยท์เสมอ ตัวอย่าง การตัง้ ค่าย่อหนา้ หรือ Paragraph

ค่มู อื ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บัณฑิตศึกษา I ๙๓ ๓.๖ การขึ้นหนา้ ใหม่ ถ้าพิมพ์มาถึงบรรทัดสุดท้ายของหน้ากระดาษ ตามปกติเว้นขอบล่างประมาณ ๑ นิ้ว และจะต้องข้ึนหน้าใหม่ แต่มีข้อความเหลืออีกเพียงบรรทัดเดียว จะจบย่อหน้าเดิม ให้พิมพ์ต่อไป ในหน้าเดมิ จนจบยอ่ หนา้ น้นั แลว้ จงึ ขน้ึ ยอ่ หน้าใหม่ในหน้าต่อไป ถา้ จะต้องขึ้นยอ่ หนา้ ใหม่ แต่มีเนอื้ ท่ีเหลือให้พิมพ์ได้อีกเพียงบรรทดั เดยี วในหนา้ น้นั ให้ยก ย่อหน้านน้ั ไปต้ังตน้ พิมพใ์ นหน้าต่อไป ข้อความที่คัดลอกมา (Quotations) ไม่เกิน ๓ บรรทัด ให้พิมพ์ต่อไปในเนอื้ ความนัน้ โดยไม่ต้องข้ึนบรรทัดใหม่ แต่ให้พิมพ์ข้อความน้ันไว้ภายในเคร่ืองหมาย “……………………” (อัญประกาศ) ถ้าข้อความที่คัดลอกมาเกิน ๓ บรรทัด ไม่ต้องใช้เครื่องหมายอัญประกาศ ให้ขึ้น บรรทัดใหม่ และเว้นระยะไปจากแนวปกติ ๔ ช่วงตัวอักษรจากขอบซ้ายมือ โดยให้เร่ิมพิมพ์ ตวั อกั ษรที่ ๕ (หมายถงึ เวน้ ๔ ตวั อกั ษร เร่มิ พมิ พ์ตัวอักษรท่ี ๕ หรือ ๐.๙ ซม.) ชิดหลงั ในกรณที ่จี ะมี การย่อหน้าภายในขอ้ ความทีค่ ัดลอกมา ให้เว้นระยะจากแนวปกติ ๖ ชว่ งตวั อกั ษรจากขอบซ้ายมือ หรอื เร่ิมพิมพต์ วั อกั ษรท่ี ๗ (๑.๓ ซม.) ตัวอยา่ งการพมิ พ์ขอ้ ความที่คัดลอกมายาวเกิน ๓ บรรทดั และเชงิ อรรถ: เวน้ ๖ ตัวอักษร เริ่มพมิ พต์ ัวอักษรท่ี ๗ (๑.๓ ซม.) ในบรรทัดแรก บรรทดั ต่อมา เวน้ ๔ ตัวอักษร เริ่มพิมพต์ วั อักษรที่ ๕ (๐.๙ ซม.) ในเมื่อส่ิงทั้งหลาย เกิดจากการประชุมกันเข้าขององค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีเป็นส่วนย่อย ลงไปและองค์ประกอบเหล่านั้นแต่ละอย่าง ล้วนไม่เที่ยง กาลังตกอยู่ในอาการเกิดข้ึน แปรไป และสลายตัวตามหลักอนิจจตา อยู่ด้วยกันท้ังส้ิน สิ่งท่ีเป็นหน่วยรวมนั้นจึงเท่ากับ เป็นท่ีรวมของความปรวนแปรและความขัดแย้งต่าง ๆ และแฝงเอาภาระที่ พร้อมจะ แตกแยกและเส่ือมสลายเข้าไว้ในตัวด้วยอย่างเต็มที่... โดยนาเอาตัวเข้าไปผูกมัดให้สิ่ง เหลา่ นัน้ บบี คั้น ซง่ึ นอกจากจะทาให้เกิดความทกุ ข์แก่ตนเองแลว้ ก็ไมช่ ว่ ยใหเ้ กิดผลดีอย่าง ใด ๆ ขึ้นมา ถ้าตอ้ งการเวน้ ข้อความทค่ี ดั ลอกมาบางสว่ น ใหพ้ มิ พเ์ ครื่องหมายจดุ (Ellipsis dots) สาม ครง้ั โดยพมิ พเ์ ว้นระยะ ๑ ช่วงตวั อกั ษร (. . .) เชน่ “ในท่นี ี้เมือ่ สงั เกตอยา่ งหนึง่ ว่า คนในประเทศฝ่าย ตะวนั ตกจานวนมากแปลจุดหมายชวี ิตของชาวพทุ ธผิดไปวา่ ชีวติ ไมม่ ีอะไรมีแตค่ วามทุกข์และทรมาน ... แตพ่ ระพทุ ธศาสนามองทกุ อยา่ งในสภาพท่ีเปน็ จริง โดยปราศจากอุปาทานแห่งชีวติ และโลก” หากต้องการจะเพิ่มข้อความของผู้เขียนดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ลงไปใน ข้อความท่ีคัดลอกมา ให้ใช้เครื่องหมายวงเล็บเหล่ียม […….] กากับ เพื่อให้แตกต่างจากวงเล็บซึง่ อาจ ปรากฏในขอ้ ความท่คี ัดลอกมาโดยตรงน้ัน

๙๔ I บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๓.๗ การลาดับหน้าและการพมิ พ์เลขหนา้ ๓.๗.๑ ในสว่ นนาทัง้ หมด การลาดับหน้าให้เปน็ ไป ดังน้ี สาหรับดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาไทย ให้ใช้ตัวอักษรเรียงตาม พยัญชนะภาษาไทย (ก, ข, ค, ...) หรอื ใช้ตัวเลขไทยในเครอื่ งหมายวงเล็บ เช่น (๑), (๒), (๓), ... จะใช้ ตวั อกั ษรหรือตัวเลขไทยใหใ้ ช้แบบเดียวกันตลอดทั้งสว่ นนา สาหรับดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาอังกฤษ ให้ใช้เลขโรมันเล็ก (I, II, III, ...) หรือเลขอารบกิ ให้ใช้แบบเดยี วกนั ตลอดท้ังสว่ นนา การนับหน้าในส่วนนาน้ี ให้เร่ิมนับต้ังแต่หน้าบทคัดย่อ ไปจนถึงการอธิบายสัญลักษณ์ และคายอ่ ๓.๗.๒ ในส่วนเนื้อความเป็นต้นไป ให้ลาดับหน้าไปตามลาดับตั้งแต่หมายเลข ๑, ๒, ๓, ... สาหรับหน้าแรกของบทในส่วนเนื้อความ, หน้าแรกของส่วนอ้างอิง และภาคผนวกแต่ละภาค ไม่ต้อง ใชเ้ ลขกากับหนา้ แต่ตอ้ งนบั จานวนหนา้ รวมไปดว้ ย เลขกากับหน้าท้ังส่วนนาและส่วนเน้อื ความทั้งหมด ให้พิมพ์ห่างจากริมกระดาษ ส่วนบน ๑ นิ้ว (๒.๕๔ ซม.) และให้อยู่ในแนวเดียวกับขอบทางขวามือ (อักษรสุดท้ายของบรรทัด) หรือห่าง จากริมกระดาษขวามอื ๑ นว้ิ (๒.๕๔ ซม.) ๓.๘ การพิมพบ์ ทหรอื ภาคและหัวข้อในบท ๓.๘.๑ บท (Chapter) เมือ่ ขนึ้ บทใหม่ ตอ้ งขึ้นหน้าใหม่ทุกคร้งั และตอ้ งมีเลขลาดับบท ควรใช้เลขไทย ในดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาไทย และเลขโรมันใหญ่ในดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ภาษาอังกฤษ โดยพมิ พ์ บทที่... ไวต้ รงกลางหน้ากระดาษ หา่ งจากขอบบนสุด ๒ นว้ิ (๕.๐๘ ซม.) พมิ พ์ ชอ่ื บทไว้กลางหนา้ กระดาษในบรรทดั ตอ่ มา โดยพมิ พข์ นาด ๒๐ พ้อยท์ หากชื่อบทท่ียาวเกิน ๑ บรรทัดหรือมากกว่า ๔๘ ตัวอักษร ให้แบ่งออกเป็น ๒ หรือ ๓ บรรทัดตามความเหมาะสม โดยพิมพ์เรียงให้บรรทัดเรียงรูปลงมาในลักษณะสามเหลี่ยมหัวกลับ (หรือพริ ามิดหวั กลับ) โดยไมต่ ้องขีดเส้นใต้ช่อื บท ๓.๘.๒ ภาคหรอื ตอน (Parts) ในกรณีทดี่ ษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์มีความยาวมาก อาจแบง่ ออกไดเ้ ปน็ หลาย ภาคหรือหลายตอน ให้พมิ พ์เลขลาดับภาค และชื่อของภาคไวอ้ กี หนา้ หนง่ึ ตา่ งหาก เรยี กว่า หนา้ บอกภาค หนา้ นี้จะอย่กู อ่ นทจี่ ะถึงบทแรกของภาคน้นั ๆ ใหเ้ ร่ิมพิมพเ์ น้ือเรอ่ื งในบท ถดั จากชื่อบทโดยเว้นระยะห่างจากชือ่ บท ให้กาหนดกอ่ นหน้า ไวท้ ี่ ๖ พอยท์ เช่นเดียวกับการยอ่ หน้า

คู่มือดษุ ฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา I ๙๕ สาหรับภาคทมี่ ีช่ือสน้ั อาจพมิ พ์ไวบ้ รรทดั เดียวกันกบั เลขลาดบั ภาค แต่ถา้ ชื่อยาวให้พิมพ์ ชื่อภาคไว้อีกบรรทัดหน่ึงหรือ ๒-๓ บรรทัดแล้วแต่ความยาวของชื่อ โดยให้อักษรตัวแรกของแต่ละ บรรทัดตรงกันและจัดขอ้ ความทั้งหมดไว้ตรงกลางหน้ากระดาษ ห่างจากขอบบนและขอบล่างเทา่ กนั ท้งั ห่างจากขอบซ้าย ๑.๕ นวิ้ (๓.๘๑ ซม.) และขอบขวา ๑ น้ิว เท่ากับการตง้ั ค่าหนา้ กระดาษ ๓.๘.๓ หวั ขอ้ ใหญ่ หรอื หัวข้อสาคัญ (Main Title) หวั ข้อใหญห่ รอื หวั ข้อสาคัญของแต่ละบท หมายถึงหัวข้อทไี่ ม่ใช่ชือ่ เรอื่ งประจาบท ใหพ้ ิมพ์ ชดิ ขอบกระดาษด้านซ้าย ตัวอกั ษรขนาด ๑๘ พ้อยท์ และพิมพ์หา่ งจากบรรทดั บน โดยกาหนดที่ก่อน หน้า ๖ พ้อยท์ โดยให้ทาตัวหนาที่หัวข้อสาคัญน้ัน ๆ และการพิมพ์บรรทัดต่อไปก็ให้เว้นระยะห่าง ระหว่างบรรทัดโดยกาหนดทก่ี ่อนหนา้ ๖ พ้อยท์ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาอังกฤษ อักษรตัวแรกของคาทุก ๆ คาใน หัวข้อสาคัญ ๆ เหล่าน้ี ต้องพิมพ์ด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ นอกจากบุพบท (preposition) สันธาน (conjunction) และคานาหน้านาม (article) เท่านั้น ที่ไม่ต้องพิมพ์ด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ยกเว้น บพุ บท, สนั ธาน และคานาหนา้ นามดังกล่าวจะเป็นคาแรกของหัวขอ้ สาคญั นั้น ๆ อนึ่ง ถ้าจะข้ึนหัวข้อใหม่อีก แต่มีที่ว่างสาหรับพิมพ์ข้อความต่อไปได้ไม่เกินหน่ึงบรรทดั ในหน้านั้นแลว้ ให้ขนึ้ ตน้ หัวขอ้ ใหม่ในหน้าต่อไป ๓.๘.๔ หวั ข้อย่อย (Subordinate Title) ถา้ ในหวั ขอ้ ใหญม่ ีหวั ขอ้ ยอ่ ย ให้พิมพ์หวั ขอ้ ย่อยเว้นระยะจากขอบซา้ ยของกระดาษ ๘ ชว่ ง ตัวอกั ษร เริม่ พิมพต์ วั อกั ษรที่ ๙ (๐.๗ น้ิว หรือ ๑.๗๕ ซม.) โดยกาหนดระยะหา่ งจากบรรทัดก่อนน้ัน ที่ก่อนหน้า ๖ พ้อยท์ และขนาดตัวอักษร ๑๖ พอ้ ยท์ การพิมพ์หัวข้อย่อย ผู้เขียนต้องใช้ระบบตัวอักษรกากับสลับตัวเลข หรือ ระบบตัวเลข กากับสลบั ตวั เลข โดยต้องเนน้ ตวั อกั ษรด้วยตวั หนาในหวั ข้อยอ่ ยทุกหวั ขอ้ ดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี แบบ ก ตวั อักษรกากับสลับกับตวั เลข เวน้ ระยะจากขอบซา้ ยของกระดาษ ๘ ตัวอกั ษร เร่มิ พมิ พ์ตวั อักษรที่ ๙ ความขัดแย้ง ก. ภายใน ............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ๑. สาเหตุ ............................................................................................................................ ก) ทิฏฐิ ..................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ๑) การแก้ไข .............................................................................................................

๙๖ I บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ................................................................................................................................................................ (ก) การแก้ไขโดยขม่ เอาไว้ ........................................................................... ................................................................................................................................................................ (ข) การแก้ไขโดยเด็ดขาด.............................................................................. ................................................................................................................................................................ แบบ ก ตวั อักษรกากับสลับกับตวั เลข (ภาษาอังกฤษ) United States. A. Civil War, 1861-1865 ........................................................................................... ................................................................................................................................................................ 1. Causes ....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ a) Slavery .............................................................................................................. ................................................................................................................................................................ 1) Compromise ......................................................................................... ................................................................................................................................................................ (a) Missouri Compromise.................................................................... ................................................................................................................................................................ (b) Compromise of 1860 ……............................................................... ................................................................................................................................................................ แบบ ข ตวั เลขกากบั สลับกับตัวเลข เว้นระยะจากขอบซา้ ยของกระดาษ ๘ ตัวอักษร เริ่มพมิ พต์ ัวอักษรท่ี ๙ สหรฐั อเมริกา ๑. สงครามกลางเมอื ง ๑๘๖๑-๑๘๖๕ .............................................................................. ................................................................................................................................................................ ๑.๑ สาเหตุ ......................................................................................................................... ๑.๑.๑ ทาส ................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๑.๑.๒ การประนีประนอมแหง่ ปี ๑๘๕๐ .................................................................... ................................................................................................................................................................

คูม่ อื ดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บัณฑติ ศึกษา I ๙๗ แบบ ข ตัวเลขกากับสลับกับตวั เลข (ภาษาองั กฤษ) United States. 1. Civil War, 1861-1865…………………………………………………………….......................... ................................................................................................................................................................ 1.1 Causes ....................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... 1.1.1 Slavery............................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 1.1.2 Compromise of 1860.................................................................................. ................................................................................................................................................................ หมายเหตุ: หากเลอื กแบบใดใหใ้ ชเ้ หมือนกันท้ังเล่ม ตวั อย่างการลาดับหัวข้อใหญ่-หวั ขอ้ ยอ่ ย ๒ นิ้ว / ๕.๐๘ ซม. บทท่ี ๓ (๒๐ พ้อยท์) (เว้น ๑ บรรทดั ๑๖ พอ้ ยท์) การเผยแผก่ ารปฏบิ ตั อิ านาปานสั สตเิ พ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ (๒๐ พอ้ ยท)์ (เว้น ๑ บรรทดั ๑๖ พอ้ ยท์) เริม่ คาอธบิ าย (เวน้ ระยะจากขอบซ้าย ๐.๗ นิว้ หรอื 1.75 cm) ….(๑๖ พ้อยท์) ............... ................................................................................................................................................. ๓.๑ หวั ข้อใหญ่หรือหัวข้อสาคญั (๑๘ พ้อยท,์ ตัวหนา before 6 pt.) ๓.๑.๑ หัวขอ้ ย่อย (๑๖ พ้อยท์ before 6 pt.).............................................................. ๓.๑.๑.๑ ........................................................................................................ ................................................................................................................................................... ๓.๑.๑.๒ ........................................................................................................ .................................................................................................................................................... ๓.๑.๒ (๑๖ พ้อยท์ before 6 pt.)............................................................................... ๓.๒ หวั ขอ้ ใหญ่หรือหัวข้อสาคญั (๑๘ พ้อยท,์ ตวั หนา before 6 pt.) ๓.๒.๑ (๑๖ พอ้ ยท์ before 6 pt.)............................................................................... .................................................................................................................................................... ๓.๒.๑.๑ ......................................................................................................... .................................................................................................................................................... ๓.๒.๑.๒ ......................................................................................................... ....................................................................................................................................................

๙๘ I บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๓.๙ ตาราง กราฟ แผนภมู ิ และรูปประกอบตา่ ง ๆ ตาราง กราฟ แผนภมู ิ และรปู ประกอบจะต้องมีหมายเลขประจาและเรียงลาดับไปตลอด เลม่ โดยให้พมิ พ์เลขลาดับทีแ่ ละชื่อของตาราง กราฟ แผนภูมิ และรูปประกอบพรอ้ มทั้งขอ้ ความและ ท่ีมาไว้ในหนา้ เดียวกันท้งั หมด กรณีท่ีตารางนั้นมีความยาวมากจนไม่สามารถพิมพ์ให้จบในหน้าเดียวได้ ให้พิมพ์ส่วนท่ี เหลือในหน้าถดั ไป แต่ทัง้ นจ้ี ะต้องมีลาดับทแี่ ละชอ่ื ของตารางและมีส่วนของข้อความในตารางรวมอยู่ ด้วยในแต่ละหน้าอย่างน้อย ๒ บรรทัด ในกรณีทส่ี ว่ นขอ้ ความของตารางสนิ้ สุดลง และจาเปน็ จะต้อง อ้างถึงท่มี าของตารางในหน้าถดั ไป จะตอ้ งยกขอ้ ความบางส่วนของตารางไปรวมไว้หน้าใหม่อย่างน้อย ๒ บรรทัด โดยยอมปล่อยให้มีท่ีว่างในตารางหน้าเดิม ขนาดของตารางไม่ควรเกินกรอบของหน้า ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ สาหรับตารางขนาดใหญ่ ควรพยายามลดขนาด โดยใช้เคร่ืองถ่ายย่อส่วน หรือลดชนาดอักษรในตารางหรือวิธีอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม แต่จะต้องชัดเจนพอท่ีจะอ่านได้ง่าย สาหรบั ตารางท่กี ว้างเกนิ กว่าความกว้างของหน้าดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ก็อาจจะจัด ใหส้ ว่ นขวางของตารางนั้นหันเขา้ หาขอบของหน้า สาหรับภาพประกอบ หากเป็นภาพถ่ายที่อา้ งอิงมาจากที่อื่นอาจใช้ภาพถ่ายสาเนาได้ แต่ ถ้าเป็นภาพถ่ายของผลการวจิ ยั ใหใ้ ช้ภาพจริงทัง้ หมดจะเปน็ ภาพสีหรอื ขาวดาก็ได้ ตัวอยา่ ง การพิมพต์ ารางท่ีมีความยาวเกนิ หนึ่งหนา้ ตารางท่ี ๓.๑ แสดงการใช้หลกั สารณยี ธรรมของนกั เรียนโรงเรียนราชวินติ มธั ยม ผลจากการสัมภาษณ์ คดิ เป็น เปอร์ ลาดับท่ี คาสัมภาษณ์ ผูต้ อบ การปฏิบตั ิ จานวน เซน็ ต์ ผ้ตู อบ ๕๓.๕๗ ๑ เมตตากายกรรม ๒๘ ปัจจุบันกินไม่เป็นเวลา กิน ๑๕ ๒๑.๔๓ คิดว่าตัวเองควรปรับปรุงการ เยอะ และนอนดกึ ๒๕.๐๐ ๗.๑๔ รักษาสุขภาพร่างกายตนเอง ปัจจุบันไม่ค่อยออกกาลัง ๖ ๔๒.๘๖ ๔๒.๘๖ อย่างไรบา้ ง กาย ๗.๑๔ ๗๘.๕๗ เหมาะสมแลว้ ๗ ๒๑.๔๓ ๒ เมตตาวจกี รรม ๒๘ พูดคาหยาบเยอะอยู่ ๒ ๗.๑๔ คนอ่นื บอกวา่ เราพูดจาไพเราะ ไมเ่ พราะมาก พดู ตรง ๆ ๑๒ แล ะมีห ลักการ น่าเชื่อถื อ แลว้ แต่กาลเทศะ ๑๒ หรือไม่ พูดเพราะ และนา่ เช่อื ถือ ๒ ๓ เมตตามโนกรรม ๒๘ หากิจกรรมอ่ืนมาทา ๒๒ เวลาเครียด มีวิธีจัดการตัวเอง คิดหาสาเหตแุ ลว้ แก้ไข ๖ ยังไง ๔ สาธารณโภคิตา ๒๘ ไมใ่ ห้ ๒ ห า ก เ ร า ไ ป ซื้ อ ห นั ง สื อ พ็ อ ค เก็ตบุ๊คมาใหม่เลม่ หนึ่งยังไม่ได้

คูม่ ือดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา I ๙๙ ผลจากการสัมภาษณ์ คดิ เปน็ เปอร์ ลาดับท่ี คาสัมภาษณ์ ผู้ตอบ การปฏิบัติ จานวน เซน็ ต์ ผู้ตอบ ๕๗.๑๔ อา่ นเลย หยิบข้ึนมา ปรากฏว่า ต้องดูว่าคนนั้นน่าไว้ใจหรือ ๑๖ ๒๑.๔๓ มีเพือ่ นในหอ้ งคนหน่ึงวิง่ เขา้ มา เปลา่ ๑๔.๒๙ ขอยมื ไปอา่ น จะให้เขายมื ไหม ขอเราอา่ นใหจ้ บกอ่ นนะแล้ว ๖ ๑๐๐ จะให้ ๓.๕๗ ๖๔.๒๙ ให้เพื่อนยืมไปก่อน เพราะ ๔ ๓๒.๑๔ ยังไงก็เป็นของเราจะอ่าน เมื่อไหร่กไ็ ด้ ๕ สลี สามญั ญตา ๒๘ บกพรอ่ ง ๒๘ ศีล ๕ ข้อ เราบกพร่องหรือ เปล่า ๖ ทฏิ ฐสิ ามญั ญตา ๒๘ ไมเ่ หมาะสม ๑ คิดวา่ การตดั สินใจแก้ไขปัญหา เหมาะสมบ้าง ๑๘ ในชวี ิตที่ผ่านมาเราได้ตัดสินไป ไม่เหมาะสมบา้ ง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมหรือ เหมาะสมแล้ว ๙ ยัง ตัวอยา่ ง การพมิ พต์ ารางซงึ่ อยู่ในหนา้ เดยี วกับเนือ้ เร่ือง ตารางท่ี ๓.๒ ปัญหามนษุ ยสมั พนั ธข์ องนักเรยี นตามหลักสารณยี ธรรมต่อตนเอง ลาดบั ท่ี หลกั สารณียธรรม พฤติกรรม จานวน นักเรียน(คน) ๑ เมตตากายกรรม ปัจจุบนั กนิ ไมเ่ ปน็ เวลา กินเยอะ และนอนดึก ปัจจบุ นั ไม่คอ่ ยออกกาลงั กาย ๑๕ ๒ เมตตาวจีกรรม พูดคาหยาบบอ่ ยคร้ัง ๖ ๓ เมตตามโนกรรม ๒ ๔ สาธารณโภคติ า - - ๕ สลี สามัญญตา หวงทรพั ย์สินของตน ๒ ๖ ทิฏฐิสามญั ญตา ศีล ๕ บกพร่อง ๒๘ คิดวา่ ตนตัดสนิ ใจแก้ไขปัญหายังไมเ่ หมาะสม ๑ ตารางท่ี ๓.๓ ปัญหามนษุ ยสัมพนั ธ์ของนักเรียนตามหลกั สารณียธรรมต่อเพื่อน ลาดบั ท่ี หลักสารณียธรรม พฤติกรรม จานวน นกั เรียน(คน) ๑ เมตตากายกรรม - ๒ เมตตาวจีกรรม ชืน่ ชมเพ่อื นในใจแตไ่ ม่แสดงออก - ๓ เมตตามโนกรรม โกรธเมอ่ื เพ่อื นพดู จาไมด่ กี ับตน ๓ ๔ สาธารณโภคิตา ไมเ่ คยแบง่ ปันอปุ กรณ์การเรียน/ขนมกับเพื่อน ๑๘ ๕ สีลสามัญญตา ไมร่ กั ษาเวลาเม่อื นดั กบั เพอ่ื น ๖ ๖ ทฏิ ฐสิ ามัญญตา ๒๘ - -

๑๐๐ I บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั กรณที ีเ่ นอ้ื หาในตารางไมย่ าวมากนกั สามารถลดขนาดตวั อักษรได้ (จาก ๑๖ เป็น ๑๔ พอ้ ยท์ ซึง่ ไม่ควรมีขนาดเล็กกวา่ นี)้ เพือ่ ใหต้ ารางน้นั อย่ใู นหนา้ เดียวกนั ดงั นี้ ตารางที่ ๓.๔ การใช้หลกั สารณียธรรมต่อตนเองของนักเรียนโรงเรียนราชวินิต มธั ยม ลาดบั ที่ คาสมั ภาษณ์ ผลจากการสมั ภาษณ์ จานวน คิดเปน็ ๑ ผตู้ อบ การปฏิบัติ ผตู้ อบ เปอร์ ๑๕ เซ็นต์ ๒ เมตตากายกรรม ๒๘ ปัจจุบันกินไม่เป็นเวลา ๕๓.๕๗ ๓ คิดว่าตัวเองควรปรับปรุงการ กนิ เยอะ และนอนดกึ ๖ ๔ รักษาสุขภาพร่างกายตนเอง ๒๑.๔๓ อย่างไรบ้าง ปั จ จุ บั น ไ ม่ ค่ อ ย อ อก ๗ ๕ กาลังกาย ๒ ๒๕.๐๐ ๖ ๑๒ ๗.๑๔ เหมาะสมแลว้ ๑๒ ๔๒.๘๖ ๒ ๔๒.๘๖ เมตตาวจีกรรม ๒๘ พูดคาหยาบเยอะอยู่ ๒๒ ๗.๑๔ คนอื่นบอกว่าเราพูดจาไพเราะ ๖ ๗๘.๕๗ แล ะมีห ลักการ น่าเชื่อถือ ไมเ่ พราะมาก พดู ตรง ๆ ๒๑.๔๓ ๒ แลว้ แต่กาลเทศะ ๑๖ ๗.๑๔ หรือไม่ พดู เพราะ และนา่ เชอื่ ถือ ๕๗.๑๔ เมตตามโนกรรม ๒๘ หากจิ กรรมอ่ืนมาทา ๖ เวลาเครียด มีวิธีจัดการตัวเอง ๒๑.๔๓ ยงั ไง คิดหาสาเหตุแล้วแกไ้ ข ๔ ๑๔.๒๙ สาธารณโภคิตา ๒๘ ไม่ให้ ๒๘ ห า ก เ ร า ไ ป ซื้ อ ห นั ง สื อ พ็ อ ค ๑๐๐ เก็ตบุ๊คมาใหม่เล่มนึงยังไม่ได้ ต้องดูว่าคนน้ันน่าไว้ใจ ๑ หรอื เปล่า ๑๘ ๓.๕๗ อ่านเลย หยบิ ขน้ึ มา ปรากฏวา่ มี ๖๔.๒๙ เพอื่ นในหอ้ งคนนงึ วง่ิ เข้ามาขอยืม ขอเราอ่านให้จบก่อนนะ ๙ แลว้ จะให้ ๓๒.๑๔ ไปอ่าน จะให้เขายมื ไหม ใ ห้ เ พื่ อ น ยื ม ไ ป ก่ อ น เพราะยังไงก็เป็นของเรา จะอา่ นเมือ่ ไหร่กไ็ ด้ สลี สามญั ญตา ๒๘ บกพร่อง ศีล ๕ ข้อ เราบกพร่องหรือ เปล่า ทิฏฐสิ ามัญญตา ๒๘ ไม่เหมาะสม คิดวา่ การตัดสนิ ใจแกไ้ ขปัญหา ในชีวิตทผี่ ่านมาเราได้ตัดสินไป เ ห ม า ะ ส ม บ้ า ง ไ ม่ เหมาะสมบา้ ง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมหรือ ยงั เหมาะสมแลว้

คู่มือดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑติ ศึกษา I ๑๐๑ ๓.๑๐ การเวน้ ระยะการพิมพห์ ลงั เคร่อื งหมายวรรคตอน ให้พิมพ์เครื่องหมายวรรคตอนน้ันอยู่ชิดตัวหน้า หลังเคร่ืองหมายต่อไปนี้ ให้เว้นวรรค ๑ ชว่ งตัวอกั ษร “ . ” มหัพภาค (period) ใหเ้ วน้ ๑ ชว่ งตวั อักษร ใชแ้ สดงว่า จบความ “ , ” จุลภาค (comma) ให้เว้น ๑ ช่วงตัวอักษรใช้เพ่ือแยกวลีหรืออนุประโยค เพ่ือ ปอ้ งกันความเขา้ ใจสับสน “ ; ” อัฒภาค (semicolon) ให้เว้น ๑ ช่วงตัวอักษร ใช้ค่ันบทนิยามของคาที่มี ความหมายหลายอย่าง แตค่ วามหมายนั้น มนี ยั เนือ่ งกบั ความหมายเดิม “ : ” ทวิภาค (colons) ใหเ้ ว้น ๑ ชว่ งตวั อกั ษรใชแ้ ทนคาวา่ คอื , ดังน้ี วธิ ีการใส่เครอ่ื งหมายวรรคตอน ๑. ต้องพิมพเ์ ครื่องหมายวรรคตอนไว้ท้ายข้อความเสมอ (หมายถึง เคร่อื งหมายวรรคตอน นน้ั ให้ตดิ อักษรตวั หนา้ ) เช่น กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๕. ๒. หลงั ตวั ย่อเว้น ๑ ช่วงตัวอกั ษร เช่น ท.ี ส.ี อ. (ไทย) p. 5. ๓. ระหว่างคาย่อทีม่ ีมากกว่า ๑ ตวั อักษรไม่ตอ้ งเวน้ ๑ เช่น ม.ป.ท. ม.ป.ป. พธ.ม. n.d. pp. อน่ึง หลักเกณฑ์การเว้นวรรคในคู่มือเล่มนี้ ให้ยึดตามเกณฑ์ท่ีสานักงานราชบัณฑิตย- สภา๒ ไดก้ าหนดไว้ โดยสรปุ ดงั นี้ ๑. เว้นวรรค ในกรณีตอ่ ไปน้ี ๑.๑ เว้นวรรคเล็ก๓ ระหวา่ งชอ่ื กับนามสกุล นายเสรมิ วนิ จิ ฉยั กุล ๑.๒ เว้นวรรคเลก็ หลังคานาพระนามพระบรมวงศานวุ งศ์ พระนาม และฐานนั ดรศกั ด์ิ (๑) สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (๒) สมเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดตวิ งศ์ (๓) สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ ๑.๓ เว้นวรรคเลก็ ระหวา่ งคานาหน้านามแต่ละชนดิ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ หรือ ๑ ดูรายละเอียดใน ราชบัณฑิตยสถาน, หลักเกณฑ์การเว้นวรรค, [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.royin.go.th/?page_id=629 [16 มิถนุ ายน 2561]. ๒ สานักงานราชบัณฑิตยสภา, การเว้นวรรค, [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.royin.go.th/? page_id=629 [13 กันยายน 2561]. ๓ เว้นวรรคเล็กมีระยะห่างระหว่างวรรคประมาณเท่ากบั ความกว้างของพยัญชนะ ก ดูรายละเอียดใน สานักงานราชบณั ฑิตยสภา, การเว้นวรรค, [ออนไลน์], แหล่งที่มา: http://www.royin.go.th/? page_id=629 [21 กันยายน 2561].

๑๐๒ I บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ศ. นพ. ม.ล.เกษตร สนทิ วงศ์ ๑.๔ เวน้ วรรคเลก็ ระหว่างยศกับชื่อ (๑) จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม (๒) พลเรอื เอก สงัด ชลออยู่ หรอื พล.ร.อ. สงดั ชลออยู่ (๓) ร้อยโทหญงิ สชุ าดา ทาความดี ๑.๕ เว้นวรรคเล็กระหวา่ งกลุ่มอักษรยอ่ นายเสริม วนิ จิ ฉัยกลุ ป.จ. ม.ป.ช. ม.ว.ม. ๑.๖ เวน้ วรรคระหว่างเครอื่ งหมายต่าง ๆ ๑.๖.๑ เว้นวรรคเล็กหน้าและหลังเคร่ืองหมายไปยาลใหญ่ ไม้ยมก เสมอภาคหรือ เทา่ กบั ทวิภาค วิภชั ภาค และเครื่องหมาย + ท่ีใชใ้ นทางภาษา (มิใช่เครอ่ื งหมาย + ท่ีใช้ในทาง คณติ ศาสตร์) (๑) เขาเจรญิ พุทธคณุ ว่า อติ ิปิ โส ฯลฯ ภควาติ (๒) วนั หน่ึง ๆ เขาทาอะไรบ้าง (๓) อเปหิ = อป + เอหิ ๑.๖.๒ เวน้ วรรคเล็กหน้าเครอื่ งหมายอญั ประกาศเปดิ และวงเล็บเปิด (๑) สถานภาพของสตรีในสงั คมอนิ เดียในอดีตมีลักษณะคล้าย “เถาวลั ย”์ หรือบางทกี ็ดคู ลา้ ย “กาฝาก” เพราะสตรีไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ (๒) มนุษยไ์ ด้สรา้ งโลภะ (ความโลภ) โทสะ (ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตวั เองทง้ั สน้ิ ๑.๖.๓ เว้นวรรคเลก็ หลงั เคร่อื งหมาย จุลภาค อัฒภาค ไปยาลนอ้ ย อญั ประกาศปิด และวงเลบ็ ปิด (๑) พระพทุ ธ, พระธรรม, พระสงฆ์ เป็นรตั นะ ๓ ของพทุ ธศาสนิกชน (๒) ชีวิตของตนเปน็ ท่ีรกั ย่ิงฉนั ใด ชีวติ ของผอู้ ืน่ ก็ปานน้นั ; สตั บุรุษเอาตนเขา้ ไปเทยี บดงั น้ี จึงกระทาความเมตตากรณุ าในสัตว์มชี วี ติ ทวั่ ไป (๓) โอย๊ ! มาไม่ทันรถอกี แล้ว (๔) สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ (๕) สถานภาพของสตรใี นสงั คมอนิ เดียในอดีตมีลักษณะคลา้ ย “เถาวลั ย”์ หรือบางทีกด็ คู ล้ายเป็น “กาฝาก” เพราะสตรีไม่สามารถพ่ึงตนเองได้ (๖) มนษุ ย์ไดส้ ร้างโลภะ (ความโลภ) โทสะ (ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตนเองทัง้ สน้ิ ๑.๗ เวน้ วรรคเลก็ หลังข้อความท่ีเป็นหวั ข้อ (๑) อุทานวลี อุทานวลีหมายถึงคาอุทานที่มีคาอื่นประกอบท้ายให้เป็นวลียืดยาว ออกไป เช่น คณุ พระชว่ ย

ค่มู ือดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา I ๑๐๓ (๒) วิเคราะห์กลวิธีดาเนินเรื่อง ในการวิเคราะห์กลวิธีดาเนินเร่ืองจาเป็นต้องเข้าใจ ศิลปะการอ่าน หรือกตกิ าของนักอ่าน นักอ่านต้องพยายามทาใจเกี่ยวกับสัญนิยมของการแต่งหนังสือ ๑.๘ เวน้ วรรคเลก็ ท้ังข้างหน้าและขา้ งหลังคา ณ ธ (๑) การนาสตั วข์ น้ึ หรอื ลง ณ สถานใี ด ใหเ้ ป็นดุลยพนิ ิจของเจ้าหน้าท่ีปศสุ ัตว์ ประจาท้องที่ (๒) ผลพระคุณ ธ รกั ษา ปวงประชาเป็นศุขสานต์ ๑.๙ เวน้ วรรคเล็กหนา้ และหลังคาวา่ “ไดแ้ ก”่ ทต่ี ามดว้ ยรายการ มากกว่า ๑ รายการ (๑) เครื่องล่อใจให้ตดิ อยู่ในโลก ไดแ้ ก่ รูป เสยี ง กล่ิน รส และสัมผสั (๒) อาหารท่ชี ว่ ยปอ้ งกันและตา้ นทานโรค ได้แก่ โปรตีน เกลือแร่ และวติ ามนิ ๑.๑๐ เวน้ วรรคเลก็ หนา้ และหลังคา “เชน่ ” (ในความหมายวา่ ยกตวั อย่าง) สว่ นหน่ึงแห่งสกลจักรวาล เช่น มนษุ ยโลก เทวโลก พรหมโลก ยกเว้น “เชน่ ” ทีม่ คี วามหมายว่า “อย่าง, เหมือน” ไม่ต้องเว้นวรรคทั้งหน้าและหลังคา (๑) ดา ว. มีสเี ช่นสเี ขมา่ , มืด. (๒) ใจดาเชน่ กา ๑.๑๑ เว้นวรรคเลก็ หน้าคาสนั ธาน “และ”, “หรือ” ในรายการ (๑) ระเบียบคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทรายว่าด้วยการผลิต การบรรจุ การเก็บ รกั ษา การสารวจ การขนย้าย การจาหน่าย และการส่งมอบนา้ ตาลทราย (๒) แล้วกนั (ปาก) ว. ออกเสียงแสดงความไม่พอใจ ตกใจ เสียใจ หรือประหลาดใจ เป็นตน้ ยกเวน้ ถ้ามเี พียง ๒ รายการ ไมต่ ้องเว้นวรรค (๑) ส่งเสริมสวสั ดกิ ารของครูและนักเรียนของโรงเรยี น (๒) เสยี งสระทุกเสยี งเป็นเสียงกอ้ งหรือเสียงโฆษะ ๑.๑๒ เว้นวรรคเล็กหนา้ คา “เป็นต้น” ที่อยูห่ ลงั รายการ (๑) ประเภท น. สว่ นท่แี บง่ ยอ่ ยออกไปเป็นพวก จาพวก ชนดิ หมู่ เหลา่ อยา่ ง แผนก เปน็ ต้น. (๒) บา้ นเปน็ คาไทย เดมิ หมายความวา่ หมู่บ้าน ปจั จบุ ันยงั มีเค้าให้เหน็ อยู่ในชอ่ื ตาบลตา่ ง ๆ มี บา้ นหม้อ บา้ นหม่ี บา้ นไร่ บ้านนา บา้ นบอ่ เปน็ ต้น ๑.๑๓ เว้นวรรคเล็กหลงั คาว่า “วา่ ” ในกรณีทข่ี อ้ ความตอ่ มาเป็นประโยค จะสังเกตไดว้ ่า คนถนัดมอื ซา้ ยมนี อ้ ยกวา่ คนทถ่ี นัดมือขวา

๑๐๔ I บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒. กรณีที่ไม่เวน้ วรรค ๒.๑ ไม่เวน้ วรรคระหว่างคานาหนา้ ชอ่ื กบั ชื่อ (๑) พระมหาสุทธิ สุทธฺ ิ าโณ (๒) นายเสริม วินิจฉัยกลุ (๓) นางอนิ ทริ า คานธี (๔) นางสาววารุณี วงศค์ นไทย (๕) เดก็ ชายวรา สทิ ธ์ิรตั น์ (๖) เด็กหญิงสิรนิ ท์ ทองดี (๗) คณุ นลิ วรรณ ปิ่นทอง (๘) คุณหญงิ ป๋ิว มหาโยธา (๙) ท่านผหู้ ญิงพวั อนุรักษ์ราชมณเฑยี ร ๒.๒ ไมเ่ ว้นวรรคระหว่างบรรดาศักดิ์ สมณศักด์ิ ฐานันดรศักด์ิ กบั นาม หรอื ราชทินนาม (๑) หลวงวศิ าลศิลปกรรม (๒) หม่อมราโชทยั (๓) สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (๔) หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (๕) เจ้าจอมมารดาชุม (ในรชั กาลที่ ๔) ๒.๓ ไมเ่ ว้นวรรคระหว่างคานาหน้าชื่อทเี่ ปน็ ตาแหนง่ หรืออาชีพกบั ช่อื (๑) ศาสตราจารย์รอง ศยามานนท์ (๒) นายแพทย์ดารง เพ็ชรพลาย ๒.๔ ไมเ่ ว้นวรรคหลงั เครื่องหมายไปยาลนอ้ ย ในกรณที ีม่ เี คร่ืองหมายอ่นื ตามมา รถไฟเทย่ี วจากกรงุ เทพฯ-เชยี งใหม่ ๒.๕ ไม่เว้นวรรคทงั้ หน้าและหลงั เครอ่ื งหมายยัติภงั ค์ ยตั ภิ าค (๑) -กระเฉง ใชเ้ ขา้ คู่กบั คากระฉับ เป็น กระฉับกระเฉง. (๒) ภาษาตระกูลไทย–จีน

คู่มือดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา I ๑๐๕ ตวั อยา่ ง การเวน้ วรรคและไมเ่ วน้ วรรคตาแหน่งทางวิชาการและคานาหนา้ ช่ือบคุ คล๔ ๔ ดรู ายละเอยี ดใน สานกั งานราชบัณฑิตยสถาน, รายชอ่ื ราชบณั ฑิตและภาคีสมาชิกปัจจุบัน: สานัก ธรรมศาสตร์และการเมือง , [ออนไลน์], แหล่งท่ีมา: http://www.royin.go.th/?page_id=17123#tab- 1503287974284-2-10 [21 กันยายน 2561]

บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั I ๑๐๖ บทท่ี ๔ การอ้างองิ และการเขยี นเอกสารอ้างอิงหรอื บรรณานกุ รม เน้ือหาของบทนี้มี ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ว่าด้วยการทาเชิงอรรถ (Footnote) การทา บรรณานกุ รม (Bibliography) และการทาภาคผนวก มีรายละเอียด ดังน้ี ๔.๑ เชิงอรรถ (Footnote) วิธีอ้างอิงให้ใช้ระบบเชิงอรรถ ได้แก่ ข้อความท่ีพิมพ์ไว้ที่ส่วนล่างของหน้ากระดาษ เพ่ือ อธิบายท่ีมาของแหล่งค้นคว้าหรือข้อมูลเป็นเรื่องที่มีหลักฐานอ้างอิงได้ หรืออธิบายข้อความเพ่ิมเติม เกยี่ วกบั เนอ้ื เรอ่ื งบางตอน ๔.๑.๑ การพิมพเ์ ชงิ อรรถ ให้พิมพ์เชิงอรรถไว้ท่ีส่วนล่างของแต่ละหน้าที่จะอ้างอิง และให้แยกจากเนื้อเรื่อง วิธีการ พิมพ์เชิงอรรถ ให้เข้าไปที่รายการ “อ้างอิง” หรือ “References” แล้วคลิกเลือก อ้างอิง – เชิงอรรถ หรอื Insert Footnote จากโปรแกรมของ Microsoft Word โดยใช้ขนาดตัวอักษร ๑๔ พอ้ ยท์และให้ พิมพ์บรรทัดแรกย่อหน้าเข้ามาจากขอบซ้ายของกระดาษ ๑.๗๕ ซม. (เช่นเดียวกันกับการย่อหน้า) หากข้อความยาวเกิน ๑ บรรทัด บรรทัดต่อมาให้พิมพ์ชิดขอบซ้ายมือทุกบรรทัดจนจบรายการน้ัน และให้บรรทดั สดุ ทา้ ยของขอ้ ความในเชงิ อรรถอย่หู ่างจากขอบกระดาษด้านล่าง ๑ นว้ิ การลงเลขเชงิ อรรถ ใหล้ งทา้ ยขอ้ ความทอี่ ้างอิง หรือทสี่ รปุ มา ตัวอย่างการพิมพเ์ ชงิ อรรถ ตามหลักกิจในอริยสัจ หน้าท่ีท่ีจะต้องปฏิบัติต่อทุกข์ ได้แก่ ปริญญา คือ การกาหนดรู้ หรือ ทาความเข้าใจ หมายความว่าเร่ืองทุกข์นี้บุคคลมีหน้าที่เก่ียวข้องเพยี งแค่กาหนดรู้หรือทาความ เขา้ ใจเท่าน้ัน การปฏิบัติต่อทุกขโ์ ดยถกู ต้องตามหลกั ในอริยสัจน้ี เป็นเร่ืองสาคัญอย่างย่งิ แต่เปน็ เรื่องท่ี มักถูกมองข้ามไป พุทธธรรมสอนให้ปฏิบตั ิตอ่ ทกุ ขด์ ว้ ยการศึกษาใหร้ วู้ ่าอะไรเปน็ อะไร ให้รู้จกั ทุกข์๑ ยอ่ หนา้ เข้ามาจากขอบซ้ายของกระดาษ ๑.๗๕ ซม. เทา่ กับยอ่ หนา้ ในสว่ นของเนือ้ หา ๑ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับปรงุ และขยายความ, พิมพค์ ร้งั ที่ ๑๓, (กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั สหธรรมกิ จากดั , ๒๕๔๙), หน้า ๗๓.

๑๐๗ I คมู่ ือดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑิตศึกษา ๔.๑.๒ การเรียงลาดับเลขของเชงิ อรรถ เชิงอรรถแรกในแต่ละบท ให้เริ่มต้ังแต่ ๑ และนับต่อเน่ืองไปจนจบบทนั้น ๆ เมื่อเริ่มบท ใหม่ ตอ้ งเรม่ิ ๑ ใหม่เสมอ โดยไมต่ ้องแยกเป็นเชงิ อรรถของหนังสอื ภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษ รูปแบบการลงเชิงอรรถน้ัน แตกต่างกันไปตามชนิดของหลักฐานของการอ้างอิง เช่น หนังสือ บทความในหนังสือ บทความในวารสาร บทความในหนังสือพิมพ์ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ เอกสารที่ยังไม่ตีพิมพ์ และการสัมภาษณ์/การสนทนากลุ่มย่อย ในการพิมพ์เชิงอรรถน้ัน สาหรับ หนงั สือทอ่ี ้างถึงเปน็ ครั้งแรก ในแตล่ ะบท ให้ลงรายการอย่างสมบรู ณ์ ตามแบบอย่างเอกสารประเภท ต่าง ๆ ดงั น้ี รูปแบบการลงเชงิ อรรถในแตล่ ะประเภท ๑) คัมภีรพ์ ระไตรปิฎกหรอื หนังสือสาคัญพมิ พ์เปน็ ชุด ให้อา้ งชอื่ ยอ่ คัมภีร์ เล่ม/ข้อ/หน้า. และใหว้ งเลบ็ คาวา่ (บาลี) ไว้หลังคายอ่ ในกรณที ี่ใช้ พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี หรอื วงเล็บคาว่า (ไทย) ไวห้ ลังคายอ่ ในกรณที ่ีใช้พระไตรปฎิ กฉบับ ภาษาไทย ตวั อย่าง ๑ ข.ุ ชา. (บาล)ี ๒๗/๘๗/๕๓, ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๘๗/๘๗. การอ้างพระไตรปฎิ ก ถา้ เขียนแบบสรปุ ขอ้ ความจากพระไตรปิฎก ซึ่งเมื่อเปิดพระไตรปฎิ ก ที่อา้ งองิ จะไมพ่ บข้อความที่เป็นคาสรุป ให้เขยี นคาวา่ “ดรู ายละเอียดใน...” แลว้ ต่อดว้ ยคมั ภรี ์ ตวั อย่าง มีภิกษุสร้างกุฎีด้วยตนเองบ้าง๑ แต่เนื่องจากภิกษุผู้สร้างกุฎีเองไปขออุปกรณ์การ สรา้ งจากชาวบ้าน การสร้างเองจึงต้องมีขอ้ จากัด๒ ๑ ดูรายละเอียดใน ว.ิ มหา. (บาลี) ๑/๘๔-๘๖/๕๕-๕๗, วิ.มหา. (ไทย) ๑/๘๔-๘๖/๗๔-๗๔. ๒ ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (บาลี) ๑/๓๔๒-๓๗๘/๒๕๗-๒๘๔, วิ.มหา. (ไทย) ๑/๓๔๒-๓๗๘/๓๗๘- ๔๑๐. การอ้างพระไตรปิฎกท่ีเป็นข้อธรรมซึ่งมีเฉพาะหัวข้อ แล้วมีคาอธิบายในหนังสืออ่ืน อัน เป็นความเห็นของผู้เรยี บเรียงหนงั สอื ซง่ึ เมอื่ ดูพระไตรปิฎกท่ีอ้าง จะพบแตข่ อ้ ธรรมเน้อื หาสน้ั ๆ เชน่ พจนานุกรม ให้อา้ งอิงเป็น ๒ ช่วง คือ อา้ งชว่ งข้อธรรมตอนหนงึ่ อา้ งช่วงคาอธบิ ายตอนหน่งึ

บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั I ๑๐๘ ตวั อย่าง พรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา๑ พรหมวิหาร คือธรรมเครื่องอยู่อย่าง ประเสริฐ เป็นธรรมประจาใจและปฏิบตั ิตนตอ่ เพ่อื นมนุษย์โดยชอบ เมตตา ความรัก ปรารถนาดีอยากให้เขามีสุข มีจิตอันแผ่ไมตรีและคิดทาประโยชน์แก่ มนุษย์สัตวท์ ่ัวหน้า กรุณา ความสงสาร คิดช่วยให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจในอันจะปลดเปล้ืองบาบัดความทุกข์ยาก เดอื ดรอ้ นของปวงสัตว์ มุทิตา ความยินดี ในเมื่อผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีจิตผ่องใสบันเทิง กอปรด้วยอาการแช่มช่ืน เบิกบานอยู่เสมอ ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ดารงในปกติสุข พลอยยินดีด้วยเม่ือเขาได้ดีมีสุข เจริญงอกงาม ยิง่ ขนึ้ อุเบกขา ความวางใจเป็นกลาง อันจะให้ดารงอยู่ในธรรมตามท่ีพิจารณาเห็นด้วยปัญญา คือมีจิตเรียบตรงเที่ยงธรรมดุจตราช่ัง ไม่ลาเอียงด้วยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมที่สัตว์ท้ังหลาย กระทาแล้ว อันควรได้รับผลดีหรือชั่ว สมควรแก่เหตุอันตนประกอบ พร้อมที่จะวินจิ ฉัยและปฏิบัตไิ ป ตามธรรม รวมทั้งรู้จักวางเฉย สงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจท่ีควรทา เพราะเขารับผิดชอบตนได้ดีแล้ว เขาสมควรรบั ผิดชอบตนเอง หรือเขาควรไดร้ บั ผลอันสมกบั ความรบั ผดิ ชอบของตน๒ ๑ องฺ.ปญจฺ ก. (ไทย) ๒๒/๑๙๒/๓๑๙. ๒ พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์คร้ังที่ ๑๑, (กรงุ เทพมหานคร: บริษทั สหธรรมกิ จากดั , ๒๕๔๕), หนา้ ๑๒๔. ๒) หนังสอื ๒.๑) หนงั สือทวั่ ไป (General Books) ผแู้ ต่ง, ชอื่ เร่อื ง, ช่ือชดุ และลาดับที่ (ถา้ ม)ี หรอื เลม่ ท่ี (ถ้ามีหลายเล่ม), พมิ พ์คร้งั ที่ (กรณี ท่ีพิมพ์มากกว่า ๑ คร้ัง), (สถานท่ีพิมพ์: สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์, ปีที่พิมพ์), หน้าหรือจานวนหน้าที่ อา้ งถงึ . Author, Title, Edition or ed., (Place: Publisher, Year), page (s). ตวั อยา่ ง ๑ พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), ทิศทางการศึกษาไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๖), หน้า ๔-๕. ๒ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ความเชอ่ื และศาสนาในสงั คมไทย หน่วยที่ ๑-๗, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๕, (นนทบรุ ี: สานกั พิมพ์มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๔๕), หน้า ๑๗-๒๓. ๓ Phramedhidhammaphorn (Prayoon Dhammacitto), An Ancient Greek Philosophy, (Bangkok: The Council of Graduate School’s Monk Students, Mahachulalongkornrajavidyalaya Universiry, 2532 B.E./1989), pp. 38-45. ๔ Walpola Rahula, What the Buddha Taught, (New York: Grove Press, 1962), p. 69.

๑๐๙ I คู่มือดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา หากการอ้างอิงนั้น เป็นการนาข้อความจากดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ของผอู้ ื่นมาใช้ ให้ใชค้ าวา่ “อา้ งใน...” ตวั อย่าง วินัยบญั ญตั มิ เี ปน็ จานวนมาก สมัยแรก ๆ ยงั ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร พระ สาวกได้ท่องจากันมา ผู้ท่ีเช่ียวชาญพระวินัย ก็ทรงจาพระวินัย ผู้ท่ีเช่ียวชาญพระสูตร ก็ทรงจาพระ สูตร ผู้ท่ีเชี่ยวชาญพระอภิธรรม ก็ทรงจาพระอภิธรรม ภิกษุและภิกษุณีผู้ทรงจาพระวินัย เช่ียวชาญ ทางดา้ นพระวนิ ัย เรียกว่า พระวนิ ัยธร หมายถงึ ผู้รแู้ ละเชี่ยวชาญทางพระวนิ ยั โดยท่องจาไว้ได้๒ ๒ Davids, T.W. Rhys and Stede, W., Pali English Dictionary, (Delhi: Motilal Banarsidass, 1977), p. 23, อ้างใน แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม, “การศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาทของพระวินัยธรในพระวินัยปิฎก: กรณีศึกษาพระอุบาลีและพระปฏาจาราเถรี”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๕), หน้า ๓. การอ้างหนังสือทั่วไป ถ้าเขียนแบบสรุปความจากหนังสือน้ัน ให้อ้างอย่างอ้างสรุป พระไตรปิฎกที่กล่าวข้างตน้ คือ ใช้คาว่า “ดรู ายละเอียดใน...” ๒.๒) หนังสือแปล (Translated Books) รูปแบบ ผูแ้ ต่ง, ชอ่ื เรอื่ ง, แปลโดย ชือ่ ผแู้ ปล, ชอ่ื ชุดและลาดับท่ี (ถ้าม)ี หรอื เล่มที่ (ถ้ามีหลายเล่ม จบ), พิมพ์ครั้งที่ (ในกรณีพิมพ์มากกว่า ๑ คร้ัง), (สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์, ปีที่พิมพ์), หนา้ ท่ีหรอื จานวนหนา้ ทอ่ี า้ งถึง. Author, Title, Tr. by Translator, ed., (Place: Publisher, Year), page (s). ตัวอยา่ ง ๑ พระดบั บลิว ราหุล, พระพุทธเจ้าสอนอะไร, แปลโดย ชศู ักด์ิ ทิพย์เกสรและคณะ, พิมพค์ รัง้ ท่ี ๓, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๗), หนา้ ๗๗. ๒ Piyadassi Thera, Buddhism - The Immoral Teaching, Tr. by Chinavudh Sunthornsima, 17th Edition, (Bangkok: Ruankaew Press, 2532/1989), pp. 31 - 32. ๓) บทความ ๓.๑) บทความจากหนงั สอื รวมบทความ (Articles from the Books Edited) รูปแบบ ผเู้ ขยี น, “ชอ่ื บทความ”, ใน ชื่อเรอื่ ง, รวบรวมโดย ชือ่ ผู้รวบรวม, ชอ่ื ชุด (ถา้ ม)ี หรอื เลม่ ท่ี (กรณีมีหลายเล่มจบ), พิมพ์ครั้งท่ี (กรณีท่ีพิมพ์มากกว่า ๑ ครั้ง), (สถานท่ีพิมพ์: สานักพิมพ์ หรือโรง พมิ พ์, ปที ่พี มิ พ์): หน้าหรอื จานวนหน้าที่อา้ งถงึ (ใสเ่ ฉพาะเลขหน้า).

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั I ๑๑๐ Author, “Name of Article”, Title, Name of the Editor (ed), (Place: Publisher, Year): page (s). ตัวอย่าง ๑ พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), “โรงเรียนวิถีพุทธเพื่อสังคมไทย”, ใน รวมบทความทาง วชิ าการพระพุทธศาสนา, รวบรวมจดั พมิ พ์โดย พระศรีธวัชเมธี (ชนะ ป.ธ.๙), (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจฬุ า ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘): ๖๒. ๒ W.T. Stace, “Survival after death”, Philosophical issue, ed. by James Rachels, (London: Harper & Row Publishers, 1972): 87 - 91. รูปแบบ ๓.๒) บทความในวารสาร (Articles in the Journals) ผูเ้ ขยี น, “ช่อื บทความ”, ช่ือวารสาร, เลม่ ท่ีหรือปีท่ี (เดอื น ปี): เลขหนา้ (ใสเ่ ฉพาะตวั เลข). Author, “Title of Article”, Name of Journal, Volume Number (month year): page (s) (number only). ตวั อยา่ ง ๑ ธีรวิทย์ ลักษณะกิ่ง, “ปรัชญาศาสนา”, พุทธจักร, ปีที่ ๔๓ ฉบับที่ ๒ (มกราคม ๒๕๓๓): ๒๖- ๒๙. ๒ K.N., Jayatileke, “The Buddhist Theory of Causality”, The Maha Bodhi, Vol. 77 No. 1 (1969): 10 - 15. รูปแบบ ๓.๓) บทความในหนังสือพมิ พ์ (Columns in the Newspaper) ผู้เขยี น, “ชอ่ื บทความ”, ช่ือหนังสอื พิมพ์, (วนั เดอื น ปี): เลขหนา้ (ใสเ่ ฉพาะตัวเลข). Authors, “Title of Column”, Name of Newspaper, (day/ month/ year): page (s) (number only). ตวั อยา่ ง ๑ พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจติ โฺ ต), “สงครามคูเวต”, สยามรฐั , (๒๑ สงิ หาคม ๒๕๓๓): ๒. ๒ Sommart Noimarerng, “Buddhist to Protest Changes in Curriculum”, The Nation, (2 September 1990): A 2. รปู แบบ ๓.๔) บทความในสารานกุ รม (Articles in the Encyclopedia) ผ้เู ขยี น, “ช่ือบทความ”, ช่อื สารานุกรม, เลม่ ท่ี (ปีท่พี มิ พ์): เลขหน้า (ใส่เฉพาะตวั เลข).

๑๑๑ I คมู่ อื ดษุ ฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑติ ศึกษา Author, “Title of Article”, Name of Encyclopaedia, Volume Number (Year of Publication): page (s) (number only). ตวั อย่าง ๑ เกษม บญุ ศรี, “พุทธวงศ์”, สารานุกรมไทยฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๑ (๒๕๒๙-๓๐): ๑๓๓๙๕-๑๓๔๒๓. ๒ Charles Landesman, Jr., “Consciousness”, The Encyclopedia ofPhilosophy, Vol. 2 (1967): 191 - 195. ๓.๕) บทวิจารณห์ นังสือ (The Critic of Books) รปู แบบ ผู้เขียนบทวจิ ารณ,์ “วิจารณ์เร่ือง”, ชอ่ื หนงั สอื ที่วจิ ารณ์, โดยผู้แต่งหนงั สอื ท่วี จิ ารณ,์ ใน ช่ือวารสาร, ปที ่หี รือเล่มที่ (เดอื น ปี): เลขหนา้ (ใสเ่ ฉพาะตัวเลข). Author of the Critics, “Title of Criticized Book”, written by the Name of Author of criticized books, Name of Journal, Volume Number (month year): page (s) (number only). ตัวอย่าง ๑ พระมหาอินศร จินฺตาปญฺโ , “วิเคราะห์พระเทพเวที กรณีสันติอโศก”, โดย ว. ชัยภัค, ใน พุทธจักร, ปีที่ ๔๔ เล่มท่ี ๔ (เมษายน ๒๕๓๓): ๒๔-๒๖. ๒ Peter Harvey, “The Five Aggregates: Understanding Theravada Psychology and Soteriology”, by Mathieu Boisvert, Journal of Buddhist Ethics, Vol.3 (1996): 91 - 97. ๔) ดุษฎนี ิพนธ/์ วิทยานพิ นธ์ (Dissertation/Thesis) รูปแบบ ช่ือผู้วิจัย, “ชื่อดุษฎีนิพนธ/์ วทิ ยานพิ นธ์”, ระดับของดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์ สาขาวิชา, (คณะหรือบณั ฑิตวิทยาลัย: ชือ่ สถาบัน, ปีทส่ี าเร็จ), หน้า. Name of Researcher, “Title of Dissertation/Thesis”, Level of Dissertation/Thesis field, (Faculty or Graduate School: Name of University which is a Copyright-holder of the Dissertation/Thesis, Year of Graduation/Publication), page (s). ตัวอย่าง ๑ พระครปู ระคุณสรกจิ (สชุ าติ ชโิ นรโส), “การศกึ ษาวิธีการสอนวปิ สั สนากรรมฐาน ตามแนวทาง ของสานักวิปสั สนาวเิ วกอาศรม”, วิทยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา, (บัณฑติ วิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๗), หน้า ๓๐. ๒Ven. Skalzang Dolma, “An Analytical Study of the Emptiness in the Prajñāpāramitā Hṛdaya Sūtra and in Mahāyāna Schools with Special References to their Commentaries”, A Dissertation of Doctor of Philosophy in Buddhist Studies, (Graduate School: Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 2015), page 30.

บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย I ๑๑๒ ๓Phramaha Apinyawat Phosan, “A Comparative Study of Woman’s Socio-familial Life-ways in Vedic Hinduism and Theravāda Buddhism”, A Dissertation of Doctor of Philosophy in Buddhist Studies, (The Department of Philosophy: University of Madras, 2001), p. 30. ๕) รายงานวจิ ยั รปู แบบ ชอ่ื ผู้วจิ ยั (และคณะ), “ช่อื หัวขอ้ รายงานการวจิ ยั ”, รายงานวิจัย, (ชือ่ แผนกวิชา กองหรอื คณะ: สถาบัน มหาวทิ ยาลัย หรือกระทรวง, ปีที่พิมพ์), หน้า. ตัวอย่าง ๑ มนัส ภาคภูมิ, “ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จของเจ้าอาวาสในการพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลาง ชมุ ชน”, รายงานวจิ ัย, (กองแผนงาน: กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๔๐), หนา้ ๑๐. ๖) เอกสารอ่นื ๆ ท่ไี มไ่ ดต้ ีพมิ พ์ (Other Unprinted Documents) ให้ใช้รปู แบบเหมอื นการลงเชงิ อรรถ ยกเว้นช่ือเรอ่ื งใส่ไว้ในเคร่อื งหมายอัญประกาศ และ ระบุลักษณะของเอกสารน้ัน เช่น อัดสาเนา หรือ Mimeographed พิมพ์ดีด หรือ Typewriter แลว้ แต่กรณี ไว้ในเคร่ืองหมายวงเล็บตอนสุดท้ายของรายการ ตัวอย่าง ๑ พระมหาสมชัย กุสลจิตฺโต, “ทัศนะเรื่องจิตในพระพุทธปรัชญา”, เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าพทุ ธปรชั ญา, (บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๓), (อัดสาเนา). ๒ P. Prayoon Dhammacitto (Mererk), “Buddhism and World Peace”, Paper Presented at the 16th General Conference of the World Fellowship of Buddhists, (Los Angeles: November 19 - 26, 1988), (Mimeographed). ๗) สัมภาษณ์ (Interviews)/สนทนากลุม่ (Focus Group) รูปแบบ สมั ภาษณ์ ช่ือผใู้ ห้สัมภาษณ์, ตาแหนง่ (ถ้าม)ี , วัน เดอื น ปี (ท่ีสัมภาษณ์). สนทนากลมุ่ ชอื่ ผู้เข้ารว่ มสนทนา, ตาแหนง่ (ถา้ มี), วันที่ เดือน ปีท่ีจัดสนทนากล่มุ . Interview/ Focus Group with the name of one who gives an interview, position (if any), day month year. ตวั อย่าง ๑ สัมภาษณ์ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยรู ธมมฺ จิตโฺ ต), ศ. ดร., อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลัย, ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐. ๒ Interview with Phra Dharmakosajarn (Prayoon Dhammacitto), Prof. Dr., Rector of Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 16 July 2007. ๓สนทนากลุม่ พระศรสี นุ ทรโวหาร (สุนทร สุทธฺ ธิ มฺโม), เจ้าอาวาสวดั ลุม่ ประชาธรรม, ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. ๔ สนทนากลมุ่ พระมหาวรวทิ ย์ วรกวี, เจ้าอาวาสวัดสองหลัก, ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. ๕ สนทนากลุ่ม พระอธกิ ารคม อธิจติ ฺโต, เจ้าอาวาสวัดเสาหนิ , ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑.

๑๑๓ I คู่มอื ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ๘) ระเบยี บ คาส่งั ขอ้ บังคบั กฎหมาย พระราชบัญญัติ ฯลฯ ทไี่ ม่ปรากฏผูแ้ ตง่ รปู แบบ “ช่ือเร่ือง”, หนังสือรวมประกาศ/เอกสารสาคัญทางราชการ ปีท่ีหรือเล่มที่, ฉบับที่ (เดือน ปที ่พี ิมพ์): เลขหนา้ . ตวั อยา่ ง ๑“พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518”, ราชกจิ จานุเบกษา 92 (กมุ ภาพนั ธ์ 2518): 120. ๒“ประกาศ ก.พ.อ. เรอื่ ง หลกั เกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรับการเผยแพรผ่ ลงาน ทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๖”, ราชกิจจานเุ บกษา ๑๓๐ (ตุลาคม ๒๕๕๖): ๑๔. ๔.๑.๓ การลงเชงิ อรรถ เม่ืออ้างถงึ เอกสารซา ในกรณที ีม่ กี ารอา้ งเอกสารเรอื่ งเดยี วกนั ซา้ อีก ให้ลงรายการดงั ต่อไปนี้ การอ้างเอกสารเชิงอรรถโดยไม่มีเอกสารอ่ืนมาคั่น ซึ่งเป็นการอ้างถึงเอกสารเรื่อง เดียวกัน แต่ต่างหน้ากัน ให้ใช้คาว่า เรื่องเดียวกัน สาหรับภาษาไทย และใช้คาว่า Ibid. สาหรับ ภาษาอังกฤษ พร้อมลงเลขหน้าหรือจานวนหน้ากากับด้วย เช่น เร่ืองเดียวกัน, หน้า ๑๓. หรือ Ibid., p. 13. หรอื Ibid., pp. 5-20. ถ้าต้องการอา้ งซาขอ้ ความท่ไี ดอ้ า้ งแล้วโดยไมม่ เี อกสารอ่นื มาคนั่ (หมายถึง เป็นเอกสาร เรื่องเดยี วกัน หน้าเดียวกนั ใหใ้ ช้คาว่า อา้ งแล้ว หรือ Loc. cit. การอ้างถึงเอกสารเรื่องเดยี วกันหรือขอ้ ความเดยี วกนั ซ้าอกี โดยมเี อกสารอื่นมาค่นั ให้ลง รายการอย่างยอ่ คือ ลงชอ่ื ผู้แตง่ และชอ่ื เร่ือง ส่วนรายการเกีย่ วกบั สถานที่พมิ พ์ สานกั พมิ พ์ ปที ีพ่ ิมพ์ ใหต้ ดั ออก และใหเ้ ติมเลขหนา้ ต่อจากชื่อเรอ่ื งกากับดว้ ย เช่น ๑ พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยรู ธมฺมจติ ฺโต), ปรชั ญากรีกโบราณ, หนา้ ๑๕-๒๐. หรอื ๑ Phramedhidhammaphorn (Prayoon Dhammacitto), An Ancient Greek Philosophy, pp. 15-20. ในกรณที ีช่ ่ือเรือ่ งยาวเกนิ หนึ่งบรรทดั แลว้ อ้างถงึ หลายครัง้ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของผเู้ ขียนท่ี จะย่อชอื่ เรือ่ งใหส้ นั้ ลง แต่จะต้องไมใ่ ห้เสียใจความสาคัญ และใช้รูปแบบเดียวกันทั้งเลม่ ตวั อยา่ งเชงิ อรรถภาษาไทย ๑ พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต), กรรมตามนัยแหง่ พทุ ธธรรม, (กรงุ เทพมหานคร: มลู นธิ พิ ุทธธรรม, ๒๕๒๙), หนา้ ๒๗. ๒ พทุ ธทาสภิกขุ, อทิ ปั ปัจจยตา (ฉบบั ยอ่ ), (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สขุ ภาพใจ, ๒๕๓๓), หน้า ๑๒๔. ๓ วิทย์ วิศทเวทย์, ความคิดเรื่องอนัตตาในพระสตู ร, (กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๘), หน้า ๒๐. ๔ พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต), กรรมตามนัยแหง่ พุทธธรรม, หนา้ ๓๑. ๕ เร่ืองเดียวกัน, หนา้ ๓๕. (หมายถึง เรอ่ื งกรรมตามนัยแหง่ พทุ ธธรรม หน้า ๓๕) ๖ อ้างแลว้ . (หมายถงึ เรอ่ื งกรรมตามนัยแห่งพุทธธรรม หนา้ ๓๕)

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย I ๑๑๔ ตัวอยา่ งเชงิ อรรถภาษาอังกฤษ 1 P. Prayoon Mererk, Selflessness in Sartres Existentialism and Early Buddhism, (Bangkok: Mahachulalongkorn Buddhist University, 1988), p. 93. 2 Chinda Chandrkaew, Nibbana the Ultimate Truth of Buddhism, (Bangkok: Mahachulalongkorn Buddhist University, 1979), p. 88. 3 P. Prayoon Mererk, Selflessness in Sartres Existentialism and Early Buddhism, p.102. 4 Ibid., p. 99. 5 Loc. cit. ตวั อย่างการพมิ พ์อญั ประกาศสัน ๆ และเชิงอรรถ กล่าวโดยย่อจริยธรรมหรือการรู้จักถือเอาประโยชน์จากหลักอนิจจตามี ๒ ขั้นตอน คือ ขั้นตอนท่ีหน่ึง เมื่อประสบความเปล่ียนแปลงท่ีไม่ปรารถนา ก็บรรเทาหรือกาจัดทุกข์โศกได้ เมื่อ ประสบความเปลีย่ นแปลงทพ่ี ึงใจ ก็ไม่หลงใหลมัวเมา เพราะรเู้ ทา่ ทันกฎธรรมดา ขน้ั ตอนทสี่ อง เร่ง ขวนขวายทากิจทีค่ วรทาตอ่ ไปให้ดีท่ีสดุ และทาด้วยจิตใจที่เปน็ อสิ ระ เพราะร้วู า่ ความเปลี่ยนแปลงนั้น เป็นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ใช่เป็นไปเองหรือเลื่อนลอย หรือตามความปรารถนาของเรา ผู้ท่ีเห็นว่าสิ่ง ทัง้ หลาย ไม่ย่ังยนื ย่อมเปลยี่ นแปลงไป จะทาอะไรไปทาไม และปล่อยชีวิตให้เลื่อนลอย ปล่อยอะไร ๆ ไปตามเร่ือง แสดงถงึ ความเขา้ ใจผิดและปฏบิ ัตผิ ิดตอ่ หลักอนจิ จตา ขดั กบั พทุ โธวาทที่เป็นปจั ฉมิ วาจา ว่า “สังขารทั้งหลาย มีความเส่ือมไปเป็นธรรมดาเธอทั้งหลาย จงทาหน้าท่ีให้สาเร็จด้วยความ ไมป่ ระมาทเถิด”๑ ๑ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๒๑๘/๑๖๖. ๔.๑.๔ เชิงอรรถประเภทส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แหลง่ สารนิเทศท่ีบันทกึ อยู่ในสอ่ื ทค่ี อมพิวเตอร์อา่ นได้ เช่น แผน่ ดิสเก็ต ซีดี-รอม ฐานข้อมูลตา่ ง ๆ ในระบบสายตรง (Online) อินเทอร์เนต็ เปน็ ตน้ การลงรายการบรรณานุกรมส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ใหใ้ ช้ข้อกาหนดเดียวกนั กับการลงรายการ บรรณานุกรมของหนังสือและวัสดุอ้างอิงประเภทต่าง ๆ ตามท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น แต่อาจจะเป็น ข้อมูลที่มีลกั ษณะเฉพาะทีต่ อ้ งการลงรายการแตกต่างออกไปเช่น ๑) แผ่นดิสเก็ต และซีดี-รอมทเ่ี ปน็ ผลงานเดยี่ ว ผู้แต่ง, ช่อื เรื่อง, [ประเภทของสื่อ], สถานที่ผลิต: ช่อื แหลง่ ผลติ , ปีที่ผลติ . ตวั อยา่ ง ปราณี แสนทวีสขุ , การแสดงพนื บา้ นไทย, [ซดี ี-รอม], กรงุ เทพมหานคร: ไทยอนิ ฟอร์เมช่นั พบั ลชิ ช่งิ ซีสเต็ม, ๒๕๔๐.

๑๑๕ I คู่มือดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ๒) สาระสังเขปบนซีดี-รอม ผู้แต่ง, ชื่อเรอื่ ง, [ประเภทของสอื่ ], สาระสังเขปจาก: ชื่อฐานขอ้ มูล/ช่อื แฟ้มขอ้ มูล/ หมายเลขขอ้ มลู (ถา้ มี),ปีท่ีผลติ . ตวั อย่าง ปราณี แสนทวีสขุ , การนาเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นาทางวชิ าการสาหรับผ้บู รหิ าร สถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพนื ท่กี ารศึกษาอ่างทอง, [ซดี ี-รอม], สาระสังเขปจาก: ฐานข้อมูลดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ไทย (๒๕๔๖) แผ่นที่ ๒, ๒๕๔๗. ๓) บทความ/สาระสังเขปออนไลน์ ผแู้ ต่ง, ชือ่ เร่ือง, [ประเภทของสือ่ ], แหล่งทม่ี า: ช่ือแหลง่ ขอ้ มลู [วัน เดอื น ปี ท่เี ขา้ ถึง ข้อมลู ]. (ใส่เฉพาะวัน เดือน ป)ี ตวั อย่าง วิทยากร เชยี งกูล, คดิ ถูกทาถูก: ปฏิรปู การสื่อสารและสอ่ื สารมวลชน, [ออนไลน์], แหล่งทมี่ า: http://www.rsu.ac.th/thai/Opinion-think-default.html [๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓]. ๔) บทความในวารสารอิเล็กทรอนกิ ส์ ผแู้ ตง่ , (วนั เดือน ป)ี , “ชอื่ บทความ”, ช่อื วารสาร, [ประเภทของส่อื ], ปที ่ี (ฉบับที่): เลข หนา้ หรอื ความยาวของเนื้อเร่อื ง, แหล่งทมี่ า: ชอื่ แหล่งข้อมูล [วัน เดอื น ปี ท่เี ข้าถึงข้อมลู ]. (ใส่เฉพาะ วัน เดือน ป)ี ตวั อย่าง ปราณี แสนสขุ , (2 ม.ี ค. 44), “การจดั องคก์ รเทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ้ หมาะสมกบั สิง่ แวดล้อม องค์กร”, KU Electronic Magazine, [ออนไลน์], 3 (2): 7 ยอ่ หน้า, แหลง่ ท่ีมา: http://www.ku.ac.th/e- magazine/march44/it/organize.html [2 มนี าคม 2546]. ๕) บทความในหนังสือพิมพอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ผู้แตง่ , (วนั เดอื น ปี), “ช่ือบทความ”, ชอื่ หนังสอื พิมพ์, [ประเภทของสื่อ], ปีท่ี (ฉบบั ท่)ี : เลขหนา้ หรอื ความยาวของเนื้อเรื่อง, แหลง่ ท่มี า: ชอื่ แหลง่ ขอ้ มูล [วนั เดือน ปี ทเี่ ขา้ ถงึ ข้อมูล]. (ใส่ เฉพาะวนั เดือน ป)ี ตวั อยา่ ง ลม เปล่ียนทิศ, (๑๙ ธ.ค. ๔๘), “หมายเหตุประเทศไทย: สังคมไทยกาลังป่วยหนัก”, ไทยรัฐ, [ออนไลน์], ๑๒ ย่อหน้า, แหล่งที่มา : http://www.thairath.co.th/thairath1/2548/ column/remark/ dec/19_12_48.php [๒๐ ธนั วาคม ๒๕๔๘].

บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย I ๑๑๖ ๖) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ช่อื ผ้สู ง่ (ทอ่ี ยู่ทางอเี มล) เร่อื งทสี่ ่ง, ผูร้ บั หรือ e-mail to ชอื่ ผู้รับ (ทอี่ ยู่ทางอเี มล), (วนั เดือน ปี). (ใส่เฉพาะวัน เดอื น ปี) ตัวอยา่ ง วรวฒุ ิ อรชนุ ([email protected]), ระบบการจัดเกบ็ เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ ส,์ ผูร้ ับ พนติ นันต์ อุดมทรพั ย์ ([email protected]), (๕ สิงหาคม ๒๕๕๑). ๔.๒ การทาบรรณานุกรม: บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง บัญชีรายชื่อหนังสือท่ีใช้ประกอบการค้นคว้า หรือบัญชีรายช่ือหนังสือในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหน่ึง ยุคใดยุคหน่ึง หรือ ของผู้เขียนคนใดคนหนึ่ง มักมี รายละเอียดหรือบทวิจารณ์สั้น ๆ ประกอบ โดยให้พิมพ์คาว่า บรรณานุกรม ไว้ตรงกลางบรรทัด บนสุดของหน้าแรกของบรรณานุกรม โดยพิมพ์ห่างจากขอบบน ๑.๕ น้ิว (๓.๘๑ ซม.) ต่อจากนั้น ให้ เว้นระยะห่างระหว่างบรรทัด โดยกาหนดท่ีก่อนหน้าไว้ท่ี ๑๒ พอยท์ แล้วพิมพ์โดยแยกตามประเภท ของเอกสารดังตอ่ ไปนี้ - คมั ภรี พ์ ระไตรปิฎก ปกรณว์ เิ สส อรรถกถา ฎีกา อนุฎกี า และคัมภรี อ์ ืน่ ๆ - หนังสือทัว่ ไป - หนงั สือแปล - บทความตา่ ง ๆ (บทความในวารสาร หนังสือพมิ พ์ สารานุกรม หนังสือรวมบทความและ บทวจิ ารณ์หนังสอื ) - เอกสารอนื่ ๆ (ดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ รายงานวิจยั รายงานการประชุมทางวิชาการ จุล สารเอกสารอัดสาเนา และเอกสารอนื่ ๆ ท่ีไม่ไดต้ ีพิมพ์) - สัมภาษณ์/สนทนากลมุ่ - เอกสารไมป่ รากฏผแู้ ต่ง เชน่ พระราชบญั ญตั ิต่าง ๆ หรือประกาศหนว่ ยงานราชการ เปน็ ตน้ - สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ให้พิมพ์บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิงในแต่ละประเภท โดยแยกประเภทหนังสือเป็น ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ และพิมพ์แยกตามประเภทดังกล่าวข้างต้น โดยจัดเรียงบรรณานุกรมหรือ เอกสารอ้างอิงในแต่ละประเภท ตามลาดับอักษรของชื่อผู้แต่งหรือช่ือเร่ือง (กรณีที่ไม่ปรากฏนามผู้ แต่ง) ในกรณีที่มีเอกสารอ้างอิงจานวนไม่มาก จะใช้วิธีเรียงตามลาดับอักษรของช่ือผู้แต่งหรอื ชอ่ื เรอื่ งโดยไม่แยกประเภทเอกสารได้ ถ้ามีบรรณานุกรมภาษาต่างประเทศด้วย ให้พิมพ์แยกต่างหากจากภาษาไทย โดยถือ หลกั เชน่ เดียวกนั กับบรรณานุกรมภาษาไทย คือ แยกประเภทและเรียงลาดับอักษรชื่อของผู้แต่ง ใน กรณีทีม่ ีจานวนไมม่ ากจะไม่แยกประเภทก็ได้

๑๑๗ I คูม่ อื ดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา การพิมพ์บรรณานุกรมให้เร่ิมพิมพ์แต่ละรายการ โดยพิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย ถ้า รายการใดไม่จบลงใน ๑ บรรทดั ใหพ้ มิ พ์ในบรรทดั ต่อมาโดยยอ่ หน้า ๘ ช่วงตัวอกั ษร เรมิ่ พิมพอ์ กั ษร ตวั ที่ ๙ จนกวา่ จะจบรายการน้ัน ๆ ตัวอยา่ ง ๑. ภาษาไทย ก. ขอ้ มูลปฐมภูมิ (คมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนา) ข. ข้อมูลทุติยภูมิ (หนังสือ และ/หรือ บทความในหนังสือ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ บทความ และ/หรอื บทความในวารสาร, หนังสอื พิมพ์, สารานุกรม และเอกสารอ่นื ๆ รวมท้ังจุลสาร, เอกสารอัดสาเนาตา่ ง ๆ และการสมั ภาษณ)์ ๒. ภาษาองั กฤษ A. Primary Sources ใช้หลักการเดียวกับภาษาไทย B. Secondary Sources หมายเหตุ: รายละเอยี ดการอ้างอิงแตล่ ะประเภท ให้ทาตามรปู แบบท่จี ะนาเสนอต่อไป ๔.๒.๑ รปู แบบการทาบรรณานุกรม โดยหลักการของรูปแบบบรรณานุกรมนัน้ จะลอ้ ตามรูปแบบการลงเชงิ อรรถ เพยี งเปลยี่ น เคร่ืองหมาย (,) ทั้งหมดเป็น (.) ยกเว้น หน้าปี ให้คงเคร่ืองหมาย (,) ไว้เท่าน้ัน อย่างไรก็ตาม ให้ลง บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ตามรปู แบบซง่ึ กาหนดไว้ตามประเภทของเอกสาร ดังนี้ ๑) คัมภีรพ์ ระไตรปฎิ กและหนงั สอื ทั่วไป รปู แบบ ผูแ้ ตง่ . ชื่อเร่ือง. ช่อื ชดุ หนังสือและลาดับท่ี (ถ้ามี) และ/หรือ จานวนเลม่ (ถา้ มหี ลายเลม่ จบ). พมิ พค์ รั้ง ที่ (ถา้ พิมพ์มากกว่า ๑ ครงั้ ). สถานทีพ่ มิ พ์: สานักพมิ พ์หรอื โรงพิมพ์, ปที ่พี มิ พ์. ตวั อยา่ งภาษาไทย พระราชวรมนุ ี (ประยุทธ์ ปยุตโฺ ต). พทุ ธธรรม ฉบบั ปรบั ปรงุ และขยายความ. พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๖. กรงุ เทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๘. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. ตัวอยา่ งภาษาองั กฤษ Phramaha Prayoon Mererk. Selflessness in Sartes Existentialism and Early Buddhism. Bangkok: Mahachulalongkorn Buddhist University Press, 1988. Rahula, Walpola. What the Buddha Taught. New York: Grove Press, 1963.

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั I ๑๑๘ หมายเหตุ: บรรณานุกรมในหนงั สอื ภาษาไทย ใหเ้ รียงชอ่ื ตามดว้ ยนามสกุล และ/หรือ ฐานันดรศกั ดิ์ (ถ้ามี) เช่น คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว., สมภาร พรมทา ฯลฯ ส่วนบรรณานุกรมในหนังสอื ภาษาอังกฤษ ให้เรียงนามสกุลขึ้นก่อน แล้วตามด้วยช่ือของผู้แต่ง เช่น Rahula, Walpola. ในกรณีท่ีผู้แต่งเป็นพระภิกษุ ใหพ้ ิมพช์ ือ่ – ฉายา ตามจริง เชน่ พระมหาราชัน จิตตฺ ปาโล หากมีสมณศักด์ิ ให้ใสส่ มณศกั ดติ์ ามชื่อ โดยไม่ตอ้ งแยกคาวา่ พระมหา/ พระ ตามด้วยชื่อ- ฉายาในวงเล็บ เช่น พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร มีฤกษ์) พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พระราชปรยิ ตั กิ วี (สมจนิ ต์ สมฺมาปญโฺ โดยไม่ต้องใส่ตาแหนง่ ทางวชิ าการ ๒) หนงั สือแปล รปู แบบ ผู้แต่ง. ชื่อเร่ือง. แปลโดย ช่ือผู้แปล. พิมพ์คร้ังท่ี (ถ้าพิมพ์มากกว่า ๑ คร้ัง). สถานที่พิมพ์: สานกั พิมพ,์ ปีทพี่ ิมพ.์ ตวั อย่าง พระดับบลิว ราหลุ . พระพทุ ธเจ้าสอนอะไร. แปลโดย ชศู กั ดิ์ ทพิ ย์เกสร และคณะ. พิมพ์ครงั้ ท่ี ๓. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๗. Kant, Immanuel. Critique of Pure Reason. Tr. by Narman Kemp Smith. London: The Macmillan Press, 1978. ๓) บทความ รูปแบบ ๓.๑) บทความในวารสาร ผู้เขียน. “ชื่อบทความ”. ช่ือวารสาร. ปีท่ี ฉบบั ที่ (เดือน ปี): เลขหนา้ (ใสเ่ ฉพาะเลขหน้า). ตวั อยา่ ง ธรี วทิ ย์ ลกั ษณะกง่ิ . “ปรชั ญาศาสนา”. พทุ ธจกั ร. ปที ่ี ๔๓ ฉบับที่ ๒ (มกราคม ๒๕๓๓): ๒๖ - ๒๙. Jayatileke, K.N. “The Buddhist Theory of Causality”. The Maha Bodhi. Vol. 77 No. 1:10 - 15. รปู แบบ ๓.๒) บทความในหนงั สอื พมิ พ์ ผ้เู ขียน. “ช่ือบทความ”. ชื่อหนังสือพิมพ.์ ฉบบั ที่ (วนั เดอื น ปี): เลขหน้า (ใสเ่ ฉพาะเลขหนา้ ). ตัวอย่าง พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). “สงครามคูเวต”. สยามรฐั . ฉบับที่ ๓ (๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๓): ๒. Noimarerng, Sommart. “Buddhist to Protest Changes in Curriculum”. The Nation. 3 (2 September 1990): A 2.

๑๑๙ I คู่มอื ดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา รปู แบบ ๓.๓) บทความในสารานกุ รม ผเู้ ขยี น. “ชอื่ บทความ”. ชอ่ื สารานุกรม. เล่มท่ี (ปที พ่ี ิมพ์): เลขหน้า (ใส่เฉพาะเลขหนา้ ). ตัวอยา่ ง เกษม บุญศร.ี “พทุ ธวงศ์”. สารานุกรมไทยฉบับราชบณั ฑิตยสถาน. เล่มที่ ๒๑ (๒๕๒๙ - ๒๕๓๐): ๑๓๓๙๕ - ๑๓๓๙๒๓. Landesman, Charles. “Consciousness”. The Encyclopedia of Philosophy. Vol. 2 (1967): 191 - 195. ๓.๔) บทความจากหนงั สอื รวบรวมบทความ รปู แบบ ผเู้ ขียน. “ช่ือบทความ”. ใน ชื่อเรอ่ื ง. หน้า. ชอ่ื บรรณาธกิ ารหรือผรู้ วบรวม. สถานทพ่ี มิ พ์: สานกั พิมพ์, ปีทพ่ี มิ พ.์ ตวั อยา่ ง พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). “โรงเรียนวิถพี ุทธเพ่ือสงั คมไทย”. ใน รวมบทความทางวิชาการพระพุทธศาสนา. หน้า ๑๐-๑๕. รวบรวมจัดพิมพโ์ ดย พระศรธี วชั เมธี (ชนะ ป.ธ. ๙). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๘. รปู แบบ ๓.๕) บทวจิ ารณ์หนงั สอื ผู้เขียนบทวิจารณ์. “ช่ือเรื่องท่ีวิจารณ์”. ชื่อหนังสือท่ีวิจารณ์. โดยผู้แต่งหนังสือท่ีวิจารณ์. ใน ช่ือวารสาร. ปที ี่หรอื เลม่ ท่ีพิมพ์หรอื ฉบับที่ (เดอื น ปี): เลขหนา้ (ใสเ่ ฉพาะเลขหนา้ ). ตัวอยา่ ง พระมหาอินศร จินฺตาปญฺโ . “วเิ คราะหพ์ ระเทพเวที”. กรณีสนั ตอิ โศก. โดย ว. ชยั ภคั . ใน พทุ ธจักร. ปที ี่ ๔๔ เล่มที่ ๔ (เมษายน ๒๕๓๓): ๒๔ - ๒๖. Harvey, Peter. “The Five Aggregates: Understanding Theravada Psychology and Soteriology”, by Mathieu Boisvert. Journal of Buddhist Ethics. Vol. 3 (1996): 91 - 97. ๔) ดษุ ฎีนิพนธ/์ วทิ ยานพิ นธ์ รปู แบบ ช่ือผู้วจิ ัย. “ชอื่ ดุษฎีนิพนธ์/วทิ ยานพิ นธ์”. ระดบั ของดษุ ฎีนิพนธ/์ วิทยานพิ นธ์ สาขาวชิ า. คณะ หรอื บัณฑติ วิทยาลยั : ช่ือสถาบนั , ปที ส่ี าเร็จ. ตัวอย่าง พระครูประคณุ สรกิจ (สุชาติ ชิโนรโส). “การศกึ ษาวธิ กี ารสอนวปิ ัสสนากรรมฐาน ตามแนวทางของสานกั วปิ สั สนา วิเวกอาศรม”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗.

บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั I ๑๒๐ ๕) เอกสารอ่ืน ๆ ทไี่ มไ่ ดต้ ีพิมพ์ ใหใ้ ชร้ ูปแบบเดียวกันกบั การลงเชิงอรรถ ยกเวน้ ชื่อเรอ่ื งใหใ้ ส่ไว้ในเครือ่ งหมายอญั ประกาศ และต้องระบุลักษณะของเอกสารน้ัน เช่น อัดสาเนา หรือ Mimeographed พิมพ์ดีด หรือ Typewritter แล้วแตก่ รณี ไว้ในเคร่ืองหมายวงเลบ็ ตอนสดุ ท้ายของรายการ ตวั อยา่ ง พระมหาสมชยั กสุ ลจติ ฺโต. “ทรรศนะเรื่องจิตในพุทธปรัชญา”. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาพทุ ธปรัชญา. บณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๒. (อัดสาเนา). Phramaha Prayoon Mererk. “Buddhism and World Peace”. Paper at the 16th General Conference of the World Fellowship of Buddhist. Los Angeles, November 19-26, 1988. (Mimeographed). ๖) บทสมั ภาษณ/์ สนทนากลมุ่ รปู แบบ สัมภาษณ์ ช่ือผู้ใหส้ มั ภาษณ์. ตาแหน่ง (ถา้ มี), วนั ที่ เดือน ปีที่สัมภาษณ.์ สนทนากลุ่ม ช่ือผูเ้ ข้ารว่ มสนทนา. ตาแหน่ง (ถา้ มี), วนั ที่ เดือน ปจี ัดสนทนากลมุ่ . ตวั อย่าง สมั ภาษณ์ พระธรรมโกศาจารย,์ ศ. ดร. (ประยรู ธมมฺ จิตโฺ ต). อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐. Interview Phra Dharmakosajarn, Prof. Dr. ( P r a y o o n D h a m m a c i t t o ) . R e c t o r Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 16 July 2007. สนทนากลุ่ม พระศรสี นุ ทรโวหาร (สุนทร สทุ ฺธิธมโฺ ม). เจ้าอาวาสวัดลุม่ ประชาธรรม, ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. พระมหาวรวิทย์ วรกวี. เจ้าอาวาสวดั สองหลกั , ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. พระอธิการคม อธิจิตโฺ ต. เจ้าอาวาสวดั เสาหนิ , ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. ๗) จุลสาร เอกสารอดั สาเนา และเอกสารที่ไม่ได้ตพี ิมพ์อ่นื ๆ ให้ใช้รูปแบบเดียวกันกับหนังสือ ยกเว้นช่ือเร่ืองให้ใส่ไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศ และ ต้องระบุลักษณะของเอกสารนั้น เช่น อัดสาเนา หรือ Mimeographed พิมพ์ดีด หรือ Typewriter แลว้ แตก่ รณี ไวใ้ นเครอ่ื งหมายวงเลบ็ ตอนสดุ ทา้ ยของรายการ ตัวอย่าง พระมหาสมชยั กสุ ลจิตฺโต. “ทรรศนะเรื่องจิตในพทุ ธปรชั ญา”. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าพทุ ธปรัชญา. บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒. (อดั สาเนา).

๑๒๑ I คูม่ ือดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑติ ศึกษา ๔.๒.๒ ตัวอย่างการพิมพบ์ รรณานกุ รม บรรณานกุ รม (๒๐ พอ้ ยท,์ ตัวหนา) ๑. ภาษาไทย (๑๘ พอ้ ยท์, ตัวหนา, before 12) ก. ข้อมูลปฐมภูมิ ๑ (๑๖ พอ้ ยท์, ตัวหนา before 6) มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจฬุ าเตปิฏก ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๕. _________. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๙. มหามกุฏราชวทิ ยาลัย. พระไตรปฎิ กภาษาบาลี ฉบบั สยฺ ามรฏฺ เตปิฏก ๒๕๒๕. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๕. _________. พระไตรปิฎกพรอ้ มอรรถกถา แปล ชดุ ๙๑ เล่ม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๔. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . ปกรณวิเสสภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาปกรณวเิ สโส. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พว์ ญิ ญาณ, ๒๕๓๙. ________. อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺ กถา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๒. ________. ฎีกาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาฎีกา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั , ๒๕๓๙. ข. ข้อมลู ทุตยิ ภมู ิ (๑) หนังสอื : จานงค์ ทองประเสรฐิ . ประวตั พิ ระพุทธศาสนาในเอเชียอาคเณย์. พระนคร: มูลนธิ ิอภิธรรมมหาธาตุ วทิ ยาลัย, ๒๕๑๔. เสฐยี ร พันธรงั ษ.ี ศาสนาโบราณ. กรงุ เทพมหานคร: แผนกวชิ าการ คณะกรรมการบริหาร กรรมการ นิสิต มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๑. เสฐยี รพงษ์ วรรณปก. พุทธวจนะในธรรมบท. กรงุ เทพมหานคร: ชอ่ มะไฟ, ๒๕๓๑. แสง จนั ทรง์ าม. พระพทุ ธศาสนาจากพระโอษฐ์. กรุงเทพมหานคร: บรรณาคาร, ๒๕๒๓. (๒) ดษุ ฎนี พิ นธ/์ วทิ ยานพิ นธ/์ สารนิพนธ:์ อุษา โลหะจรูญ.“การศึกษาชีวิตและผลงานด้านวรรณกรรมพระพุทธศาสนามหายานของสมณะ เสวียนจั้ง (พระถังซัมจ๋ัง)”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา พระพทุ ธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๖. ๑ขอ้ มูลปฐมภมู นิ ี้ เนน้ การวจิ ยั เชงิ คมั ภรี ์ในสาขาวชิ าพระพุทธศาสนาและปรัชญา สาหรบั ขอ้ มลู ปฐมภูมิ ในสาขาวิชาอน่ื ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามทีส่ าขาวชิ านั้น ๆ เหน็ สมควร

บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั I ๑๒๒ (๓) รายงานวิจยั : มนสั ภาคภูมิ. “ปจั จัยที่สง่ ผลต่อความสาเร็จของเจ้าอาวาสในการพฒั นาวัดให้เปน็ ศูนย์กลางชุมชน”. รายงานวจิ ัย. กองแผนงาน: กรมการศาสนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๐. (๔) บทความ: ธรี วทิ ย์ ลักษณะก่ิง. “ปรชั ญาศาสนา”. พุทธจกั ร. ปที ่ี ๔๓ ฉบบั ท่ี ๒ (มกราคม ๒๕๓๓): ๒๖ - ๒๗. พระมหาพรชัย สริ วิ โร, ดร. และคณะ. “มโนทัศนว์ ่าดว้ ยธรรมะในมุมมองของ ดร. บี อาร์ อมั เบด็ การ์ ตามคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีท่ี ๑๔ ฉบับท่ี ๒ (พฤษภาคม-สงิ หาคม ๒๕๖๑): ๑๖๕ - ๑๗๓. สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน). “หลักพระพุทธศาสนา”. สมาธิ. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๐ (ม.ป.ป.): ๔๖ - ๕๒. (๕) เอกสารท่ีไม่ได้ตีพิมพเ์ ผยแพร่และเอกสารอนื่ ๆ: พระมหาสมจินต์ วันจันทร์ แปลและเรียบเรียง. “พระพุทธศาสนามหายาน”. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๖. (ถา่ ยเอกสารเย็บเลม่ ). พระมหาสมชยั กสุ ลจติ โฺ ต. “ทรรศนะเรือ่ งจิตในพุทธปรชั ญา”. เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชา พุทธปรัชญา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒. (อัดสาเนา). (๖) สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส:์ ลม เปล่ียนทิศ (๑๙ ธ.ค. ๔๘). “หมายเหตุประเทศไทย: สังคมไทยกาลังป่วยหนัก”. ไทยรัฐ. [อ อ น ไ ล น์ ]. ๑ ๒ ย่ อ ห น้ า . แ ห ล่ ง ท่ี ม า : http://www.thairath.co.th/thairath1 /2548/column/ remark/dec/19_12_48.php [๒๐ ธนั วาคม ๒๕๔๘]. วิทยากร เชียงกูล. คิดถูกทาถูก: ปฏิรูปการสื่อสารและสื่อสารมวลชน. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://www.rsu.ac.th/thai/Opinion-think-default.html [๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓]. (๗) สัมภาษณ์/สนทนากล่มุ : สมั ภาษณ์ พระธรรมโกศาจารย์, ศ. ดร. (ประยูร ธมฺมจิตโฺ ต). อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย, ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๐. Interview Phra Dharmakosajarn, Prof. Dr. ( P r a y o o n D h a m m a c i t t o ) . R e c t o r Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 16 July 2007. สนทนากลุ่ม พระศรสี นุ ทรโวหาร (สนุ ทร สุทฺธธิ มโฺ ม). เจา้ อาวาสวดั ล่มุ ประชาธรรม, ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. พระมหาวรวทิ ย์ วรกว.ี เจ้าอาวาสวัดสองหลกั , ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑. พระอธกิ ารคม อธิจติ ฺโต. เจา้ อาวาสวดั เสาหิน, ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑.

๑๒๓ I คู่มือดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ๒. ภาษาอังกฤษ 1. Primary Sources C.E.F. Rhys Davids. Compendium of Philosophy. Tr. by Narada Mahathera. London: PTS., 1910. E. Windisch. Itivuttaka. London: PTS., 1889. Narada Mahathera. A Manual of Abhidhamma. Kandy: BPS., 1975. T.W. Rhys Davids. Abhidhammatthasangaha. Tr. by S.Z. Aung and C.E.F. Rhys Davids. London: PTS., 1884. T.W. Rhys Davids, J.E. Carpenter and W. Stede. Digha - Nikaya Atthakatha: Sumangalavilasini. 3 Vols. London: PTS., 1886 - 1932. 2. Secondary Sources (I) Books: Bapat, P.V. 2500 Years of Buddhism. New Delhi: Govt. of India, 1956. Collins, S. Selfless Persons: Imagery and Thought in Theravada Buddhism. London: Cambridge University Press, 1981. Hiriyanna, M. Outlines of Indian Philosophy. London: George Allen and Unwin, 1967. Stcherbatsky, Th. The Soul Theory of The Buddhists. Delhi: Bharatiya Vidya Prakashan, 1976. (II) Articles: Bhattacharya, Kalidas. “The Concept of Self in Buddhism”. The Philosophical Quartery (India). Vol. 34 No. 2 (1961): 18 - 29. Jayatileke, K.N. “The Buddhist Theory of Causality”. The Maha Bodhi. Vol. 77 No. 1 (1969): 20 - 25. Tulkun, L.T.D. “Atman: The Basis of Debate between the Buddhists and the Hindus”. Bodhi-Rashmi. (n.d.): 65 - 69. (III) Report of the Research: Peter Masefield. A critical edition, and translation, of the Pali text known as the Sotabbam_lin_. Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University, 2008. Veerachart Nimanong. The Educational Inequality of Buddhist Monks and Novices in Thailand. Graduate School of Philosophy and Religious Studies, Assumption University, 2003.

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั I ๑๒๔ (IV) Electronics: Gretchen, Walsh. “REPLY: Using African newspapers in teaching” in H-AFRICA.<h- [email protected]> [18 October 2006]. Miller, M.E. The Interactive Tester (version 4.0). [Computer Software]. Westminster, CA: Psytek Services, 2005. ๔.๓ การทาภาคผนวก ภาคผนวก คอื ข้อความท่ผี เู้ ขยี นดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์กล่าวถงึ ในเน้ือหา โดยยอ่ แตต่ ้องการให้ผู้ศกึ ษาได้ทราบรายละเอยี ด จึงนารายละเอยี ดมานาเสนอในภาคผนวก เชน่ เหตทุ ี่ทาใหต้ งั ครรภ์ ๗ ประการ เหตุท่ีทาให้ต้ังครรภ์ มีประการ ๑ คือ การใช้มือลูบท่ีอุทร กล่าวถึงในงานวิจัยนี้ หน้า ๑๑๔ ทั้งหมดมี ๗ ประการคือ ๑. ด้วยถูกต้องร่างกายกัน เช่น สตรีบางคน ช่วงท่ีพร้อมจะต้ังครรภ์ ถูกบุรุษจับมือหรือจับ มวยผมแลว้ ตงั้ ครรภ์ ๒. ด้วยการจับผ้า เช่น ภิกษุณีอดีตภรรยาของพระอุทายี จับผ้าสบงที่เปื้อนอสุจิของ พระอทุ ายี สอดเข้าองคก์ าเนดิ ของตนแล้วต้งั ครรภ์ ๓. ดว้ ยการดมื่ น้าอสจุ ิ เช่น แม่เนื้อมารดาของมิคสงิ คดาบส ช่วงท่ีพรอ้ มจะตัง้ ครรภ์ ไดด้ ่ืมน้า ปัสสาวะซ่งึ มนี า้ อสจุ เิ จอื ปนของดาบสเข้าไปแลว้ ตง้ั ครรภ์ ๔. ด้วยการลบู คลาท่ีสะดอื เช่น ที่ดาบสเปน็ บิดาของสุวณั ณสามโพธิสัตว์ ใชม้ ือลูบสะดอื ของ ดาบสินมี ารดาของสุวัณณสามโพธสิ ัตว์แลว้ นางตงั้ ครรภ์ ๕. ด้วยการดูรปู เช่น พวกนางสนมแอบมองบรุ ุษในชว่ งทีพ่ ร้อมจะต้ังครรภ์ แลว้ เกดิ ตัง้ ครรภ์ โดยมิได้มีการถูกตอ้ งกายบุรุษ ๖. ด้วยการฟงั เสียง เช่น พวกนกยาง ไม่มนี กตวั ผู้ มแี ต่ตัวเมีย ไดฟ้ ังเสียงฟ้าร้องแลว้ ตัง้ ครรภ์ หรือพวกแมไ่ กไ่ ด้ฟงั เสียงพอ่ ไกแ่ ล้วตัง้ ครรภ์ ๗. ดว้ ยการดมกลิ่น เชน่ พวกแม่โคได้กลน่ิ พ่อโคแลว้ ต้งั ครรภ์๑ ๑ ว.ิ มหา.อ. (ไทย) ๑/๓๖/๒๒๒-๒๒๓, อา้ งใน ไพลนิ องคส์ วุ รรณ, “การศกึ ษาวเิ คราะห์การสรา้ งบารมี ของพระนางพิมพาทีป่ รากฏในชาดก”, วทิ ยานิพนธพ์ ุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๖), หน้า ๒๐๐.

ค่มู อื ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา I ๑๒๕ ภาคผนวก

๑๒๖ I บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ภาคผนวก ก ขั้นตอนปฏิบตั ิเกี่ยวกับดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ขั้นตอนการเสนอขออนมุ ัตหิ วั ข้อและโครงร่างดษุ ฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ ๑. เสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์จานวน ๑ ชุด ต่อบัณฑิต วทิ ยาลยั เพอ่ื ขอตรวจรูปแบบ ๒. เมอื่ ผา่ นการตรวจรูปแบบและแก้ไขแลว้ เสนอใหผ้ ู้สมควรเป็นคณะกรรมการควบคุมดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์และสารนิพนธ์ทุกคนลงลายมือช่ือบนปกโครงร่างฯ จานวน ๑ ฉบับ ๓. ขอแบบคารอ้ งเกย่ี วกบั ดุษฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ (บฑ ๘) จากบัณฑิตวทิ ยาลยั ๔. กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนแล้วนาเสนอขอความเห็นชอบ จากผู้สมควรเป็นประธาน กรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ ๕. ยื่นแบบคาร้องเกี่ยวกับดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ (บฑ ๘) ท่ีผ่านความเห็นชอบ จากกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์แล้ว พร้อมเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ จานวน ๖ ชุด สารนิพนธ์ ๑ ชดุ ต่อบณั ฑติ วิทยาลัย เพือ่ ขอสอบอนมุ ตั ิ ๖. ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์เชิงปริมาณ นิสิตต้องส่งระเบียบวิธีวิจัยและ แบบสอบถามชั่วคราวก่อนวันพิจารณาหัวข้อและโครงร่างฯ ไม่น้อยกว่า ๓ วัน ต่อบัณฑิต วทิ ยาลัย ๗. เม่ือผ่านการสอบและแก้ไขแล้ว ขอใบนาส่งโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ (บฑ ๘.๑) และ สารนิพนธ์ (บฑ ๘.๒) กรอกรายละเอียดครบถ้วนแล้ว เสนอขอความเห็นชอบจากผู้สมควรเป็น ประธานควบคุมดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ และจากประธานกรรมการพิจารณา หัวขอ้ และโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนพิ นธ์ ตามลาดบั ๘. เสนอใบนาส่งโครงร่างดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ จานวน ๒ ชุด และสารนพิ นธ์ ๒ ชุด ต่อบัณฑิต วทิ ยาลยั ๙. บัณฑิตวิทยาลัยประกาศอนุมัติหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์แล้ว ขอแบบฟอร์มการลงทะเบียนดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ (บฑ ๙) จากบัณฑิต วทิ ยาลยั และลงทะเบียนภายในกาหนด ๓๐ วนั นับจากวนั ทีป่ ระกาศ

คู่มือดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา I ๑๒๗ ขั้นตอนการเสนอขอตรวจรูปแบบดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ ๑. ขอแบบคาร้องทว่ั ไป (บฑ ๖) จากบัณฑิตวทิ ยาลยั ๒. กรอกรายละเอียดตามแบบคาร้องน้ัน ขอลายเซ็นจากประธานกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ และจากอาจารยท์ ีป่ รึกษา ๓. สง่ เอกสารแก่บัณฑติ วิทยาลัย ดงั น้ี - ดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ที่เรียบเรียงเสรจ็ แลว้ ๑ ฉบบั - แบบคารอ้ งขอตรวจรปู แบบ (บฑ ๖) - ใบเสยี ค่ารกั ษาสถานภาพของภาคการศึกษาลา่ สุด - ช่ือและโครงรา่ งดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ เล่มเดมิ ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ัติใหท้ าวิจัย ๔. รอรบั ทราบการแก้รปู แบบเจา้ หน้าท่ีจะแจง้ ใหม้ ารับไปแก้ไข ๕. แก้ไขเสร็จแล้ว นามาให้เจ้าหน้าที่ตรวจอีก ๑ คร้ัง เสร็จส้ินการตรวจรูปแบบ เร่ิมกระบวนการ ขอสอบตอ่ ไป ขั้นตอนการเสนอขอสอบดษุ ฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธแ์ ละสารนพิ นธ์ ๑. ขอแบบคาร้องเกี่ยวกับดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ (บฑ ๘) จากบัณฑติ วิทยาลยั ๒. กรอกรายละเอยี ดให้ครบถ้วนแล้วนาเสนอขอความเห็นจากประธานคณะกรรมการควบคุม ดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์และสารนิพนธ์ ๓. ส่งเอกสารแกบ่ ัณฑิตวทิ ยาลยั เพ่อื ขอสอบ ดังน้ี - แบบคาร้องขอสอบดษุ ฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ (บฑ ๘) - เอกสารคาร้องทั่วไป (บฑ ๖) เพอ่ื ขอตรวจรปู แบบ - ใบแสดงผลการตรวจรปู แบบ - ใบรับรองการตรวจแกบ้ ทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ (บฑ ๑๑.๓) - ใบตรวจสอบคุณสมบัติผูค้ วรสอบปอ้ งดุษฎีนพิ นธ์ (บฑ ๘ ก) - เล่มดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์จานวน ๖ ชดุ และสารนพิ นธ์จานวน ๔ ชดุ - แจ้งสถานทต่ี ดิ ต่อ (เบอรโ์ ทรศัพท์) ให้ชดั เจน เพ่ือนัดสอบ ขัน้ ตอนการสอบและสง่ ดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ฉบับสมบรู ณ์ ๑. สอบตามวนั และเวลาท่ีบัณฑิตวทิ ยาลยั กาหนด ๒. แก้ไขดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ตามมติคณะกรรมการ ๓. ใหค้ ณะกรรมการลงนามทห่ี น้าอนมุ ตั ิ จานวน ๕-๗ แผ่น ๔. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลงนามที่หน้าอนุมัติ วันสาเร็จการศึกษา (วันที่ศึกษาครบสมบูรณ์ตาม หลกั สูตรฯ ไมใ่ ชว่ ันอนุมัติปริญญา) คือ วันที่คณบดลี งนามหนา้ อนุมตั ิ ๔. ส่งเอกสารตอ่ บณั ฑติ วทิ ยาลยั และห้องสมุดกลาง ดังนี้ - ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ ฉบับสมบูรณ์ จานวน ๒ เล่ม (สาหรับวิทยานิพนธ์ และดษุ ฎีนพิ นธ์ ส่งห้องสมุดกลาง ๑ เลม่ บัณฑติ วทิ ยาลัย ๑ เล่ม)

๑๒๘ I บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย - สาเนาหนา้ ปก /หนา้ อนมุ ตั /ิ บทคดั ย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เยบ็ รวมกนั ๒ ชดุ - แผ่น CD บรรจุข้อมูลดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ ฉบับสมบูรณ์ จานวน ๒ ชุด (สาหรับวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ มอบให้บัณฑิตวิทยาลัย ๑ ชุด มอบให้ห้องสมุดกลาง ๑ ชุด พร้อม บฑ ๑๓ เอกสารขอจบการศึกษาเพื่อให้ จนท. ห้องสมดุ กลางบันทึกการรบั เล่มดา และ CD ให้เรยี บรอ้ ยก่อนเสนอเซ็นประธานควบคมุ เลม่ ) - บฑ ๑๒ (ใบนาส่งดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์) ๕. บฑ ๑๓ - นสิ ิตกรอกข้อความในแบบคาร้องเกยี่ วกับการจบการศกึ ษา (บฑ ๑๓) - นสิ ิตนา บฑ ๑๓ ไปใหเ้ จา้ หน้าที่มหาวิทยาลัยลงความเห็น ดังน้ี ๑. เจ้าหน้าที่กองทะเบียนและวดั ผล ๒. เจา้ หนา้ ทหี่ อ้ งสมุดกลาง ๓. ประธานกรรมการควบคุมดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์และสารนพิ นธ์ ๖. ส่งบฑ ๑๓ ท่ีสานกั งานคณบดบี ณั ฑติ วิทยาลยั ๗. ตดิ ต่อกองทะเบยี นและวดั ผล เพอ่ื รับปริญญาและทรานสคริปต์ (เอกสารรายงานผลการศึกษา)

ค่มู อื ดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา I ๑๒๙ ข้นั ตอนการเสนอขอสอบโครงรา่ งดุษฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ (๑) นสิ ิตขอแบบคารอ้ งโครงรา่ งฯ (บฑ ๘) จากบัณฑติ วทิ ยาลยั /ศนู ย์บณั ฑติ ศกึ ษา (๒) กรอกรายละเอียดตามคาร้องนั้น ในหน้าแรก (ระบุหมายเลขโทรศพั ทท์ ี่ตดิ ตอ่ ไดส้ ะดวกใหช้ ดั เจน) ขอลายเซ็นจากประธานกรรมการควบคมุ ดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ/์ สารนิพนธ์ (๓) ส่งสาเนาโครงร่างฯ แก่บัณฑติ วทิ ยาลัย/ศนู ย์บณั ฑิตศึกษา จานวน ๖ ฉบบั / ๔ ฉบบั สาหรบั สารนพิ นธ์ (๔) เข้าสอบตามวันเวลาและหอ้ ง ตามประกาศกาหนดสอบ (ดปู ระกาศฯ) (๕) ภายหลังสอบหวั ข้อและโครงร่างฯ ๑. ให้แก้ไขตามมตคิ ณะกรรมการ ๒. ส่งเลม่ แกไ้ ขฉบับสมบรู ณ์ ๒ เล่ม (แนบ บฑ ๘.๑ สาหรบั ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์, บฑ ๘.๒ สาหรับสารนิพนธ์) พร้อมลายเซ็นกรรมการควบคุมและกรรมการท่ีได้รับ มอบหมายใหด้ ูแลการแกไ้ ขหวั ขอ้ ทีห่ น้าปกโครงรา่ งฯ ๓. ตดิ ตามประกาศอนุมตั หิ วั ข้อและโครงรา่ งดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์และสารนพิ นธ์ ๔. ลงทะเบยี นดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ/์ สารนพิ นธ์ (บฑ ๙)

๑๓๐ I บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ขน้ั ตอนการเสนอขอตรวจรปู แบบดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ เมื่อนสิ ิตไดเ้ รยี บเรียงดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนพิ นธ์เสร็จสมบูรณ์ โดยความเหน็ ชอบ ของกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ ก่อนจะขอสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ ใหน้ ิสติ ดาเนินการตามขนั้ ตอน ดงั น้ี (๑) ขอแบบคารอ้ งทว่ั ไป (บฑ ๖) ระบุ “ขอตรวจรูปแบบดุษฎนี พิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ”์ จากบณั ฑติ วทิ ยาลัย/ศูนย์บณั ฑติ ศึกษา (๒) กรอกรายละเอียดตามแบบคารอ้ งน้ัน (ระบุหมายเลขโทรศพั ทท์ ต่ี ิดต่อไดส้ ะดวกให้ชัดเจน) ขอลายเซ็นจากประธานกรรมการควบคมุ ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธแ์ ละสารนพิ นธ์ (๓) สง่ เอกสารแก่บณั ฑิตวทิ ยาลัย ตามขนั้ ตอนดังน้ี ๑. สาเนาดุษฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ ละสารนพิ นธท์ ่เี รยี บเรยี งเสร็จแลว้ ไมเ่ ขา้ ปก ๑ ฉบบั ๒. แบบคารอ้ งขอตรวจรปู แบบ (บฑ ๖) ๓. ใบชาระคา่ รักษาสถานภาพของภาคการศกึ ษาล่าสดุ ๔. ช่ือและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนิพนธเ์ ลม่ เดมิ ที่ได้รบั อนุมตั ใิ หท้ าวิจยั (๔) รอรับทราบผลการแกร้ ูปแบบ เจา้ หน้าทบี่ ณั ฑติ วิทยาลัย/ศนู ยบ์ ณั ฑติ ศึกษา จะแจง้ ให้มารบั ไปแกไ้ ข (๕) แกไ้ ขเสร็จแลว้ นาฉบับเดมิ และฉบบั ท่ีแก้ไขแลว้ มาใหเ้ จา้ หนา้ ทีต่ รวจอีก ๑ ครัง้ (เสรจ็ สนิ้ การตรวจรูปแบบ=เริ่มกระบวนการขอสอบดษุ ฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ ละสารนพิ นธ์ต่อไป)

คู่มอื ดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บัณฑติ ศึกษา I ๑๓๑ ขั้นตอนการเสนอขอสอบดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ ละสารนิพนธ์ นิสติ ทผ่ี ่านขน้ั ตอนการตรวจรูปแบบเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้วใหด้ าเนินการตามข้ันตอน ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ขอแบบคาร้องเก่ยี วกบั ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนพิ นธ์ (บฑ ๘) จากบัณฑติ วิทยาลัย/ศูนย์บณั ฑติ ศึกษา (๒) กรอกรายละเอียดใหค้ รบถ้วน แล้วนาเสนอขอความเห็น ลงลายเซน็ ตามแบบฟอรม์ จากประธานกรรมการ/กรรมการควบคมุ ดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธแ์ ละสารนพิ นธ์ ใหค้ รบทุกท่าน (๓) สง่ เอกสารให้บัณฑติ วทิ ยาลยั /ศูนย์บัณฑิตศึกษา เพือ่ ขอสอบ ดังน้ี ๑. แบบคาร้องขอสอบดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ ละสารนพิ นธ์ (บฑ ๘) ๒. สาเนาดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธท์ เี่ ขา้ เลม่ ปกอ่อน จานวน ๖ ชดุ สาหรับสารนิพนธ์ จานวน ๔ ชุด ๓. ใบแสดงผลการตรวจรปู แบบดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธแ์ ละสารนพิ นธ์ ๔. บฑ ๑๑.๓ ใบตรวจแก้บทคัดยอ่ ภาษาอังกฤษ (ระบหุ มายเลขโทรศพั ทใ์ หช้ ัดเจน เพอื่ นดั วนั /เวลาสอบ)

๑๓๒ I บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ข้ันตอนการสอบและส่งดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ (หมวด ๕ การสอบดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนิพนธ์) (๑) (๒) สอบตามวนั และเวลา กรณีสอบผ่านให้แก้ไขดษุ ฎนี พิ นธ์ ท่ีบัณฑิตวิทยาลัยกาหนดภายหลังท่นี ิสติ ยื่น ขอสอบไมน่ ้อยกว่า ๑๕ วัน วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ตามมตคิ ณะกรรมการ (ควรมาก่อนเวลาสอบครงึ่ ช่วั โมง) (เลขาฯ บันทึกรายละเอียดการสอบ) (๔) (๓) เสนอคณบดีบัณฑติ วิทยาลยั ลงนามที่หนา้ อนุมัติ ใหค้ ณะกรรมการฯ ลงนาม จานวน ๒ แผ่น (วันสาเรจ็ การศกึ ษา คอื วนั ท่คี ณบดลี งนาม) ที่หนา้ อนมุ ัติ จานวน ๒ แผน่ ข้นั ตอนต่อจากน้ี ทางศูนยบ์ ณั ฑติ ศกึ ษาจะดาเนินการส่งเรอื่ งเพ่อื ขออนมุ ัตจิ ากบณั ฑิตวทิ ยาลยั (๕) ก่อนสง่ เอกสารต่อบณั ฑติ วิทยาลยั นสิ ติ ตอ้ งดาเนินการส่งเอกสารเหล่าน้ีใหก้ บั ศูนยบ์ ณั ฑติ ศึกษาใหค้ รบ รายละเอยี ด ดังนี้ ๑. ดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ฉบบั สมบรู ณ์ จานวน ๒ เลม่ ๒. หนา้ ปก/หน้าอนุมัติ/บทคัดย่อภาษาไทย-องั กฤษ เยบ็ รวมกัน จานวน ๒ ชดุ ๓. แผ่น CD บรรจุขอ้ มูลดุษฎนี พิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์และสารนิพนธ์ฉบบั สมบรู ณ์ จานวน ๒ ชดุ ๔. บฑ ๑๒ (ใบนาสง่ ดษุ ฎนี พิ นธ์ วทิ ยานิพนธ=์ กรอกรายละเอียดใหค้ รบถ้วน) (๖) เข้าสูก่ ระบวนการขอจบการศึกษา ๑. นสิ ติ กรอกข้อความในแบบคารอ้ งเกีย่ วกบั การจบการศึกษา (บฑ ๑๓) ๒. นสิ ิตนา บฑ ๑๓ ไปใหเ้ จ้าหนา้ ทม่ี หาวิทยาลัยเซน็ ลงความเห็น ดงั น้ี - เจ้าหน้าทกี่ องทะเบียนและวัดผล - เจา้ หน้าท่ีห้องสมุด - ประธานกรรมการควบคมุ ดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธแ์ ละสารนพิ นธ์ (๗) (๘) ส่ง บฑ ๑๓ ทส่ี านกั งานคณบดี ตดิ ต่อกองทะเบียนฯ บัณฑติ วทิ ยาลัย เพ่ือรบั ปรญิ ญาและทรานสครปิ

คมู่ อื ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑิตศึกษา I ๑๓๓ บันไดสคู่ วามเป็นดุษฎีบณั ฑิต ๑๐. ดษุ ฎบี ณั ฑิต ๙. เผยแพร่ดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ ๘. สอบปอ้ งกันดษุ ฎนี พิ นธ์ ๗. เสนอวิจารณ์ดษุ ฎนี ิพนธ์ ๖. สอบผ่านการวดั คุณสมบตั ภิ าษาตา่ งประเทศ ๒ ภาษา ๕. ผา่ นการปฏบิ ตั ธิ รรม ๔๕ วัน ๔. สอบผ่านโครงรา่ งดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ ๓. สอบผ่านสารนพิ นธ์ และ/หรือ บทความวิชาการ/บทวจิ ารณ์ หนังสือ ๒. สอบผา่ นครบทกุ รายวชิ า ๑. สอบผา่ นการคดั เลอื กเข้าเรยี นระดับ ป.เอก แผน ๑.๑, ๑.๒, ๒.๑, ๒.๒ หมายเหตุ: การสอบภาษาต่างประเทศ: - ระดับปริญญาเอก แบบ ๑.๑, ๑.๒ เลอื กสอบภาษาตา่ งประเทศ ๑ ภาษา - ระดับปริญญาเอก แบบ ๒.๑, ๒.๒ สอบภาษาอังกฤษ และภาษาอน่ื ๆ อีก ๑ ภาษา การสอบวดั คุณสมบัติสารนิพนธ์/บทความวชิ าการ/บทวจิ ารณ์หนงั สอื : - ระดบั ปรญิ ญาเอก แบบ ๑.๒ สอบวัดคณุ สมบติสารนิพนธ์ ๑ เร่ือง - ระดับปรญิ ญาเอก แบบ ๑.๑, ๒.๑ และ ๒.๒ สอบวดั คณุ สมบตั ิสารนิพนธ์ ๑ เรอื่ ง สอบวัด คุณสมบตั บิ ทความวิชาการ ๑ เรอ่ื ง บทวิจารณห์ นงั สือ ๑ เรอ่ื ง สาหรบั การสอบวัดคุณสมบตั ิบทความ วิชาการและบทวิจารณ์หนังสือ สามารถนาเอกสารตอบรับการตีพิมพ์จากวารสารท่ีได้รับการรับรอง จาก TCI มายื่นเพื่อขออนมุ ัติผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ โดยกรอกคาร้อง บฑ ๖ เสนอคณะกรรมการ บัณฑติ วิทยาลัยเพือ่ พิจารณา

คูม่ ือดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา I ๑๓๔ ภาคผนวก ข ตารางเทียบขนาดอกั ษร ประกอบคู่มอื ดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๖๑ ดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนพิ นธ์ ภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ TH SarabunPSK TH SarabunPSK Times New Roman (Line space=single) (Line space=single) (line space=1.5) ช่ือเรือ่ งปกนอก A STUDY ON … A STUDY ON… (ตัวอย่าง: การศึกษา 18pt. ALL CAPS. 13pt. ALL CAPS. เรื่อง ...) A Study on… A Study on… 20pt. ตวั หนา (BOLD) 20pt. Small caps. ชื่อเรื่องปกรอง ๑, ๒ 16pt. Small caps. (ตวั อย่าง: การศึกษา Mr. Rakdee Sukdee 18pt. Small caps. Mr. Rakdee Sukdee เรือ่ ง...) 14pt. Small caps. 20pt. ตัวหนา (Bold) A Dissertation/Thesis 18pt. Small caps. A Dissertation/Thesis ชอ่ื ผ้วู จิ ัยปกนอก/ 14pt. Small caps. ปกรอง ๑, ๒ บทที่ ๑ บทนา Chapter I (ตวั อยา่ ง: นายรกั ดี สุขดี) Introduction 18pt. ตัวหนา (Bold) รายละเอียดปรญิ ญา ปกนอก/ปกรอง ๑, ๒ (ตัวอย่าง: ดุษฎนี ิพนธ์/ วทิ ยานพิ นธ์) 18pt. ตวั ปกติ (Regular) บท (ตวั อย่าง: บทท่ี ๑ บทนา)

๑๓๕ I บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย 20pt. ตวั หนา (Bold) 20pt. ระยะห่าง 1 16pt. Small caps. บรรทดั เนอื้ หา: หวั ขอ้ หลักจดั ชิด ๑.๑ ความเป็นมา ... 1.1 Background… ซา้ ยเสมอ 18pt. 14pt. (ตัวอยา่ ง: ๑.๑ ความ Dissertation Title: Dissertation Title: เป็นมา...) 16pt. Small caps. 12pt. Small caps. 18pt. ตัวหนา (Bold) หวั เรอ่ื งบทคัดย่อ (ตัวอยา่ ง: ช่ือดุษฎนี ิพนธ์: ) 16pt. ตวั หนา (Bold) หัวข้อสาคัญย่อย 1.1.1 Causes… 1.1.1 Causes… (ตวั อย่าง: ๑.๑.๑ สาเหตุ ) 16pt. 12pt. 16pt. ตวั หนา (Bold) ส่วนเนื้อหา Graduate School Graduate School (ตวั อยา่ ง: บัณฑิตวิทยาลัย) 16pt. 12pt. 16pt. ตวั ปกติ (Regular) สว่ นเชิงอรรถ/footnote Graduate School Graduate School (ตวั อยา่ ง: บณั ฑติ วทิ ยาลยั ) 14pt. 11pt. 14pt. (Regular) Dissertation/ Thesis /Thematic Paper (English Plan) TH SarabunPSK Times New Roman (Line space=single) (line space=1.5) BLACK COVER A STUDY ON… A STUDY ON… (TITLE, e.g. A STUDY 18pt. ALL CAPS. 13pt. ALL CAPS. ON…) (BOLD) (BOLD) COVER II A Study on… A Study on… 20pt. Small caps. (Title, e.g. A Study 16pt. Small caps. on…) (Bold) (Bold) Researcher Mr. Rakdee Sukdee Mr. Rakdee Sukdee (Name Surname, e.g. 18pt. Small caps. Mr. Rakdee Sukdee) 14pt. Small caps. (Bold) (Bold)

คมู่ ือดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑติ ศึกษา I ๑๓๖ Degree details A Dissertation/Thesis/ A Dissertation/Thesis/ (A Dissertation/Thesis/ Thematic Paper… Thematic Paper … 18pt. Small caps. 14pt. Small caps. Thematic Paper…) (Regular) (Regular) Chapter Chapter I Chapter I (e.g. Chapter I Introduction Introduction) 20pt. Small caps. Introduction Main Title (Bold) 16pt. Small caps. (e.g. 1.1 (Bold) 1.1 Background… Background…) 18pt. (Bold) 1.1 Background… Subordinate Title 1.1.1 Causes… 14pt. (Bold) (e.g. 1.1.1 Causes…) 16pt. (Bold) 1.1.1 Causes… 12pt. (Bold) Content To study the meditation To study the meditation practice in… 16pt. practice in … (Regular) 12pt. (Regular)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook