Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore # พุทธบริหารการศึกษา-บริหารและจัดการศึกษาบูรณาการวิถีพุทธ_มรภ.พระนคร 7-3-64

# พุทธบริหารการศึกษา-บริหารและจัดการศึกษาบูรณาการวิถีพุทธ_มรภ.พระนคร 7-3-64

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-03-07 04:12:45

Description: # พุทธบริหารการศึกษา-บริหารและจัดการศึกษาบูรณาการวิถีพุทธ_มรภ.พระนคร 7-3-64

Search

Read the Text Version

พุทธศาสนา คอื อะไร Buddhism is…?

o สิกขา การศึกษาตลอดชวี ิต พทุ ธ : พระพทุ ธเจา้ , ผรู้ ้,ู ปัญญา มนุษยท์ กุ คนเกิดมาต้องเรียนรู้ การศึกษา (สิกขา) การเรียนรู้ และ และพฒั นาตนเองเรือ่ ยไป (เสขบคุ คล) จนกว่าจะบรรลอุ รหนั ตผล (อเสขบคุ คล) การปฏบิ ตั ิในเร่อื งศีล สมาธิ ปญั ญา สกิ ขาในที่นจ่ี งึ หมายถึง การเรียนรู้ จึงจะหยดุ การศึกษา ตลอดชวี ิต จนสามารถพฒั นาตนให้ มีวชิ ชาและจรณะทส่ี มบรู ณ์ เกดิ ความสมดลุ ท้งั ด้านสขุ ภาพ สังคม จิตใจ และปัญญา จนบรรลถุ งึ อรหันตผลในที่สดุ จึงไมต่ อ้ งศึกษา อกี ต่อไป (อเสขบคุ คล) ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษยว์ ถิ พี ุทธ หลักสตู รบณั ฑิตศึกษา ภาควิชาบริหารการศกึ ษา | 55

o ปญั ญา ๒ ขอบข่ายการเรยี นรแู้ นวพุทธ ❖ โลกียปัญญา ปัญญาทางโลก, เกี่ยวข้องกับวชิ าการทางโลก เม่อื รมู้ ากกท็ าโลภ โกรธ หลงไดม้ าก ก่อใหเ้ กดิ อตั ตา มานะ ทิฏฐิ ยกตนขม่ ผู้อืน่ เอาเปรยี บ และเบยี ดเบยี นผูอ้ น่ื ❖ โลกตุ รปัญญา หมายถงึ วปิ สั สนาปญั ญา หรือ ภาวนามย ปญั ญา คอื ความร้แู จ้งเห็นจริงใน รปู นาม ขนั ธ์ ๕ ไตรลักษณ์ อรยิ สจั ปฏิจสมปุ บาท ทาให้รูจ้ กั ธรรมชาติชวี ิต ปล่อยวางได้ เสยี สละ ลดอัตตา ลดมานะ ทฏิ ฐิ เปน็ ทางใหบ้ รรลุมรรค ผล นิพพาน. ❖ การศึกษาและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยว์ ถิ ีพุทธ หลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา | 56

o ปัญญา ๓ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ แหลง่ ท่มี าหรือวธิ ีการไดม้ าซึ่งความรู้ ๓ ลกั ษณะ คือ ✓ สตุ มยปัญญา ความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการฟงั สนทนา อ่าน ท่อง จดจา ✓ จินตมยปัญญา ความร้ทู ี่ได้จากการไตร่ตรอง คิด วิเคราะห์ ✓ ภาวนามยปัญญา ความรทู้ ่ีได้จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ บูรณา การ ประยกุ ต์ นาไปใชจ้ ริง ❖ การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลกั สูตรบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 57

o กระบวนการเรยี นรู้แนวพุทธ ❖ ปจั จยาการแห่งความรู้ ๒ อยา่ ง ปรโตโฆสะ เรียนรู้จากผูอ้ ่ืน แหล่งอน่ื ๆ นอกตวั เรา โยนิโสมนสิการ เรียนรจู้ ากแหลง่ แลว้ นํามาคิดวิเคราะห์พจิ ารณา คดั เลอื ก แยกแยะ ประมวล สรปุ อยา่ งละเอยี ด ❖ วธิ ีการเรยี นรู้ ปรยิ ัติ เรียนรทู้ ฤษฎี หลักการ แนวคดิ ความคิดรวบยอด ปฏบิ ตั ิ เรียนรูว้ ิธีการ ลงมือทาํ ทาํ ได้ ทาํ เป็น ทําถูกตามทฤษฎี ปฏเิ วธ เรียนรผู้ ลด-ี เสยี ผลกระทบดา้ นตา่ งๆ ประยุกต์ได้ สามารถบรู ณาการใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด ❖ การศึกษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ พี ทุ ธ หลกั สูตรบณั ฑิตศึกษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 58

o ทนฺโต เสฏโฺ ฐ มนุสฺเสสุ. ดกู ่อนอานนท์ ! เราไม่พยายามทา กบั พวกเธออย่างทะนุทะถนอม เหมือนช่างปัน้ หม้อท่ีทาแก่หม้อท่ี ยงั เปี ยกอยู่ เราจกั ชี้โทษแล้วชี้โทษ อีก ขนาบแล้วขนาบอีก ไม่มีหยดุ ผใู้ ดหวงั มรรคผล เป็นวตั ถปุ ระสงค์ ผนู้ ัน้ จกั ทนอย่ไู ด้เองแล. ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ พี ุทธ หลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 59

o สรปุ เปน็ ปรชั ญา MCU MCU Motto ❖ M = Mentality (ปัญญา) ❖ C = Character (ศีล) ❖ U = Universal mind (จิตใจ) มีวิชชาและจรณะ เสยี สละเพอ่ื พระพทุ ธศาสนาและสงั คม ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์วถิ ีพทุ ธ หลักสตู รบัณฑิตศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศึกษา | 60

o ไตรสิกขา เครือ่ งมือพัฒนามนุษย์ ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ พี ุทธ หลกั สตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบริหารการศึกษา | 61

o พัฒนามนษุ ยต์ อ้ งสมดลุ ทง้ั กายใจ • จลุ ศีล • สมถะ o โลกียปัญญา • มชั ฌิมศีล • วิปัสสนา o โลกตุ ตรปัญญา • มหาศีล หลักสตู รบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 62 ❖ การศึกษาและพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยว์ ถิ พี ทุ ธ

o การพัฒนามนุษย์ขนั้ สูง ∆ มนุยท์ ี่ดีควรมีพฒั นาการทงั้ ด้าน ความรู้ (วิชชา) และความประพฤติ (จรณะ) เครอื่ งมอื ในการพฒั นาทางพระพทุ ธศาสนากค็ ือ สิกขา ๓ ภาวนา ๔ และมรรคมีองค์ ๘ เกษม แสงนนท,์ 2556 ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ พี ทุ ธ หลักสูตรบัณฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา | 63

o หลักการพระพุทธศาสนา ๏ ขนตฺ ี ปรมํ ตโป ตีตกิ ขฺ า นพิ พฺ านํ ปรมํ วทนตฺ ิ พทุ ฺธา น หิ ปพฺพชโิ ต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วเิ หฐยนฺโตฯ ๏ สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ กสุ ลสฺสปู สมฺปทา สจติ ตฺ ปริโยทปนํ เอตํ พทุ ธฺ านสาสนํฯ ๏ อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สวํ โร มตตฺ ญฺญตุ า จ ภตตฺ สฺมึ ปนตฺ ญจฺ สยนาสนํ อธจิ ิตเฺ ต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยว์ ถิ ีพทุ ธ หลกั สตู รบัณฑติ ศึกษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 64

o โอวาทปาฏโิ มกข์ /คาแปล ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์วถิ ีพทุ ธ อุดมการณ ๔ หลกั การ ๓ วธิ ีการ ๖ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชาบริหารการศกึ ษา | 65

o ไตรภมู ิ เป้าหมายชวี ติ แนวพุทธ โลกตุ ตรภูมิ (มรรค ๔ ผล ๔ นพิ พาน ๑) ละกิเลส/วิปัสสนา อรูปฌาณ/สม์ะ โลกียภมู ิ รูปฌาน/สม์ะ ๓ ระดบั (ภมู )ิ ๓๑ ภพ (ที่เกดิ ) เทวธรรม หรอื สงั สารวฏั เบญจศีล/ธรรม ไม่มีศีลธรรม ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษยว์ ถิ ีพทุ ธ หลกั สตู รบัณฑิตศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศึกษา | 66

o จรติ 6 กับการเรียนรู้ จรติ คือ ลักษณะนสิ ัยทเี่ ปน็ พฤติกรรมและสภาพจติ ใจอนั เป็นพ้ืนฐานของบคุ คล นัน้ ๆ มี 6 แบบ คือ 1. ราคจริต รกั สวยรักงาม พดู จาอ่อนหวาน สะอาด ประณตี 2. โทสจริต จรงิ จัง เจ้าระเบียบ ใจรอ้ น โมโหง่าย ชอบชนี้ า พูดดัง เดนิ เร็ว 3. โมหจริต ชอบคดิ ฝนั ชอบสะสม ยม้ิ ง่าย พดู ไม่เกง่ ไม่ค่อยมน่ั ใจ เชื่อคนงา่ ย 4. วิตกจริต คิดการณ์ไกล เปลี่ยนใจบ่อย หน้าตาไม่คอ่ ยสดช่ืน พูดเก่ง ละเอียดลออ 5. ศรทั ธาจริต นบั ถอื ตนเอง เสยี สละ มหี ลักการ มศี รัทธาแรงกล้าในสง่ิ ที่ เชือ่ ถอื 6. พทุ ธิจริต มีไหวพริบ จดจาเรยี นรไู้ ดด้ ี มปี ญั ญาดี ประนปี ระนอม สภุ าพ มี เมตตาสงู ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ ีพทุ ธ หลักสตู รบัณฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 67

o วัด คือต้นแบบสถานศึกษา ❖ วดั มีช่ือเรียกหลายอยา่ ง เช่น อาราม วิหาร มหาวิหาร เป็นส์านที่ รวมนกั ศึกษาทางพระพทุ ธศาสนา คือ พระภิกษุสามเณร ซ่ึงเป็ นผู้ ตอ้ ง์ือกฏระเบียบต่างๆ และตอ้ งศึกษาและปฏิบตั ิตามพทุ ธพจนดว้ ย ไม่ตอ้ งห่วงภารกิจอยา่ งอื่น ์า้ วดั ใหญ่ๆ กจ็ ะแบ่งเป็นคณะ สานกั ภายใน เพ่อื เนน้ การศึกษาไปแต่ละดา้ น ❖ วัดจงึ เป็นเหมือนสถานศกึ ษาในยคุ เริ่มแรก มีพระอุปัชฌายหรือ อาจารยคอยดูแลควบคุม ผทู้ ่ีมาบวชกต็ อ้ ง์ือระเบียบต่าง ๆ เหมือน นกั ศึกษาในปัจจุบนั ❖ การศึกษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ ีพทุ ธ หลักสตู รบัณฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 68

o พระสงฆ์ คือตน้ แบบของนักศึกษา ❖ พระสงฆ์ เป็นผเู้ สียสละความสุขสบายทางโลกและวตั ์ุ เม่ือ บวชกต็ อ้ งมีระบียบวนิ ยั และอยใู่ นกากบั ดูแลพระอปุ ัชฌาย หรืออาจารยจนกวา่ จะครบ ๕ ปี จึงจะพน้ นิสสัยมุตตกะ การ มีวตั รปฏิบตั ิเช่นน้ี พระสงฆจึงเป็นเหมือนนกั ศึกษาท่ีอยู่ ประจาท่ีโรงเรียนหรือมหาวิทยาลยั เพอ่ื การศึกษาเล่าเรียน วชิ าการต่างๆ และฝึกหดั อุปนิสยั ดว้ ย ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วถิ ีพุทธ หลักสูตรบณั ฑิตศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 69

o เปรียบเทยี บ สมถะและวิปัสสนา ประเภท กรรมฐาน ๒ เปา้ หมาย สม์ะ วปิ ัสสนา เครอื่ งมือ ผลลพั ธ์ สงบใจ เห็นตามจริง ประโยชน์ กรรมฐาน ๔๐ วปิ ัสสนาภูมิ ๖ ฌาณ/สมาบตั ิ วปิ ัสสนาญาณ ๑๖ รูป/อรูปพรหม มรรค ผล นิพพาน รูปแบบของสานกั ตา่ งๆ เป็นเพียงวธิ ที จ่ี ะให้เข้าถงึ เป้าหมาย เกษม แสงนนท, 2556 ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลักสตู รบณั ฑิตศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 70

บูรณาการหลักธรรม กับการศึกษาระดับต่าง ๆ

o โรงเรียนวิถพี ุทธ ❖ กระบวนการแบบไตรสิกขา ❖ บูรณาการกบั วถิ ีชีวติ ประจาวนั จากการกนิ อยู่ ดู ฟงั ❖ หลกั ปญั ญาวุฒิธรรม ๔ ๑. สปั ปุริสังเสวะ มคี รู และผบู้ ริหารทดี่ ี ๒. สทั ธัมมัสสวนะ นักเรยี นเอาใจใสเ่ ลา่ เรียน ๓. โยนิโสมนสกิ าร รคู้ ิด มเี หตผุ ล ถกู หลกั วชิ า บา้ น ๔. ธัมมานธุ มั มปฏิบัติ ฝกึ ปฏิบตั จิ นไดผ้ ล ดา้ นพฤตกิ รรมครูและนักเรยี น บวร ครู เปน็ แบบอย่างทางศลี ธรรม ผูน้ าศาสนพธิ ี มีจรรยาวถิ ีพุทธ นกั เรยี น ย้ิมง่าย ไหว้สวย กราบงาม กนิ ไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ โรงเรียน วดั ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยว์ ถิ พี ุทธ หลกั สูตรบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา | 72

o อัตลักษณ์โรงเรียนวถิ พี ุทธ ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษยว์ ถิ ีพุทธ หลกั สตู รบัณฑิตศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 73

❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลักสูตรบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 74

o ผลการดาเนินงาน ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยว์ ถิ ีพุทธ หลักสตู รบณั ฑิตศึกษา ภาควิชาบริหารการศกึ ษา | 75

o อาชวี ศึกษาวิถพี ุทธ ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ สั ม ม า ชี พ และความเปน็ มนุษย์ทสี่ มบูรณ์ ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์วถิ พี ุทธ หลักสตู รบัณฑิตศึกษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา | 76

o ข้อบ่งชี้อตั ลกั ษณ์ ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษยว์ ถิ พี ุทธ หลักสูตรบัณฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบริหารการศึกษา | 77

❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลักสูตรบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 78

❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลักสูตรบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 79

o การศึกษาระดับพ้ืนฐาน ถึง ป.ตรี รู้หลกั พัฒนา มนั่ ในไตรสกิ ขา มนี วลักษณ์ มีสาธารณจิต มีวิชชา (ใจ/ปัญญา) และจรณะ (กาย) เป็นพนื้ ฐาน ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษย์วถิ ีพทุ ธ เยาวชน์ึงระดบั ป.ตรี เนน้ เร่ืองระเบียบวนิ ยั ความมุ่งมนั่ ความรับผดิ ชอบ รู้เสียสละ หลักสูตรบณั ฑิตศึกษา ภาควชิ าบริหารการศึกษา | 80

o แนวคดิ การศึกษา ป.โท Conceptual Technical Skill Skill Presentation Human Skill relation Skill แนวคิด : รอบร้วู ิชาการ ชาํ นาญวิชาชีพ เชีย่ วชาญสื่อศึกษา บริการปวงชน หลักธรรม : ปฏิสมั ภิทา ๔ อตั ถะ ธมั มะ นิรกุ ติ ปฏิภาณ ป.โท เนน้ หลกั วิชาการ และทกั ษะระดบั สูงในการ ครองตน ครองคน ครองงาน ❖ การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ พี ทุ ธ หลักสตู รบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควิชาบริหารการศกึ ษา | 81

o แนวคิดการศึกษาระดบั ป.เอก แนวคดิ แนวคิด : มวี สิ ยั ทัศน์ เช่ียวชาญปฏิบัติ ฉลาดมนษุ ยสัมพันธ์ หลกั ธรรม : จกั ขุมา วิธโุ ร นิสสยสัมปันโน ระดบั ป.เอก เนน้ ความมีวสิ ยั ทศั น มีทกั ษะข้นั สูง วจิ ยั และสร้างสรรคผลงานใหม่ ๆ และมีมนุษยสมั พนั ธ ❖ การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วถิ ีพทุ ธ หลักสูตรบณั ฑิตศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา | 82

o เทียบตามส่วนของรา่ งกาย หนึง่ สมองมองไกลวสิ ัยทัศน์ ใช้สองหตั ถ์จัดการชํานาญกิจ อีกสองเท้าก้าวหากัลยามติ ร ย่อมสัมฤทธส์ิ ิง่ หวังดั่งตั้งใจ ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษยว์ ถิ ีพทุ ธ หลักสตู รบัณฑิตศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา | 83

o แนวคดิ บูรณาการพุทธธรรม กบั การบรหิ ารการศึกษา* *แสดงให้เห็นเปน็ กรอบแนวคดิ การใชห้ ลักท่เี หมาะกับพัฒนานสิ ติ ระดับตา่ งๆ สมกับเป็น มหาวทิ ยาลัยทางพระพุทธศาสนา /อาจมีหลกั ธรรมอน่ื ๆ ท่เี หมาะกวา่ กไ็ ด้ ไม่ได้จาํ กัด ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยว์ ถิ พี ุทธ หลกั สูตรบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศึกษา | 84

o ระดบั ปริญญาตรี ค.บ. (B.Ed.) กายพฒั นา รู้หลกั พฒั นาดา้ นกายภาพต่างๆ ท้งั ร่างกายตน อุปกรณ สร้างคุณค่าแกส่ งั คม เคร่ืองมือ และสภาพแวดลอ้ ม เป็นตน้ (กายภาวนา) นิยมคุณธรรม ผ้นู าํ ภูมิปัญญา รู้หลกั พฒั นาระเบียบวนิ ยั ตนและกฏเกณฑ ของสงั คม การอยรู่ ่วมสงั คม ทาตวั ใหม้ ีคุณค่า ต่อสงั คมทุกระดบั เป็นตน้ (ศีลภาวนา) พฒั นาคุณธรรมพ้ืนฐานทางจิตใจ เช่น มีใจมน่ั คง มุ่งมน่ั ไม่ยอ่ ทอ้ รับผดิ ชอบ ซื่อสตั ย กตญั ญู เสียสละ เป็นตน้ (จิตภาวนา) พฒั นาปัญญาใหม้ ีความรู้รอบ รู้ลึก ในศาสตรต่างๆ ปฏิบตั ิได์้ ูก ประยกุ ตเป็น และเห็นคุณค่า และมีภาวนะผนู้ า (ปัญญาภาวนา) ภาวนา ๔ : กายภาวนา สีลภาวนา จิตภาวนา ปญั ญาภาวนา หลักสูตรบณั ฑิตศกึ ษา ภาควิชาบริหารการศกึ ษา | 85 ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ พี ทุ ธ

o ระดับปริญญาโท รรู้ อบวชิ าการ มุ่งใหเ้ รียนความรู้พ้นื ฐาน ความรู้ใหม่ๆ ที่ทนั สมยั ทนั เหตุการณ ทาใหอ้ ยใู่ นสังคมอยา่ งเป็นสุขและเท่าทนั เป็นตน้ (Conceptual Skill) (รู้อรร์ - Learning to know) ค.ม. (M.Ed.) ชาํ นาญวชิ าชพี มุ่งใหเ้ รียนรู้และปฏิบตั ิใหเ้ กิดทกั ษะ มีความชานาญ ในวชิ าเฉพาะสาขา หรือวชิ าชีพท่ีเลือกเรียน (Technical Skill) (รู้ธรรม - Learning to do) เชย่ี วชาญสอื่ ศกึ ษา มุ่งใหส้ ามาร์ประยกุ ตและ์่ายทอดความรู้ได้ อยา่ งมีคุณภาพ โดยตอ้ งเรียนรู้ภาษาและเทคโนโลยตี ่างๆ (Presentation Skill) (รู้นิรุกติ - Learning to live together) บริการประชาชน มุ่งใหส้ ามาร์ดารงตนอยใู่ นสังคมอยา่ งมีความสุข มีความเอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผ่ เมตตา กรุณา เสียสละ เป็นตน้ (Social Skill, Service mind) (มีปฏิภาณ - Learning to be) ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ ีพุทธ หลักสูตรบณั ฑิตศกึ ษา ภาควิชาบริหารการศึกษา | 86

o ระดบั ปริญญาเอก ค.ด. (Ed.D) มีวสิ ัยทัศน์ มีความรู้อยา่ งกวา้ งขวาง ลึกซ้ึง ทนั สมยั เช่ียวชาญปฏิบัติ ทนั เหตุการณ และมีวิสยั ทศั นกวา้ งไกล ฉลาดมนุษยสัมพนั ธ์ (จกั ขมุ า, Pro-vision) สามาร์ปฏบตั ิได์้ ูกตอ้ ง มีความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ น สามาร์วเิ คราะห วจิ ยั ประยกุ ต และสร้างทฤษฎีใหม่ๆ (วธิ ุโร, Professional) มีมนุษยสมั พนั ธดี มีภาวะผนู้ า เป็นนกั บริหาร ท่ีมีคุณภาพ ท้งั มีจิตสาธารณะ รู้จกั เสียสละเพ่ือสงั คม (นิสสยั สมั ปันโน, Public relation) ปาปณกิ ธรรม ๓ : จกั ขมุ า วธิ ุโร นิสสยั สัมปันโน หรือ เก่งคิด เก่งงาน เก่งคน ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ พี ุทธ หลกั สตู รบณั ฑิตศึกษา ภาควชิ าบริหารการศึกษา | 87

o แนวคดิ การพัฒนา บณั ฑติ ศึกษา เกง่ คิดจกั ขุมา Conceptual Skill วิธโุ ร เก่งงาน Technical Skill เกง่ คน Human Relation Skill นิสสยสัมปนั โน หลกั สตู รบัณฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบริหารการศึกษา | 88 องฺ.ติก. 20/459/146 ❖ การศึกษาและพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์วถิ ีพทุ ธ

o บูรณาการหลกั ธรรมกับการบรหิ าร ปัญญา ปัญญา ๓ (สตุ ะ จินตะ ภาวนา) พละ ๔ วิริยะ วิริยะ ๓ ระดบั (ปารมี อปุ ปารมี ปรมตั ถปารมี ) อนวชั ชะ สจุ ริต ๓, เว้นมิจฉาวณิชชา ๕ สงั คหะ สงั คหวตั ถุ ๔ (ทาน ปิ ยวาจา อตั ถจริยา สมานัตตตา) ❖ ธรรมะและแนวคดิ ท่สี อดคล้องหรอื เสรมิ กัน : ปธาน ๔, PDCA ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ ีพุทธ หลกั สตู รบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา | 89

o ประโยชนก์ ารศึกษาแนวพุทธ ๑. ประโยชนต์ น มีวิชาและจรณะ เป็นสุจริตชน ๒. ประโยชน์ผูอ้ ื่น รู้จกั เสียสละ มีน้าใจ ใหแ้ ก่ส่วนรวม ๓. ประโยชน์ทงั้ สองฝา่ ย รู้จกั ใหอ้ ยา่ งเหมาะสมและได้ ประโยชนร่วมกนั ๔. ประโยชน์อย่างย่งิ (ปรมัตถะ) มีหลกั คดิ และดาเนินชีวติ โดยมอง์ึงอนาคตกาล และมุ่งพฒั นาตนจนเป็นอเสข ปรมัตถะ บุคคล บรรลุอรหนั ตผล ไม่เวียนวา่ ยตายเกิดอีก สมั ปรายกิ ตั ์ะ ทิฏฐธมั มิกตั ์ะ ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ ีพทุ ธ หลักสตู รบณั ฑติ ศกึ ษา ภาควิชาบริหารการศึกษา | 90

บรู ณาการหลักธรรม กบั การบริหารงานวิชาการ

o ขอบขา่ ยการศึกษาแนวพุทธ ❖ หลกั พืน้ ฐาน : พฒั นากายใจ (ขนั ธ์ ๕) ให้มีวิชชาและจรณะ ❖ สิ่งท่ีต้องรู้ (ปัญญา ๒) : โลกียปัญญา และโลกตุ ตรปัญญา ❖ ปัจจยั แห่งการเรียนร้:ู ปรโตโฆสะ โยนิโสมนสิการ ❖ วิธีการเรียนร้:ู สทั ธรรม ๓, พหสู ตุ ๕ ❖ เป้าหมายการเรียนร้:ู สิกขา ๓, ภาวนา ๔ ❖ ประโยชน์การเรียนร้:ู ประโยชน์ ๓, ประโยชน์ ๔ -------------------- ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต ปัญญาเป็นแสงสว่างให้แก่โลก ปญญฺ า นราน รตน ปัญญาเป็นแก้ว (ทรพั ยส์ มบตั ิ) ของมนุษย์ ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ ีพทุ ธ หลกั สตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา | 92

o หน้าท่ขี องนกั ศึกษาแนวพุทธ คารวตา ความเคารพ หมายถงึ การใส่ใจและปฏิบตั ิด้วยความ เอ้อื เฟอ้ื อยา่ งหนกั แนน่ จรงิ จงั มองเหน็ คุณค่าและความสาคญั แลว้ ปฏบิ ัติตอ่ บคุ คลหรอื สงิ่ นนั้ โดยถกู ตอ้ ง ๖ อยา่ ง 1. สตั ถคุ ารวตา ความเคารพในพระศาสดา 2. ธมั มคารวตา ความเคารพในธรรม 3. สงั ฆคารวตา ความเคารพในสงฆ์ 4. สิกขาคารวตา ความเคารพในการศกึ ษา 5. อปั ปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท 6. ปฏิสนั ถารคารวตา ความเคารพในปฏิสันถาร ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลกั สูตรบัณฑิตศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา | 93

o หนา้ ทข่ี องครู อาจารย์ ผ้ทู า หน้าที่สอน ก. เป็นกลั ยาณมิตร ข. ตงั้ ใจประสิทธ์ิความรู้ ค. มีลีลาครคู รบทงั้ สี่ ง. มีหลกั ตรวจสอบสาม จ. ทาหน้าที่ครตู ่อศิษย์ ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยว์ ถิ พี ุทธ หลกั สูตรบณั ฑติ ศึกษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา | 94

o ก. เปน็ กลั ยาณมิตร คือ ประกอบดว้ ยองค์คุณของกัลยาณมิตร หรือ กลั ยาณมิตรธรรม ๗ ประการ ดงั นี้ ๑. ปิ โย น่ารกั คอื มีเมตตากรุณา ใสใ่ จคนและประโยชนส์ ุขของเขา เขา้ ถึงจติ ใจ สรา้ ง ความรสู้ กึ สนิทสนมเป็นกันเอง ชวนใจผเู้ รียนใหอ้ ยากเขา้ ไปปรึกษาไต่ถาม ๒. ครุ น่าเคารพ คอื เปน็ ผูห้ นักแน่น ถือหลกั การเป็นสาคญั และมีความประพฤตสิ มควร แก่ฐานะ ทาให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ เปน็ ทพ่ี ่ึงไดแ้ ละปลอดภัย ๓. ภาวนีโย น่าเจริญใจ คือ มีความรู้จรงิ ทรงภมู ปิ ัญญาแทจ้ ริง และเป็นผู้ฝกึ ฝนปรับปรุง ตนอยเู่ สมอ เป็นท่ีน่ายกยอ่ งควรเอาอย่าง ทาใหศ้ ษิ ยเ์ อย่ อา้ งและราลึกถึงด้วยความ ซาบซงึ้ มัน่ ใจ และภาคภูมิใจ ๔. วตตฺ า ร้จู กั พดู ให้ได้ผล คือ รู้จกั ชแี้ จงใหเ้ ขา้ ใจ รู้วา่ เมื่อไรควรพดู อะไร อยา่ งไร คอยให้ คาแนะนาว่ากลา่ วตักเตอื น เป็นที่ปรึกษาที่ดี ❖ การศึกษาและพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยว์ ถิ ีพุทธ หลักสูตรบัณฑิตศกึ ษา ภาควชิ าบริหารการศึกษา | 95

ก. เป็นกลั ยาณมิตร (ต่อ) ๕. วจนกขฺ โม อดทนต่อถอ้ ยคาํ คือ พร้อมที่จะรับฟังคาปรึกษาซกั ์ามแมจ้ ุกจิก ตลอดจนคาลว่ งเกินและคาตกั เตือนวิพากษวจิ ารณต่างๆ อดทน ฟังได้ ไม่เบื่อ หน่าย ไม่เสียอารมณ* ๖. คมฺภรี ญจฺ กถํ กตฺตา แถลงเร่อื งลํา้ ลึกได้ คือ กลา่ วช้ีแจงเร่ืองต่างๆ ที่ยงุ่ ยากลึกซ้ึง ใหเ้ ขา้ ใจได้ และสอนศิษยใหไ้ ดเ้ รียนรู้เรื่องราวท่ีลึกซ้ึงยงิ่ ข้ึน ๗. โน จฏฺ ฐาเน นิโยชเย ไม่ชกั นาํ ในอฐาน คือ ไม่ชกั จูงไปในทางที่เส่ือมเสีย หรือ เร่ืองเหลวไหลไม่สมควร (อง.ฺ สตฺตก. ๒๓/๓๔/๓๓) ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยว์ ถิ พี ุทธ หลกั สูตรบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 96

ข. ตง้ั ใจประสิทธ์คิ วามรู้ โดยตงั้ ตนอยใู่ นธรรมของผแู้ สดงธรรม ทเี่ รยี กวา่ ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คอื ๑. อนุบพุ พิกถา สอนให้มีขนั้ ตอนถกู ลาดบั คือ แสดงหลักธรรม หรือเนอื้ หาตามลาดบั ความ ง่ายยากลมุ่ ลึก มีเหตผุ ลสมั พนั ธต์ ่อเนื่องกันไปโดยลาดับ ๒. ปริยายทสั สาวี จบั จดุ สาคญั มาขยายให้เข้าใจเหตผุ ล คอื ชี้แจง ยกเหตุผลมาแสดง ให้ เข้าใจชัดเจนในแต่ละแง่แต่ละประเดน็ อธิบายยักเยอื้ งไปตา่ งๆ ให้มองเหน็ กระจา่ งตาม แนวเหตผุ ล ๓. อนุทยตา ตงั้ จิตเมตตาสอนด้วยความปรารถนาดี คอื สอนเขาด้วยจิตเมตตา มงุ่ จะให้ เป็นประโยชนแ์ กผ้ ู้รับคาสอน ๔. อนามิสนั ดร ไม่มจี ิตเพ่งเลง็ เหน็ แก่อามิส คอื สอนเขามิใช่มใิ ช่มุง่ ทีต่ นจะได้ลาภ สินจา้ ง หรือผลประโยชนต์ อบแทน ๕. อนุปหจั จ*์ วางจิตตรงไมก่ ระทบตนและผอู้ ่ืน คอื สอนตามหลักตามเนอื้ หา มุ่งแสดง อรรถ แสดงธรรม ไมย่ กตน ไม่เสยี ดสีขม่ ข่ผี อู้ ่ืน (องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕) ❖ การศกึ ษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ ีพุทธ หลกั สตู รบัณฑิตศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 97

ค. มลี ลี าครคู รบทงั้ สี่ ครทู สี่ ามารถมลี ลี าของนกั สอน ดงั น้ี ๑. สนั ทสั สนา ชี้ให้ชดั จะสอนอะไร ก็ชแ้ี จงแสดงเหตุผล แยกแยะอธิบายให้ผฟู้ ังเขา้ ใจแจม่ แจ้ง ดงั จงู มอื ไปดเู หน็ กับตา ๒. สมาทปนา ชวนให้ปฏิบตั ิ คือ สิง่ ใดควรทา กบ็ รรยายใหม้ องเห็นความสาคญั และซาบซึง้ ในคณุ คา่ เหน็ สมจรงิ จนผฟู้ ังยอมรับ อยากลงมือทา หรอื นาไปปฏิบตั ิ ๓. สมตุ เตชนา เรา้ ให้กล้า คอื ปลกุ ใจใหค้ ึกคกั เกิดความกระตอื รือรน้ มกี าลงั ใจแขง็ ขนั ม่นั ใจ จะทาใหส้ าเรจ็ ไมก่ ลวั เหน็ดเหนอ่ื ยหรือยากลาบาก ๔. สมั ปหงั สนา ปลกุ ให้รา่ เริง คอื ทาบรรยากาศให้สนกุ สดช่ืน แจม่ ใส เบิกบานใจ ให้ผ้ฟู ังแช่ม ช่ืน มคี วามหวัง มองเห็นผลดแี ละทางสาเรจ็ จางา่ ยๆ วา่ สอนให้ แจม่ แจง้ จงู ใจ แกลว้ กลา้ รา่ เรงิ (เชน่ ท.ี ส.ี ๙/๑๙๘/๑๖๑) ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ ถิ พี ทุ ธ หลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศึกษา | 98

ง. มีหลักตรวจสอบสาม เมอื่ พดู อยา่ งรวบรดั ทสี่ ดุ ครอู าจตรวจสอบตนเอง ดว้ ยลกั ษณะการสอนของ พระบรมครู ๓ ประการ คอื ๑. สอนดว้ ยความรู้จริง รจู้ รงิ ทาไดจ้ รงิ จงึ สอนเขา ๒. สอนอยา่ งมเี หตุผล ให้เขาพจิ ารณาเขา้ ใจแจ้งดว้ ยปญั ญาของเขาเอง ๓. สอนให้ได้ผลจรงิ สาเร็จความมุ่งหมายของเรอ่ื งทส่ี อนน้นั ๆ เช่น ใหเ้ ข้าใจได้ จริง เหน็ ความจรงิ ทาได้จรงิ นาไปปฏบิ ัติไดผ้ ลจรงิ เป็นตน้ (องฺ.ตกิ . ๒๐/๕๖๕/๓๕๖) ❖ การศกึ ษาและพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์วถิ พี ุทธ หลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา | 99

จ. ทาหน้าที่ครตู ่อศิษย์ คอื ปฏบิ ตั ติ ่อศษิ ยโ์ ดยอนุเคราะหต์ ามหลกั ธรรมเสมอื นเป็นทศิ เบ้อื งขวา* ดงั น้ี ๑. แนะนาฝกึ อบรมให้เป็นคนดี ๒. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ๓. สอนศลิ ปวิทยาใหส้ ้นิ เชิง ๔. ส่งเสรมิ ยกยอ่ งความดีงามความสามารถให้ปรากฏ ๕. สรา้ งเคร่ืองค้มุ ภัยในสารทิศ คือ สอนฝึกศษิ ย์ให้ใช้วิชาเลี้ยงชีพไดจ้ ริง และรู้จกั ดารงตนด้วยดี ทีจ่ ะเปน็ ประกนั ใหด้ าเนนิ ชีวติ ดงี ามโดยสวัสดี มคี วามสุข ความเจรญิ ** (ท.ี ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓) ❖ การศึกษาและพัฒนาทรพั ยากรมนุษยว์ ถิ ีพุทธ หลกั สูตรบัณฑิตศกึ ษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา | 100

o หน้าทข่ี องผเู้ รยี น นิสิต ผเู้ ปน็ ศิษย์ นอกจากจะพึงปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมสาหรับคนที่จะประสบ ความสาเร็จ คือ จกั ร ๔* และอิทธิบาท ๔* แลว้ ยงั มีหลกั การที่ควรรู้ และ หลกั ปฏิบตั ิที่ควรประพฤติอีก ดงั ต่อไปน้ี ก. รู้หลกั บุพภาคของการศึกษา ข. มีหลกั ประกนั ของชีวิตท่ีพฒั นา ค. ทาตามหลกั เสริมสร้างปัญญา ง. ศึกษาใหเ้ ป็นพหูสูต จ. เคารพผจู้ ุดประทีปปัญญา ❖ การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์วถิ พี ทุ ธ หลักสตู รบัณฑิตศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา | 101

ก. ร้หู ลักบุพภาคของการศึกษา คือรู้จกั องคประกอบท่ีเป็น ปัจจยั แห่งสมั มาทิฏฐิ ๒ ประการ ดงั น้ี ๑. องคป์ ระกอบภายนอกทด่ี ี ไดแ้ ก่ มีกลั ยาณมิตร หมาย์ึง รู้จกั หาผแู้ นะนาสงั่ สอน ท่ีปรึกษา เพือ่ น หนงั สือ ตลอดจนสิ่งแวดลอ้ มทางสงั คมโดยทว่ั ไปที่ดี ที่เก้ือกลู ซ่ึงจะชกั จูง หรือกระตุน้ ใหเ้ กิดปัญญาไดด้ ว้ ยการฟัง การสนทนา ปรึกษา ซกั ์าม การอ่าน การคน้ ควา้ ตลอดจนการ รู้จกั เลือกใชส้ ่ือมวลชนใหเ้ ป็นประโยชน ๒. องค์ประกอบภายในที่ดี ไดแ้ ก่ โยนิโสมนสิการ หมาย์ึง การใชค้ วามคิด์ูกวธิ ี รู้จกั คิด หรือคิด เป็น คือ มองสิ่งท้งั หลายดว้ ยความคิดพจิ ารณา สืบสาวหาเหตุผล แยกแยะส่ิงน้นั ๆ หรือปัญหา น้นั ๆ ออกใหเ้ ห็นตามสภาวะและตามความสมั พนั ธแห่งเหตุปัจจยั จนเขา้ ์ึงความจริง และ แกป้ ัญหาหรือทาประโยชนใหเ้ กิดข้ึนได้ กล่าวโดยยอ่ วา่ ข้อหนึง่ รู้จกั พ่งึ พาใหไ้ ดป้ ระโยชนจากคนและสิ่งท่ีแวดลอ้ ม ข้อสอง รู้จกั พ่งึ ตนเอง และทาตวั ใหเ้ ป็นท่ีพ่ึงของผอู้ ่ืน (ม.มู. ๑๒/๔๙๗/๕๓๙) ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษย์วถิ พี ุทธ หลักสตู รบณั ฑิตศกึ ษา ภาควิชาบริหารการศึกษา | 102

ข. มีหลักประกันของชวี ิตทพี่ ัฒนา สร้างคุณสมบตั ิอื่นอีก ๕ ประการขา้ งตน้ ใหม้ ีในตน รวมเป็นองค ๗ ที่เรียกวา่ แสงเงินแสงทองของชีวติ ที่ดีงาม หรือ รุ่งอรุณของการศึกษา ที่พระพทุ ธเจา้ ทรง เปรียบวา่ เหมือนแสงอรุณที่เป็นบุพนิมิตแห่งอาทิตยอุทยั เพราะเป็นคุณสมบตั ิตน้ ทุน ที่เป็นหลกั ประกนั วา่ จะทาใหก้ า้ วหนา้ ไปในการศึกษา และชีวติ จะพฒั นาสู่ความดี งามและความสาเร็จแน่นอน ๑. แสวงแหล่งปญั ญาและแบบอยา่ งทดี่ ี ๒. มีวนิ ัยเป็นฐานของการพฒั นาชวี ิต ๓. มีจิตใจใฝ่รู้ใฝส่ ร้างสรรค์ ๔. ม่งุ ม่ันฝึกตนจนเตม็ สดุ ภาวะท่คี วามเปน็ คนจะใหถ้ ึงได้ ๕. ยึดถือหลักเหตปุ จั จัยมองอะไรๆ ตามเหตุและผล ๖. ตัง้ ตนอยใู่ นความไมป่ ระมาท ๗. ฉลาดคดิ แยบคายใหไ้ ดป้ ระโยชน์และความจรงิ ❖ การศึกษาและพฒั นาทรัพยากรมนุษย์วถิ พี ุทธ หลักสตู รบณั ฑิตศกึ ษา ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา | 103