Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดความรู้ โครงการย่อย 1 พระครูกิตติญาณวิสิฐ 5-3-65-ebook

ชุดความรู้ โครงการย่อย 1 พระครูกิตติญาณวิสิฐ 5-3-65-ebook

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2022-03-06 10:44:43

Description: ชุดความรู้ โครงการย่อย 1 พระครูกิตติญาณวิสิฐ 5-3-65-ebook

Search

Read the Text Version

“จากการศึกษาท่านอาจารย์ ดร.อาจอง ได้ไปศึกษาที่ประเทศ อินเดีย แล้วก็ไปพบท่าน ไส บา บา ท่านไส บา บา ได้พูดว่าในชีวิตที่เหลือ ในชีวิตที่เหลือให้สนใจทางการศึกษาพอท่านไส บาบา ท่านพูดแบบนี้ ท่าน อาจารย์อาจาย์ ดร. อาจอง ไดแ้ นวคิดว่า เราจะต้องหนั มาพฒั นาด้านน้”ี 2 “สถานศกึ ษาวิถพี ทุ ธท่ไี ดส้ รา้ งขึน้ กเ็ กดิ จาก หนง่ึ ไดค้ วามรู้จากครู ที่เป็นต้นแบบ ต้นแบบก็คือท่านอาจารย์ ดร.ศิริ กรินชัย แนวคิดมาจาก ตน้ แบบ เม่ือเรามตี น้ แบบทดี่ ีขนาดน้ี เราก็ต้องเอาต้นแบบนั้นมาหลอหลอม มาบูรณาการ เพราะต้นแบบของเราท่านได้เรียนรู้และต้องศึกษาเรื่องของ หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนามาครบถ้วน และก็ได้มากพอทเี่ ราจะไดค้ วามรู้ และเข้าใจได้ เมื่อเราได้รับความรู้จากท่านแล้วเราจึงเอาความรู้ หมายถึง องค์ความรู้ที่ครูบาอาจารย์เราได้แล้ว เราเอามาพัฒนาตัวเราหลังจากที่เรา พัฒนาตัวเราเองแล้วเราก็มุ่งสู่ตัวเด็ก ก็หมายความว่าปณิธานที่เราได้จาก ความรู้ จากครบู าอาจารยส์ ตู่ ัวเรา”3 “ผมได้รับนิมนต์ไปเรียนกับท่านติช นัทฮันท์ 3 สัปดาห์ ท่ี หมู่บ้านทางฝรั่งเศส ก็คือท่านสอนสมาธิภาวนาตามแนวทาง ตามแบบ หมู่บ้านพลัม แบบเซน ผมก็ไปอยู่กับท่าน 3 สัปดาห์ ก็เกิดแรงบันดาลใจ เกดิ แรงบันดาลใจวา่ อยากจะทำ สำนกั สงฆ์วิปัสสนากรรมฐานแบบทา่ น”4 3. ส่กู ารเรยี นรดู้ ้วยตนเองทแ่ี ท้จริง “40 ปีที่แล้ว ลูกสาวท่านก็เรียนเรียนอยู่ในโรงเรียนแห่งหน่ึง คุณครูก็นัดลูกเรียนพิเศษ ขณะนั้นลูกเรียนอยู่ชั้นมัธยมปีที่ 3 การเรียนพิเศษ จากการตวิ ในชว่ งชว่ งหลังเลิกเรียน โดยเนอื้ หาส่วนใหญ่ ลูกจะต้ังคำถามกับแม่ ว่าทำไมมันถึงต้องเป็นแบบนี้ ทำไมต้องเรียนพิเศษ ในตอนนั้นอาจารย์ประภา 2สมั ภาษณ์ ดร.ทัศนีย์ ทองสม, ทีป่ รึกษาผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสัตยาไส, 24 มกราคม 2565. 3สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบียบ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 4สมั ภาษณ์ พระเมธีวิโรดม, ดร., ประธานมลู นธิ ิวมิ ุตตยาลยั ผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ พระอาราม หลวง ณ ศูนยว์ ิปัสสนาสากลไรเ่ ชิญตะวนั , 12 มกราคม 2565. 51

ภัทร ก็คิดว่าจะหาโรงเรียนให้ลูกตรงไหนที่มันเหมาะสม ก็เลยมุ่งเป้าไปที่การ จัดการศึกษาที่มันมีความหลากหลาย ก็เห็นในเรื่องของการที่นักเรียนควร จะต้องเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเองที่แท้จริง เป็นการเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่เรียนรู้ ด้วยตัวเอง และรู้จักวิธีแสวงหาความรู้มีมีสติสัมปชัญญะในการคิดพิจารณา พิจารณาต่างๆ ด้วยตัวเองเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาตั้งแต่ปี 2540 เป็น ต้นมา อันนี้อย่างย่อมันก็คงจะมีแรงบันดาลใจอีกหลายประเด็นที่ท่านอาจาย์ ประภาภัทร น้ีแลว้ ก็ทำใหม้ าเริม่ สรา้ งโรงเรยี นรงุ่ อรุณ”5 ข. ฐานความคิดในการพัฒนาสถานศกึ ษา กรอบแนวคิด นโยบาย วิสัยทัศน์อย่างไรบ้าง ที่สร้างให้สมาชิกที่ ช่วยผลิตเยาวชนก็คือคุณครู ได้ตระหนักได้เห็นคุณค่าได้ให้ความสำคัญกับ การสรา้ งนวัตกรรมซ่ึงสอดคล้องกับบทสัมภาษณข์ องผใู้ หข้ อ้ มูลสำคัญ ดงั น้ี “ปรัชญา สถานศึกษาได้ตั้งเอาไว้ว่า ก็คือ “ไตรสิกขาสร้างคนดี จุลมณีสร้างสัมมาชีพ”เราใช้หลักไตรสิกขามาพัฒนาเราก็มาบูรณาการกับ มาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการที่แยกย่อยออกมาเป็นอาชีวะ ศึกษา”6 “กรอบแนวคิดในการทำพัฒนาไร่เชิงตะวัน โดยกำหนด วิสยั ทศั น์กค็ อื เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาส่ปู ระชาคมโลก โดยมีพันธกิจ 4 เร่อื ง 1 ส่งเสริมการศึกษา 2 เผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กว้างไกล 3 ร่วมใจพัฒนา สงั คม 4 สร้างค่านิยมแหง่ สันติภาพโลก”7 “แนวคดิ ของพวกผูบ้ ริหารเกีย่ วกับเดก็ พิเศษ กค็ ือจะให้เขาลงมือ ทำ ให้เขาเรียนรู้และพึ่งพาตัวเอง ให้มากที่สุดโดยใช้ฐานระดับ 5สัมภาษณ์ (ออนไลน)์ สกณุ ี บุญญะบญั ชา, ผู้อำนวยการโรงเรียนรงุ่ อรณุ , 24 มกราคม 2565. 6สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบยี บ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 7สมั ภาษณ์ พระเมธีวโิ รดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 52

ความสามารถของเขา แล้วก็พัฒนาไป สังคมของเพื่อนและสังคมปกติ จะ เปน็ ตัวนำพาเขาเข้าไปอยใู่ นสังคมปกติ ใหม้ ากที่สดุ เทา่ ท่จี ะทำได้”8 ค. กระบวนการพฒั นาพ้นื ทีน่ วัตกรรมตน้ แบบ กระบวนการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ มีองค์ประกอบได้จากการ สังเคราะห์คำสัมภาษณ์ของผู้ให้ข้อมูลสำคัญดังนี้ การทำให้เห็ให้ดูเป็น ต้นแบบ เกิดความต่อเนื่อง บ่มเพาะจนเป็นอัตลักษณ์ หลักการบริหาร จัดการสถานศึกษาแนวพุทธ หลักการคัดเลือกบุคลากร การพัฒนา ศกั ยภาพครู และมกี ารใช้จิตวทิ ยาเชงิ บวก โดยมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การทำใหเ้ ห็นใหด้ เู ปน็ แบบอยา่ ง “กระบวนการบริหารโรงเรียนท่านอาจาย์บอกว่า ท่าน ไม่เอา อะไรมากมาย ขอผู้บริหารเป็นคนดี ครูเป็นคนดี เป็นตัวอย่างให้กับทุกๆ ๆ คน Role Model เป็นตัวอย่างเพื่อนร่วมงาน พี่น้อง หรือว่า นักเรียน ข้อ สอง ย้อนกลับไปดูข้อที่หนึ่ง ต้องเป็นผู้นำที่ดี เป็นคนดีแล้วท่านจะ ไม่เน้น คนเก่งท่านบอกว่า ถ้าเป็นคนดีแล้วเดี๋ยวความเก่งก็จะตามมาเองแล้วก็ เข้าใจในวธิ ีทท่ี ่าน”9 “ทำอย่างไรเราถึงจะเอาส่ิงเหล่านี้ออกมาแลว้ ถ่ายทอดให้กับเดก็ ได้ จึงต้องมาทำให้ดู อยู่ใหเ้ ห็น เรมิ่ ตน้ จากตวั เอง”10 2. เกดิ ความตอ่ เน่อื ง “ทุกคนต้องมีวิจารณญาณ แยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สิ่งไหนไม่ดี เชื่อไหมตอนน้ำท่วมเด็กช่วยล้างโรงเรียนรุ่นที่เค้าจบไปนะคะเข้ามาทำ ความสะอาดโรงเรยี น ชว่ ยทำโนน้ ทำนี่ และเขาจะชว่ ยคิดว่าถา้ จะช่วยอะไร กับโรงเรียน โรงเรียนก็เสียหายเยอะเลย และเค้าจะกลับมาคือเด็กเค้าจะมี วัคซีน คุ้มครองเค้าอยู่ สร้างวัคซีนใจ ตลอดเวลาเพราะว่าคเค้าสวดมนต์น่ัง 8สมั ภาษณ์ (ออนไลน์) สกณุ ี บญุ ญะบญั ชา, 24 มกราคม 2565. 9สัมภาษณ์ ดร.ทศั นีย์ ทองสม, 24 มกราคม. 2565. 10สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบยี บ ถิรญาณี, 7 มกราคม 2565. 53

สมาธิตอน 6:00 น.ทุกเช้า ทุกวันนี้เขาก็ได้แล้วแล้วก็ในห้องเรียนเนี่ยเขา สวดมนต์นั่งสมาธิในวิชาคุณค่าความเป็นมนุษย์แล้วเค้าก็ได้ฟังนิทาน ฟัง เพลงที่ดี เล่นเกมส์สนุกสนานอะไรต่ออะไร ที่เด็กจะแทรกคุณค่าและฝังลกึ แต่ละวิชาคุณต้องใส่คุณค่าความเป็นมนุษย์ไปด้วย บูรณาการสติ คุณค่า ความเป็นมนุษย์ในทุกๆ กิจกรรม ว่ามันเป็นยังไง สมควรหรือไม่ถ้าเป็นเด็ก โตเนี่ย อาจจะให้ดู สิ่งที่ไม่มีก็อาจจะให้ดูได้นะค่ะ แต่ต้องวิเคราะห์ให้เป็น สอนการวิเคราะห์ และคุณครูจะต้องอยู่ด้วยนะคะ เค้าก็จะแยกแยะน้ำดี น้ำเสียไดน้ ะค่ะ เราจะตงั้ คำถามให้เค้าตอบว่าเรอ่ื งน้ีหนดู ูไปแล้วเน่ียมันเปน็ สิ่งที่ไม่ดีเลยเนี่ย สังคมเนี่ยเราจะทำอย่างไร เราจะช่วยสังคมอย่างไ รใน เมื่อเราเกิดเรื่องนั้นเรื่องนี้อะไรทำนองนี้สำหรับเด็กโตๆ นะค่ะ ใช้คำถาม ชวนคดิ ใช้วเิ คราะหส์ งั เคราะห์ สอนใหค้ ิดเอง”11 “ก็ตามจริงแม่ชีเป็นวิทยากรที่เราอบรมวิปัสสนากรรมฐาน ใน ปริมณฑลและภูมิภาคต่างๆ และหลังจากนั้นตรงนั้นเราก็ได้สิ่งที่เราเห็นก็ คือ มันกลายเป็นนวัตกรรมชิ้นหนึ่งในระหว่างที่ กราบพระก็เป็นนวัตกรรม ที่งดงาม ระหว่างที่เขาสวดมนตร์เสียงที่เปล่งออกมาก็เป็นนวัตกรรม เมื่อ เราเห็นนวัตกรรมที่งดงามที่เกิดจากการสวดมนตร์ การนั่งสมาธิ เกิดจาก การเจริญภาวนา การกราบการไหว้ เป็นนวัตกรรมของชาวพุทธที่งดงาม แลว้ ”12 “พัฒนาต้นแบบนวัตกรรมของเด็กพิเศษ บางครั้งก็ทำไปกับ คู่ขนานกับห้องเรียน ถ้าเรียนคณิตศาสตร์ เขาก็ถามชิ้นงานคณิตศาสตร์ เพื่อการเรียนรู้ของเล่น ที่เป็นศูนย์พัฒนาต่างๆ เช่น เป็นเรื่องของพื้นที่การ ทำอาหาร อยู่กันเป็นแบบ section ที่แยกออกมา งานพัฒนานวัตกรรม หรือกิจกรรมที่เราเชื่อมกับเด็กพิเศษคือ กิจกรรมอะไรก็ได้ที่ได้ลงมือทำ มี สื่อ มีอุปกรณ์ มีกลุ่มคน ตัวต่อตัว ให้เขาทำเอง มันก็ไม่ได้ถึงให้ทำเอง 11สมั ภาษณ์ ดร.ทัศนยี ์ ทองสม, 24 มกราคม. 2565. 12สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบยี บ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 54

ทั้งหมด ครูที่เข้าใจแล้วนวัตกรรมก็คือ การดึงพ่อแม่เข้ามาทำกิจกรรมกับ ลกู ”13 3. บ่มเพาะจนเปน็ อัตลกั ษณ์ “ทักษะชีวิตสำคัญมากสำคัญโรงเรียนของเราเป็นโรงเรียน ประจำ เมื่อออกไปสสู่ ังคมเขาก็จะรวู้ ่าเขาควรจะปฏบิ ัติตวั อยา่ งไรถึงจะเป็น ประโยชน์ต่อสังคม กว่าจะมีทักษะชีวิตที่สมบูรณ์ ทักษะวิชาการ เค้าใช้ เวลาอยา่ งนอ้ ยคนละ 12 ปี เคา้ จะซึมซับการสอนและสสิ่งทท่ี า่ นอาจารย์อา จองใหน้ โยบายไปซมึ ซับได้เยอะในระยะเวลา12 ปีการเปน็ ครูทไี่ ด้เห็นเดก็ ๆ มสี งิ่ ท่ดี ที งี่ ามติดตัวเคา้ ไปตลอดนะคะ ครูเป็นตัวแบบที่ดี เรียนรูผ้ ่านการ ดู ...Learning by doing”14 “ทำให้ดู การที่เราจะทำให้จิตของเด็กได้รับการพัฒนา ตัวเรา ต้องเริ่มก่อนสวดมนต์ก็ให้ดู การแต่งกายก็ให้ดู ครองวัดปฏิบัติให้ดูเขาเห็น ได้ชัดเจนทำให้ได้ผลก็คือการมาอยู่รวมกัน การมาอยู่ร่วมกันนี้ก็ต้องใช้ อุปกรณ์ในการดูแลค่อนข้างจะสูง เพื่อที่จะให้เห็นผลก็คือต้องอยู่ด้วยกัน 24 ชั่วโมง และไม่ได้หมายความว่าอยู่ด้วยกันแค่วันเดียว แต่ 24 ชั่วโมง หลายหลายครั้งจึงต้องเอาลูกลูกนักเรียนนี้มาอยู่ประจำ จึงจะสามารถ วัดผลประเมินผลนั้นได้ จึงจะเห็นการกระทำของเราคือทำให้ว่าเราตื่นแต่ เชา้ เราทำอะไรที่ไหนเม่ือไหร่อย่างไรในทนี่ ้ีน้ใี ห้เขาเห็น”15 “อยู่ให้เห็นก็คือ เข้าวัดปฏิบัติพาเขาปฏิบัติไปด้วย พาเขาทำไป ด้วยไม่ว่าจะเป็นการกินอยู่ดูฟังตอนนี้เราทำให้เขาเห็นหมดชัดเจน กินเป็น เวลาอยู่หลับนอนก็เป็นเวลา ในขนาดที่เด็กได้มาอยู่ เป็นเวลา ตื่นเป็นเวลา นอนเป็นเวลา ทานเป็นเวลา เรียนเป็นเวลาเหล่านี้ จึงทำให้เห็นเข้าวัด ปฏิบัติชื่อว่า “ทำให้ดู อยู่ให้เห็น” เมื่อทำให้ดูอยู่ให้เห็นเป็นกิจวัตรแล้ว 13สัมภาษณ์ (ออนไลน)์ สกณุ ี บุญญะบญั ชา, 24 มกราคม 2565. 14สมั ภาษณ์ ดร.ทศั นีย์ ทองสม, 24 มกราคม 2565. 15สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบยี บ ถิรญาณี, 7 มกราคม 2565. 55

เด็กก็จะจำสิ่งเหล่าน้ี จำภาพก็ดีติดตา จำเสียงก็ดีที่ได้ยินจากหู และจำจาก การสัมผัสด้วยความรักที่มอบให้ เด็กก็สัมผัสความรักจากเราเพื่อถ่ายทอด ไปสคู่ วามรกั ทีจ่ ะเกิดในครอบครัว”16 “การปลูกฝังความสำนึกครูเป็นตัวอย่างที่ดีตั้งแต่เดินเข้าหน้า โรงเรือนมาถึงแต่เช้า ยืนรับเด็ก การเป็นตัวอย่าง ครูมาแต่เช้ามองศรีษะ จรดปลายเท้า ผู้ปกครองจอดรถ เราไหว้ สร้างความประทับใจให้กับ ผู้ปกครองผู้ปกครองให้ความสำคัญให้ประทับใจบุคลิกภาพการมีระเบียบ วนิ ยั ยกมอื ใหผ้ ปู้ กครองผูป้ กครองประทบั ใจเวลาประชมุ ประจำเดือน”17 4. หลกั การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาแนวพุทธ “สำนักเรียนเป็นบ้าน ผู้บริหารเป็นหลัก ครูให้ความรักเอาใจใส่ ใช้ไตรจักรการศึกษา ผู้เรียนเกิดปัญญา สรรพอาชีวะเป็นเคร่ืองคุ้มครองตน สำนักคือสำนึกของเราเราสร้างสำนักขึ้นมาสำนักหนึ่ง หากเราไม่มีสำนึกใน การดูแล หากเราไม่มีสำนึกในการที่จะต้องบริหารจัดการด้วยคุณภาพ เพื่อให้เกิดด้วยคุณธรรมเพื่อให้เกิดคุณภาพสำนักนั้นก็ไร้ค่า สำนักน้ันจึง เป็นสำนึกของเราเพราะเราสร้างด้วยมือ สร้างด้วยหัวใจ สร้างด้วยปณิธาน เมื่อเราทำตัวอย่างให้ดีได้ คนที่จะเข้ามาจะเป็นครูบาอาจารย์รุ่นใหม่ก็ตาม เขาก็จะเอาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วยเพราะฉะนั้นสำนักก็เป็นสำนึกที่ ยิ่งใหญ่ ที่ผู้บริหารจัดการจะต้องจัดการบริหาร เพื่อการขยายผลต่อเนื่อง อย่างชัดเจนต่อไป สำนักคือสำนึกเอาสั้นสั้นแค่น้ีก็คือเป็นจิตสำนึกที่เรา จะต้องรบั ผดิ ชอบแกส่ งั คมคะ่ ”18 5. หลกั การคัดเลือกบุคลากร “เราตอ้ งสอบครกู ่อนค่ะ วิธีสอบครกู ค็ อื การรบั สมัครครู แลว้ กใ็ ห้ ครูสอบการเข้ากรรมฐาน 7 วัน สอบครูด้วยการให้ครูเข้ารับการอบรม 16สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบยี บ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 17สัมภาษณ์ (ออนไลน์) สกณุ ี บญุ ญะบญั ชา, 24 มกราคม 2565. 18สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบียบ ถิรญาณี, 7 มกราคม 2565. 56

ปฏบิ ัตธิ รรม 7 วัน เจด็ วนั เจด็ คนื นเ้ี ปน็ การลา้ งสนิมลา้ งความคิด เมื่อจิตเขา บรสิ ุทธิ์เขาสามารถทจ่ี ะมามพี ลังท่ีจะสรา้ งสังคมให้ร่มเยน็ เพราะฉะนั้นตรง นี้ก็คือเรามีทีมครั้งแรกเลยก็ คือท่านหลวงตาพระมหาประยูร ติกปัญโญ ท่ี เรียนระดับปริญญาโทที่เรียนด้วยกัน ศึกษาหาความรู้ด้วยการซึ่งอายุก็ ต่างกันอยู่แล้วซึ่งได้เรียนรุ่นเดียวกันเรียนด็อกเตอร์ด้วยกัน เรียนด็อกเตอร์ ก็คนละรุ่นแต่เรียนปริญญาโทรุ่นเดียวกัน สาขาเดียวกันสาขาหลักสูตรและ การสอนซึ่งคนละสถาบันด้วยนะ แม่เรียนอยู่ที่รามคำแหงเรียนของสถาบัน รามคำแหง แต่ท่านที่เรียนท่ี มมส. แต่งานวิจัยตรงกันก็เลยได้พูดคุยกัน .... ชว่ งทไ่ี ปอบรมก็ได้กราบนมิ นต์ท่านมาบรรยาย ก็บรรยายตรงกันอีกก็เลยได้ กราบนิมนต์ท่านมาร่วมกันในการทำวิทยาลัยวิถีพุทธตรงนี้ก็คือ เมื่อเรามี ทีมคือตัวเราแล้วก็คณะคือหลวงตา ได้มีการอบรมบ่มเพาะและอบรมแล้วก็ ได้เหน็ ว่าสามวนั เจ็ดวันไมไ่ ดผ้ ลหรอก เราต้องอบรม 24 ช่ัวโมงและตอ่ เน่ือง เป็นหลักสตู ร หลักสตู รก็ตอ้ งตอ่ เนือ่ งท้งั ทางโลกและทางธรรมก็คอื หลักสูตร การศึกษา ปวช. และ ปวส. และเอาหลักธรรมควบคู่กันไปด้วยตรงน้ี เรา จะต้องมีทีมงานทีมงานก็คือครูผู้สอนที่เราไม่สามารถจะสอนเองทุกวิชาได้ เรากร็ ับครู เวลารับครกู ็จะมกี ารสอบสัมภาษณ์วา่ มหี ัวใจแคไ่ หนอยา่ งไร แต่ ในขนาดนั้นเราก็ให้ครูได้ลงมือปฏิบัติคือปฎิบัติธรรมปฏิบัติธรรม 7 วัน คือ ได้ครูคนใหม่เกิดขึ้นเลยค่ะ ลองพิสูจน์ดูนะคะถ้าอยากได้ครูดีเช่นอย่างจุล มณีค่ะ”19 “ครูที่จบตรงสายทั้งหมด โดยเฉพาะครูระดับมัธยมนั้น จะไม่มี ครูที่จบไมต่ รงสาย”20 6. การพัฒนาศักยภาพครู “มีการตรวจสอบในการสอนออนไลน์ตลอด ทุกวิชาก็จะแบ่งกัน ให้รองผู้อำนวยการ 4 คน ก็จะเข้าดูครูทุกคนในแต่ละสายวิชา ในปีที่แล้วก็ 19สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบียบ ถิรญาณี, 7 มกราคม 2565. 20สมั ภาษณ์ ดร.อัฏฐผล ถริ พรพงษศิริ, ผู้อำนวยการโรงเรยี นวัดสทุ ธวิ ราราม, 22 มกราคม 2565. 57

มีครูของเรา 1 ท่าน ไม่ถนัดในการใช้แอพพลิเคชั่น Google Meet ในการ สอน นักเรียน ท่านก็เกิดมายด์เซ็ท เราก็ปลูกฝัง มายเซ็ทให้เขาวา่ ถ้าคณุ ครู ไม่สามารถสอนให้เด็กนกั เรียนได้ เด็กนักเรียนมีคำถาม ให้จำลองห้องเรียน ไปไว้ที่บ้านแล้วโดนนักเรียนมีคำถามและเด็กนักเรียนจะถามใคร ขอทราบ ใบเสร็จให้คุณครูเขาก็เข้าใจ และไปเรียนรู้ด้วยตัวเอง ทางโรงเรียนก็จะส่ง ครูไปอบรมทางออนไลน์ ที่หลากหลายวิธีการเพื่อที่จะมาใช้กลับกับเด็ก ตอนนี้คุณครูท่านนั้นก็สามารถจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้ โดยเต็ม รูปแบบ”21 “พัฒนาโดยส่งครูไปฝึกอบรม เมื่อการพัฒนาเต็มรูปแบบแล้ว มี หนังสือมีคู่มือมีออนไลน์แล้วพัฒนารูปแบบแล้ว ต่อยอดแล้วท่านอาจารย์มี การทดสอบอย่างไรบ้าง ในการทดสอบคุณครู ในการทดสอบคุณครูก็คือ การเข้าไปดูการสอนของครูผ่าน Google Meet เป็นการนิเทศ ว่าคุณครู ท่านนี้สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ตามที่เราต้องการคาดหวังไหม และ เด็กก็เข้าใจโดยการที่เด็กสามารถโต้ตอบกับครู และจากการสังเกต หอ้ งเรยี นปลายทาง ดผู ลสมั ฤทธ์ิในวิชานั้น”22 7. จิตวทิ ยาเชิงบวก “ยกตัวอย่างของจริงมลี ูกของท่านผู้ปกครองคนหน่ึงซ่ึงสามารถท่ี จะส่งลกู เรียนโรงเรียนดังต้องเสียค่าเทอมเยอะเยอะได้ ในขนาดเดยี วกันลูก ของท่านก็ไปทำความผิดนิดหน่อย เสร็จแล้วก็อยู่ที่นั่นไม่ได้ต้องย้าย ใน ขนาดที่เขานำลูกมาผู้ปกครองจะต้องบอกความไม่ดีของลกู หมดเลย แต่เรา ไม่รับฟัง แม่ก็จะอาแขนรับลูกอาจารย์แม่ รอคอยนานแล้ว แล้วก็กอดเขา ดว้ ยความรัก การกอดของเราที่ใหก้ บั เดก็ น่ี ทำใหเ้ ดก็ เปลีย่ นเพราะเขาไม่ได้ สัมผสั ตรงนี้ ..กอดด้วยความรกั เปน็ การต้อนรับระดับทหี่ นึง่ ระดบั ที่สองเชิง บวก เราจะต้องพูดเชิงบวกทุกเรื่อง ขณะเดียวกัน เราสามารถที่จะ 21สัมภาษณ์ (ออนไลน์) สกุณี บญุ ญะบัญชา, 24 มกราคม 2565. 22สัมภาษณ์ ดร.อัฏฐผล ถริ พรพงษศริ ิ, 22 มกราคม 2565. 58

เปลี่ยนแปลงเขาจะความรักและการพูดเรื่องเชิงบวก เขาจะเปลี่ยนแปลง ทุกอย่างเพราะสังคมท่เี ขาอยทู่ รงผมก็ดี การอยูก่ ารกินการพดู การจาก็ดี ไม่ เหมือนกับที่เราให้เขา ถ้าเกเรถ้าดีถ้าผมยาวถ้าพูดยากถ้าพูดไม่เพราะ อาจารย์แม่ชีสอนเองจะไม่ให้พ่อครูแม่ครูเป็นภาระมาก แต่ถ้าดีอยู่แล้ว ตั้งอยู่ตรงไหนก็ดีใครก็สอนได้ แต่ถ้าผิดแปลกเราจะมาสอนเอง วิธีของการ สอนก็สอนพัฒนาเชิงบวกค่ะ ให้ความรู้ให้ความรักตลอด อันนี้คือสิ่งที่มัน ตอ้ งเกิดจากจติ ของเราการพฒั นาผ้เู รียนเชิงบวก”23 ฆ. นำหลักธรรมมาใชเ้ ปน็ กรอบในการดำเนนิ การ ในการดำเนินงานในฐานคิดจากการนำหลักพุทธธรรมเข้ามา บูรณาการ และใช้เป้นกรอบในการดำเนินงาน ภายใต้หลักการที่เหมาะสม กับสถานศึกษา ด้วยคุณลักษณะของแต่บละสถานศึกษามีความตกต่งกัน และมีบริบทที่แตกต่างกัน โดยมีรายละเอียดจากคำสัมภาษณ์ชองผู้ให้ ขอ้ มลู สำคญั ดงั นี้ “จุดเน้นคือคุณธรรมนะค่ะ เน้นคุณธรรม” นอกจากนี้จุดเด่นที่ เป็นเป็นอัตลักษณ์ของโรวเรียนเราคือ เน้นเรื่องคุณค่าความเป็นมนุษย์ 5 ประการ 1) ความรักความเมตตา 2) ความจริง 3) ความประพฤติชอบ 4) ความสงบสุข 5) อหิงสา ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน อันนี้เป็นแกนของโรง เรยนเราเลย และคณุ ลกั ษณะของนักเรียนของเราจพบว่ามีคุณลักษณะแบบ นเ้ี ลย”24 “จากครูต้นแบบ (คุณแม่สิริ) มาสู่การพัฒนาตัวเอง ...การพัฒนา ตัวเองเร่ิมจากพฒั นาจติ เสรมิ ตอ่ ด้วยปัญญา และสรา้ งสนั ติสขุ อาจจะพูดได้ 23สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบียบ ถิรญาณี, 7 มกราคม 2565. 24สัมภาษณ์ ดร.ทศั นยี ์ ทองสม, 24 มกราคม 2565. 59

ว่ากรอบคิดด้านคุณธรรมที่ใช้ในการดำเนินโรงเรียนของเราคือ หลัก ศีล สมาธิ ปัญญา ”25 “พัฒนาต้นแบบไร่เชิญตะวัน คิดว่าจะพัฒนาให้เป็นต้นแบบของ การสร้าง ที่นี่ผมต้องการ พัฒนาให้เป็นต้นแบบของการเอาธรรมะมาใช้ใน ชีวติ ประจำวันโดยที่ให้ธรรมะเป็นวิถชี ีวิตเป็น เป็น the way of Life”26 “โรงเรียนในแบบจิตอาสา เด็กที่นี่เรื่องจิตอาสาค่อนข้างที่จะ เข้มแข็ง วิธีการจะขับเคลื่อนจิตอาสาในโรงเรียนของเราก็คือ การเอาไปผูก กับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน แล้วไปพัฒนาการเรียน การสอนตรงนั้น ก็คือจะเอาคะแนนมาผูกกันเพื่อ เบื้องต้นให้เด็กนักเรียน เรา Drive เพราะว่ามีขนาดมาล่อ แล้วก็ฝึกเขาพอหลังๆ มานี่ นักเรียนที่โต ขนึ้ หน่อย ท่ีผา่ นมา 1 ม 2 มาแลว้ เรอ่ื งก็ ม.ปลายเขากจ็ ะออกไปด้วยใจของ เขาเอง วา่ เหมอื นกับเขาถูกฝึกมาตลอด เหมอื นเป็นรูปแบบเป็นจติ ใจ”27 ง. จดั กระบวนการเรียนรแู้ บบมีภาคปฏบิ ัตใิ นรายวชิ า ในการจัดการเรียนการสอน หากมีแต่หลักการ จะทำให้เกิดการ เรียนรู้ในเชิงหลักการในภาคทฤษฎีจะพบได้จากการศึกษาในลักษระเดิม แต่ในปัจจุบันหลักการจัดการศึกษามีการบูรณาการการเรียนรู้ใน ภาคปฏิบัติเพื่อให้เกิดทักษะการคิดเชิงระบบ และเกิดความชำนาญใน สาขาวิชานั้นๆ รวมทั้งเกิดทักษะชีวิต และความชำนาญมนการปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวนั ดังคำสมั ภาษณข์ องผใู้ ห้ขอ้ มลู สำคญั ดังน้ี “ดังนั้น วิธีที่จะออกแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยค่ะก็เลย ว่างๆ ของมันจะมี 3 ช่วงก็คืออนุบาลประถมมัธยมในวัยอนุบาลเนี่ย หลักสูตรของโรงเรียนออกแบบ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการเล่นการเล่น การเงินการงานทหี่ มายถึงวา่ กิจวัตรท้ังรายการครัวก็คือทำตัวอะไรทำนองนี้ 25สัมภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบยี บ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 26สมั ภาษณ์ พระเมธีวิโรดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 27สมั ภาษณ์ ดร.อฏั ฐผล ถิรพรพงษศริ ิ, 22 มกราคม 2565. 60

เพื่อให้เขาได้เข้าใจแล้วก็ใช้ใช้การเรียนรู้ในชีวิตปกติของเด็กให้เป็นสิ่งที่มัน เป็นการเรียนรู้และพัฒนาตัวเด็กอนุบาลนะคะก็จะได้สอดคล้องกับช่วงวัย 5 ขวบ 6 ขวบ 4-6 ขวบในช่วงหลังอนุบาล แล้วก็เป็นครูก็จะสร้างเป็นเป็น เป็นตรีมเช่นกรณีเรื่องเอางานครูมาเรียนเนี้ยกูก็จะพานักเรียนทำอาหาร แล้วก็เรียนรู้เรื่องส่วนประกอบของอาหารด้วยกันเด็กได้ฝึกหัดพักเด็ดผัก คุณครูก็มีการทำในห้องนะคะไม่ว่าจะผัดผักทอดปลาทำข้าวผัดไข่เจียวเด็ก กจ็ ะได้เห็นกระบวนการตา่ งๆซ่ึงมันเป็นความเป็นจรงิ ของชวี ิต”28 จ. ปรบั mind set เปลีย่ นมมุ มองในการมองทกุ สงิ่ รอบๆ ตัว ปรับเปลี่ยนวิธีการมอง หรือวิธีคิด เพื่อเปิดโอกาสให้เกิดการ พัฒนาในด้านต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เปล่ยี นวิธคี ดิ จากเดมิ ๆ เป็นวิธคี ดื แบบใหม่จะเกดิ ผลลัพธใ์ หม่ๆ ดังนี้ “ในเรื่องของจิตอาสาทุกๆ คนได้ฝึกฝนในเรื่องของการเสียสละ ตั้งแต่ตื่นขึ้นมาเช็ดถู อยู่ตรงไหนขัดห้องน้ำตรงไหน ทำกับข้าวตรงไหน เม่ือ เด็กเด็กเหล่านี้ได้ทำกิจกรรมในส่วนนี้ แต่ละวันแม้เขาจะไปอยู่ข้างนอกเขาก็ ไม่อายจากการที่เขาจะไปกวาดบ้านถูบ้าน เขาไม่อายที่จะต้องไปเก็บเพชร เก็บพลอย เด็กเห็นขยะทเี่ ราเรยี กวา่ ขยะ แม่สอนเขาว่าน่ีคือสง่ิ ท่ีมีคณุ คา่ ที่สุด นะลูก เพราะตอนที่เราซื้อลูกชิ้นใส่ถุงนี้ถุงเป็นภาชนะท่ีสูงค่า เพราะถ้าหาก เราซื้อมาแล้วใสม่ อื มันกเ็ ปื้อน แต่ภาชนะที่ใสม่ าคือมคี า่ มาก ถ้าคนรู้เอาไปทง้ิ ให้เป็นที่ไม่ต้องทำให้คนอื่นเป็นภาระ สิ่งเหล่านี้จะมีค่ามากเลย เพราะมันไม่ ทำให้คนอื่นเดือดร้อน และทีนี้เขาก็จะเห็นคุณค่าของเพชรพลอยเหล่านั้น ก็ แยกแยะเปน็ แยกแยะเป็น”29 “ลดรปู แบบของความเปน็ ทางการของความเปน็ วดั แลว้ ทำวัดให้ เข้าถึงกันง่ายๆ Easy extraction เหมือนว่าเราเดินเข้าร้านกาแฟ เดินเข้า 28สมั ภาษณ์ (ออนไลน์) สกุณี บุญญะบญั ชา, 24 มกราคม 2565. 29สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบียบ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 61

ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น เดินไปเที่ยวในห้าง โดยมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของ ชีวติ ”30 “คอื สิ่งที่ผมตอ้ งการสื่อสารกับสังคมไทยว่า ลดความเป็นทางการ ของความเป็นวัดลง ในแบบพิธีรีตองหรือ ในแบบราชการลง แล้วทำให้วัด เป็นส่วนหน่ึงของสังคมไทยแล้วเดินเข้าหาแบบ ไม่ต้องมีกำแพงมากั้นอีก ต่อไป กำแพงในที่นี้ก็คือ กำแพงของรูปแบบ กำแพงของความเป็นราชการ กำแพงท่ีเปน็ กำแพงจรงิ ๆ ลดออกหมดเลย”31 ฉ. เชอ่ื มกระบวนการเรยี นรูก้ ับชมุ ชน กระบวนการเรียนการสอนในปัจจุบัน หากไม่พิจารณาถึงการ เชื่อมโยงชุมชนก็จะทำให้ขาดความต่อเนื่องของการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ในการพัฒนา ดังนั้นชุมชนที่มีองค์ความรู้ มีปราชญ์ชาวบ้าน หรือมี สถานการณ์ท่ผี เู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงและใชเ้ ป็นบทเรยี นได้ ดงั น้ี “กระบวนการเรียนเรียนเชือ่ มโยงระหว่างเรียนและชุมชน ศึกษา สาเหตุของปัญหาต่าง ว่างระบบการเรียนรู้ให้เป็นระบบของทุกภาค การศึกษา จะมีวิธีการเรียนอย่างไร เช่นระดับประถมปลาย ก็จะเรียนเรื่อง ของข้าวไทย วิถีไทย ก็จะเอาเรื่องของการปลูกข้าวเนี่ยมามาลำดับ กระบวนการปลูกข้าวเหนียว ลำดับสอดคล้องไปกับการเรียนตลอดปี ก็ เรียนตามหาน้ำมาจากไหน น้ำหมายถึง อะไร น้ำประปา มาจากไหน และ ข้าวมาจากไหน ถงึ ได้มาอย่ใู นกลอ้ งข้าว เพราะอะไรถึงใช้นำ้ จากกอ๊ ก กเ็ ปน็ การย้อนรอยไปไปสู่ต้นน้ำ ต้นน้ำในป่า นี้คือการเรียนระดับมัธยม ที่เป็น Project ที่ให้เด็กเข้าไปร่วมแก้ปัญหากับชุมชนด้วย มีการเรียนเกี่ยวกับ ภาคต่างๆ และนักเรียนก็จะได้ไปศึกษาประเด็นปัญหาของชุมชนนัน้ ๆ หรือ ว่าเขาก็จะได้มีการทำสื่อเพื่อสื่อสารสิ่งที่เขาได้เรียนรู้ในมัธยม ก็จะมีตีม ที่เน้นด้านสังคม ตีมที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์ที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์ จะ 30สัมภาษณ์ พระเมธวี ิโรดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 31สัมภาษณ์ พระเมธวี ิโรดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 62

เรยี นร้เู ชน่ ว่ากระบวนการตา่ งๆ ท่ีทำใหข้ ยะล้นโลก มอี ะไรท่เี กิดขึ้น ขยะใน ในเมืองไทย กรุงเทพฯ แล้ว ถ้าเราจะทำให้ขยะเอาไปใช้ประโยชน์ หรือว่า ทำให้ขยะมันน้อยลง มีอะไรบ้างที่จะเป็นเครื่องช่วยไปพัฒนาสิ่งต่างๆ เหลา่ นัน้ สว่ นอีกอนั นึงที่เนน้ ด้านด้านดา้ นคณิตศาสตร์เราเรียกว่า financial literacy ก็จะได้รู้เกี่ยวกับเรื่องของต้นทุนกำไรการออมการใช้เงิน เพื่อเป็น การสอนให้เด็กรจู้ กั ใชจ้ ่าย ร้จู กั ออมไว้ใช้ในอนาคตด้วย”32 ช. การบรู ณาการหลกั ธรรมเพ่ือให้ไดน้ วัตกรรมใหม่ “เราใช้หลักธรรมนำการศึกษามาพัฒนาบูรณาการควบคู่กับ มาตรฐานการศึกษาเข้าไปด้วย ด้านการเรียนการสอนคือเราต้องให้ผู้เรียน ได้ความรู้ ไมใ่ ชใ่ หค้ วามร้เู ฉพาะทางโลกอย่างเดียว เพราะใหค้ วามรู้ทางโลก น้มี ันกไ็ ปสดุ ไปตันอยทู่ ป่ี ริญญาเอก แตค่ วามรู้ท่ีเราจะตอ้ งให้เขาเสริมเข้าไป อีก ก็คือให้ความรู้ทางธรรม เป็นความรู้ 2 อย่าง โดยความรู้ทางธรรมเอา หลักไตรสิขาเข้ามาบูรณาการ ไตรสิกขา คือ ศีล เด็กรักษาศีลโดยไม่รู้ตัว หนึ่งเด็กไม่ได้ฆ่าสัตว์ เพราะที่นี่เป็นอาหารที่สำเร็จจากการบริจาคมาด้วย จากการท่ีเราสง่ั ซือ้ มาเป็นของทไี่ ม่มีชวี ิตแลว้ เด็กไดร้ กั ษาศลี โดยไม่รู้ตัว ศีล ข้อที่หนึ่งเขาไม่ได้ฆ่าสัตว์ ข้อที่สองทุกคนแม้เสื้อผ้าก็ยังต้องปักชื่อของ ตัวเองเพื่อไม่ให้ใช้ผิดสี ไม่ให้ใช้ผิดแปลว่าเขาจะไม่มีสิทธิ์ในการไปหยิบจับ ของคนอื่นแลว้ เรอื่ งเสอื้ ผ้า แลว้ เร่ืองปจั จัยกใ็ ห้ฝากธนาคารเรามีธนาคารจุล มณแี บงค์ เด็กนักเรยี นจะสามารถซื้อขนมรบั ประทานในสหกรณ์ ไดว้ ันหนึ่ง ไม่เกิน 30 บาท เช้าเบิกได้ 10 บาท กลางวัน 10 บาท ตอนเย็น 10 บาท หลังจากสวดมนต์ก็จะมีกิจกรรมตรงนี้แปลว่าเด็กก็จะได้ศีลข้อที่หนึ่งไม่ฆ่า สัตว์ ศีลข้อที่สองไม่ได้หลักทรัพย์เพราะเงินไม่ได้อยู่ในกระเป๋าของเด็ก เสื้อผ้าก็มีปักชื่อไว้หมดแล้ว และเด็กถูกแยกชายและหญิงไม่ได้ประพฤติผิด ในรูปรส ไม่ได้ให้ใช้โทรศัพท์โดยที่เขาไม่ได้แชท LINE ไปหาใคร ให้ใช้ 32สมั ภาษณ์ (ออนไลน์) สกณุ ี บญุ ญะบัญชา, 24 มกราคม 2565. 63

เฉพาะวันเสาร์อาทิตย์ เพิ่งให้ใช้ปีนี้ที่ให้ใช้มาไม่ได้ให้ใช้เลยหนึ่งเทอมกลับ บ้านกไ็ ปใชเ้ ตม็ ทีเ่ ลย”33 “คือเราบูรณาการหลักไตรสิกขามาใช้กับเด็ก เด็กได้รับความรู้ ด้านทางโลกคือหลักสูตรการศึกษา ทางธรรมก็คือการเอาหลักไตรสิกขามา บูรณาการ ให้เด็กทำให้ดูอยู่ให้เห็นเด็กเขาก็ได้เรียนรู้โดยที่รักษาศีลไม่รู้ตวั เจริญภาวนาทุกวันจนชำนาญและเชี่ยวชาญ ระดับจิตของเขาได้เท่าไหร่ก็ เท่านั้นเกิดปัญญาตามวัย ตามอายุอันนี้คือสิ่งที่เขาเกิดขึ้นเราบูรณาการ แบบน้นี ะคะ”34 “ห้องคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักเรียน ผมยังมีความคิดทำ ห้องเรียนไม่ต้องมีถังขยะได้ไหม ก็เหมือน ผมเป็นนร. แพทย์ห้องเรียน แพทย์ผมไมม่ ถี ังขยะ กเ็ ปรยี บเหมือนผมผ่าตัดจะลืมกรรไกรไวใ้ นท้องผู้ป่วย ไม่ได้ เพราะฉะนั้น ทำกิจกรรมเสร็จเรียนเสร็จต้องเก็บของใครของมันเดก็ ต้องสร้างว่าวินัยให้ตนเอง เริ่มจากที่บ้าน ที่บ้านแล้วก็มาห้องเรียนของ ตนเอง การปลูกฝงั ความสำนกึ ครเู ปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ีตง้ั แต่เดนิ เข้าหนา้ โรงเรือน มาถึงแต่เช้า ยืนรับเด็ก การเป็นตัวอย่าง ครูมาแต่เช้ามองศรีษะจรดปลาย เท้า ผู้ปกครองจอดรถ เราไหว้ สร้างความประทับใจให้กับผู้ปกครอง ผู้ปกครองให้ความสำคัญให้ประทับใจบุคลิกภาพการมีระเบียบวินัย ยกมือ ให้ผู้ปกครองผู้ปกครองประทับใจเวลาประชุมประจำเดือน ครูท็อปนำสวด มนต์ ไหว้พระ นั่งสมาธิ เพราะเรายังเป็นพุทธ โดยพัฒนารูปแบบการสอบ คณิตศาสตร์การนำเข้าสู่บทเรียนอย่างไรตอนนั้นไม่ทำโครงการอย่างน้อย นำเขา้ ส่บู ทเรียนด้วยคุณธรรม จริยธรรม สบื ทอดวัฒนธรรม คลมุ A กลุ่ม B ต้อง ถ้ามีภาวะผู้นำ มีความรับผิดชอบLearning by doing กตัญญู 33สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบียบ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 34สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบียบ ถิรญาณี, 7 มกราคม 2565. 64

กตเวทิตา กตัญญูเป็นเครื่องหมายของคนดี คนไทยนึกถึงพ่อแม่แต่ไม่เคย ตอบแทนบญุ คุณผมไม่เคยอายพ่อแมเ่ ปน็ ชาวไร่ ชาวนา” 35 “การใช้สถาปัตยกรรมทั้งหมดออกแบบภายใต้เซ็น แบบพุทธ ศาสนาแบบเซน Zen buddhism ผสมกับความเป็นล้านนาของเชียงราย ผมจึงเอาไผ่เอาไม้เอาหิน เอาบุคลิกภาพต่างๆ มารวมเป็นไร่เชิญตะวัน จุด นี้เป็นจุดดูวิว ที่เห็นตื่นที่กว้างๆ นี้ไม่ใช่ลานจอดรถนะ อันนี้เขาเรียกว่า สูญญตาคารอาคารแห่งความว่าง อันนี้สูญญตารามอารามแห่งความว่าง เอาไว้นั่งตรงนี้ดูเขา แบบวัดเซ็นทั้งหลายในญี่ปุ่น เป็นปริศนาธรรมคนเขา ไม่รู้คิดว่าเป็นลานจอดรถ แล้วเณรน้อย 4 องค์ที่นั่งอยู่ตรงนั้นเราโดนก๊อป ไปทั่วประเทศ จะได้เห็นที่มาที่ไป ที่นี้ชาวบ้านมาที่นี่จะเจอผมไม่เจอผม ยังไงเขาก็ได้ธรรมะอยู่แล้ว แล้วเดินไปจะได้ยินเสียงน้ำอยู่เรื่อยๆ มันสบาย จิตสบายใจ ที่นี่เราตกแต่งน้อยที่สุดนะ ถ้าเป็นงามร่วมสมัยนี้เราเรียกว่า เป็นเส้นแบบนี้มินิมอล จิ๋วแต่แจ๋ว อย่างต้นไผ่นี้เขาอยู่มาก่อนแล้วก็ให้เขา อยู่ต่อไป เราจะไม่ไปปรุงไปแต่งเขามาก แต่มองให้มองเป็นความงาม นี่ก็ เป็นปริศนาธรรมมี 8 ชิ้นก็ช่วยประมูลพี่ตูนประมูลได้ 25 ล้านบาท นี่เป็น งานผมเองนะ งานศิลปะผมเอง เปน็ รูปวาดทีอ่ ย่ใู นหนังสือ อุโมงค์ทางเสน้ นี้ เราเลียนแบบมาจากเรือ่ งนางสุมนมาลาการ ในพระธรรมบทที่ถวายดอกไม้ และดอกไม้กั้นเป็นเพดาน นั่นแหละมาจากเรื่องนั้น ผมเลยเอามาทำตรงนี้ แล้ว 2 ข้างเนี่ยมีคติธรรมอยู่ตลอดนะ ไม่ครับตัวนี้ทั้งหมดเป็นปริศนาธรรม ทั้งหมด มันจะดีไม่ดีมันอยู่ที่นี่วันไหนเราได้ช่วยคน เราก็จะรู้สึกดีใช่ไหม เดีย๋ วไปดหู ้องน้ำแมแ้ ต่ห้องนำ้ และน่เี ปน็ ร้านหนังสอื เลก็ ๆ ของผมท่ที ่านหา หนังสือทั่วประเทศจะมีอยู่ในนี้ทั้งหมด และหาที่อื่นไม่เจอนะจะอยู่ที่น่ี ทัง้ หมด”36 35สมั ภาษณ์ ดร.อฏั ฐผล ถิรพรพงษศิริ, 22 มกราคม 2565. 36สมั ภาษณ์ พระเมธีวิโรดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 65

“เราบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวิถีพุทธ ก็คือวิถี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเนื้อเดียวกันเป็นตัวเดียวกัน วิถีชีวิตที่เขา ดำรงชีวิตอยู่เราไม่มีแม่บ้าน เราไม่มี ภารโรง เราไม่มียาม เด็กเป็นแม่บ้าน พอถึงเวรก็ทำกับข้าว ขัดห้องน้ำ ถึงเวรก็เก็บกวาดเช็ดถู เก็บเพชรเก็บ พลอย เสาร์-อาทิตย์ ก็เอาเพชรพลอยไปขาย นั้นก็คือเรื่องการดำรงชีวิต ปกติ เสร็จแล้วขนาดเดียวกันขณะที่เขาขายของได้แล้วเขาเอามาซื้อ เครื่องปรุง น้ำยาล้างถ้วยล้างจาน หรือเราทำเองซื้อหัวน้ำยาทำได้มากขึ้น ประมาณน้ี”37 การพัฒนาต้นแบบให้ไปสู่รูปแบบที่ชัดเจน“ตรงนี้ที่เราได้ขยาย ผลและการเปน็ ต้นแบบน้ี สงิ่ ทีค่ นอนื่ ทำได้ยากแต่เราทำไดง้ า่ ยเมอ่ื คนอื่นทำ ได้ยาก แต่เราทำได้ง่ายหมายความว่า เราเชื่อครู หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า คือเป็นสิ่งที่ชื่อว่าเป็นสัจ ธรรมสูงสุดแล้ว เมื่อเราเชื่อฟังบุคคลที่ชื่อว่าสัจธรรมสูงสุดแล้ว เรามาใช้ และปฏิบัติ ผลปรากฏแห่งธรรมที่เราพิสูจน์ไม่ต้องไปถามใครเลย ก็จะ เกิดผลเร็วเมื่อเราเอาหลักธรรมหรือคำสอนของครู ที่เป็นบรมมาครูมาใช้ เราก็จะไม่ตอ้ งไปแก้ไขไม่ตอ้ งไปปรับปรุงไมต่ ้องไปทดลองใหม่ ตรงน้ีจึงเปน็ ทำให้เราพัฒนาได้เร็ว เมื่อเราพัฒนาได้เร็วแล้วเรารู้ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ สงั คมตอ้ งการ”38 ซ. สกู่ ารสรา้ งเครอื ขา่ ย “เมื่อขยายผลได้แล้วสิ่งที่เป็นวิถีพุทธ เราก็ไปสร้างเครือข่าย ด้วยกันขยายให้กับวิทยาลัยต่างๆ ได้ทำเป็นแบบอย่างแล้วก็ไปอบรม บ่ม เพาะนำไปใช้เป็นเกณฑ์มีพระพุทธรูป มีการสวดมนต์ไหว้พระ มีการปฏิบัติ ธรรม มีความสะอาดทีอ่ ย่สู ะอาด สะอาดกาย สะอาดใจ ต่อเนอื่ งออกไป ส่ิง เหล่านี้ก็เลยกลายเป็นสัญลักษณ์เอกลักษณ์ของความเป็นวิถีพุทธ ที่จะ 37สัมภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบยี บ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 38อา้ งแลว้ . 66

นำไปสู่การสร้างเครือข่าย ก็กลายเป็นเรื่องที่ทำแล้วเกิดความยั่งยืน เพราะ เป็นภาพท่ีใครๆ ก็ต้องการสังคมต้องการบอกว่าทำยาก จริงๆ แล้วความ เป็นวิถีพทุ ธ เป็นเรือ่ งเบาๆ เป็นเรื่องของความสุขและสนุกดว้ ยคะ่ ”39 “เรื่องของสัมมาอาชีพ ในฐานะที่เราเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาจุ ลมณีศรีสะเกษ สถานศึกษาที่เราบ่มเพาะด้านอาชีพ ตรงนี้มีอะไรโดดเด่น เรื่องสัมมาอาชีพ และผลิตให้นักเรียนเยาวชนที่กำลังเติบโตเป็นกำลังของ ชาติเป็นอาชีพที่สุจริต ทำได้อย่างไรหรือมีกระบวนการอย่างไร ... ตรงนี้ก็ ดแู ลงา่ ยงา่ ยค่ะ กค็ อื เดก็ มีสีมสี มาธิมปี ัญญา เดก็ มีสติ มีสมาธเิ ขา จะไปอยูท่ ี่ ไหนเขาก็อยไู่ ดท้ น หลกั สูตรเรากม็ ีการฝกึ ประสบการณ์ไปสู่วชิ าชีพ ขนาดท่ี ลูกเราไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับสถานประกอบการ เราทำ MOU ไว้ 50-60 สถานประกอบการ และก็จะอยู่กับสมาคมอซู่ ่อมรถแหง่ ประเทศไทย เยอะมาก 300-400 สถานทปี่ ระกอบ ....ท่ีลูกลูกของเราไปฝกึ ประสบการณ์ วิชาชีพ สถานประกอบการให้ใบชื่นชมเด็กของเรามีสติมีสมาธิ และมีศีล เด็กเรานั้นได้รับการอบรมบ่มเพาะจากสถานประกอบการ และได้ ค่าตอบแทนเป็นเงินเป็นทองกลับมา และลูกของเราก็จะมี Feedback กลับมาว่าถ้าลูกเราไม่มีสติ ไม่มีสมาธิและเขาไม่มีศีล ไม่มีปัญญา เขาไม่ สามารถจะอยใู่ นสมาคม บรษิ ัท หา้ ง ร้าน หรอื โรงงานนน้ั ได้ เพราะเขาบอก ว่าในสังคมเหล่านั้นหัวหน้างานบางทีใช้คำพูดใช้ภาษาที่ฟังไม่ได้เลย ภาษา ที่มาจากสวนสัตว์ก็มีเหล่าน้ีเป็นต้น ตัวเงินตัวทองก็มี แต่ด้วยความที่เขาได้ ผ่านกระบวนการฝึกสมาธิ ฝึกสติเขาก็มีสติในการฟัง เขามีสมาธิในการ ทำงาน จึงทำให้เขาใช้อายัดตนะทั้ง 6 ของเขานี่ไปทำหน้าที่ ในสถาน ประกอบการอย่างทรงคุณค่า และอยู่ได้จนครบวาระของการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ สิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ...ตรงนี้ทำให้เขา ไปประกอบวิชาชพี เพื่อเล้ียงตัวเองและครอยครัวไดอ้ ย่างยั่งยืน นั่นคือสิ่งที่ ลูกลูกนักเรียนนักศึกษาได้จากการบ่มเพาะภายใน และออกไปฝึก 39อา้ งแล้ว. 67

ประสบการณ์ภายนอก ผลกลับมาก็คืออยู่ได้ทำได้และได้ความรู้ออกมา ประกอบอาชีพได้อย่างชัดเจนถาวร ให้เปรียบเทียบกับท่ีอื่นถ้าบริษัทต่างๆ พอเงินออกก็รวมตัวกันดืม่ สุราเมรยั เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้ กใ็ ช้เงนิ ฟุม่ เฟือย”40 “หลักสูตรเราก็มีการฝึกประสบการณ์ไปสู่วิชาชีพ ขนาดท่ีลูกเรา ไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับสถานประกอบการ เราทำ MOU ไว้ 50-60 สถานประกอบการ และก็จะอยู่กับสมาคมอู่ซ่อมรถแห่งประเทศไทยเยอะ มาก 300-400 สถานท่ีประกอบการ”41 “เราวางจุดยทุ ธศาสตร์ไวห้ มดแล้ว 1 กลุ่มปญั ญาชนมาทน่ี ่ีเพ่อื ฝึก วิปัสสนากรรมฐานชาวไทยและชาวต่างชาติ2 กลุ่มชาวบ้านทั่วไปมาชมงาน ศลิ ปะกลุ่มชาวบา้ นทว่ั ไปเน่ยี ส่วนมากมาฟงั เทศน์ฟังธรรมกลุ่มแฟนคลับผมเอง นก่ี ม็ าฟังเทศน์ทางธรรมปีหน่ึงเราแจกกนั เปน็ แสนเลม่ ชาวบา้ นทั่วไปก็จะมุ่งมา ที่ผมเนี่ยมาฟังเทศน์ฟังธรรมแล้วก็ขอถ่ายรูป3 กลุ่มนักท่องเที่ยวก็จะมาดู ความสวยความงามมาดูแรงบันดาลใจมาจิบชากาแฟมาชมงานศิลปะ4 กลุ่ม ชาวบา้ นท่วั ไปก็จะมาขอศีลขอพรแล้วก็มขี อบพระเจ้าทันใจมาขอศีลขอพร ตก ลงคนทั้ง 4 กลุ่มคือบัว 4 เหล่าเราเตรียมไว้ให้ทั้งหมด ว่ามาที่นี่แล้วจะได้รับ ประโยชนจ์ ากไรเ่ ชิงตะวันเตม็ เม็ดเตม็ หนว่ ยแนน่ อน ตามปรชั ญาของเราคอื ร่ม ร่ืนนอกด้วยเมฆไม้ร่มรน่ื ในด้วยธรรมะ”42 40อ้างแลว้ . 41อ้างแลว้ . 42สัมภาษณ์ พระเมธวี โิ รดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 68

วเิ คราะหอ์ งคค์ วามร้กู ารพัฒนาพน้ื ท่ี นวตั กรรมทางการศึกษา 69

2.2 วิเคราะห์องค์ความรู้การพัฒนาพ้ืนที่นวตั กรรมทาง การศกึ ษา 2.2.1 สร้างใหค้ นเก่งเราก็มี สร้างคนใหด้ เี รากท็ ำได้ “เราจะพาลูกของเราเอาเรื่องพอเพียงมาอย่างเดียวไม่ได้ เราจะ ให้ลูกเราสวดมนต์ไหว้พระปฏิบัติธรรมอย่างเดียวก็ไม่ได้ เราจะต้องให้เขา เกิดปัญญาเกิดทักษะ เราจะต้องบูรณาการเรื่องของการแข่งขันทักษะกับ สังคมภายนอก กับเขตพื้นที่การศึกษา กับ สอศ. ของโรงเรียนวิทยาลัยใน จังหวัด และได้ประกวดไปถึงระดับภาคระดับประเทศตามลำดับ อันนี้จึง ต้องบูรณาการทางด้านวิชาการและทักษะกีฬา วิชาการ วิชาชีพ วิชาชีวิต เพราะว่าเราตั้งใจที่จะผลิตสิ่งน้ีออกสู่สังคม ต้องได้ทางโลกและทางธรรม ต้องมีความเข้มแข็งในเรื่องของหิริโอตัปปะ เกรงกลัวต่อบาปละอายต่อ ความชัว่ รักษาศลี ”43 2.2.2 เกิดการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม “ความรู้ทางธรรมเอาหลักไตรสิขาเข้ามาบูรณาการ ไตรสิกขา คอื ศีล เด็กรักษาศลี โดยไม่ร้ตู ัว หนึ่งเด็กไมไ่ ด้ฆ่าสตั ว์ เพราะท่ีน่ีเปน็ อาหารทส่ี ำเรจ็ จากการบริจาคมาด้วย จากการที่เราสั่งซื้อมาเป็นของที่ไม่มีชีวิตแล้ว เด็กได้ รักษาศีลโดยไม่รู้ตัว ศีลข้อที่หนึ่งเขาไม่ได้ฆ่าสัตว์ ข้อที่สองทุกคนแม้เสื้อผ้าก็ ยังต้องปักชื่อของตัวเองเพื่อไม่ให้ใช้ผิดสี ไม่ให้ใช้ผิดแปลว่าเขาจะไม่มีสิทธิ์ใน การไปหยิบจบั ของคนอนื่ แลว้ เร่ืองเส้ือผา้ แล้วเร่ืองปัจจัยก็ใหฝ้ ากธนาคารเรามี ธนาคารจุลมณีแบงค์ เด็กนักเรียนจะสามารถซื้อขนมรับประทานในสหกรณ์ ได้วันหนึ่งไม่เกิน 30 บาท เช้าเบิกได้ 10 บาท กลางวัน 10 บาท ตอนเย็น 10 บาท หลังจากสวดมนต์ก็จะมีกิจกรรมตรงนี้แปลว่าเด็กก็จะได้ศีลข้อท่ีหนึ่งไม่ ฆ่าสัตว์ ศีลข้อที่สองไม่ได้หลักทรัพย์เพราะเงินไม่ได้อยู่ในกระเป๋าของเด็ก เสื้อผ้าก็มีปักชื่อไว้หมดแล้ว และเด็กถูกแยกชายและหญิงไม่ได้ประพฤติผิดใน 43สัมภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบียบ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 70

รูปรส ไม่ได้ให้ใช้โทรศัพท์โดยที่เขาไม่ได้แชท LINE ไปหาใคร ให้ใช้เฉพาะวัน เสาร์อาทิตย์ เพิ่งให้ใช้ปีนี้ที่ให้ใช้มาไม่ได้ให้ใช้เลยหนึ่งเทอมกลับบ้านก็ไปใช้ เตม็ ที่เลย”44 2.2.3 มคี ุณลักษณะเปน็ จิตอาสา “ในเรื่องของจิตอาสาทุกๆ คนได้ฝึกฝนในเรื่องของการเสียสละ ตั้งแตต่ ่นื ขึน้ มาเชด็ ถู อยู่ตรงไหนขัดห้องน้ำตรงไหน ทำกับข้าวตรงไหน เมื่อ เด็กเด็กเหล่านี้ได้ทำกิจกรรมในส่วนน้ี แต่ละวันแม้เขาจะไปอยู่ข้างนอกเขา ก็ไม่อายจากการที่เขาจะไปกวาดบ้านถูบ้าน เขาไม่อายที่จะต้องไปเก็บ เพชรเกบ็ พลอย”45 “เด็กที่นี่เรื่องจิตอาสาค่อนข้างที่จะเข้มแข็ง องค์ประกอบพูด ตรงๆ ก็คือ วิธีการจะขับเคลื่อนจิตอาสาในโรงเรียนของเราก็คือ การเอาไป ผูกกับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน แล้วไปพัฒนาการ เรียนการสอนตรงนั้น ก็คือจะเอาคะแนนมาผูกกันเพื่อ เบื้องต้นให้เด็ก นักเรียนเรา Drive เพราะว่ามีขนาดมาล่อ แล้วก็ฝึกเขาพอหลังๆ มานี่ นักเรียนที่โตขึ้นหน่อย ที่ผ่านมา ม. 1 ม 2 มาแล้วเรื่องก็ ม. ปลายเขาก็จะ ออกไปด้วยใจของเขาเอง ว่าเหมือนกับเขาถูกฝึกมาตลอด เหมือนเป็น รูปแบบเป็นจิตใจ และต้องมีเทคนิควิธีการในการพาเขาออกไป ส่วนเด็กม ปลายนี่ก็ไม่ต้องพูดเยอะเขา ไปด้วยใจ เพียงแค่บอกว่ามีอะไรและทำที่ ไหน”46 2.2.4 วถิ ีชีวติ ท่ใี ชใ้ นครอบครัว “เขาก็จะจำได้หมายรู้แล้วก็เข้าสู่วิถีชีวิตของตนเองและไปสู่ ชีวิตประจำวันเริ่มต้นที่ครอบครัวไปถึงกราบพระเป็น ไปถึงกราบกับพ่อแม่ได้ หุงข้าว กวาดบ้าน ซักเสื้อผ้าได้ แปลว่าเขาได้นวัตกรรมจากเราที่ทำให้ดูอยู่ให้ 44อา้ งแลว้ . 45อ้างแล้ว. 46สัมภาษณ์ ดร.อฏั ฐผล ถริ พรพงษศิริ, 22 มกราคม 2565. 71

เห็นแล้วก็ไปใช้ต่อที่บ้าน อันนี้ก็เป็นนวัตกรรมที่งดงามของชาวพุทธแล้วก็เป็น วิถีชีวิตที่ใช้ในครอบครัวอย่างยั่งยืนอยู่กับสังคมและครอบครัวได้อย่างยั่งยืน คือทำใหด้ อู ยู่ให้เห็น”47 2.2.5 เป่ยี มไปดว้ ยใจกรณุ า “สิ่งที่เราต้องการจากตัวเด็กหนึ่งคน เพื่อให้เด็กไปขยายผลสู่ สังคมเราต้องใช้อุปกรณ์ในการดูแล เราต้องประคับประคองและเป็นผู้ให้ มาก อุปกรณ์ที่จะให้คนคนหนึ่งเป็นคนดีได้ประกอบไปด้วย ...หนึ่งพรม วหิ ารให้ความรัก ความรักจรงิ ๆ ความรักความเมตตา ใหก้ รุณาความสงสาร เขาเพราะเขายงั ไมร่ ู้ และตอ้ งรกั ษาจิตของเขาดว้ ย ใหค้ วามอุเบกขาวางเฉย ในบางอย่างที่เขาทำได้หรือทำไม่ได้ และมีมุทิตายินดีกับสิ่งท่ีเขาพัฒนา จากพ่อแม่หย่าร้างตายจาก เด็กขาดซึ่งความรัก อันนี้อุปกรณ์ที่หน่ึงคอื พรม วิหารที่จะต้องให้เด็ก อุปกรณ์ที่สองคือที่อยู่อาศัย อุปกรณ์ที่สามคือเสื้อผ้า เคร่ืองนงุ่ หม่ ยารักษาโรค ...ทีอ่ ยู่อาศัย เสอื้ ผา้ เครือ่ งน่งุ หม่ ยารกั ษาโรค น้ี เป็นปัจจัยที่เราต้องมีที่พักให้ มีน้ำไฟให้ มีข้าวให้ น้ำไฟก็ฟรี อาหารก็ฟรี ท่ี พักก็ฟรี นี่คืออุปกรณ์ที่จะทำให้คนคนหนึ่งกลายเป็นคนดี เมื่อเขาเป็นคนดี แล้วกำไรจากการที่เราลงทุนด้วยความรักความเมตตาด้วยอุปกรณ์ท่ีที่พัก อาศัยให้ฟรีตรงน้ี จึงทำให้คุ้มค่ามากกว่าที่เราจะไปเสียดายปัจจัย เพราะ เราทำให้คนคนหนึ่งเป็นคนดีได้เพราะคนคนหนึ่งจะไปขยายผลทั้ง ครอบครัว และถ้าได้หลายหลายครอบครัวก็จะขยายผลในสังคม ถ้าหลาย หลายครอบครัวเป็นตำบลเป็นอำเภอเป็นจังหวัด ประเทศชาติของเราก็จะ ร่มเย็น กลายเป็นประเทศแห่งนวัตกรรมคุณงามความดี และความนอบ นอ้ มอันนคี้ มุ้ นะคะอนั นค้ี ืออุปกรณ์สำคัญค่ะ”48 2.2.6 ชมุ ชนแห่งการเจริญสติ 47สมั ภาษณ์ แมช่ ี ดร.ระเบยี บ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 48อา้ งแล้ว. 72

“ผมต้องการให้ที่นี่เป็นชุมชนแห่งการเจริญสติ ที่ผมทำออกมา เนี่ยมันคล้ายๆ จะเป็น Cold working Space หรือพูดสั้นๆ ว่า Temple in the Park นค่ี อื Concept เป็นหลกั Temple In The Park กค็ ืออะไรที่ อยู่ในสวน หรือเป็นวัด ทอี่ ยู่ในสวน จะเหน็ ได้ว่า พอมาที่นแ่ี ล้วท่าน จะเห็น ยอดไมก้ อ่ นยอดโบสถ์ยอดวิหาร Temple in the park คือนยิ ามท่ีสั้นที่สุด พอทำอย่างนี้ปุ๊บ มันก็เหมือนกับว่าเป็นสวนสาธารณะใครๆ ก็อยากมา เที่ยว ถูกต้องไหมห้องรับแขกของผมก็ถูกปรับใหม่ เปลี่ยนเป็นร้านกาแฟ เปน็ Cold working Space ให้ใครไปใครมาให้ไปนงั่ สบายๆ ไม่ใชเ่ ข้าไปนั่ง ในศาลาการเปรียญ คนมันจะรู้สึกเป็นทางการมากๆ ไป คือการลดความ เป็นทางการลงไป เพื่อให้คนทั้งโลก เข้าถึงธรรมะให้ได้ง่ายที่สุดเขาเรียกว่า Easy Extraction ในหลักของการทำท่องเที่ยว Real Easy Extraction เข้าถึงไดง้ ่ายทส่ี ุด”49 2.2.7 วถิ ชี ีวิตใหมส่ ง่ ผา่ นจากร่นุ สู่ร่นุ “เมื่อเขาเห็นรุ่นพี่ตอนนี้เราไม่ต้องสอนเองแล้ว แต่ภาพที่เห็นคือ รุ่นพี่รุ่นพี่ทำให้ดู อยู่ให้เห็น พี่ทำกับข้าวน้องก็ไปดูว่าทำไมต้องทำกับข้าว ทำไมไม่มีแม่บ้าน ทีนี้พอพี่ไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพน้องก็ได้เป็นหน้าท่ี ตำแหนง่ แทนพไี่ ป เพราะรนุ่ ใหม่มากเ็ หน็ รุน่ พี่รนุ่ ที่สองทำใหด้ อู ยู่ใหเ้ หน็ ”50 2.2.8 ความเปน็ ตน้ แบบนวัตกรรมของสถานศกึ ษา “สะอาดกาย สะอาดทอ่ี ยู่ สะอาดใจเราได้ 3 อย่างนี้ ทจี่ ะเปน็ ข้อ วัดปฏิบัติเมื่อมาตรงนี้ก็เห็นวิถีเลย อันนี้คือวิถีพุทธวิถีแห่ง รู้ ตื่น เบิกบาน วิถีคือเส้นทาง ทางแห่งผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน แล้วก็มาเห็นชัดเจนคือธรรมะ สวัสดี อันนี้เป็นอัตลักษณ์สำคัญ ธรรมะสวัสดีและสองก็คือสะอาดกาย สะอาดใจ เพราะเราไม่มี แม่บ้าน ภารโรง ไม่มียาม ทุกคนช่วยกันอันนี้คือ 49สัมภาษณ์ พระเมธีวิโรดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 50สมั ภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบียบ ถริ ญาณี, 7 มกราคม 2565. 73

สิ่งที่แขกมาเห็นอันนี้คือสิ่งที่ประจักษ์ค่ะ เด็กคือนวัตกรรมตัวเด็กนี่แหละ คอื ตัวสื่อสาร”51 2.2.9 ขยาย การสอนไปยงั ระดบั ตา่ งๆ และเปิดพนื้ ทีอ่ ่นื “ตอนนี้ขยายจากวิทยาลัยอาชีวศึกษาจุลมณีศรีสะเกษ เป็น โรงเรียนมธั ยมจุลมณศี รีสะเกษ มตี ง้ั แตอ่ นบุ าล ประถม มธั ยม และขยายไป ที่จังหวัดนครราชสีมา เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาจุลมณีสุรนารี อำเภอขาม สะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา และมีโรงเรียนจุลมณีสุรนารี ตั้งแต่ มัธยมศึกษาปีที่ 3 แปลว่าตอนนี้เราขยายโรงเรียนได้ 4 โรงเรียน มีนักเรียน ก็เกือบ 2,000 คน ยังน้อยอยู่ ดังนั้นเราต้องผลิตลูกของเราให้กลายเป็นครู เพื่อที่จะถ่ายทอดความรู้เป็นครูที่ดี ครูวิถีพุทธให้กับเด็กเยาวชนรุ่นหลัง เพื่อตอบแทนแผ่นดินเกิด เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืน นี้คืองานที่ จะต้องทำอย่างรวดเร็วในอนาคตอันใกล้น”้ี 2.2.10 การพัฒนาตอ่ ยอด “เรากำลังจะเปิดคอร์สสำหรับฝรั่งโดยตรงเรียกว่าคอร์ส 7 วัน สำหรับชาวต่างชาติ 2 เราจะ กำลังขยายศูนย์ของเราซึ่งตอนนี้เราขยาย ศูนย์ไปที่ดอยวาวี มีพื้นที่พนั กวา่ ไร่ เป็นพื้นที่รองรับชาวต่างชาติโดยเฉพาะ ชาวต่างชาติที่มาเรียนกับผมที่นี่เรียน 7 วันถ้าต้องการมากกว่านั้น ว่าจะส่ง ขึ้นไปที่ศูนย์ของเราซึ่งพาที่นั่นก็จะเทศน์ เป็นภาษาอังกฤษได้ เป็นศูนย์ฝึก ชาวต่างชาติให้เป็นครูสอนสมาธิโดยเฉพาะของเรา 3 เรากำลังขยายออก ทางยุโรปทางเอเชียและทางเมกา 45 ปีข้างหน้าก็จะมีศูนย์ของเราเน่ีย ครอบคลุมภูมิภาคแต่ของโลกเราไม่เน้นเยอะแต่เราจะเน้นน้อยๆ เพื่อที่จะ บริหารอย่างมีประสิทธิภาพ Small is beautiful จิ๋วแต่แจ๋ว เพราะฉะนั้น ในอนาคต 1ศูนย์ของเราจะเพิ่มมากขึ้น ต่างประเทศก็จะเพิ่ม อย่างตอนนี้ ผมมีที่คลอง 14 100 ไร่ ที่พิษณุโลกนี่เพิ่งกลับไปอีก 11 ไร่ 12 ตารางวา ที่ 51อ้างแลว้ . 74

บนดอยวาวีอีกพันกว่าไร่ ที่ญี่ปุ่นกำลังทำที่อิตาลีกำลังทำ ที่เนเธอร์แลนด์ ผมมีมูลนิธิ Peace and Foundation น้ำ ผมเป็นประธานเอง ดูงานใน ภาคพื้นยุโรป นี่ก็คือการขยายส่วนของเราออกไปสู่ประชาคมนานาชาติให้ มาก ยิ่งขึ้นและในเวลาเดียวกันเราก็สร้างพระ เพิ่มขึ้นตลอด ตอนนี้ผมมี หลักสูตร bcc Buddhis Content creator กับบัณฑิตวิทยาลัย เปรียญ 9 ทั้งหมดที่มาเรียนมจรผมดึงมา เรียนหลักสูตรพิเศษกับผมพระธรรมทูต ผู้สร้างนวัตกรรม นี่ก็คือการสร้างศาสนทายาท ที่จะมาจัดงานเผยแพร่ ต่อไปในอนาคต พูดง่ายๆ ก็คือเราสร้างทั้งคนและสร้างสถานที่ไปพร้อมๆ กัน นอกจากนั้นหนังสือสำคัญมากหนังสือของเราได้รับการแปลไปในภาษา ต่างๆ ก็มีขายใน amazon.comมีพิมพ์ในประเทศต่างๆ เกิน 10 ประเทศ นี่ก็คือการเผยแพร่งานจากภาคพื้นดินของ อยู่ในโลกออนไลน์แล้วไปอยู่ใน ต่างประเทศและอย่ใู นภาษาต่างๆ ฉะน้ัน ขยายตวั ทงั้ ในแง่สถานที่ในแง่ของ แรงบันดาลใจที่ควรเอาไปต่อยอด ในแง่ของศูนย์ ในแง่ของศาสนาบุคคล ในแง่ของการเผยแผ่ธรรมะผ่านภาษาต่างๆ รวมทั้งใน YouTube ใน Social Media ต่างๆ อย่างเช่น face book ดูวันละ 6 ล้าน ล้านกว่าคน เรียกว่าเราพยายามให้งานเผยแผ่ธรรมะของเราเนี่ยไปในทุกทิศทุกทางซึ่งก็ ถือว่าทางนี้ในเมืองไทยก็ถือว่า ชนเพดานแล้ว ผมกำลังเดินไปที่ ตา่ งประเทศ”52 52สัมภาษณ์ พระเมธีวิโรดม, ดร., 12 มกราคม 2565. 75

การถอดบทเรียน การวิจัยนี้ คณะผู้วิจัย ได้ถอดบทเรียนจากพื้นที่นวัตกรรมทาง การศึกษานำร่องทั้ง 5 แห่ง โดยสรุป จัดกิจกรรมนวัตกรรมการเรียนการ สอนต่างๆ สรุปเป็นตารางเปรยี บเทยี บ ดังน้ี ตารางท่ี 4.1 ตารางแนวทางการจัดกิจกรรมนวัตกรรมการเรียนการสอน โรงเรียน นวตั กรรมการเรยี น นวตั กรรม นวตั กรรมการ นวัตกรรม ชาวนาพทุ ธ การสอน/ วฒั นธรรม ฝึกภาวนาวถิ ี วถิ ีชวี ิต เศรษฐศาสต พอเพียง การเรียนรู้วิถีพุทธ / พทุ ธ ร์ มารยาท -มีแหล่ง -การสอน ชาวพทุ ธ -การฝึกจติ นง่ั เรยี นรู้ วปิ สั สนา สมาธแิ ละเดิน ธรรม กรรมฐาน -การแตง่ จงกลม ชาตแิ ละ -การจัดหลกั สตู ร กายท่ี -การปฏิบตั ิ การเกษต อบ สุภาพ กรรม ร รมสตภิ าวนาการ เรียบรอ้ ย ฐานใน -มีการ จดั ทงั้ พระ อิริยาบถ 4 ปลกู ปา่ กจิ กรรมตน้ ไม้พูด และ -การสอน ตน้ ยาง ได้ ฆราวาส เร่อื งการฝกึ -มกี าร -การสอนธรรม จติ และสมาธิ ปลูก โดยมีแผน่ ปา้ ย -การทำวตั ร พืชผักและ ข้อความ สวดมนต์ การ ผลไม้ -การสรา้ งรูปปั้น เจรญิ สมาธิ หลายชนิด ศิลปท์ างธรรมที่ -มกี ารทำ สอด นาและทำ แทรกธรรม สวนโดย -การสอนกราบ ไม่ใช้ และไหว้แบบ สารเคมี กรรมฐาน 76

โรงเรยี นสตั -การสอนธรรม -การแตง่ -การทำวตั ร -มีการ ยาไส เรื่องความกตัญญู กายที่ สวดมนต์ใน เพราะเห็ด -การสอนให้คดิ ดี สุภาพมา ชีวิตประจำวั ใน ทำดี เพื่อทดแทน เรยี นทกุ น โรงเรอื น คณุ ของแผน่ ดนิ คร้ัง -การฝกึ น่ัง -มกี ารทำ -การสอนธรรมท่ี -การยก สมาธิเพ่อื ปุย๋ อนิ ทรยี ์ สนุกสนานแกเ่ ด็ก มือไหวค้ รู ยกระดบั จิต จากมลู ใส้ นกั เรียน และเข้า ใหม้ คี วามคดิ เดอื น -การสอนเรือ่ ง ไปกอด ที่ดีขึน้ เกษตรอินทรีย์ แสดง -การปลูก เกษตรวิถีใหม่ ความรัก พืชผกั สวน การใช้ชีวติ แบบ ครวั เพอ่ื พอเพียง นำมา -การสอนชาวนา ประกอบ และการใหค้ วามรู้ อาหาร การ -การสอน เกษตรเร่ืองข้าว ให้เดก็ อินทรยี ์ นกั เรยี น -การสอน ทำนำ้ ปยุ๋ คุณธรรมด้วย หมกั การบรู ณาการ ชวี ภาพ ของการสอนจาก ห้องเรยี น ธรรมชาติ ลด เวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ -การสอนให้ พ่งึ พาตัวเองเป็น ส่วนใหญ่ 77

โรงเรยี นรุ่ง -การสอนเร่ือง -การสอน -การเปดิ รับ จาก อรณุ ระเบยี บวนิ ัยให้ ในเร่ือง สมัครเขา้ คา่ ย ธรรมชาติ ตรงต่อเวลา การใช้ ธรรมชว่ งปิด มาใชใ้ น -การสอนเร่อื ง คำพูดกับ เทอมใหญ่ คอื โรงเรยี น ความอดทนใน ครแู ละ ถ้าเปน็ -การสอน การอยรู่ ว่ มกนั ผู้ปกครอง นักเรียน ใหเ้ ดก็ -การสอนโดยการ -สอนการ ผู้หญิงก็จะให้ นักเรียน เรียนรู้จากนิทาน ไหว้ครูผู้ เปน็ บวชชี ถ้า ไดเ้ รียนรู้ ทม่ี ขี อ้ คดิ ทีด่ ี สอนก่อน การสรา้ ง -การสอน เขา้ เรยี น โซลา่ คุณธรรมโดยการ ฟาร์มเพอ่ื สอนแทรกในวิชา -การใส่ ผลติ ไฟฟา้ เรียนต่างๆ ของ ชดุ ใชใ้ น นกั เรยี น นกั เรียน โรงเรยี น -การสอนเกยี่ วกับ มาเรยี น -การทำ ภาษาตา่ งประเท ทกุ วัน น้ำมันไบ ศในช่วงปิดเทอม พฤหสั บดี โอดีเซล ส่วนวนั บริสุทธิ์ -การสอนโดยใช้ อ่ืนจะใส่ ดว้ ยน้ำมนั ธรรมชาตเิ ปน็ ส่อื ที่เหลือ การสอน จากการ -การทำกิจกรรม ทำอาหาร นอกห้องเรียน -การปลูก -การสอนใหช้ ว่ ย ผักสวน เหลือตัวเองเปน็ ครวั ใน สว่ นใหญ่ โรงเรยี น -โครงการ บำบัดนำ้ เสียใน โรงเรยี น 78

-การสอนป้ันดิน ชุด เปน็ นักเรยี น -การเล้ียง เหนยี วใหก้ บั เด็ก ธรรมดา ผู้ชายจะให้ สตั ว์ เช่น นกั เรียน -การพูดท่ี บวชเปน็ หา่ น ใน -การสอนใหช้ ่วย ให้ สามเณร โรงเรียน เหลอื แบ่งปนั นกั เรียน -การสวมใส่ใส่ สงิ่ ของให้กบั ผู้อื่น พดู กับครู ชดุ นกั เรยี นสี -การสอนแบบ หรือผู้ปก ขาวทุกวนั บรู ณาการณ์ ครองจะมี พฤหัสบดี มา ท่ามกลาง คำลงทา้ ย ทำวัตรสวด สภาพแวดลอ้ ม ดว้ ย ครับ มนตต์ ลอดทกุ ธรรมชาติ ,ค่ะ เทอม -การสอนเรือ่ ง -การเข้า ศีลธรรม ศาสนา แถวเป็น การสำรวมจติ ใจ ระเบยี บ -การสอนวชิ า ตอน พ้นื ฐานโดยการ เคารพธง ผสมผสานกบั ชาติ ธรรมชาติ -การสอนทางวิชา การด้วยโครงการ ทใ่ี ห้เด็กเปน็ คน คดิ ทำกิจกรรม -การสอนใหเ้ ดก็ มี ทักษะการทำงาน ร่วมกันกบั ผ้อู ่นื โรงเรยี นวัด -การสอน -การแต่ง -การจัดค่าย -การสอน สุทธวิ ราราม คุณธรรมและ กานท่ี คุณธรรมเพื่อ ไม่ให้ใช้ สุภาพมา ฝกึ ฝนเด็กให้ จา่ ยเงิน จริยธรรมใหแ้ ก่ เรยี นโดย เปน็ คนดี ฟ่มุ เฟือย 79

เด็กโดยการให้เข้า แตง่ ชดุ -การฝึกนั่ง -การสอน คา่ ยคุณธรรม นักเรียน สมาธิเดนิ จง เร่ืองการ -การสอนให้รู้จัก มาเรยี น กลมเป็น อดออม ช่วย ทุกวัน พน้ื ฐาน เงินทีห่ า เหลือผ้อู ่ืน ไม่วา่ -การพดู -การทำวตั ร มาได้ ตวั กบั ผูป้ ก เชา้ เยน็ ในช่วง เองจะรจู้ กั หรือไม่ ครองและ เข้าคา่ ย รู้จักก็ตาม ครผู ู้สอน คณุ ธรรม -การสอนเร่อื ง จะมีคำลง ระเบียบวินัยแก่ ท้ายเสมอ เดก็ นกั เรียนใน การมาเข้าแถว กอ่ นเขา้ เรียน -การเรยี นการ สอนดา้ นภาษา ตา่ ง ประเทศ -การสอนเรอื่ ง การใช้ชวี ิต ร่วมกนั ในสงั คม ปัจจบุ ัน -การสอนให้ชว่ ย เหลือตัวเองเปน็ หลักโดยทไี่ มต่ ้อง เดอื นรอ้ นทาง บ้าน วทิ ยาลัย -การเรียนการ -สอนการ -การขดั เลือก -การเพาะ จุลมณีศรีสะ สอนทม่ี พี ระกับ แต่งกายท่ี พระกบั เห็ด เกษ ครผู ู้สอนใน นางรมใน 80

ครูสอนใน สุภาพ วิทยาลัย โรงเรือน โรงเรยี นเดยี วกนั เรยี บรอ้ ย จะตอ้ งผ่าน เพ่อื นำมา -การสอนมารยาท -สอน การอบรม ประกอบ โดยใหท้ ำ มารยาท วปิ สั สนา อาหารใน ประจำวนั ในการ กรรมฐาน วทิ ยาลัย -การเรยี นวิชา เดินผา่ น หรือผา่ นการ และนำ พืน้ ฐานเบอื้ งตน้ พระ ฝึกเจริญจติ เหด็ ไป และสง่ ไปฝึกงาน -สอนการ ภาวนาของ ขายที่ ในสถานทจี่ รงิ พดู กับ ทางวทิ ยาลยั ตลาดเพอ่ื -การประเมนิ เดก็ พระดว้ ย ก่อนจงึ จะ เปน็ อาชพี จากการฝึกงาน คำสุภาพ สามารถมา เสรมิ ใหแ้ ก่ และการอยู่ ครับหรอื เปน็ พระกับ นิสิต รว่ มกนั ในที่ไป ขอรบั /คะ่ ครผู ูส้ อนได้ -การเลีย้ ง ฝึกงาน หรือเจ้า -การจดั อบรม วัวแล้วให้ -การสอนเร่ือง ค่ะ นสิ ิตใหม่ด้วย ลูกววั แก่ เกษตรกรรมเร่ือง การปฏิบัติ ผปู้ กครอง การเพราะเห็ด ธรรมตามท่ี ของนิสติ นางรมในโรงเรอื น วทิ ยาลยั เมือ่ ววั และเลีย้ งวัว กำหนดเพอ่ื ออกลกู ให้ -การติดตามผล เป็นการ นำลูกววั สำเรจ็ ของนสิ ติ ปฐมนเิ ทศ กลบั มาให้ เปน็ เยาวชน กอ่ นทกุ ปี วทิ ยาลยั ตน้ แบบ -การจัดบวช เพอ่ื นำมา -การทำวัตรสวด สามเณรภาค เปน็ มนตน์ ง่ั สมาธกิ ่อน ฤดรู อ้ นเพอ่ื ธนาคาร เขา้ เรียนเป็น ฝกึ สมาธิ ววั ไวใ้ ห้ ประจำ ใหก้ บั นสิ ิตท่ี ผปู้ กครอง ทุกวนั เป็นผชู้ ายและ รนุ่ ตอ่ ไป -การสอนเรื่อง ออก การคา้ ขายของชำ 81

ร้านขายอาหาร บณิ ฑบาต และรา้ นกาแฟใน ตามหมู่บา้ น วิทยาลยั เพื่อเปน็ อาชพี เสริม -การสอนระเบียบ วนิ ยั ในเร่ืองเวลา โดยการแสกน ลาย นว้ิ มือตอนเชา้ กอ่ นเขา้ วิทยาลยั ทุกวนั -การสอนเรือ่ ง มาร ยาทในการพดู หรอื สนทนากับ พระจะมีการ ประนมมือไหว้ -การสอนเร่ือง ความกตญั ญู เกอื้ กลู ระ หวา่ งรุน่ พก่ี บั ร่นุ นอ้ ง จากการถอดบทเรยี นพืน้ ที่นวัตกรรมทางการศกึ ษานำร่องท้ัง 5 แห่ง เพื่อศึกษาสภาพพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษานำร่อง จึงสามารถสรุป นวัตกรรมทางการศึกษาในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกัน ไดด้ งั นี้ ตารางที่ 4.2 นวัตกรรมทางการศึกษาในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน 82

นวัตกรรมทางการศึกษา การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. นวตั กรรมการเรยี นการ สอน/การเรยี นรู้วิถีพุทธ 1. การสอนแบบบูรณาการกับธรรมชาติ ผ่านสื่อการ สอน มหี ้องเรียนธรรมชาติเป็นแหลง่ เรยี นรสู้ ู่ธรรมะ 2. นวตั กรรมวัฒนธรรม/ 2. การสอนคุณธรรมและจริยธรรม ให้มีระเบียบวินัย มารยาทชาวพุทธ และรู้จักการพึ่งตนเองและช่วยเหลือผู้อื่น มีทักษะ ชีวติ ในการอยรู่ ่วมกันในสังคมอยา่ งสันติสขุ 3. นวตั กรรมการฝกึ 3. การสอนทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตร ภาวนาวถิ พี ทุ ธ อินทรีย์ เกษตรวิถีใหม่ และการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และภาษา ธรรมผา่ นต้นไม้พูดได้ หรอื ต้นไม้ธรรมะ 1. เน้นให้ผู้เรียนมีการแต่งกายที่สุภาพในสถานศึกษา ทั้งชุดนักเรียนหรือชุดธรรมดา รวมทั้งฆราวาสต้อง สวมใส่ชุดขาวและพระภิกษุต้องมีการนุ่งห่มผ้าจีวร อยา่ งถกู ต้องในชว่ งการปฏบิ ัติธรรม 2. เน้นการสอนในเรื่องมารยาทในการใช้คำพูดกับครู และผู้ปกครอง การลงท้ายประโยคสนทนาด้วยค่ะ/ ครับทุกคร้งั 3. เนน้ การแสดงความเคารพตอ่ ครูด้วยการยกมือไหว้ ครู การทักทายเพื่อนดว้ ยการโอบกอด และมารยาท ในการเดินผา่ นพระ เช่นนั่งลงและกราบ หรือหยดุ เดินและยืนในแนวดา้ นข้างเพื่อไหว้เม่ือพระ เดนิ ผา่ นไป 1. การทำวัตรสวดมนต์ทุกวันพฤหัสบดีในภาคเรียน ปกติ หรือเวลาเช้า-เย็นของทุกวันในช่วงการจัดค่าย คณุ ธรรม 2. การฝกึ สมาธใิ นการปฏิบตั ิธรรมและในขณะทำงาน และการปฏิบัติกรรมฐานโดยการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน เพอื่ ยกระดบั จิตใหม้ ีความคดิ ที่ดขี น้ึ 83

4. นวัตกรรมวถิ ีชีวติ 3. การจัดอบรม ปฐมนิเทศ เพื่อให้ความรู้ในธรรม พอเพียง ทางพระพุทธศาสนา และในการจัดบวชสามเณรภาค ฤดรู อ้ นหรือในช่วงการจัดค่ายคุณธรรม 1. สอนทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ เช่น การทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรวิถีใหม่ การปลูก ผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์ การบำบัดน้ำเสีย การทำ น้ำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยอินทรีย์จากมูลใส่เดือน การทำน้ำมันไบโอดีเซลบริสุทธิ์ การสร้างโซล่าฟาร์ม เพื่อผลติ ไฟฟา้ ใชใ้ นโรงเรียน 2. สอนวธิ ีในการประหยัดอดออม ลดรายจ่าย สร้าง รายได้ ไม่ใช้จา่ ยฟุ่มเฟอื ย 3. สอนการสร้างอาชีพจากการเกษตรนอกจากเพื่อ การประกอบอาหารในสถานศึกษา และสนับสนุนให้ นำสินคา้ ไปขายเพ่อื เปน็ รายได้เสริม 4. การปลูกป่าและรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม เพื่อสร้างแหลง่ เรยี นรู้ตามธรรมชาติในสถานศึกษา ด้วยพื้นที่การศึกษาได้รับการประกาศให้เป็นพื้นที่สำหรับ การทดลองนวัตกรรมการศึกษา โดยให้อำนาจแก่สถานศึกษาในการ บริหารงานได้อย่างอิสระ และจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทและ ความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและสามารถพัฒนา ผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามเป้าหมายการศึกษาที่กำหนดไว้ โดยมีหน่วยงาน ส่วนกลางให้การสนับสนุนทั้งในด้านทรัพยากร และกลไกการหนุนเสริมแก่ โรงเรียนในพื้นที่อย่างเหมาะสม ผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชนและผู้มีส่วน เก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาของพ้นื ที่ จากการศึกษาสภาพพ้ืนที่นวตั กรรม ทางการศึกษานำร่องทั้ง 5 แห่ง คณะผู้วิจัยทำการวิเคราะห์องค์ความรู้การ 84

พัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษาซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการ พฒั นาพ้นื ทนี่ วัตกรรมทางการศกึ ษา เมื่อได้วิเคราะห์องค์ความรู้การพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทาง การศึกษาจากพื้นนวัตกรรมนำร่องใน 3 ภาคในเบื้องต้น คณะผู้วิจัยได้จัด สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) วัน 19 กุมภาพันธ์ 2564 สถานที่ ห้องประชุม C 512 หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาควิชาบริหาร การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เวลา 09.30 – 12.00 น. โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิในการสนทนากลุ่มวิเคราะห์องค์ความรู้การ พฒั นาพ้ืนท่นี วัตกรรมทางการศึกษา ได้แก่ รายชอ่ื ผทู้ รงคุณวุฒิ 1. .รศ.ดร.ประพนั ธ์ ศุภษร ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ 2. ผศ.ดร. พีรวัฒน์ ชัยสุข ผทู้ รงคณุ วุฒิ 3. ดร.ลำพอง กลมกูล ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ 4. พระปลัดระพิน พุทธฺ สิ าโร, ผศ.ดร. ผู้ดำเนนิ รายการ 5. พระครูสงั ฆรกั ษ์จกั รกฤษณ์ ภรู ิปญโฺ ญ,ผศ.ดร. ผ ู ้ ด ำ เ นิ น รายการ โดยมีการวิเคราะห์องค์ความรู้การพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทาง การศกึ ษาใน 7 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1. องคค์ วามรู้ 2. กรอบแนวคดิ 3. พฒั นาตน้ แบบ 4. กระบวนการ 5. การทดลอง 85

6. ประยกุ ต์ 7. การพัฒนาตอ่ ยอด ภาพที่ 4.10 สัมมนาโครงการวิจยั พ้ืนท่นี วตั กรรมการศึกษา ยอ่ ย 1 โดยมีคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร, รศ.ดร. เป็น ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 86

ภาพที่ 4.11 สัมมนาโครงการวิจัยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ย่อย 1 โดยมีผู้ช่วยอธิการบดีผ่ายวิชาการ รศ.ดร.โกนิฐษ์ ศรีทอง เป็น ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 87

ภาพที่ 4.12 สัมมนาโครงการวิจัยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ย่อย 1 โดยมีหวั หน้าทีมวจิ ยั เปน็ ผ้นู ำเสนอ 88

ภาพที่ 4.13 สัมมนาโครงการวิจัยพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ย่อย 1 89

จากการศึกษาวิจัย และการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ สามารถ สรุปเป็น Model : 6744-Model การพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทาง การศึกษาได้ ดังน้ี ภาพที่ 4.14 แสดงองค์ประกอบของการดำเนินการพน้ื ทน่ี วัตกรรมทาง การศึกษา การดำเนินการพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา สามารถสรุปเป็น Model: 6744-Model โดยมรี ายละเอยี ดไดด้ งั น้ี ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 6 ประการ ประกอบด้วย (1) การใช้ หลักธรรมในการดำเนินการ (2) ปรับเปลี่ยนมุมมองหรือวิธีคิด (3) ฐานคิด ในการพัฒนาสถานศึกษา (4) เชอื่ มโยงวถิ ชี ีวติ หรือวถิ ีชมุ ชน (5) บรู ณาการ ฝกึ ภาคปฏบิ ัติ (6) การมีสว่ นรว่ มของภาคีเครอื ข่าย กระบวนการ 7 ประการ คือ (1) ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง (2) มี ความต่อเนื่อง (3) เกิดเป็นอัตลักษณ์ (4) วิธีการบริหารจัดการบูรณาการ 90

หลักพุทธศาสนา (5) มีหลักในการคัดเลือกบุคลการ (6) การพัฒนา ศักยภาพครู (7) ใชจ้ ิตวิทยาเชงิ บวก 4 สร้าง (1) คุณลักษณะของจิตอาสา (2) ให้เกิดพฤติกรรมใหม่ (3) ตน้ แบบท่ดี ี (4) คนดีคนเก่ง 4 พัฒนา (1) วิถีใจที่เปี่ยมไปด้วยกรุณา (2) วิถีชีวิตที่ใช้ใน ครอบครวั (3) วถิ ชี มุ ชนแห่งสติ (4) วถิ ชี ีวิตใหม่ 91

แนวทางการพฒั นาพืน้ ที่ นวตั กรรมทางการศึกษา 92

นำเสนอแนวทางการพัฒนาพน้ื ท่ีนวัตกรรมทางการศกึ ษา ตามเป้าหมายของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาซึ่งมุ่งเน้นด้านการ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของนักเรียน การลดความเหลื่อมล้ำด้าน คุณภาพการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา และการมีความ ร่วมมือกับภาครัฐ องค์กร และหน่วยงานต่างๆ โดยมีพื้นที่นวัตกรรม การศึกษานำร่องซึ่งเป็นพื้นที่พิเศษด้านการศึกษาที่เอื้อให้คนในพื้นที่ทุก ภาคส่วน ร่วมจัดการศึกษาสร้างนวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เพ่ือ ตอบโจทย์คุณภาพการศึกษาของผู้เรียน โดยพบว่าองค์ประกอบของการ พัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษาจากการวิเคราะห์สังเคราะห์นวัตกรรม ทางการศึกษา โดยใช้คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย โซนซี เป็นสถานที่พัฒนาองค์ความรู้ และคุณลักษณะในประเด็น ตา่ งๆ ดังนี้ 4.5.1 แนวทางการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา MCU Model มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะครุศาสตร์ เป็น สถาบันการศึกษาเชิงพุทธ เน้นการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับศาสตร์ สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดศักยภาพทางการศึกษา สามารถพัฒนา คุณภาพชีวิต และสร้างคุณประโยชน์ต่อสังคมได้ เนื่องด้วยคณะครุศาสตร์ ซึ่งมีพันธกิจหลักคือ สร้างบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะ ครูซึ่งเป็นบุคคลสำคัญที่สุดในการพัฒนาผู้เรียน ดังนั้น ครูจึงจำเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาก่อน โดยการส่งเสริมให้ครูได้เรียนรู้ หรือพัฒนาการด้าน การสอน การพัฒนาสื่อสารสอนและเทคนิควิธีการใหม่ๆ และเครื่องมือ สำคัญให้ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากการแก้ปัญหาของตนเองผ่าน การปฏิบัติการที่สำคัญจากงานในหน้าที่ เรียนรู้ร่วมกันเป็นชุมชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง มีการรวมกลุ่มกันเพื่อร่วมสังเกต ร่วม 93

เรียนรู้การสอน สะท้อนผลงาน และปรับปรุงพัฒนาการสอน อยู่เสมอซ่ึง ถือเป็นกระบวนการสำคัญในการสร้างแรงบันดาลใจให้ครูได้พัฒนาตนเอง ซึ่งการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษาเป็น MCU Model ควร ดำเนินการ ดังน้ี ก. พฒั นาเชิงนโยบายด้านนวตั กรรมทางการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ ควรให้ความสำคัญด้านนโยบายการพัฒนาการ เรียนสอนและส่งเสริมบุคลกรไดพ้ ัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาใหมๆ่ มาใช้ จัดสรรค์งบประมาณ หรือส่งบุคลากรไปอบรมด้านการสร้างผลงานด้านน วัตกรรรมทางการศึกษา เป็นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภายในคณะครุ ศาสตร์ และให้ความสำคัญต่อการพัฒนาสู่ความเปน็ เลศิ ด้านนวัตกรรมทาง การศึกษา เพราะว่าการพฒั นานวัตกรรมนั้น เป็นกระบวนการของการสร้าง เสริมกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เกิด กระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาต่อยอดการสร้างองค์ความรู้นวัตกรรม และ เทคโนโลยีการศึกษา หรือสร้างบทเรียนออนไลน์วิทยาการใหม่ๆ ให้ ตอบสนองต่อการนำไปใช้ประโยชน์และสร้างมูลคา่ สนับสนุนการศึกษาและ การพัฒนาประเทศในทุกด้าน โดยมุ่งเน้นส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง สถาบนั การศึกษา คณะครุศาสตร์ เปิดดำเนินการ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ เปน็ ต้นมา นบั เป็น คณะที่ ๒ ต่อจากคณะพุทธศาสตร์ ในระยะแรก จัดการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาการศึกษา ภาควิชา จิตวิทยา ภาควิชาบรรณรักษศาสตร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ ต่อมา พ.ศ.๒๕๒๖ ได้ปรับปรุงโดยแบ่งเป็น ๓ ภาควิชา คือ ภาควิชาบริหารการศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอนสังคมศึกษา ภาค วิชาการ ศึกษานอกโรงเรียน ปัจจุบันคณะครุศาสตร์ แบ่งการบริหารงานออกเป็น สำนักงาน คณบดี ภาควิชาจิตวิทยา การศึกษาและการแนะแนว ภาควิชาบริหาร 94

การศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน โรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนบาลสี าธติ ศกึ ษา และมกี ลุม่ งานหรือโครงการพเิ ศษ วตั ถุประสงค์ 1. ให้การศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร บุคคลทั่วไปหรือผู้ปฏิบัติ หน้าที่ทางการศึกษาเพื่อ เพิ่มพูนวิทยฐานะและความรู้ความสามารถใน วิชาการอันจะนำไปสู่การเผยแผ่พระพุทธศาสนา และพัฒนาสังคมใน วชิ าชพี ครู อนั มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมท่ีถูกต้อง 2. ผลิตบุคลากรทางการศึกษาให้มีปฏิปทาน่าเลื่อมใสใฝ่รู้ใฝ่คิด เป็นผู้นำด้านจิตใจ และปัญญาและสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษา แหง่ ชาติ 3. ส่งเสริม และเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการแก่วัด ชุมชน และ สงั คม 4. นำวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในวิชาชีพครู ทัง้ ดา้ นบรหิ าร บริการ และการวจิ ัย จุดมงุ่ หมาย 1. บัณฑิตที่มีความรู้จริงและรอบรู้ในศาสตร์ด้านหลักสูตรและ การสอนตามแนวทาง พระพุทธศาสนาบูรณาการกบั ศาสตร์การสอนอนื่ ๆ 2. เป็นแหล่งการเรียนรู้และความเป็นเลิศเกี่ยวกับการวิจัยและ พัฒนาด้านหลักสูตรและ การสอนทางพระพุทธศาสนาที่บูรณาการกับ ศาสตรส์ มยั ใหม่ 3. สร้างความเข้มแข็งและเป็นผู้นำทางวิชาชีพครูตามวิถีพุทธ อยา่ งยงั่ ยืน 4. พฒั นาบัณฑิตให้มีปฏปิ ทาน่าเลอื่ มใส ใฝร่ ้ใู ฝค่ ดิ เปน็ ผู้นำจิตใจ และปัญญามีความสามารถในการแก้ปัญหา รู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของสังคม มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองให้ 95

เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรมอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา และมี ความเสียสละเพอ่ื สว่ นรวม 5. ตระหนักคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ฟื้นฟู สืบ สาน ส่งเสรมิ และธํารง รกั ษาเอกลักษณ์ และภูมปิ ัญญาไทย การศึกษาเป็นองค์ประกอบแรกที่มีความสำคัญ คณะครุศาสตร์ ต้องมีการวางระบบการศึกษาให้เชื่อมโยงกับการผลิตและพัฒนาบุคลากร คณาจารย์ เพื่อถ่ายอดองค์ความรู้นวัตกรรมการสอน เทคนิคการสอนใหม่ ให้กับนิสิตได้รับวิชาความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เหล่านี้ออกเป็นครูที่มี คุณภาพ ศักยภาพและประสิทธิภาพซึ่งเป็นการผลิตที่ตอบโจทย์คุณภาพ การศึกษาของผู้เรียน ทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพ มีศักยภาพในการแขง่ ขัน เพื่อ เป็นฐานหลัก สนับสนุนการพฒั นาประเทศไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน นโยบายเร่งด่วนที่โจทย์ ทางผู้บริหารคณะครุศาสตร์ ต้องจัดทำ กรอบ และทิศทางการพัฒนาบุคลากรและด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ใหมๆ่ หรืออบรมเทคนิคการสอนในสังคมที่กำลังเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็น แนวทาง หนึ่งเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรและคณะครุศาสตร์ หน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการศึกษา ได้ใช้เป็นกรอบแนวคิด แนวปฏิบัติ ในการวางแผนพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา รวมทั้งกระตุ้น ส่งเสริม สนบั สนนุ และผลกั ดนั ใหม้ ีการใชป้ ระโยชน์นวัตกรรมที่พฒั นาข้ึนมา ข. พัฒนาเชิงพ้ืนทีน่ วตั กรรมทางการศกึ ษา การจัดการศึกษาปัจจุบัน โดยเฉพาะช่วงการระบาดเชื้อไวรัสโค โรน่า 2019 ทำให้โลกเกิดการเปลยี่ นแปลงและพฤตกิ รรมการใช้ชีวิตมนุษย์ เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ แม้กระทั่งเรื่องการศึกษาก็เปลี่ยนแปลงตาม สถานการณ์ ฉะนั้น การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นทุกพื้นที่ และตลอดทุกเวลา เนื่องจากองค์ความรู้ต่างๆ สามารถศึกษาได้จากอินเทอร์เน็ต เพราะองค์ ความจะถูกประมวลไว้บนโลกอินเทอร์เน็ต ทุกคนสามารถสืบค้นข้อมูลได้ ตลอดเวลา ไม่วา่ จะเปน็ สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ หรอื สิง่ แวดล้อมทางสังคม 96

สิ่งแวดล้อมทางการศึกษา หรือนวัตกรรมทางการศึกษา การจัดกิจกรรม การเรียนรู้นอกห้องเรียน จึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ใน ห้องเรียนอันกว้างใหญ่ผ่านประสบการณ์ตรงจากสภาพ จริงในวิถีชีวิต เรยี กว่าการเรียนรตู้ ลอดชีวติ คณะครุศาสตร์ ต้องตอบโจทย์คุณภาพการศึกษาของผู้เรียน ทุก ช่วงวยั ใหม้ คี ุณภาพ มศี ักยภาพในการแขง่ ขัน จดั การศึกษา เน่ืองจากมีเสียง สะท้อนภาพรวมของสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ มีสถาบันการศึกษาผลิต บัณฑิตออกไปแล้วไม่ตรงตามความต้องการของตลาด หรือไม่สามารถ ทำงานได้ ดังนั้น เมื่อพบที่มาของ ปัญหาเหล่านี้ เกิดขึ้นจากกระบวนการ จัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน ที่มุ่งเน้นตำราทางวิชาการมากกว่า ประโยชน์ในการนำไปใช้ หรือขาดการบูรณาการความรู้เข้ากับความเป็น จริงของชีวติ การเรยี นรู้ในห้องเรยี นเมื่อเทยี บกับความรทู้ ่ีมีอยู่จริงจากพื้นท่ี โดยเฉพาะสถาบันการศึกษา (คณะครุศาสตร์) ควรจัดพื้นที่การเรียนรู้ เสริมสร้างประสบการณ์ให้กับนิสิตได้เรียนรู้จากสถานที่จริง ก็จะเกิดการ เรียนรแู้ นวใหม่ เกดิ กระบวนการคิดเชงิ นวัตกรรมทางการศกึ ษา การจดั การ เรียนรู้นอกห้องเรียน โดยสร้างพื้นที่การเรียนรู้นวัตกรรมทางการศึกษานั้น จึงมคี วามสำคัญตอ่ การพัฒนาคุณภาพบณั ฑติ และถึงเวลาทจี่ ะต้องใหค้ วาม สนใจในวิธีการเรียนการสอนเชิงบรู ณาการศาสตรท์ างพระพุทธศาสนา และ ศาสตรน์ วัตกรรมทางเทคโนโลยีสกู่ ารเรยี นรู้ในโลกความเปน็ จริง ปัจจุบันการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา เป็นการ พัฒนาการเรียนการสอน สู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เชิงนโยบาย จึง จำเป็นอย่างยิ่งในการเรียนรู้และพัฒนารูปแบบการสอน หรือนวัตกรรรม ทางการศึกษาให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกสถานการณ์โลกซึ่งแนว ทางการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา MCU Model เป็นการพัฒนา พื้นที่นวัตกรรมการเรียนรู้วิถีพุทธ โดยพื้นที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย อาคารเรียนรวม โซนซี คณะครุศาสตร์ ชั้น 5 เป็นห้อง 512 97

สำหรับกิจกรรมวิถีพุทธพอเพียง การใช้น้ำอย่างคุ้มค่าและวิถีเกษตรยั่งยืน กิจกรรมการเรียนรู้วิถีพุทธ ใช้ศีล สมาธิ ปัญญาเป็นฐาน กิจกรรมเดินด้วย เท้า ก้าวไปในบุญ โดยใช้เป็นห้องดำเนินวางแผนงาน พัฒนากิจกรรมและ เป็นห้องถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สถานศึกษาสร้างเครือขา่ ยผลักดนั ใหเ้ กิดการ ขับเคลื่อนมิตินวัตกรรมทางการศึกษาวิถีพุทธในมิติองค์รวม ให้เป็น นวัตกรรม “ครูดีศรีครศุ าสตร”์ ค. พื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษาการเรียนรู้กิจกรรมวิถีพุทธ คณะครศุ าสตร์ การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาการเรียนรู้วิถีพุทธ ถือว่าเป็น การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานกระบวนการเรยี นร้แู บบพหุปัญญา บูรณา การความรู้และคุณธรรมจริยธรรม ที่เชื่อมโยงกับภูมิสังคม ภูมิปัญญา และ ศิลปวัฒนธรรมไทย รวมถึงการสร้างคุณภาพชีวิต สร้างสัมมาชีพ สร้าง ค่านิยมและจิตสำนึกที่ดี คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม รับผิดชอบต่อสังคม แนวคดิ ในการพฒั นาพ้ืนท่นี วตั กรรมทางการศกึ ษาด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ วิถีพุทธ นับเป็นแผนแม่บทที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมวิถี พุทธรองรับกิจกรรม โดยจากการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย ข้างต้น 6744-Model พบว่าสามารถสรุปได้เป็น 4 กิจกรรมที่ทำให้การ ดำเนินการพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา ประสบผลสำเร็จและเป็นไปตาม เกณฑม์ าตรฐาน โดยแบ่งออกเปน็ 4 Module ดังน้ี 1. กจิ กรรมวิถีพทุ ธพอเพียง 1) หลกั การใช้นำ้ อยา่ งคมุ้ คา่ ไตรสกิ ขา เปน็ ฐานในก 2) วิถีเกษตรยง่ั ยืน พลงั งานแสงอาทิตย์ 2. กจิ กรรมการเรียนรวู้ ิถพี ุทธ 1) ศลี ไตรสิกขา เปน็ ฐานในการคดิ 2) สมาธิ 3) ปัญญา เปน็ ฐาน 98

3. กจิ กรรมเดนิ ดว้ ยเท้า กา้ วไปในบญุ 1) ศีล 2) สมาธิ ไตรสิกขา เป็นฐานในการคดิ 3) ปัญญา 4. กจิ กรรมถา่ ยทอดองคค์ วามรูว้ ถิ พี ุทธ 1) ศลี ไตรสิกขา เป็นฐานในการคิด 2) สมาธิ 3) ปญั ญา กิจกรรมวิถีพุทธ 4 กิจกรรม เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม แนวความคดิ สร้างสรรคด์ า้ นการเรียนรูท้ ่ีสอดคลอ้ งกบั การเรยี นร้วู ถิ ีพุทธคือ “กิน อยู่ ดู ฟัง” เป็นแนววิถีพุทธ ทั้งนี้กลไกสำคัญในการขับเคลื่อน นวัตกรรมทางการศึกษา ต้องสร้างและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาอย่าง เป็นองค์รวม ในการเปลี่ยนแปลงพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษาในทิศทาง เดียวกันด้วยเครื่องมือนวัตกรรมทางการศึกษาและหลักพุทธธรรมเข้า ด้วยกันเกิดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการเชื่อมโยงสู่หลักไตรสิกขา คณะผู้วิจัยได้นำพื้นที่นวัตกรรมการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา สนทนากลุ่ม ย่อย เพื่อยันยืนพื้นที่นวัตกรรมการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาถ่ายทอดสู่ โรงเรยี นและชุมชนพัฒนาเปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ ฆ. พื้นที่นวัตกรรมการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา ห้อง 512 โซนซี การจัดพื้นที่นวัตกรรมการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาของคณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประกอบด้วย ด้าน กายภาพคือ อาคารสถานที่ ห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อมและ ด้านกิจกรรมบนพื้นฐานวิถีชีวิต ด้านการเรียนการสอน แผนการจัดการ เรยี นรู้ จนถึงกระบวนการเรียนการสอน ดา้ นบรรยากาศและปฏสิ ัมพนั ธ์ ใน 99

การปฏบิ ตั ติ อ่ กนั ระหวา่ งอาจารย์ผสู้ อนกบั นิสติ และดา้ นการบริหารจัดการ ตั้งแต่การกำหนดวิสัยทัศน์ จุดเน้น การกำหนดแผนปฏิบัติการ การ สนับสนุน ติดตาม ประเมินผล และพัฒนา ต่อเนื่องซึ่งการจัดสภาพในแต่ ละด้าน จะมุ่งเพื่อให้การพัฒนาผู้เรียนตามระบบไตรสิกขา ดำเนินได้อย่าง ชัดเจนมีประสิทธิภาพ และจัดการเรียนการสอนนอกสถานที่สอดรับด้าน กายภาพ สภาพแวดล้อมท่ีชวนให้มีจิตใจสงบ ส่งเสริมปัญญา กระตุ้นการ พัฒนาศรัทธา และศีลธรรม กิจกรรมพื้นฐาน วิถีชีวิต กระตุ้นให้การกิน อยู่ ดู ฟงั ดำเนนิ ดว้ ยสตสิ ัมปชญั ญะ บูรณาการหลักไตรสิกขา ดังน้ี แนวทางการเรียนรู้กิจกรรมวิถีพุทธพอเพียงกับหลักไตรสิกขา หลักคำสอนต่างๆ ของพระพุทธศาสนามีการสอดแทรกเรื่องธรรมชาติไว้ เช่น เรื่อง ธรรมนิยาม ที่กล่าวถึงทุกสิ่งมีการเป็นไปตามเหตุและผล แม้แต่ การปฏิบัติธรรมตามคำสั่งสอน พึ่งพาอาศัยความเป็นธรรมชาติ มีความ เคารพสักการบูชาในพระรัตนตรัย พึงปฏิบัติธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด มอง ธรรมชาติที่อยู่รอบ ตัวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับชีวิต สร้างจิตสำนึก ประกอบด้วยความเมตตา ความกตัญญู กตเวที ผู้วิจัยสรุปรวมในหลัก ไตรสิกขา 3 คือ ข้อปฏิบัติสำหรับศึกษาเพื่อฝึกหัด อบรมกาย วาจา จิตใจ และปัญญา ให้ยง่ิ ขึน้ 1. วถิ พี ุทธพอเพียง หลักการใช้น้ำอย่างคุ้มคา่ หลักการใช้น้ำอย่างคุ้มค่า ต้องมีการวางแผนบริหารจัดการ มี ความยืดหยุ่น เพียงพอต่อเนื่อง และเชื่อมโยงตลอดแนวมีพฤติกรรมการใช้ น้ำฟุ่มเฟือย ควรเปลี่ยน วิธีการใช้น้ำตามความเคยชิน มาเป็นการใช้น้ำ อย่างรู้คุณค่า ไม่ปล่อยให้น้ำไหลทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ จะเป็นการ ประหยดั ค่านำ้ ไดม้ าก 1) ศีล ข้อปฏิบัติตนขั้นพื้นฐานในทางพระพุทธศาสนา เพื่อ ควบคุมความประพฤติทางกายและวาจาไม่เบียดเบียน หรือก่อความ เดอื ดรอ้ นแกผ่ ู้อืน่ โดยยึดหลักการมีวินัยในตนเอง ประกอบอาชีพที่สุจริต มี 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook