Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ##รวมไฟล์_คอ2-ป.โท พุทธบริหาร ส่วนกลาง สกอ.รับทราบ 18-3-62_flipbook

##รวมไฟล์_คอ2-ป.โท พุทธบริหาร ส่วนกลาง สกอ.รับทราบ 18-3-62_flipbook

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-09-04 15:44:51

Description: ##รวมไฟล์_คอ2-ป.โท พุทธบริหาร ส่วนกลาง สกอ.รับทราบ 18-3-62_flipbook

Search

Read the Text Version

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๔๗ ตารางเปรียบเทียบการปรบั ปรุง หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๕ กบั หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ หลักสตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล ชอ่ื หลกั สตู รไทย/อังกฤษ ช่อื หลักสูตรไทย/องั กฤษ -ปรบั Master of Art เป็น หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา Master of Education Master of Arts Program in Educational Administration Master of Education Program in Buddhist Educational Administration Program ชือ่ ปริญญาไทย/อังกฤษ ช่ือปริญญาไทย/องั กฤษ -ปรบั Art เป็น Education พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศกึ ษา) พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต (การบรหิ ารการศกึ ษา) -ปรบั M.A. เป็น M.Ed. Master of Arts (Educational Administration) Master of Education (Buddhist Educational Administration) ตามประกาศ ศธ.๒๕๕๙ ขอ้ ๖ (๒.๑.๙) ชื่อยอ่ ไทย/อังกฤษ ชื่อยอ่ ไทย/องั กฤษ พธ.ม. (การบริหารการศึกษา) พธ.ม. (การบริหารการศึกษา) M.A. (Educational Administration) M.Ed. (Buddhist Educational Administration) ระบบ และรปู แบบการจัดการศกึ ษา ระบบ และรูปแบบการจัดการศึกษา -ปรับ ๓๙ เป็น ๔๒ หน่วยกติ โดยปรบั ชอื่ วชิ า /คาอธบิ าย จดั การศึกษาแบบหนว่ ยกิตทวิภาคต่อปกี ารศกึ ษา จานวน ๓๙ หน่วยกิต สอน จัดการศกึ ษาแบบหน่วยกิตทวิภาคต่อปกี ารศึกษา จานวน ๔๒ หน่วยกิต สอน รายวชิ า ใหส้ อดคล้อง มาตรฐานครุ สุ ภา เปน็ ภาษาไทย รับนสิ ิตไทยและนิสติ ตา่ งประเทศท่ีสามารถใช้ภาษาไทยได้ เป็นภาษาไทย รับนสิ ติ ไทยและนสิ ติ ตา่ งประเทศทีส่ ามารถใชภ้ าษาไทยได้ -เพม่ิ การฝึกปฏิบตั ิการบรหิ าร ตามมาตรฐานครุ ุสภา แต่ละภาคการศึกษาต้องมีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ อาจจัด แตล่ ะภาคการศึกษาต้องมีเวลาศึกษาไมน่ ้อยกว่า ๑๕ สปั ดาห์ อาจจดั การศึกษา การศึกษาภาคฤดรู อ้ นไดอ้ ีก ๑ ภาค ที่มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์ ต้องศึกษา ภาคฤดรู อ้ นไดอ้ กี ๑ ภาค ที่มเี วลาศึกษาไมน่ ้อยกว่า ๖ สัปดาห์ ต้องศกึ ษาอยา่ งนอ้ ย อยา่ งน้อย ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไมเ่ กิน ๑๐ ภาคการศึกษา ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไมเ่ กนิ ๑๐ ภาคการศกึ ษา สถานทจ่ี ัดการเรียนการสอน สถานท่จี ัดการเรยี นการสอน -เพิ่มจาก ๑ เป็น ๔ แห่ง ตามทเี่ ปิดในปจั จบุ ัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาบลลาไทร อาเภอวังน้อย จังหวัด ๑. มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย เลขที่ ๗๙ หมู่ ๑ ตาบลลาไทร พระนครศรีอยุธยา อาเภอวังนอ้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๔๘ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ๒. มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาลยั สงฆน์ ครสวรรค์ เลขท่ี ๙๙๙ -ปรบั เปน็ ชุดใหมท่ ง้ั หมด แบง่ ตามสถานทตี่ ั้ง ๔ แหง่ รวม หมู่ ๖ ถนนพวงทอง ตาบลนครสวรรคน์ อก อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครสวรรค์ ๒๔ รปู /คน ๓. มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาลยั สงฆข์ อนแกน่ เลขท่ี ๓๐/๓ หม่ทู ่ี ๑ ตาบลโคกสี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่ ๔๐๐๐๐ ๔. มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาลยั สงฆน์ ครศรธี รรมราช เลขท่ี ๓/๓ หม่ทู ี่ ๕ ตาบลมะมว่ งสองตน้ อาเภอเมือง จงั หวัดนครศรธี รรมราช อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ตาแหน่ง ชอ่ื – ฉายา – สกุล คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า ๙.๑ อาจารย์ประจาหลักสูตร คณะครศุ าสตร์ ส่วนกลาง อาจารย์ พระราชวชริ เมธี ป.ธ.๙ ท่ี ชอ่ื –ฉายา/สกลุ เลข ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ/สาขาวิชา ประจาตวั ประชาชน ทางวิชาการ ประจา (วรี ะ วรปญโฺ ญ) พธ.บ. (ศาสนา) ๕๖๒๐๖๙๐๐๐๙๑๘๑ อ.ม. (ศาสนาเปรียบเทยี บ) ๑ ดร.เกษม แสงนนท์* อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) กศ.ด. (บรหิ ารการศึกษา) ๓ ๔๓๐๕ ๐๐๔๒๓ xx x วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ผ้ชู ่วย นายสทุ ธพิ งษ์ ศรีวิชยั พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) พธ.บ. (การบริหารรัฐกิจ) ศาสตราจารย์ ๔๑๐๒๒๐๐๐๒๑๘๙๗ M.Ed.(Educational Administration) ๒ พระครูกิตติญาณวิสฐิ , ดร.* อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) Ph.D. (Educational Administration) ๕ ๒๑๐๑ ๐๐๐๓๔ xx x ร.ม. (รฐั ศาสตร์) ผชู้ ่วย นายสิน งามประโคน พธ.บ. (ครุศาสตร)์ พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ศาสตราจารย์ ๓๓๑๐๘๐๐๒๒๖๒๗๗ M.A. (Educational Administration) ๓ พระครโู อภาสนนทกติ ต์ิ, ดร. อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) Ph.D.(Educational Administration) ๕ ๖๒๐๖ ๙๐๐๐๙ xx x พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ผชู้ ่วย นายอินถา ศิริวรรณ พธ.บ.(ครุศาสตร์) พธ.บ. (การจัดการเชิงพุทธ) ศาสตราจารย์ ๓๕๐ ๑๒๐๐๓๓๗๑๑๕ M.Ed. (Educational Administration) ๔ รศ.ดร.สมศักดิ์ บญุ ปู่ รองศาสตรา Ph.D. (Pol.Sci) Ph.D. (Educational Administration) ๓ ๖๖๐๑ ๐๐๕๑๘ xx x จารย์ M.A.(Political Science) อาจารย์ ดร.ประยูร แสงใส พธ.บ.(บริหารการศึกษา) พธ.บ. (มานษุ ยสงเคราะหศ์ าสตร์) ๓๔๕๐๔๐๐๕๐๖๘๗๕ M.Ed. (Educational Administration) ๕ รศ.ดร.สทุ ธพิ งษ์ ศรวี ิชยั รองศาสตรา Ph.D. (Ed.Admin) Ph.D. (Educational Administration) ๔ ๑๐๒๒ ๐๐๐๒๑ xx x จารย์ M.Ed. (Ed. Admin) *ลาดับที่ ๑-๓ เปน็ อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) ๖ รศ.ดร.อินถา ศิริวรรณ รองศาสตรา Ph.D. (Ed.Admin) ๓ ๕๐๑๒ ๐๐๓๓๗ xx x จารย์ M.Ed. (Ed. Admin) พธ.บ. (สงั คมศกึ ษา) ๗ รศ.ดร.สิน งามประโคน รอง Ph.D. (Ed.Admin) ๓ ๓๑๐๘ ๐๐๒๒๖ xx x ศาสตราจารย์ M.Ed. (Ed. Admin) หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๔๙ หลกั สูตร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล ๘ พระครสู งั ฆรกั ษจ์ กั รกฤษณ์ ผู้ช่วย พธ.บ. (บรหิ ารการศึกษา) ภูริปญฺโญ, ผศ.ดร. ศาสตราจารย์ ๕ ๔๘๐๕ ๐๐๐๑๙ xx x พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) อาจารย์ พธ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ๙ พระครสู ถิตบุญวัฒน์, ดร. พธ.บ. (ศาสนา) ๓ ๑๐๑๒ ๐๓๔๗๐ xx x พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา) ๑๐ พระครูสาทรปรยิ ัตคิ ุณ, ดร. อาจารย์ พธ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ๕ ๖๒๐๖ ๙๐๐๐๙ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ๑๑ พระครูภทั รธรรมคณุ , ดร. อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) ๓ ๑๘๐๔ ๐๐๐๕๙ xx x พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ๑๒ พระครูวริ ุฬห์สตุ คุณ, ดร. อาจารย์ ๓ ๓๐๒๑ ๐๐๓๓๖ xx x พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) พธ.ม. (การบริหารการศึกษา) ๑๓ ดร.บุญเชิด ชานิศาสตร์ อาจารย์ พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ๓ ๗๖๐๖ ๐๐๓๖๗ xx x พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา) พธ.ม. (การบริหารการศึกษา) พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ปร.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) ค.ม. (ปฐมวัย) กศ.บ. (สขุ ศกึ ษา) *ลาดบั ท่ี ๑-๓ เป็นอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร ๙.๒ อาจารย์ประจาหลักสตู ร วทิ ยาลยั สงฆ์นครสวรรค์ ที่ ชอ่ื –ฉายา/สกลุ และเลข ตาแหน่ง คณุ วฒุ /ิ สาขาวชิ า ประจาตวั ประชาชน ทางวชิ าการ พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศกึ ษา) พธ.ม. (การบริหารการศึกษา) ๑ พระครูศรีสุธรรมนิวิฐ, ดร.* อาจารย์ พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) (ธานี สขุ แจ่ม) ศน.ม. (การบริหารการศกึ ษา) น.บ. (นติ ิศาสตร)์ , ป.ธ.๙ ๓ ๖๐๐๘ ๐๐๖๘๓ xx x พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศึกษา) ๒ พระมหาอดุ ร อุตตฺ โร,ดร.* อาจารย์ ๓ ๓๐๑๕ ๐๐๖๘ ๗ xx x ๓ ดร.ปฏิธรรม สาเนยี ง* อาจารย์ หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๕๐ หลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ๓ ๖๐๙๗ ๐๐๑๖ ๙ xx x ผชู้ ่วยศาสตรา กศ.ม. (การวดั ผลการศึกษา) จารย์ ค.บ. (คณติ ศาสตร)์ ๔ พระราชวชิรเมธ,ี ผศ.ดร. (วรี ะ วรปญโฺ ญ) รองศาสตรา กศ.ด. (บรหิ ารการศกึ ษา) ๕ ๖๒๐๖ ๙๐๐๐ ๙ xx x จารย์ อ.ม. (ศาสนาเปรยี บเทยี บ) พธ.บ. (ศาสนา) ๕ รศ.ดร.วรกฤต เถอื่ นชา้ ง ป.ธ.๙ ๓ ๔๐๐๖ ๐๐๔๒๘ xx x ปร.ด. (การบริหารอุดมศกึ ษา) ศศ.ม. (ภาษาสนั สกฤต) ศษ.บ. (มัธยมศกึ ษา-สังคมศึกษา) ป.ธ.๙ *ลาดบั ที่ ๑-๓ เป็นอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร ๙.๓ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร วทิ ยาลยั สงฆข์ อนแกน่ ท่ี ช่อื –ฉายา/สกลุ และเลข ตาแหนง่ คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า ประจาตวั ประชาชน ทางวชิ าการ ๑ พระครูสโมธานเขตคณารกั ษ์ อาจารย์ ปร.ด.(การบริหารการศึกษา) ,ดร. M.A. (Philosophy) ๓ ๔๐๐๓ ๐๐๒๘๑ xx x พธ.บ. (ศาสนา) ๒ พระอธกิ ารบญุ ชว่ ย โชติวโส, อาจารย์ ปร.ด. (บรหิ ารการศกึ ษา) ดร.* ศษ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ๕ ๔๗๐๘ ๐๐๐๐๙ xx x พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ๓ ดร.สนุ ทร สายคา* อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) ๓ ๔๗๑๒ ๐๐๐๐๓ xx x ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศกึ ษา) อส.บ. (ไฟฟา้ กาลงั ) ๔ ดร.สมปอง ชาสงิ หแ์ กว้ * อาจารย์ ปร.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) ๓ ๔๐๙๙ ๐๐๗๕๔ xx x กศ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) กศ.บ. (เคมี-การบริหารการศกึ ษา) ๕ ผศ.ดร.ธีระศักด์ิ บึงมมุ ผู้ช่วย ปร.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) ศาสตราจารย์ กศ.ม. (จิตวิทยาการให้คาปรกึ ษา) ก.บ. (ภาษาไทย) *ลาดบั ที่ ๑-๓ เป็นอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๕๑ หลกั สูตร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ๙.๔ อาจารย์ประจาหลักสูตร วิทยาลัยสงฆ์นครศรีธรรมราช ท่ี ชอ่ื –ฉายา/สกลุ และเลข ตาแหนง่ คณุ วฒุ /ิ สาขาวชิ า ประจาตวั ประชาชน ทางวิชาการ ๑ พระมหาสุพจน์ สุเมโธ, ดร.* อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศึกษา) ๓ ๘๐๐๖ ๐๐๔๒๗ xx x ศษ.ม. (บริหารการศกึ ษา) พธ.บ. (สังคมสงเคราะห)์ ๒ พระครพู ิจติ รศภุ การ (กติ ติ อาจารย์ ศษ.ด. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ศกั ดิ์ ฐานิสฺสโร/มสี ุข), ดร.* กศ.ม. (บริหารการศกึ ษา) ๓ ๘๑๐๑ ๐๐๑๘๗ xx x พธ.บ. (รัฐศาสตร์) ๓ ดร.ธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ*่ อาจารย์ ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) ๓ ๘๐๑๔ ๐๐๖๒๖ xx x ศศ.ม. (วิจยั ประชากรและสังคม) พธ.บ. (สงั คมวิทยา) ๔ พระปลดั โฆษติ โฆสิโต (คง อาจารย์ ศษ.ด. (การบรหิ ารการศกึ ษา) แทน) ศษ.ม. (ศกึ ษาศาสตรเ์ พอ่ื พฒั นาชมุ ชน) ๓ ๘๔๙๙ ๐๐๓๔๔ xx x ศศ.บ. (การพัฒนาชมุ ชน) ๕ ดร.มลิวัลย์ โยธารักษ์ อาจารย์ ศษ.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) ๓ ๘๐๐๗ ๐๐๒๙๗ xx x ศษ.ม. (จติ วทิ ยาการศึกษา) กศบ. (การประถมศกึ ษา) *ลาดับท่ี ๑-๓ เปน็ อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร โครงสร้างหลักสตู ร และแผนจดั การศกึ ษา โครงสรา้ งหลกั สตู ร และแผนจดั การศึกษา จัดการศกึ ษาแผน ก (๒) และ แผน ข ตามมาตรฐานบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ดังน้ี จดั การศกึ ษาแผน ก แบบ ก ๒ ตามมาตรฐานบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๘ ดังนี้ หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๕๒ หลักสตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล ท่ี โครงสร้างหลักสูตร แผน ก ๒ แผน ข ที่ โครงสร้างหลกั สูตร แผน ก ๒ เพ่ิมหน่วยกิต ๑ หมวดวชิ าบังคับ จาก ๓๙ เป็น ๔๒ หน่วยกิต ๑ หมวดวชิ าบงั คบั ๙ ๙ -นับหนว่ ยกิต ๙ และมีการฝึกปฏบิ ัติการบรหิ าร -นบั หนว่ ยกิต (๖) (๖) -ไม่นับหน่วยกติ (๓) การศึกษา ตามแนบประกาศ -ไมน่ บั หนว่ ยกิต ๑๒ ๑๒ ๒ หมวดวิชาเอก* ๒๑ คุรุสภา เรือ่ งการรับรอง ๖ ๑๒ ๓ หมวดวชิ าเลอื ก (๓) ปรญิ ญาและประกาศนียบตั ร ๒ หมวดวชิ าเอก ๑๒ ๖ ๔ วิทยานพิ นธ์ /สารนพิ นธ์ ๑๒ ทางการศึกษาฯ พ.ศ.๒๕๕๗ ๓ หมวดวิชาเลือก ๓๙ ๓๙ รวมหน่วยกติ ๔๒ หมวด ข. ขอ้ ๑.๒ หน้า ๕ ๔ ทาวิทยานพิ นธ์ /สารนิพนธ์ *รวมการฝึกปฏิบัติการบรหิ ารการศกึ ษา ตามเกณฑค์ รุ ุสภา วชิ าบงั คับ นับหน่วยกติ รวมหนว่ ยกติ (....) หมายถึง ไม่นบั หนว่ ยกติ -หนว่ ยกิตเทา่ เดมิ -เปลย่ี นช่ือวชิ า รหัสวิชา และ (....) ไมน่ ับหน่วยกติ รายวชิ าในหลกั สตู ร คาอธิบายรายวชิ าท้ังหมด โดย ๑ หมวดวชิ าบงั คบั ให้สอดคลอ้ งกับอัตลกั ษณ์ รายวชิ าในหลักสูตร หลกั สตู ร และเปน็ เครอื่ งมอื ใน ๑. หมวดวชิ าบังคบั การค้นควา้ วิจัยได้ ๑.๑ วชิ าบงั คับ นบั หนว่ ยกติ จานวน ๙ หนว่ ยกิต ๑.๑ วชิ าบงั คับ นับหนว่ ยกิต จานวน ๙ หนว่ ยกิต ๒๑๐ ๑๐๒ การบริหารการศึกษาของคณะสงฆ์ ๒๑๐ ๑๐๑ สัมมนากิจกรรมการเรยี นรูเ้ ชงิ พทุ ธบรณู าการ Sangha Educational Administration ๓(๓-๐-๖) Seminar on Buddhist Integration Active Learning ศกึ ษาหลักการศกึ ษาในพระพุทธศาสนา พระไตรปฎิ กและเอกสารวชิ าการทาง ศกึ ษาหลักการและวิธีการบริหารการศกึ ษาของคณะสงฆ์ ตัง้ แต่อดตี ถงึ ปัจจบุ ัน พระพุทธศาสนา ระบบการศึกษาของคณะสงฆไ์ ทย บทบาทคณะสงฆก์ บั รปู แบบการบริหารการศกึ ษาพระปริยัตธิ รรม แผนกธรรม บาลี สามัญ และ การศกึ ษา การบรู ณาการพุทธธรรมกบั กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร กิจกรรมพฒั นา อุดมศกึ ษา บทบาทของพระสงฆก์ ับจดั การศกึ ษา การบรหิ าร พระราชบัญญตั ิ ศกั ยภาพและทกั ษะผเู้ รยี นให้คดิ เปน็ ทาเปน็ แก้ปญั หาเป็น กจิ กรรมสง่ เสรมิ วินยั การศกึ ษาแห่งชาติกบั การบรหิ ารการศกึ ษาของคณะสงฆ์ ปญั หา และแนวโน้ม คุณธรรมและจรยิ ธรรม การบรหิ ารจัดการให้เกิดการชว่ ยเหลอื ดูแลผู้เรยี น ของการบรหิ ารการศึกษาของคณะสงฆใ์ นอนาคต ๒๑๐ ๑๐๓ หลกั และทฤษฎกี ารบริหารการศกึ ษาตามแนวพทุ ธ Principles and ๒๑๐ ๑๐๒ วิธกี ารวิจัยทางพทุ ธบรหิ ารการศึกษา Theories of Educational Administration in Buddhism ๓(๓-๐-๖) Buddhist Educational Administration Research Methodology ศกึ ษาหลกั การและวิธีการบริหารศกึ ษาตามหลักพระพุทธศาสนาวธิ คี ดิ ตามหลัก ศึกษาหลกั การแสวงหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ใหมด่ ้วยวิธีการวจิ ยั พุทธ พทุ ธธรรม การคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร พุทธวิธีการบรหิ าร กระบวนการบริหาร วิธกี ารวจิ ยั จรรยาบรรณนักวจิ ัย ประเภทของการวจิ ยั การวิจัยทางการศึกษา การศึกษา บูรณาการเขา้ กับหลกั การ ทฤษฎีและวิวัฒนาการเชิงกระบวนทัศน์ กระบวนการและขั้นตอนการวิจัย การเขียนโครงร่างวจิ ัย เอกสารและงานวิจยั ที่ หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๕๓ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ดา้ นการบริหารและการจดั ศึกษาสมยั ใหม่ วเิ คราะหร์ ะบบการบริหารการศึกษา เก่ยี วขอ้ ง เครือ่ งมือการวิจัย ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง วิธดี าเนนิ การวิจยั ไทยและการจดั ระบบงานในสถานศึกษา เทคนคิ และทกั ษะในการบรหิ าร สถิติเพื่อการวจิ ยั โปรแกรมประยกุ ต์เพื่อการวเิ คราะห์ข้อมลู โปรแกรมประยกุ ต์ มนษุ ยสัมพนั ธแ์ ละภาวะผ้นู า วัฒนธรรมองคก์ าร และการเปลยี่ นแปลง ปัญหา เพือ่ การเขยี นรายงานการวจิ ยั โปรแกรมประยุกต์เพอื่ การนาเสนอผลการวิจัยใน และแนวโนม้ ในการจดั และบรหิ ารการศึกษาไทย เวทตี ่างๆ ๒๑๐ ๒๐๑ ระเบยี บวิจยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา Research Methodology in ๒๑๐ ๑๐๓ นวตั กรรมและเทคโนโลยีการบรหิ ารโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ Educational Administration ๓(๓-๐-๖) Innovation and Technology for Buddhist School Administration ศึกษาวธิ ีวทิ ยาการแสวงหาความรเู้ ชงิ ประจกั ษ์ โดยใชว้ ิธกี ารวิจัยทง้ั เชงิ ปรมิ าณ ศึกษาพน้ื ฐานนวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ โรงเรียนวถิ พี ุทธกบั สถานศึกษา และเชิงคณุ ภาพ ความสาคัญของการวิจยั ต่อการสรา้ งองค์ความรแู้ ละการพัฒนา ตา่ งๆ นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเผยแผธ่ รรมะ นวตั กรรมและเทคโนโลยี การศกึ ษา การพัฒนาสังคมขน้ั ตอนและกระบวนการการวิจัย เชน่ ข้ัน เพอ่ื การบริหารสถานศกึ ษา นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาในยคุ ไทย เตรยี มการ ขัน้ ดาเนนิ การ ขนั้ วิเคราะห์ข้อมลู รปู แบบการวจิ ยั เชิงปรมิ าณและเชงิ แลนด์ ๔.๐ คอมพวิ เตอรก์ ับการพฒั นาสอ่ื การศึกษา คอมพวิ เตอรก์ บั การคดิ เชงิ คณุ ภาพ สถติ ิการวจิ ยั การประมวลผลด้วยโปรแกรมสาเรจ็ รปู วิเคราะห์ตัวแปร ระบบและความคดิ สรา้ งสรรค์ คอมพวิ เตอร์กับพัฒนาโมเดลการบรหิ ารการศึกษา การบรหิ ารการศึกษา การเขียนรายงานการวจิ ัย โดยเนน้ การประยกุ ต์ใช้ให้ เหมาะสมกบั การวจิ ยั ทางการบริหารการศึกษา ๑.๒ วิชาบังคบั ไม่นบั หน่วยกติ จานวน ๒ รายวชิ า (๖ หน่วยกติ ) ๑.๒ วิชาบังคบั ไม่นับหนว่ ยกิต จานวน ๑ รายวิชา (๓ หนว่ ยกิต) วชิ าบังคับ ไม่นบั หนว่ ยกิต -ลดจาก ๒ เหลือ ๑ รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ English (๓)(๓-๐-๖) ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน -เปล่ยี นชอ่ื วชิ า รหสั วชิ า และ ศึกษาการฝกึ ทักษะภาษาอังกฤษให้เกดิ ความชานาญ ๔ ดา้ น คือ ดา้ นการเขยี น การพดู การ Meditation คาอธิบายรายวิชาให้ร่วมสมยั อา่ น การฟงั และเนน้ ศพั ท์เทคนิคทางการบริหารการศึกษา ในด้านการบริหารวชิ าการ การ ศึกษาความเป็นมาของการบริหารจติ และการเจริญสติ การกาเนดิ และ ยิ่งขึน้ บริหารงานบุคคล การบริหารการเงิน และการบรหิ ารธุรการท่ัวไป ตลอดถึง หลกั คาสอนใน องค์ประกอบของชีวติ มนุษย์ ทส่ี ดุ สองอย่างและทางสายกลาง ธุระ ๒ กรรมฐาน พระพุทธศาสนา เชน่ ศลี ๕, พระรตั นตรัย, ไตรลักษณ,์ ไตรสกิ ขา, อรยิ สัจ ๔, มรรคมีองค์ ๘, หรอื ภาวนา ๒ ประโยชน์ของกรรมฐาน อุปสรรคของกรรมฐาน การปฏิบตั ติ าม เปน็ ต้น หลักสติปัฏฐาน สานกั กรรมฐานสายต่างๆ กรรมฐานในชวี ติ ประจาวนั แนวโนม้ การปฏิบัติกรรมฐานในสงั คมโลก หลักพทุ ธธรรมเพอื่ การศึกษาและพฒั นา ๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน Buddhist Meditation (๓) (๓-๓-๖) คณุ ภาพชวี ิต ศึกษาหลักสมถกรรมฐานและวปิ ัสสนากรรมฐานท่ปี รากฏในคมั ภรี ์พระไตรปิฎกอรรถ กถา ฎีกา อนฎุ ีกา และปกรณว์ เิ สส รวมทงั้ รูปแบบการปฏิบตั กิ รรมฐานของสานกั ต่างๆในสังคมไทย โดยเนน้ ศกึ ษาอารมณข์ องสมถกรรมฐานและวิปสั สนากรรมฐาน ลาดบั ข้ันตอนของการเจริญ กรรมฐาน และผลท่เี กดิ จากการเจริญกรรมฐาน ได้แก่ สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เปน็ ต้น หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๕๔ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล ๒. หมวดวชิ าเอก จานวน ๑๒ หน่วยกิต (๒) หมวดวชิ าเอก จานวน ๒๑ หน่วยกติ หมวดวชิ าเอก ๒๑๐ ๑๐๖ คณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับผบู้ รหิ ารการศกึ ษา Virtue and Ethic for ๒๑๐ ๒๐๑ การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา -ปรบั ๑๒ เป็น ๒๑ หน่วยกติ Educational Administrator ๓(๓-๐-๖) Professional Development in Education -ปรับช่ือวิชา รหัสวชิ า และ ศกึ ษาความหมายคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ทฤษฎีบอ่ เกิดคุณธรรม และจรยิ ธรรม พุทธจรยิ ธรรม ศึกษาจิตวิญญาณและอุดมการณ์ของนกั บริหาร การพฒั นาวิชาชีพเชงิ พุทธ ความ คาอธิบายรายวชิ าท้ังหมด โดยให้ สาหรับการพฒั นาคณุ สมบัตแิ ละคุณลักษณะผ้บู รหิ ารการศึกษาท่ดี ี ปญั หาจรยิ ธรรมของ เปน็ ผ้บู รหิ ารมอื อาชพี สถาบันหรอื องคก์ รทางวชิ าชพี มาตรฐานวิชาชพี ผบู้ รหิ าร สอดคล้องกบั บังคับคุรุสภา พ.ศ. ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา แนวทางแกไ้ ข และพัฒนาตามแนวพุทธ สถานศกึ ษา กระบวนการผลติ ครูและผบู้ รหิ ารมอื อาชีพ การจดั การความรู้ ๒๕๕๖ (มาตรฐานความรู้ ข้อ ๗ เกย่ี วกับการบรหิ าร การวิจยั เพ่ือการพัฒนาวชิ าชพี (ก) ประกอบด้วย ๒๑๐ ๒๐๗ นโยบายและการวางแผนการศึกษา Educational Policy and Planning ๓(๓- ๑) การพัฒนาวิชาชีพ ๐-๖) ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผนู้ าทางการศึกษา ๒) ความเป็นผู้นาทางวิชาการ ศกึ ษาหลกั การและแนวคดิ ทฤษฎี กระบวนการกาหนดนโยบายและการวางแผนการศกึ ษา Educational Leadership ๓) การบรหิ ารสถานศึกษา องคป์ ระกอบด้านเศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองที่เก่ียวกบั การวางแผนการศึกษา การ ศกึ ษาการพฒั นาภาวะผ้นู า ภาวะผู้นาเชงิ พุทธ พฤตกิ รรมและบทบาทผ้นู ากับ ๔) หลักสูตร การสอน การวัด วเิ คราะห์นโยบายการศึกษา การนานโยบายและแผนสกู่ ารปฏบิ ัติ รูปแบบการวางแผนโดย สงั คมท่ีเปลยี่ นแปลง การปฏสิ มั พันธแ์ ละการพัฒนาเพื่อนร่วมงาน การ เนน้ การวิเคราะห์ปัญหาเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา บทบาทและหนา้ ทขี่ องผบู้ ริหารในการ บริหารงานระบบเครอื ข่าย การบรหิ ารความเสย่ี งและความขดั แยง้ การสร้าง และประเมนิ ผลการเรียนรู้ กาหนดนโยบายและการวางแผนของสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั แผนมหภาค ความสมั พันธ์กับชุมชนและท้องถิน่ การระดมทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา การนเิ ทศ ๕) กิจการและกจิ กรรมนกั เรียน การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาครู ๖) การประกนั คุณภาพ ๒๑๐ ๒๐๘ การบริหารหลักสูตรและการสอน Curriculum and Instruction Administration ๓(๓-๐-๖) ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลักการบรหิ ารการศกึ ษา การศึกษา ศึกษาวิเคราะหห์ ลกั การ ทฤษฎแี ละกระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร การพัฒนาหลกั สตู ร การ Policy and Principle of Educational Administration ๗) คณุ ธรรม จริยธรรมและ พฒั นาหลกั สตู รทอ้ งถ่ิน การปฏิรปู การศึกษา และแนวคดิ ในการจัดการเรียนการสอน การนา นวตั กรรมและเทคโนโลยมี าใช้ในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ วธิ ีการ ศึกษาหลักการ กระบวนการ และหน้าทใี่ นการบรหิ าร การบรหิ ารการศึกษาเชงิ จรรยาบรรณ วเิ คราะหพ์ ฤติกรรมการเรยี นการสอน การบรหิ ารหลกั สตู รและการสอนในสถานศึกษา เพ่ือ พทุ ธ นโยบายและการวางแผนเพม่ิ ประสิทธิภาพการศึกษา การบรหิ ารองคก์ ร พัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนของท้องถ่นิ และหน่วยงานทางการศกึ ษา การบรหิ ารงานวชิ าการสคู่ วามเปน็ เลศิ การ บรหิ ารงานบคุ คล การบริหารงานธรุ การ การเงิน พสั ดุ และอาคารสถานที่ ๒๑๐ ๓๐๙ สมั มนาการบรหิ ารการศกึ ษา Seminar on Educational Administration ๓ การบรหิ ารแหลง่ เรยี นรู้และสิง่ แวดลอ้ มทางการศึกษา กฎหมายเกย่ี วกับการศกึ ษา (๓-๐-๖) และผบู้ ริหารการศึกษา นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบริหาร ศึกษาการจดั การสัมมนา รปู แบบการจดั การสมั มนา โดยโดยนาหลกั และทฤษฎีการบริหาร การศกึ ษา การศกึ ษารวมทงั้ สภาพการจัดการศกึ ษาในปัจจุบนั การปฏิรูปการศึกษา แนวโน้มของการจัด การศกึ ษาในสมาคมอาเซี่ยนมาตงั้ เปน็ ประเด็นปัญหาแล้วให้นสิ ิตมีสว่ นร่วมในการจดั สัมมนา เชญิ ผ้เู ชย่ี วชาญมาเป็นวทิ ยากร และมีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ การอภิปราย เสนอความคดิ เหน็ และวเิ คราะห์หาทางออกรว่ มกนั วิเคราะห์หาแนวทางบรู ณาการหลกั และทฤษฎกี ารบรหิ าร หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๕๕ หลักสตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล การศึกษามาเพื่อแกป้ ัญหาการจัดการศกึ ษา ๒๑๐ ๒๐๔ การพัฒนาหลักสูตรและสง่ เสริมคุณภาพการศกึ ษา Curriculum Development and Educational Quality Promoting ศกึ ษาหลกั ปรชั ญาการศึกษา ปรชั ญาการศกึ ษาเชงิ พทุ ธ หลักสตู รและการจัดการ เรียนการสอนเชิงพทุ ธ หลักสตู รการศึกษาไทยและนานาชาติ การพฒั นาหลกั สตู ร และหลกั สตู รสถานศกึ ษา การจดั การเรยี นรู้และเทคนคิ การสอน การพัฒนา แหล่งเรยี นรแู้ ละสิ่งแวดล้อมเพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ การพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี น การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การประเมนิ ผลหลักสตู ร การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นา คณุ ภาพการศึกษา ๒๑๐ ๒๐๕ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา Quality Assurance in Education ศกึ ษาหลักการและกระบวนการประกันคณุ ภาพการศึกษา การประกนั คุณภาพ ภายในและภายนอก การกาหนดตวั บ่งชี้ตา่ งๆ การกากับติดตามการประกัน คณุ ภาพการศึกษา การตรวจประเมินคุณภาพการศกึ ษา การนาผลการประเมนิ ไปใชเ้ พ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา บรู ณาการพทุ ธธรรมกบั การประกันคณุ ภาพ การศึกษา ๒๑๐ ๒๐๖ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี Morality and Professional Ethics ศึกษาหลักธรรมาภบิ าลและความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ หลกั พทุ ธธรรมาภิบาล หลกั คุณธรรมจริยธรรมของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา การพัฒนาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม กฏหมายเก่ียวกับจรรยาบรรณวชิ าชีพ เกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี ผู้บรหิ าร สถานศึกษา จรรยาบรรณวชิ าชีพทีค่ รุ ุสภากาหนด ๒๑๐ ๒๐๗ การฝึกปฏิบตั ิการวิชาชพี บริหารการศกึ ษา Training Experience in Educational Administration ศกึ ษาและฝึกปฏบิ ัติเกยี่ วกับการพัฒนาวิชาชพี ทางการศึกษา ความเป็นผ้นู าทางวิชาการ การ นเิ ทศกห์ รือแนะแนว การบรหิ ารสถานศกึ ษา หลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๕๖ หลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ กิจการและกิจกรรมนกั เรยี น คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ วชิ าชพี การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ภายใตก้ ารแนะนาของผบู้ รหิ ารทเ่ี ป็นพีเ่ ลย้ี ง และ อาจารยน์ เิ ทศก์ การบรู ณาการพุทธธรรมกับการบรหิ ารสถานศึกษา ๓. หมวดวชิ าเลือก : ๓. หมวดวชิ าเลือก -ยกเลกิ กลมุ่ วชิ าบริหาร การศึกษา และกล่มุ ภาวะผนู้ า แบ่งเปน็ ๒ กลมุ่ วชิ า ใหน้ ิสิตเลอื กเรยี นเพียง ๑ กลมุ่ วชิ า กาหนดใหเ้ รียนโดยไมน่ บั หน่วยกติ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑ รายวชิ า (๓ หนว่ ยกิต) การศกึ ษา โดยแผน ก แบบ ก(๒) ใหเ้ ลือกเรยี นไมน่ ้อยกว่า ๖ หน่วยกิต -ปรบั ช่อื วิชา รหัสวชิ า และ แผน ข ใหเ้ ลือกเรียนไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาองั กฤษสาหรับการบรหิ ารการศกึ ษา คาอธบิ ายรายวิชาท้ังหมด โดย English for Educational Administration ใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐาน ๓.๑ กลุ่มวชิ าบรหิ ารการศึกษา ให้เลือกไมน่ ้อยกว่า ๖ หนว่ ยกติ ศกึ ษาหลักภาษาอังกฤษ ทกั ษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน ทกั ษะการ ความรู้ของคุรสุ ภา อัตลักษณ์ เขยี น ทกั ษะการตดิ ตอ่ ส่อื สารในสถานการณต์ า่ งๆ ภาษาองั กฤษเชิงวิชาการ หลักสตู ร และมคี วามทนั สมยั ๒๑๐ ๓๑๐ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา Educational Quality Assurance ๓(๓-๐-๖) ภาษาอังกฤษกับการบริหารการศกึ ษา พืน้ ฐานพทุ ธธรรมกับภาษาองั กฤษ กบั ศึกษาแนวคิดหลกั การวธิ กี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาองค์ประกอบและตวั บงชกี้ ารประเมิน ภาษาองั กฤษกับการเรียนรู้พระพทุ ธศาสนา คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ตามเกณฑข์ อง สกอ. และมาตรฐานและตวั บ่งชี้การประเมิน คุณภาพการศกึ ษาภายนอก ของ สมศ. ในแต่ระดับการศกึ ษา มาตรฐานผู้บริหารและผสู้ อน ๒๑๐ ๓๐๒ พืน้ ฐานภาษาบาลี การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบและตวั ช้วี ัดและระบบการรบั รองคุณภาพการศึกษา Basic Pali Language ศึกษาความเปน็ มาและความสาคญั ของภาษาบาลี ภาษาบาลหี รือสนั สกฤตใน ๒๑๐ ๓๑๑ การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์เชงิ พุทธ Buddhist Human Resources ภาษาไทย พระปริยตั ิธรรมแผนกบาลขี องคณะสงฆ์ หลกั บาลไี วยากรณ์ การอ่าน Management ๓(๓-๐-๖) การพดู การเขยี น และการแปลภาษาบาลี การแปลบทสวดมนต์ต่างๆ การ ศึกษาวเิ คราะหห์ ลักการ แนวคดิ ทฤษฎีและกระบวนการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ นโยบาย ประยุกต์ใชภ้ าษาบาลใี นชวี ติ ประจาวนั ระเบียบ กฎหมาย และองค์กรทเี่ ก่ียวข้องกับการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ บทบาทหนา้ ทข่ี อง ผู้บริหารในการบริหารทรพั ยากรมนุษย์ แนวโนม้ และการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ เพอ่ื ความ ๒๑๐ ๓๐๓ การบรหิ ารสถานศกึ ษาสู่ความเป็นเลิศ เปน็ เลศิ ทางการศกึ ษาการนาแนวคิด ทฤษฎแี ละหลกั พฤตกิ รรมศาสตรม์ าใชใ้ นการพัฒนา School Administration For Excellence ๓ (๓-๐-๖) ทรพั ยากรมนุษย์เชิงพุทธ ศึกษาหลกั การบริหารการศกึ ษา พทุ ธวธิ ีบรหิ ารการศกึ ษา โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธช้นั นา นโยบายและแผนการจดั การศกึ ษา ตวั ชวี ัดการพฒั นาสู่ความเปน็ เลศิ การบริหาร ๒๑๐ ๓๑๒ การบริหารสถาบันการศึกษาเพอ่ื ความเปน็ เลิศ School Administration For องค์กรทางการศึกษาของไทย การจัดระบบบริหารงานภายในสถานศกึ ษา Excellence ๓(๓-๐-๖) ศกึ ษาปรชั ญาวตั ถปุ ระสงคแ์ ละนโยบายการจดั การศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ การจัดระบบการบรหิ าร สถานศึกษาของไทย การจัดระบบบรหิ ารงานภายในสถาบันการศกึ ษาและการประยุกต์ใชใ้ ห้ เหมาะกับประเภท ระดับและขนาดของสถาบันการศกึ ษา การจดั ระบบบรหิ ารงานเฉพาะด้าน หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๕๗ หลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ในสถาบันการศกึ ษา การนานวตั กรรมและเทคโนโลยตี า่ ง ๆ มาประยกุ ตใ์ ช้ในการบริหาร นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารบริหารการศกึ ษายคุ ใหม่ การตงั้ เปา้ หมายและการ ดาเนนิ งานตามแผน การติดตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน การประกนั คณุ ภาพ ๒๑๐ ๓๑๓ โครงสรา้ งระบบบรหิ ารการศกึ ษา Systematic Structure Educational การศกึ ษา Administration ๓(๓-๐-๖) ศกึ ษาโครงสร้างและวิวัฒนาการระบบบรหิ ารการศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษาในส่วนกลาง ๒๑๐ ๓๐๔ การวจิ ยั แบบผสานวธิ ี ส่วนภมู ิภาค ส่วนทอ้ งถิน่ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน การศกึ ษาตลอดชพี เขตพืน้ ที่การศกึ ษา ระบบ Mixed Methodology Research การศึกษา แนวการจดั การศึกษา การบรหิ ารการจดั การศึกษามาตรฐาน การประกนั คณุ ภาพ ศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีการวิจัยแบบผสานวิธี พุทธวธิ ีการวิจัย กรอบความคิดพนื้ ฐานของ การศกึ ษา ทรพั ยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษาตามแนวพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ การวิจยั แบบผสานวิธี การกาหนดปญั หาการวิจยั การออกแบบการวิจยั การเก็บ รวบรวมขอ้ มลู การแปลผลขอ้ มลู ข้อจากัดของการวจิ ัยแบบผสานวธิ ี การวจิ ยั เชงิ ๒๑๐ ๓๑๔ การจดั การความขดั แยง้ เชิงพุทธ Buddhist Conflict Management ๓ (๓-๐- ประวัติศาสตร์ การวจิ ยั และพฒั นา การสนทนากลมุ่ การปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม ๖) การเขียนและวางแผนการวจิ ัยแบบผสานวธิ ี การฝึกปฏิบตั ิภาคสนาม เทคนคิ การ ศกึ ษาแนวคิด และทฤษฏเี ก่ียวกบั ความขัดแย้ง และการจดั การความขดั แยง้ ใน วิจยั ใหม่ ๆ ฝึกปฏิบตั ิดา้ นการวจิ ยั แบบผสานวธิ ี พระพทุ ธศาสนา โดยเน้นความหมาย ความสาคัญ สาเหตุ และผลกระทบจากความขัดแยง้ รวมทงั้ ใช้เครื่องมอื และหลักการในพระพทุ ธศาสนา เชน่ การเจรจากนั เอง การเจรจาไกล่ ๒๑๐ ๓๐๕ การบริหารสู่ความเปน็ โรงเรยี นวิถพี ทุ ธ เกลี่ยคนกลาง การใชเ้ สยี งข้างมาก และการประนีประนอมขอ้ พิพาท เข้าไปชว่ ยเยยี วยา Buddhist School Administration ๓(๓-๐-๖) และฟืน้ ฟูความขัดแยง้ ในสถานการณ์ต่างๆ เพ่อื สรา้ งความสมานฉันท์ใหเ้ กิดข้ึนทงั้ ในเชงิ ศึกษาปรชั ญาและหลกั การบริหารโรงเรยี นวิถีพุทธ การบรหิ ารงานบคุ คล งาน ปัจเจกและเชงิ สังคม วิชาการ การเงินและพสั ดอุ าคารสถานท่ี กิจการและกิจกรรมนกั เรยี น การสรา้ ง ความสมั พันธร์ ะหว่างโรงเรยี นกบั วดั และชุมชน วเิ คราะห์ตัวช้ีวัดการดาเนินงาน ๒๑๐ ๓๑๕ การบริหารโรงเรียนวิถพี ทุ ธ Buddhist School Administration ๓(๓-๐-๖) โรงเรยี นวิถีพทุ ธ ปจั จยั และกระบวนการพฒั นาสเู่ ป้าหมาย ปญั หาอปุ สรรคและ ศกึ ษาปรัชญา ความมุ่งหมาย และหลกั การบริหารโรงเรยี นวถิ พี ุทธ การบรหิ ารงานบคุ คล ผลกระทบ การตดิ ตามและประเมินผล บรู ณาการพุทธธรรมกบั การบริหาร งานวิชาการ การเงนิ และพัสดอุ าคารสถานที่ และกิจการผูเ้ รียน การสรา้ งความสมั พันธ์ โรงเรียน ระหวา่ งโรงเรยี นกับพระสงั ฆาธกิ ารและชมุ ชน ศึกษาดูงานการบริหารจดั การโรงเรยี นวถิ ีพุทธ วิเคราะหต์ วั ชวี้ ัดการดาเนนิ งานโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ ปจั จัยนาเขา้ ปจั จยั กระบวนการ ปจั จยั ผลผลติ และปัจจัยผลกระทบ ทั้งด้านองคป์ ระกอบหลกั องคป์ ระกอบยอ่ ย และข้อบ่งช้คี ุณภาพ ๒๑๐ ๓๑๖ การศึกษาอิสระในการบรหิ ารการศกึ ษา Independent Studies in ๒๑๐ ๓๐๖ การศกึ ษาอิสระทางพุทธบรหิ ารการศึกษา Educational Administration ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาการออกแบบโครงการวจิ ัยหรือโครงการสมั มนา โดยศึกษาวิเคราะหป์ รัชญา แนวคดิ Independent Studies in Buddhist Educational Administration ๓ (๓-๐-๖) เทคนคิ การบริหารการศึกษาการพัฒนาและวฒั นธรรมการเปลย่ี นแปลงทางการบรหิ าร การศึกษาและวัฒนธรรมในสงั คมไทย ทม่ี ผี ลตอ่ การพฒั นาการศึกษา การวางแผนงาน ศึกษาเขียนโครงการวิจยั หรือโครงการสมั มนา โดยศกึ ษาเก่ยี วกบั การบริหาร ทางการศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกับการเปลย่ี นแปลงทางการศึกษาสงั คมและวฒั นธรรมในสังคมไทย การศึกษาตามประเด็นทีเ่ กยี่ วข้องเรอ่ื งใดเรือ่ งหนง่ึ หรอื หลายเรือ่ ง ดงั น้ี หลักพทุ ธ บริหารการศกึ ษา การวจิ ยั และการพัฒนาวชิ าชีพ นโยบายหรอื แผนการศกึ ษา ภาวะผู้นา ทักษะการบรหิ าร การนเิ ทศกห์ รือแนะแนว การบรหิ ารวิชาการ พฒั นา หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๕๘ หลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตผุ ล ๒๑๐ ๓๑๗ การวจิ ัยและวางแผนสถาบัน Institutional Research and Planning ๓(๓-๐-๖) หลกั สตู ร การจดั การเรยี นการสอน การบริหารองคก์ ร/สถานศึกษา บรหิ ารงาน ศึกษาหลกั การและวธิ กี ารวางแผนและการจัดการ โดยอาศยั การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ บุคคล งบประมาณ ธรุ การ และพสั ดุ เทคนคิ การสอน ส่อื การสอนและ ข้อมูล และการวางยทุ ธศาสตรโ์ ดยอาศยั ขอ้ มลู เป็นพ้ืนฐาน ศกึ ษาลกั ษณะและธรรมชาตขิ อง นวัตกรรมทางการศึกษา กิจกรรมนักเรียน และการวดั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวจิ ยั เพือ่ พัฒนาการบรหิ ารการศกึ ษาวิเคราะห์ และสังเคราะหผ์ ลการวจิ ยั เพ่ือนาองค์ ทรัพยากรสนบั สนนุ การศกึ ษาและความสมั พนั ธ์กับชมุ ชน คณุ ธรรมจริยธรรมและ ความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในการบริหารการศึกษา สบื ค้นเทคนิควจิ ัยใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มประสทิ ธิผลใน จรรยาบรรณวชิ าชีพ การประกันคณุ ภาพการศึกษา การวิจยั ทางการบรหิ ารการศึกษา โดยฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั และวางแผนในองค์กร สถาบันตา่ งๆที่ มีภารกจิ เกยี่ วกับการศกึ ษาเพอ่ื นาขอ้ มูลมาประกอบการวางแผนพฒั นาสถาบัน ๒๑๐ ๓๑๘ การวเิ คราะหข์ ้อมูลทางการบริหารการศกึ ษา Data Analysis in Educational Administration ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาการวเิ คราะหส์ ถติ ิพื้นฐานและสถติ แิ บบนอนพาราเมตรกิ ทฤษฎีความนา่ จะเปน็ ประชากร การส่มุ และกล่มุ ตวั อยา่ ง การวเิ คราะหก์ ารถดถอย สหสัมพันธ์และความแปรปรวน การ ทดสอบโดยใชส้ ถิตแิ บบนอนพาราเมตริก การแปรผลค่าสถติ ิจากการคานวณหรอื ประมวลผล ด้วยโปรแกรมสาเรจ็ รูป ๒๑๐ ๓๑๙ การบรหิ ารการศกึ ษาในประชาคมอาเซยี น Educational Administration In ASEAN Community ๓ (๓-๐-๖) ศกึ ษาความเปน็ มา ความสาคญั และกระบวนการจัดตัง้ อาเซยี น กฎบตั รอาเซยี น ปฏิญญา อาเซียนด้านบทบาทการศึกษา ด้านเศรษฐกจิ การเมืองและความมั่นคง สังคมและ วฒั นธรรม การศกึ ษาเพอื่ สรา้ งความเปน็ อาเซียน ความรว่ มมอื ทางวชิ าการระหวา่ ง สถาบนั อุดมศึกษาในอาเซยี นและประชาคมอาเซยี น การเตรียมพรอ้ มดา้ นการศึกษาของไทย ดา้ นกรอบความคิดของแผนการศกึ ษาแห่งชาติ ด้านเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา และด้านภาษา เพือ่ ก้าวสูป่ ระชาคมอาเซยี น และการบริหารและจดั การศึกษาในอาเซียนและประชาคม อาเซยี น ๓.๒ กลุม่ วชิ าภาวะผ้นู าทางการศกึ ษา นิสิตเลือกศกึ ษาไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ ๒๑๐ ๓๑๐ การประกันคุณภาพการศกึ ษา Educational Quality Assurance ๓(๓-๐-๖) ศกึ ษาแนวคิดหลกั การวิธกี ารประกันคณุ ภาพด้านวชิ าการหลกั สูตร ผสู้ อนและผเู้ รยี นตาม มาตรฐานการศกึ ษาแต่ละระดบั การวิเคราะห์ ตวั ช้วี ดั และระบบการประเมินคุณภาพ การศึกษา ๒๑๐ ๓๑๕ การบรหิ ารโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ Buddhist School Administration ๓(๓-๐-๖) หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๕๙ หลักสตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล ศกึ ษาปรชั ญา ความมงุ่ หมาย และหลักการบริหารโรงเรียนวิถพี ทุ ธ การบริหารงานบุคคล งานวิชาการ การเงินและพัสดุอาคารสถานที่ และกิจการผูเ้ รยี น การสรา้ งความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกบั พระสังฆาธกิ ารและชมุ ชน ศกึ ษาดงู านการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ วเิ คราะห์ตัวชวี้ ดั การดาเนินงานโรงเรยี นวิถีพทุ ธ ปจั จยั นาเขา้ ปจั จยั กระบวนการ ปัจจัย ผลผลติ และปัจจยั ผลกระทบ ทง้ั ดา้ นองคป์ ระกอบหลัก องคป์ ระกอบยอ่ ย และข้อบง่ ช้คี ุณภาพ ๒๑๐ ๓๒๐ ภาวะผู้นาการบรหิ ารการศกึ ษา Educational Administration Leadership ๓(๓-๐-๖) ศกึ ษาแนวคดิ และทฤษฎภี าวะผู้นาการบริหารการศกึ ษา คุณลกั ษณะผู้นาทางการบรหิ าร การศกึ ษา การเป็นผตู้ ามที่ดี การสร้างองค์กรการบรหิ ารการศกึ ษา การบูรณาการหลกั คุณธรรมในการสรา้ งภาวะผู้นาและวัฒนธรรมองคก์ ร การสรา้ งบรรยากาศ การพัฒนาองคก์ ร แหง่ การเรียนรู้ การสร้างเครอื ข่ายระหวา่ งองค์กรทงั้ ภายในและภายนอกสถาบนั เพ่ือบรหิ าร การศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒๑๐ ๓๒๑ ผู้นาทางการศกึ ษากับการเปล่ยี นแปลง Educational Leaders for Change ๓ ( ๓-๐-๖) ศึกษาแนวคดิ และทฤษฎีผู้นาทางการศกึ ษากบั การเปลยี่ นแปลงของผ้นู าทางการศึกษาทั้งทาง ตะวนั ตกและตะวนั ออก การวเิ คราะหป์ ระเด็นผ้นู าการเปลี่ยนแปลง การปฏริ ูปการศกึ ษา ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ การสร้างวิสยั ทศั นก์ ารศึกษา การสรา้ งบรรยากาศ องคก์ าร วัฒนธรรมองคก์ ร การแก้ปญั หา การตัดสนิ ใจ การบรู ณาการหลกั พุทธธรรม (อรยิ สัจ ๔ ฯลฯ) เพ่ือสรา้ งผู้นาทางการศึกษากบั การเปลยี่ นแปลง ๒๑๐ ๓๒๒ หลกั และทฤษฎภี าวะผู้นาทางการศกึ ษา The Principles and Theories of Educational Leadership ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาหลักและทฤษฎีของภาวะผู้นาทางการศึกษาทั้งศาสตรต์ ะวันตกและตะวนั ออก การ สร้างมนุษยสัมพันธ์ วิสยั ทศั น์ของผูน้ า ศลิ ปะการครองตน ครองคน และครองงาน การ พัฒนาสมรรถนะภาวะผ้นู า การตดั สินใจ การสร้างแรงจูงใจ การบูรณาการศาสตร์และศิลป์ใน การสรา้ งภาวะผ้นู าทางการศกึ ษา ๒๑๐ ๓๒๓ เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรบั ผนู้ าทางการศกึ ษา Information Technology for Educational Leadership ๓ ( ๓-๐-๖ ) ศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศบทบาทผู้นาทางการศึกษาในการใช้เทคโนโลยี หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๖๐ หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล สารสนเทศ การประยุกตเ์ ทคโนโลยีใชใ้ นงานดา้ นการบริหารงานวิชาการ การบรหิ ารงาน -เพิม่ เตมิ เง่ือนไขขอ้ ที่ ๒,๓,๔ บคุ คล การบรหิ ารงานงบประมาณ งานด้านธุรการ และการสอ่ื การเรียนการสอนสาหรับ ใหส้ อดคลอ้ งตามเกณฑ์ สกอ. ผู้นาทางการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๒๑๐ ๓๒๔ เทคนิคการวิจัยทางการบริหารการศกึ ษา Technical Research for Educational Administration ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาเทคนิคการสรา้ งเครอ่ื งมอื ข้นั ตอนการหาความเที่ยงตรงเชงิ เน้ือหา การตรวจสอบมา คานวณหาค่า (IOC) (Item Objective Congruence Index) การทดสอบหาความเชอ่ื มนั่ (Reliability) ของเครอ่ื งมือ รวบรวมขอ้ มลู ท้ังเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ เทคนิคการ วเิ คราะห์ขอ้ มูล การเขยี นบทคัดย่อ (Abstract) และบรรณานกุ รม ๒๑๐ ๓๒๕ การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางการบริหารการศกึ ษา Data Analysis in Educational Administration ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาการวเิ คราะห์สถติ ิพน้ื ฐานและสถติ แิ บบนอนพาราเมตริกทฤษฎคี วามนา่ จะเป็นประชากร การสุ่มและกลุม่ ตวั อยา่ ง การวเิ คราะหก์ ารถดถอย สหสัมพันธ์และความแปรปรวน การ ทดสอบโดยใชส้ ถิติแบบนอนพาราเมตริก การแปรผลคา่ สถิตจิ ากการคานวณหรอื ประมวลผล ด้วยโปรแกรมสาเรจ็ รูป ๒๑๐ ๓๒๖ ภาวะผนู้ าทางการศึกษาในประชาคมอาเซยี น Educational Leadership In ASEAN Community ๓ (๓-๐-๖) ศกึ ษาความเปน็ มา ความสาคัญ และกระบวนการจดั ตงั้ อาเซียน ยทุ ธศาสตร์ วสิ ยั ทัศน์ เอกลกั ษณ์โครงสร้างกฎบตั รอาเซยี น ปฏิญญาอาเซียน ความร่วมมอื ทางวชิ าการระหวา่ ง สถาบันอุดมศกึ ษาในอาเซียนและประชาคมอาเซียน การเตรยี มพรอ้ มดา้ นการศึกษาของไทย ดา้ นกรอบความคดิ ของแผนการศึกษาแห่งชาติ ด้านเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาและด้านภาษา เพ่อื ก้าวสูป่ ระชาคมอาเซยี น และภาวะผู้นาทางการศกึ ษา ผ้บู รหิ ารและจัดการศกึ ษาใน อาเซยี นและประชาคมอาเซียน ๔. วทิ ยานิพนธ์ หรอื สารนิพนธ์ ๔. วทิ ยานิพนธ์ หรือสารนพิ นธ/์ การศึกษาอสิ ระ ๒๑๐ ๔๐๐ วทิ ยานิพนธ์ ๑๒ หนว่ ยกิต สาหรบั แผน ก แบบ ก ๒ ๒๑๐ ๔๐๑ วิทยานพิ นธ์ ๑๒ หน่วยกิต Thesis Thesis หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๖๑ หลกั สตู ร พ.ศ. ๒๕๕๕ หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ เหตุผล ๒๐๑ ๕๐๐ การศกึ ษาอิสระ ๖ หนว่ ยกติ สาหรบั แผน ข มีเงือ่ นไข ดังน้ี -คงเดมิ แต่นามาแสดงใหเ้ ห็น Independent Studies ๑. นิสิตตอ้ งศกึ ษารายวชิ ามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมี ชดั เจน เพอื่ ใหผ้ ศู้ กึ ษาทราบ มีเง่ือนไข ดงั นี้ แต่เบอ้ื งต้น หนว่ ยกติ สะสมในรายวชิ าไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ จึงจะเสนอหัวข้อและโครงรา่ ง ๑. นิสิตจะเสนอหัวขอ้ และโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ เพอื่ ขออนุมัติลงทะเบียนทา วิทยานพิ นธ์ เพ่ือขออนุมัตลิ งทะเบยี นทาวทิ ยานิพนธ์ได้ วิทยานิพนธ์ได้ เม่อื ศึกษารายวชิ ามาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๑ ภาคการศกึ ษาปกติ และมี หน่วยกติ สะสมในรายวชิ าไม่นอ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกิต ๒. แผน ก แบบ ก ๒ ศึกษารายวชิ าครบถว้ นตามทก่ี าหนดในหลักสตู ร โดย จะต้องไดร้ ะดบั คะแนนเฉลีย่ ไม่ตา่ กวา่ ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรอื ๒. นิสติ มสี ิทธิข์ อสอบวทิ ยานพิ นธไ์ ด้ เมื่อศึกษารายวชิ าครบตามท่กี าหนดไดค้ า่ เทยี บเท่า และมเี วลาทาวิทยานิพนธ์ไมน่ ้อยกว่า ๓ เดือน นับจากวนั ลงทะเบียนทา ระดบั เฉล่ยี สะสมในรายวชิ าไม่น้อยกวา่ ๓.๐๐ และทาวทิ ยานิพนธ์เสรจ็ สมบรู ณ์ โดย วิทยานิพนธ์ จึงมสี ิทธขิ์ อสอบวทิ ยานพิ นธ์ และผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสดุ ท้ายโดย ใชเ้ วลาทาวทิ ยานิพนธไ์ ม่นอ้ ยกว่า ๓ เดือน นับจากวันลงทะเบยี นทาวทิ ยานพิ นธ์ คณะกรรมการท่สี ถาบันอดุ มศกึ ษาน้ันแต่งตงั้ และตอ้ งเปน็ ระบบเปดิ ให้ผู้สนใจเขา้ รบั ฟังได้ ๓. การเสนอหวั ขอ้ และโครงร่างวิทยานิพนธ์ การลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธ์ การ สอบวิทยานิพนธ์ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บบัณฑติ วิทยาลยั ว่าด้วยวิธีปฏบิ ัติเกยี่ วกบั ๓. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึง่ ของวิทยานพิ นธต์ ้องได้รับการตพี ิมพ์หรอื วิทยานิพนธ์ อยา่ งน้อยได้รับการยอมรบั ให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดบั ชาตหิ รอื ระดับนานาชาติทีม่ ี คุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์การพิจารณา ๖. กจิ กรรมและเงอื่ นไขอื่น* วารสารทางวชิ าการสาหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ หรอื นาเสนอตอ่ ที่ประชมุ วิชาการโดยบทความทน่ี าเสนอฉบบั สมบรู ณ์ (Full Paper) ไดร้ บั การตีพิมพ์ในรายงาน ๑) ปฏิบัตกิ รรมฐาน ๓๐ วนั (ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั ) สบื เนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการ (Proceedings) ดงั กล่าว (ราชกจิ จานเุ บกษา, เลม่ ๒) สัมมนาวชิ าการและศกึ ษาดงู านในประเทศและต่างประเทศ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง,หนา้ ๒๓, ข้อ ๑๔.๒.๒, ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘) ๓) การรายงานผลการวิจยั ในเวทสี าธารณะ (Proceeding) ๔. การดาเนนิ การเกีย่ วกับวทิ ยานพิ นธ์ ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บบณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ว่าด้วยวิธปี ฏบิ ัติเกย่ี วกับวิทยานิพนธ์ ๖. กจิ กรรมและเงอ่ื นไขอ่ืน ๑) ปฏบิ ตั ิกรรมฐาน ๓๐ วัน ๒) สมั มนาวชิ าการและศึกษาดงู านในประเทศและต่างประเทศ ๓) การรายงานผลการวจิ ยั ในเวทีสาธารณะ (Proceedings) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๖๒ ภาคผนวก ค ขอ้ บังคบั ระเบยี บ ประกาศ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๖๓ ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยการศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑ *************** เพอื่ ใหก้ ารบรหิ ารงานในบัณฑิตวทิ ยาลัยบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลยั จงึ เหน็ สมควรออกข้อ บงั คบั มหาวิทยาลัยวา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย พ.ศ.๒๕๔๐ สภามหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ในคราวประชุม ครงั้ ท่ี ๙/๒๕๔๑ เมื่อวันท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๑ จงึ มมี ติให้ออกข้อบงั คับไว้ ดังต่อไปนี้ หมวดที่ ๑ บททั่วไป ข้อ ๑ ข้อบังคับนเี้ รยี กวา่ “ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ว่าด้วยการ ศึกษาระดับ บณั ฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑” ขอ้ ๒ ให้ใชข้ ้อบงั คบั นตี้ งั้ แตว่ ันถดั จากวันประกาศเป็นตน้ ไป ข้อ ๓ บรรดาขอ้ บังคับ ระเบียบ ประกาศ คาสงั่ หรอื มตอิ ื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกบั ข้อบงั คับน้ี ให้ใชข้ อ้ บังคับ นี้แทน ข้อ ๔ ในขอ้ บังคับน้ี “นิสิต” ผทู้ ไี่ ด้ขึ้นทะเบยี นเป็นนิสิตบณั ฑติ วิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว ขอ้ ๕ ใหอ้ ธิการบดรี ักษาการใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บังคบั น้ี ข้อ ๖ คุณสมบัติของผสู้ มัครเขา้ ศกึ ษาระดับมหาบัณฑิต ๖.๑ ผ้สู มคั รเขา้ เป็นนิสิตต้องเป็นผู้สาเรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากมหา วิทยาลยั หรอื สถาบนั การศึกษาทส่ี ภามหาวทิ ยาลัยรบั รอง และต้องมคี ุณสมบตั อิ ่นื ตามท่ีมหา วิทยาลัยกาหนด ๖.๒ ต้องไดค้ ่าระดับเฉล่ยี สะสมในระดบั ปรญิ ญาตรี ไม่ตา่ กวา่ ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม ยกเวน้ ผู้ มปี ระสบการณก์ ารทางานตดิ ตอ่ กันเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ ๒ ปีนับตั้งแต่สาเร็จการศึกษา และผู้จบเปรียญธรรม เก้าประโยค และ ๖.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสติ บณั ฑติ วทิ ยาลยั ขอ้ ๗ บณั ฑติ วิทยาลัยจะดาเนนิ การเก่ียวกบั การรับสมัครนสิ ติ ใหม่ โดยพิจารณาแต่งตั้งคณะ กรรมการ สอบคัดเลอื กผ้สู มคั รเข้าศึกษาในระดบั บณั ฑิตศึกษาในแตล่ ะปีการศึกษา หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๖๔ ๗.๑ ผสู้ มัครเข้าเป็นนสิ ติ ต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาขนั้ ปริญญาโทหรอื เทียบเท่า จากมหา วทิ ยาลยั หรือสถาบนั การศกึ ษาที่สภามหาวทิ ยาลัยรบั รอง และต้องมคี ุณสมบัตอิ ืน่ ตามที่มหา วิทยาลยั กาหนด ๗.๒ ต้องได้ค่าระดบั เฉล่ยี สะสมในระดบั ปรญิ ญาโทไมต่ ่ากวา่ ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม ยกเวน้ ผมู้ ี ประสบการณ์การทางานตดิ ต่อกันเป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่ ๓ ปีนับตั้งแต้สาเร็จการศกึ ษาหรือมีผลงานทางวิชา การ ที่คณะกรรมการบัณฑิตวทิ ยาลยั เห็นชอบ ๗.๓ ไมเ่ คยถกู ลงโทษให้พ้นจากการเป็นนสิ ติ บัณฑติ วทิ ยาลัย ข้อ ๘ บัณฑติ วิทยาลยั จะดาเนินการเกย่ี วกับการรับสมัครนสิ ติ ใหม่ โดยพจิ ารณาแต่งตง้ั คณะ กรรมการ สอบคดั เลือกผูส้ มัครเขา้ ศึกษาในระดบั บัณฑิตศกึ ษาในแต่ละปกี ารศึกษา หมวดท่ี ๒ การจัดและวธิ กี ารศกึ ษา ข้อ ๙ ระบบการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลยั จัดการศึกษาเปน็ ระบบหนว่ ยกิตทวภิ าค โดยแบง่ เวลาการศึกษาในแต่ละปกี ารศึกษา ออกเปน็ ๒ ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศกึ ษามเี วลาศกึ ษาไม่น้อยกว่า ๑๖ สปั ดาห์ บัณฑิตวทิ ยาลยั อาจจดั การศึกษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาคมีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สปั ดาห์ และจะ กาหนดระเบียบว่าดว้ ยการศกึ ษาภาคฤดรู ้อนท่ีไมข่ ัดกับขอ้ บังคบั น้ีโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการประจา บณั ฑติ วทิ ยาลัย ข้อ ๑๐ หลักสตู ร ๑๐.๑ หลกั สูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑติ ใหศ้ ึกษางานรายวชิ าไมน่ อ้ ยกว่า ๓๖ หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ ๑๒ หนว่ ยกิต จาแนกประเภทดงั นี้ วิชาบงั คบั ๑๒ หน่วยกติ วิชาเอก ๑๘ หนว่ ยกติ วชิ าเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า ๑๖ หน่วยกติ วิทยานพิ นธ์ ๑๒ หนว่ ยกติ รวมทง้ั สนิ้ ๔๘ หน่วยกติ ๑๐.๒ หลักสูตรปริญญาพทุ ธศาสตรดุษฎบี ัณฑติ ให้ศึกษางานรายวชิ าไม่นอ้ ยกวา่ ๒๔ หนว่ ยกิต และวิทยานพิ นธ์ ๓๖ หน่วยกิต จาแนกประเภทดังน้ี วชิ าบงั คับ ๙ หน่วยกติ วชิ าเอก ๙ หนว่ ยกติ วชิ าเลอื ก ไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกิต วิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกติ รวมท้งั สนิ้ ๖๐ หน่วยกิต ขอ้ ๑๑ ระยะเวลาการศึกษาตามหลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษามีดังน้ี หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๖๕ ๑๑.๑ หลกั สตู รปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ใหม้ ีระยะเวลาศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษา ปกติ และไมเ่ กนิ ๑๐ ภาคการศกึ ษาปกติ ๑๑.๒ หลักสูตรปรญิ ญาพุทธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ ให้มีระยะเวลาศึกษาไมน่ ้อยกวา่ ๖ ภาคการศึกษา ปกติ และไมเ่ กิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ ในกรณที ่นี สิ ติ ไมส่ ามารถจบการศึกษาได้ในระยะเวลา ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ ตามข้อ ๑๑.๑ และ ขอ้ ๑๑.๒ คณะกรรมการประจาบณั ฑติ วิทยาลยั อาจอนุมตั ใิ ห้ตอ่ อายุสภาพนสิ ิตได้อีก แต่ท้ังนีต้ อ้ งไมเ่ กนิ ๒ ภาค การศกึ ษาปกติ ๑๑.๓ การนบั เวลาในข้อ ๑๑.๑ ให้นับรวมเวลาท่นี ิสิตได้รบั อนมุ ัติใหล้ าพกั การศึกษาด้วย ยกเว้น นสิ ิตที่ไดร้ บั อนุมตั ิให้ลาพักการศกึ ษาตามข้อ ๑๓.๑.๑ ๑๑.๔ รายวชิ าทกี่ าหนดใหน้ สิ ติ ฟงั การบรรยายสัปดาหล์ ะ ๑ ชวั่ โมงและศึกษานอกเวลาอกี ไมน่ ้อย กวา่ สัปดาห์ละ ๓ ชัว่ โมงตลอดภาคการศึกษา ให้มีคา่ เท่ากับ ๑ หน่วยกิต ๑๑.๕ รายวชิ าท่ีนิสิตใชเ้ วลาปฎบิ ตั ิการ อภปิ รายหรือสัมมนาสัปดาห์ละ ๒ ถึง ๓ ชั่วโมง และเม่อื รวมเวลาการศึกษานอกเวลาแลว้ นสิ ิตใช้เวลาไมน่ ้อยกวา่ สปั ดาหล์ ะ ๓ ชว่ั โมง ตลอดภาคการศึกษา ใหม้ ีค่า เท่ากบั ๑ หน่วยกติ ข้อ ๑๒ การเปลีย่ นสาขาวิชาจะกระทาได้กต็ ่อเม่ือไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรึกษาท่ัวไป และ คณบดีบัณฑติ วทิ ยาลัย บัณฑิตวิทยาลยั อาจอนุมัตใิ ห้นสิ ิตท่ีขอเปลีย่ นสาขาวิชาโอนหนว่ ยกติ ของรายวชิ าในระดบั บณั ฑติ ศึกษาที่ ได้ศึกษาไว้แลว้ ไมเ่ กิน ๕ ปีไดต้ ามที่เห็นสมควรแต่ตอ้ งไม่เกิน ๙ หนว่ ยกิต โดยไม่ใหน้ าไปคานวนคา่ ระดบั เฉลี่ย สะสมและรายวิชานัน้ ต้องไดผ้ ลการศกึ ษาไม่ต่ากว่า B หรือ S ข้อ ๑๓ การลาพักรอ้ นและการกลับเข้าศึกษาใหม่ ๑๓.๑ นสิ ติ มีเหตจุ าเป็น อาจลาพักการศึกษาภาคใดภาคหน่ึง เมื่อได้ศึกษาในบัณฑิตวทิ ยาลยั ไม่ น้อยกว่า ๑ ภาคการศกึ ษาปกติ โดยความเหน็ ชอบของอาจารย์ทปี่ รึกษาท่ัวไป นสิ ติ ต้องยนื่ คาร้องต่อคณบดีบณั ฑิตวิทยาลัยภายใน ๓๐ วนั นับจากวันเปดิ ภาคการ ศึกษาใหม่ หากพ้นจากกาหนดการลาพักการศึกษาดงั กล่าว นสิ ิตอาจขอลาพักการศกึ ษาเป็นกรณีพิเศษในกรณีใดกรณหี นง่ึ ดังต่อไปน้ี ๑๓.๑.๑ ถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจาการ ๑๓.๑.๒ มคี วามจาเปน็ ต้องเดนิ ทางไปต่างประเทศ ๑๓.๑.๓ เจ็บป่วยตอ้ งพักรกั ษาตวั เป็นเวลานานตามคาสั่งแพทย์ โดยมใี บรบั รองแพทย์มาแสดงตอ่ บัณฑิตวทิ ยาลัย ๑๓.๑.๔ มเี หตุจาเปน็ สุดวสิ ยั อ่นื ทสี่ าคัญ ในกรณที ่ีนิสิตไดร้ ับอนมุ ตั ใิ หล้ าพกั การศึกษา ให้นบั ระยะเวลาทลี่ าพักการศกึ ษารวมอยู่ในระยะ เวลา ศกึ ษาดว้ ย ยกเวน้ นสิ ิตทีไ่ ด้รับอนมุ ัตใิ หล้ าพกั การศึกษาตามข้อ ๑๓.๑.๑ นสิ ติ ทไ่ี ดร้ ับอนุมตั ใิ หล้ าพักการศกึ ษา ต้องชาระคา่ ธรรมเนยี มเพ่ือรกั ษาสภาพการเป็นนสิ ิตทุกภาค การศึกษา ยกเว้นนสิ ติ ที่ได้รับอนมุ ตั ใิ ห้ลาพกั การศึกษาหลังจากที่ไดล้ งทะเบยี นรายวิชาแลว้ ในกรณีน้ีใหน้ สิ ิต W ไดใ้ นทุกรายวิชาทีไ่ ดล้ งทะเบียนไวใ้ นภาคการศกึ ษาท่ีได้รบั อนมุ ัตใิ หล้ าพักการศึกษา หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๖๖ ขอ้ ๑๔ การพ้นสภาพการเป็นนสิ ติ นสิ ิตพ้นสภาพการเป็นนสิ ติ ในกรณีใดกรณหี น่ึงดังตอ่ ไปนี้ ๑๔.๑ สอบได้คา่ ระดบั เฉล่ยี ประจาภาคการศึกษาที่ ๑ ต่ากว่า ๒.๕๐ ๑๔.๒ สอบได้คา่ ระดบั เฉลย่ี สะสมตา่ กว่า ๓.๐๐ ๑๔.๓ ไมส่ ามารถสาเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตรภายในกาหนดเวลาตามข้อ ๑๑.๑ หรอื ขอ้ ๑๑.๒ แล้วแตก่ รณี ๑๔.๔ มหาวิทยาลยั ลงโทษให้พน้ สภาพการเป็นนิสิตตามข้อ ๓๒.๕ ๑๔.๕ ไม่ปฏบิ ัติตามเงื่อนไขการลาพักตามข้อ ๑๓ หรือไมล่ งทะเบยี นรายวิชาในภาคการ ศกึ ษา ปกตติ ามขอ้ ๑๗.๕ ๑๔.๖ ได้รบั อนุมัติให้ลาออกจากการเป็นนสิ ิต ข้อ ๑๕ นสิ ิตที่พ้นสภาพตามข้อ ๑๔.๕ และ ๑๔.๖ อาจขอกลบั เข้าเปน็ นิสติ ใหม่ได้ภายในกาหนด ระยะเวลา ๒ ปี นับจากวันท่นี สิ ิตพ้นสภาพการเปน็ นสิ ิต และถา้ คณบดีบัณฑิตวทิ ยาลัยโดยคา แนะนาของ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย เหน็ สมควรอนุมตั ิโดยใหค้ ิดระยะเวลาท่ีพน้ สภาพการเป็นนิสิตนนั้ รวมอยู่ ในระยะเวลาการศึกษาทั้งหมด ในกรณีเชน่ นน้ี สิ ติ ต้องเสียค่าธรรมเนียมตา่ งๆ เหมือนกับผู้ลาพักการศึกษาท่วั ไป หมวดที่ ๓ การข้ึนทะเบยี นเปน็ นสิ ติ และการลงทะเบียนรายวิชา ขอ้ ๑๖ การขึน้ ทะเบียนเปน็ นสิ ิต ๑๖.๑ ผู้ข้นึ ทะเบียนเป็นนิสติ ตอ้ งนาหลกั ฐานท่ีบณั ฑิตวทิ ยาลัยกาหนดมายน่ื ตอ่ กองทะเบยี นและ วัดผลด้วยตนเองตามวันเวลา และสถานท่ีท่ีกาหนด พร้อมทง้ั ชาระค่าธรรมเนียมตา่ งๆ ตามท่ีมหาวิทยาลัย กาหนด สาหรบั ภาคการศึกษาแรกท่ีเข้าศกึ ษาในบณั ฑิตวิทยาลัย นิสิตตอ้ งลงทะเบียนรายวิชาทตี่ ้องศึกษาใน ภาคนน้ั ทง้ั หมดพรอ้ มกับการข้ึนทะเบียนเป็นนิสติ ดว้ ย ๑๖.๒ ผูไ้ มส่ ามารถมาย่นื คาร้องขอข้ึนทะเบียนเป็นนสิ ติ ตามวนั ทก่ี าหนด ตอ้ งแจ้งเหตุ ขดั ข้องให้ กองทะเบียนและวัดผลทราบ เปน็ ลายลักษณอ์ ักษรภายใน ๗ วนั หลงั จากวนั ทก่ี าหนดไว้ มฉิ ะน้ันจะถือวา่ สละ สทิ ธิ์ ในกรณที ่ีไดแ้ จ้งให้กองทะเบียนและวัดผลทราบตามความความในวรรคแรกแล้ว ต้องมาขึน้ ทะเบียนเปน็ นิสิตด้วยตนเอง ยกเว้นกรณที ่มี หาวิทยาลัยพจิ ารณาเหน็ ว่ามเี หตุจาเป็นอยา่ งยิ่ง จึงอนญุ าตให้ มอบหมายผูแ้ ทนมาขึน้ ทะเบยี นแทนได้ ทั้งน้ีต้องทาใหเ้ รียบรอ้ ยภายใน ๗ วัน นับจากวนั เปดิ ภาคการศึกษา ๑๖.๓ ผู้ที่ได้รบั อนุมตั ิให้เข้าศึกษาในสาขาวชิ าใด ตอ้ งขน้ึ ทะเบียนเปน็ นสิ ิตของบัณฑติ วทิ ยาลัยใน สาขาวิชานน้ั และจะศึกษาเกินกว่า ๑ สาขาวชิ าในขณะเดยี วกันไม่ได้ ข้อ ๑๗ การลงทะเบยี นรายวิชา ๑๗.๑ นิสิตตอ้ งลงทะเบียนรายวิชาทุกภาคการศึกษา ตามกาหนดเวลาในปฏทิ นิ การ ศึกษา โดย ความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทัว่ ไป ๑๗.๒ นสิ ติ ท่ไี มม่ าลงทะเบียนรายวิชาภายใน ๑๔ วนั แรกของภาคการศึกษาปกตินบั จากวนั เปิด ภาคการศึกษา ไม่มสี ทิ ธิลงทะเบียนในภาคการศึกษาน้ัน เว้นแตจ่ ะไดร้ บั อนุมัติจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๖๗ ๑๗.๓ จานวนหน่วยกติ ท่กี าหนดให้นิสติ ลงทะเบยี นแตล่ ะภาคการศกึ ษา ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หนว่ ย กิต และไมเ่ กิน ๑๕ หนว่ ยกติ ๑๗.๔ นสิ ติ ทลี่ งทะเบียนล่าช้ากว่าท่ีกาหนด ตอ้ งชาระค่าธรรมเนยี มการศึกษาตามท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด ๑๗.๕ นิสติ ทไี่ ม่ลงทะเบยี นรายวชิ าในภาคการศึกษาใดตอ้ งลาพักการศึกษา ตามเงื่อนไขท่รี ะบุไว้ใน ขอ้ ๑๓ หากไมป่ ฏบิ ตั ติ ามต้องพ้นสภาพการเป็นนสิ ติ ๑๗.๖ นสิ ติ ท่ีได้ศึกษารายวชิ าครบตามหลกั สูตรแล้ว แต่ยงั ไม่สาเร็จการศึกษาต้องลง ทะเบยี น รักษาสภาพการเป็นนสิ ิตทุกภาคการศึกษา ขอ้ ๑๘ อาจารยท์ ป่ี รึกษาทว่ั ไป นิสิตต้องมีอาจารย์ทปี่ รึกษาท่ัวไปหนึ่งท่านเปน็ ผแู้ นะนาและชว่ ยวางแผนการศกึ ษาโดยคณบดบี ัณฑิต วิทยาลยั เปน็ ผูแ้ ตง่ ต้ังจากอาจารย์ทม่ี ชี ื่อในทาเนียบอาจารย์บัณฑติ วทิ ยาลยั ข้อ ๑๙ การถอน เพม่ิ และเปลยี่ นรายวิชา ๑๙.๑ การถอนรายวชิ าจะกระทาไดภ้ ายใตเ้ ง่ือนไข และมีผลสืบเนื่องดังตอ่ ไปน้ี ๑๙.๑.๑ ในกรณที ่ีขอถอนภายใน ๑๔ วันแรกของภาคการศกึ ษาปกติโดยไดร้ ับความเห็นชอบจาก อาจารย์ท่ปี รึกษาท่ัวไป รายวชิ าทถ่ี อนนั้นจะไมป่ รากฎในระเบียน ๑๙.๑.๒ ในกรณีทีข่ อถอนหลังจาก ๑๔ วันของภาคการศกึ ษาปกตแิ ตไ่ ม่เกนิ ๓๐ วนั แรกของภาค การศกึ ษาปกติ โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาทั่วไป นิสติ จะไดร้ ับ w ในรายวิชาท่ีถอน ๑๙.๑.๓ ถา้ นสิ ิตขอถอนรายวิชาใด เมอ่ื พน้ กาหนดตามข้อ ๑๙.๑.๒ นสิ ิตจะได้ F ในรายวิชานั้น เวน้ แตก่ รณีท่ีมเี หตผุ ลพเิ ศษซึ่งคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลยั เห็นสมควรอนมุ ตั ใิ ห้ถอนได้ ในกรณเี ช่นนี้ นสิ ิตจะได้ w ในรายวชิ าน้ัน ๑๙.๒ การเพ่มิ หรือเปล่ียนรายวชิ า ให้กระทาไดภ้ ายใน ๑๔ วนั แรกของภาคการศึกษาปกตโิ ดย ได้รบั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรึกษาทวั่ ไป และหากพน้ กาหนดนี้ตอ้ งไปรับอนมุ ตั จิ ากคณบดบี ัณฑติ วิทยาลัย ทั้งน้ีนสิ ติ ผู้นั้นจะต้องมเี วลาศึกษาต่อไปไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาท้งั หมดในภาค การศึกษานน้ั หมวดท่ี ๔ การวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา ขอ้ ๒๐ การวัดผลการศึกษา ๒๐.๑ ใหม้ กี ารวดั ผลการศึกษาทกุ รายวิชาทนี่ สิ ติ ลงทะเบียนในแต่ละภาคการศึกษา โดยอาจทาการ วัดผลระหวา่ งภาคดว้ ยวธิ ีการทดสอบ การเขียนรายงานการมอบหมายงานใหท้ าหรือวิธอี ่ืนใดที่เหมาะสมกับ รายวชิ าน้นั เมือ่ สิ้นภาคการศึกษา ให้มีการสอบไล่สาหรับแต่ละรายวิชาทศี่ กึ ษาในภาคการศกึ ษาน้ันหรอื จะใช้ วธิ กี ารวดั ผลอยา่ งอน่ื ทเ่ี หมาะสมกับลกั ษณะของวิชานน้ั ๆ ก็ได้ หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๖๘ บณั ฑิตวทิ ยาลยั อาจกาหนดระเบียบท่ีไมข่ ัดกบั ขอ้ บังคับนี้ เพ่ือใช้ในการวัดผลตามความเหมาะสม ของแตล่ ะสาขาวิชาหรอื รายวิชากไ็ ด้ ๒๐.๒ เมอ่ื สิ้นภาคการศึกษาแตล่ ะภาค นิสิตจะมสี ทิ ธเิ ขา้ สอบไล่หรือไดร้ ับการวดั ผลในรายวิชาใดก็ ตอ่ เมื่อมีเวลาศึกษาในรายวิชาน้นั มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมด ในภาคการศึกษาน้ัน และ/หรอื มีผลการทดสอบระหวา่ งภาคการศึกษาหรืองานที่ได้รับมอบหมายเป็นที่พอใจของอาจารยป์ ระจาวิชา ขอ้ ๒๑ การประเมนิ ผลการศึกษา ๒๑.๑ ระบบการประเมนิ ผลการศึกษารายวิชาของบัณฑิตวิทยาลยั ใช้เพยี ง ๖ ระดบั มผี ลการศกึ ษา ระดับและค่าระดบั ดงั น้ี ผลการศกึ ษา ระดับ คา่ ระดบั ดเี ยีย่ ม (Excellent) A ๔.๐ ดมี าก (Very good) B+ ๓.๕ ดี (Good) B ๓.๐ คอ่ นข้างดี (Very Fair) C+ ๒.๕ พอใช้ (Fair) C ๒.๐ ตก (Failed) F๐ ๒๑.๒ ในรายวชิ าใดท่หี ลักสูตรกาหนดใหเ้ ป็นรายวิชาที่ไม่นบั หนว่ ยกิต ให้แสดงผลการ ศกึ ษาใน รายวชิ านน้ั ดว้ ยสัญลกั ษณ์ดงั น้ี สญั ลกั ษณ์ ผลการศกึ ษา S (Satisfactory) เป็นทีพ่ อใจ U (Unsatisfactory) ไมเ่ ป็นท่ีพอใจ ๒๑.๓ ในรายวิชาใดยงั ไม่ได้ทาการวัดผลหรอื ไมม่ ีการวดั ผล ใหร้ ายงานการศึกษารายวิชานนั้ ดว้ ย สญั ลักษณ์อย่างใดอยา่ งหนึ่ง ดังตอ่ ไปน้ี สญั ลักษณ์ สภาพการศึกษา I (Incomplete) ไมส่ มบรู ณ์ SP (Satisfactory Progress) กา้ วหน้าเปน็ ทีน่ ่าพอใจ UP (Unsatisfactory Progress) ไม่ก้าวหน้าเปน็ ทน่ี ่าพอใจ W (Withdrawn) ถอนรายชอื่ วิชาท่ีศึกษา Au (Audit) ศกึ ษาโดยไม่นบั หน่วยกติ ๒๑.๔ การประเมินผลวิทยานิพนธ์ ๒๑.๔.๑ ให้ใช้ IP (In Progress) สาหรบั วิทยานิพนธท์ ีอ่ ยรู่ ะหว่างการเรยี บเรยี ง ๒๑.๔.๒ การประเมนิ ผลวทิ ยานิพนธท์ ่ีเรยี บเรียงเสร็จเรยี บร้อยแล้ว ใหก้ าหนดเป็น ๔ ระดบั ดังน้ี ผลการศึกษา ระดบั ดเี ย่ยี ม (Excellent) A ดี (Good) B+ ผา่ น (Passed) B หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๖๙ ตก (Failed) F ๒๑.๕ การให้ F ให้กระทาในกรณีใดกรณหี นง่ึ ดังต่อไปน้ี ๒๑.๕.๑ นสิ ติ ขอถอนรายวชิ า เมื่อพ้นกาหนดตามข้อ ๑๙.๑.๓ ๒๑.๕.๒ นสิ ิตเขา้ สอบและสอบตกตามข้อ ๒๐.๑ ๒๑.๕.๓ นสิ ติ ไมม่ สี ิทธเิ ข้าสอบตามข้อ ๒๐.๒ ๒๑.๕.๔ นสิ ิตไมแ่ ก้คา่ I ตามขอ้ ๒๑.๖.๒ วรรคสุดทา้ ย ๒๑.๕.๕ นิสติ ทาผิดระเบียบการสอบไลแ่ ละได้รบั การตัดสนิ ให้สอบตก ๒๑.๖ การให้ I จะกระทาได้ในกรณใี ดกรณหี นึ่งดังต่อไปนี้ ๒๑.๖.๑ นิสิตมีเวลาเรียนในรายวชิ าไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ แตม่ ไิ ด้สอบเพราะป่วยหรอื เหตุ สดุ วิสัย และได้รบั อนุมัติจากคณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั ๒๑.๖.๒ อาจารย์ประจาวิชาและคณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั เห็นสมควรให้รอผลการศกึ ษา เพราะนิสิตยงั ปฏิบัตงิ าน ซึง่ เปน็ สว่ นประกอบการศึกษารายวชิ าน้นั ยังไม่สมบูรณ์ การแก้ค่า I นสิ ิตจะต้องสอบและ/หรือปฏิบัติงานที่ได้รบั มอบหมายจากอาจารย์ประจาวชิ าให้ ครบถ้วน เพ่อื ให้อาจารยป์ ระจาวิชาวัดผล และส่งผลการศึกษาของนิสติ ผนู้ น้ั แกบ่ ัณฑติ วทิ ยาลยั ภายในภาค การศกึ ษาถัดไป ๒๑.๗ การให้ S จะกระทาไดใ้ นกรณีใดกรณีหนึง่ ดงั ต่อไปนี้ ๒๑.๗.๑ รายวชิ าซ่งึ มผี ลการศึกษาเปน็ ทพี่ อใจ และหลกั สตู รกาหนดให้วัดผลการศกึ ษาโดย ไม่มีค่าระดับ ๒๑.๗.๒ รายวิชาซงึ่ นิสิตได้ลงทะเบยี นศึกษาในระดบั บัณฑิตวทิ ยาลยั และได้รับอนมุ ตั ิให้ โอนหน่วยกิตตามข้อ ๑๒ ๒๑.๘ การให้ U จะกระทาได้เฉพาะในรายวิชาที่หลักสูตรกาหนดว่าให้วดั ผลโดยไมม่ ีคา่ ระดับและมี ผลการศึกษาไม่เป็นที่พอใจ ๒๑.๙ การให้ IP จะกระทาเพอ่ื แสดงฐานะของวิทยานิพนธท์ ี่อยใู่ นระหวา่ งการเรียบเรียงเม่ือสน้ิ ภาคการศึกษาปกติทุกภาค นับแตภ่ าคท่นี ิสติ ลงทะเบียนเพ่ือทาวิทยานิพนธ์ ๒๑.๑๐ การให้ W จะกระทาได้เฉพาะในกรณีที่ไดร้ ะบไุ ว้ในขอ้ ๑๓ ขอ้ ๑๙.๑.๒ และขอ้ ๑๙.๑.๓ ๒๑.๑๑ การให้ Au ในรายวชิ าใดจะกระทาไดใ้ นกรณที ่ีนิสิตได้รับอนมุ ัตใิ ห้ลงทะเบียนเรยี นเป็น พเิ ศษโดยไมน่ ับหน่วยกิต ๒๑.๑๒ การให้ SP จะให้เฉพาะกรณที ี่เปน็ รายวิชาต่อเน่ืองกับรายวิชาในภาคการ ศกึ ษาถัดไป และผลการศึกษาเมอ่ื สิ้นภาคการศึกษาก้าวหน้าเป็นทน่ี า่ พอใจ แต่ยงั มิได้วัดผล การวัดผลให้กระทาเมื่อนิสิตไดศ้ กึ ษารายวิชาต่อเน่ืองในภาคการศึกษาถัดไปตามหลกั สตู รแลว้ แต่ ถา้ นสิ ติ ไม่ศกึ ษารายวิชาตอ่ เนื่องในภาคการศึกษาถดั ไปดว้ ยเหตุใดก็ตามให้ทาการวดั ผล รายวิชาทไ่ี ด้ SP เป็น ระดบั และใชผ้ ลนั้นแทน ๒๑.๑๓ การให้ UP จะให้เฉพาะกรณที ่เี ปน็ รายวชิ าตอ่ เน่ืองกบั รายวิชาในภาคการ ศกึ ษาถัดไป และผลการศึกษาไม่กา้ วหนา้ เป็นท่ีนา่ พอใจแตย่ ังมไิ ด้วดั ผล หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๗๐ การวัดผลใหก้ ระทาเม่ือนิสติ ไดศ้ กึ ษารายวิชาต่อเน่ืองในภาคการศึกษาถดั ไป ตามหลัก สูตรแล้ว แต่ ถ้านสิ ิตไม่ศกึ ษารายวิชาตอ่ เนื่องในภาคการศึกษาถดั ไปด้วยเหตุใดก็ตาม ใหท้ าการวดั ผลรายวชิ าท่ไี ด้ UP นนั้ เป็นระดับและใชผ้ ลนั้นแทน ขอ้ ๒๒ การนบั หน่วยกติ และการลงทะเบียนรายวชิ าซ้า ๒๒.๑ การนับหนว่ ยใหค้ รบหลักสูตร ให้นับหนว่ ยกิตเฉพาะรายวิชาทน่ี สิ ิตสอบไดร้ ะดับ A, B, C หรอื S เทา่ นั้น เว้นแต่รายวิชาทห่ี ลกั สูตรกาหนดไวเ้ ป็นวิชาบงั คับหรอื วชิ าเอก ซ่ึงนสิ ิตตอ้ งได้ไมต่ ่ากว่า B หรอื S ๒๒.๒ นสิ ติ ท่ีได้ตา่ กวา่ B หรอื ได้ U ในรายวิชาบังคับหรือวชิ าเอกต้องลงทะเบยี นศกึ ษารายวชิ า นน้ั อกี และสอบให้ไดร้ ะดับไม่ตา่ กวา่ B หรอื S แลว้ แต่กรณี ๒๒.๓ ในกรณที ี่นสิ ติ ไดต้ ่ากวา่ B หรือได้ U ในวิชาเลือก นสิ ิตมีสทิ ธิลงทะเบียนรายวชิ าเดิมหรือ อาจลงทะเบียนรายวิชาอ่ืนในกลมุ่ เดียวกันได้ ๒๒.๔ ในกรณที ่ีนิสิตลงทะเบยี นรายวิชาซา้ หรือแทนตามที่หลกั สูตรกาหนด การนับหน่วยกิตตาม ข้อ ๒๒.๑ นบั จานวนหนว่ ยกติ ได้เพยี งครงั้ เดียว ขอ้ ๒๓ ใหม้ ีการประเมินผลการศกึ ษาเมือ่ สิน้ ภาคการศึกษาปกตทิ กุ ภาค โดยคานวณหาคา่ ระดับเฉล่ยี ประจาภาคของรายวชิ าท่ีนสิ ติ ไดล้ งทะเบียนไว้ในภาคการศึกษาน้ัน และคานวณหาค่าเฉลีย่ สะสมสาหรับรายวชิ า ทัง้ หมดทุกภาคการศึกษา ตงั้ แต่เรม่ิ เขา้ ศึกษาจนถงึ ภาคการศึกษาปจั จุบัน ข้อ ๒๔ การคิดค่าระดบั เฉลย่ี ประจาภาค ใหค้ านวณโดยคณู ค่าระดับของแตล่ ะรายวิชาดว้ ยหน่วยกิตของ รายวชิ าน้นั แลว้ รวมผลคูณของแตล่ ะรายวิชาเขา้ ด้วยกัน และหารผลรวมนนั้ ดว้ ยจานวนหน่วยกิตทงั้ หมดท่ี ลงทะเบยี นไวใ้ นภาคการศึกษานัน้ โดยคดิ ทศนิยมสองตาแหนง่ ไม่ปดั เศษ ขอ้ ๒๕ รายวิชาใดทีม่ รี ายงานผลการศกึ ษาเปน็ สญั ลักษณ์ I S U W และ Au ไม่ใหน้ ารายวิชานัน้ มา คานวณหาคา่ ระดับเฉลย่ี ตามข้อ ๒๔ หมวดที่ ๕ การทาวิทยานพิ นธ์ ข้อ ๒๖ ใหบ้ ัณฑิตวิทยาลยั วางระเบยี บวา่ ด้วยการทาวทิ ยานิพนธ์และการสอบวทิ ยานิพนธ์ ขอ้ ๒๗ การเสนอโครงร่างวิทยานพิ นธแ์ ละลงทะเบียนทาวทิ ยานิพนธ์ มีหลกั ปฏิบัติดงั นี้ ๒๗.๑ ระดับปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ นสิ ิตท่ศี ึกษารายวิชามาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ภาค การศึกษาปกติ และมีหนว่ ยกิตสะสมไมน่ ้อยกว่า ๑๖ หน่วยกติ จงึ จะมสี ิทธเิ์ สนอโครงร่างวิทยานพิ นธ์ เพ่ือขอ อนุมัตลิ งทะเบยี นทาวทิ ยานิพนธ์ ๒๗.๒ ระดบั ปริญญาพทุ ธศาสตรดุษฎีบณั ฑิต นสิ ิตที่ศึกษารายวิชามาแลว้ ไม้น้อยกวา่ ๒ ภาค การศกึ ษาปกติ และมหี นว่ ยกิตสะสมไม่น้อยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต จงึ จะมีสิทธเิ์ สนอโครงร่างวิทยานพิ นธ์ เพื่อขอ อนุมตั ลิ งทะเบียนทาวทิ ยานิพนธ์ ๒๗.๓ นิสติ สามารถลงทะเบียนวิทยานพิ นธไ์ ด้หลังจากได้รับอนุมัติหัวขอ้ และโครงรา่ งวทิ ยานิพนธ์ แลว้ ข้อ ๒๘ รูปแบบของวทิ ยานพิ นธใ์ ห้เป็นไปตามทบ่ี ณั ฑติ วิทยาลยั กาหนด หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๗๑ ขอ้ ๒๙ วทิ ยานิพนธ์ซง่ึ ผ่านการประเมินผลแล้ว ให้นับเป็นส่วนหนงึ่ ของการศึกษา เพ่ือรบั ปริญญาพทุ ธ ศาสตรมหาบณั ฑิต หรือปริญญาพุทธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ การนาวิทยานพิ นธ์ออกโฆษณาเผยแพร่ ต้องไดร้ บั อนุมตั ิจากบัณฑิตวิทยาลัยก่อน หมวดที่ ๖ การสาเร็จการศกึ ษา ขอ้ ๓๐ คณุ สมบัติของผสู้ าเร็จการศึกษา ๓๐.๑ มีเวลาศึกษาไม่น้อยกวา่ หรือไมเ่ กนิ กว่าท่ีกาหนดไว้ใน ข้อ ๑๑.๑ และข้อ ๑๑.๒ ๓๐.๒ ไดศ้ ึกษารายวิชาตา่ งๆ ครบถ้วน และถูกต้องตามเง่ือนไขที่กาหนดไว้ในหลกั สตู ร ๓๐.๓ ไดห้ นว่ ยกติ สะสมไม่น้อยกว่าท่ีกาหนดไวใ้ นหลกั สูตร ๓๐.๔ ไดค้ ่าระดับเฉล่ยี สะสมไม่ต่ากวา่ ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม ๓๐.๕ ไดร้ ะดบั ไมต่ ่ากว่า B ในรายวิชาบงั คับและรายวชิ าเอกทุกวชิ าและได้ระดับ S ในกรณีท่ี หลกั สตู รกาหนดใหว้ ดั ผลเป็น S เปน็ U ๓๐.๖ สอบผ่านการประเมินผลวทิ ยานิพนธ์ และสง่ วทิ ยานิพนธ์ฉบับสมบรู ณ์ตามทีม่ หาวทิ ยาลยั กาหนด ขอ้ ๓๑ คณุ สมบัติของผู้มสี ิทธิรบั ปรญิ ญา ๓๑.๑ มีคณุ สมบตั ิตามขอ้ ๓๐ ๓๑.๒ ไม่ตดิ ค้างคา่ ธรรมเนยี มใดๆ ๓๑.๓ ไม่อย่รู ะหวา่ งการถูกลงโทษใดๆ หมวดที่ ๗ ความประพฤตแิ ละวนิ ัยนิสิต ขอ้ ๓๒ ในกรณที ่นี สิ ติ กระทาผิดเกยี่ วกบั การสอบ ต้องได้รบั โทษสถานใดสถานหน่ึงตามสมควรแก่ ความผดิ ดังนี้ ๓๒.๑ ภาคทณั ฑ์ ๓๒.๒ ใหส้ อบตกรายวิชาใดวิชาหนง่ึ หรอื หลายรายวิชา ๓๒.๓ ให้สอบตกหมดทุกรายวิชาในภาคการศึกษาน้นั ๓๒.๔ ใหพ้ ักการศึกษาตั้งแต่ ๑ ภาคการศึกษา ถึง ๓ ภาคการศกึ ษาแล้วแตก่ รณี ๓๒.๕ ให้พน้ สภาพการเปน็ นสิ ิต ข้อ ๓๓ นิสติ ตอ้ งมีความประพฤติเรยี บร้อยดีงาม ในกรณที ี่นสิ ติ กระทาผิดข้อบังคับ ระเบยี บ คาสั่งหรือ ประกาศของบณั ฑิตวิทยาลยั หรือมหาวทิ ยาลัย และได้รับโทษนอกจากทร่ี ะบุไวแ้ ลว้ ใน ข้อ ๓๒ นิสิตตอ้ งได้รับ โทษสถานใดสถานหนึ่งตามสมควรแกค่ วามผิดดงั นี้ ๓๓.๑ ชดใช้ค่าเสยี หาย ๓๓.๒ ระงบั การให้ปริญญามีกาหนดไม่เกิน ๓ ปกี ารศกึ ษา หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๗๒ ๓๓.๓ ระงับการออกใบแสดงผลการศึกษามกี าหนดไมเ่ กิน ๓ ปีการศึกษา ขอ้ ๓๔ ใหค้ ณะกรรมการประจาบัณฑิตวทิ ยาลัย เปน็ ผู้พจิ ารณาลงโทษนิสิตท่มี คี วามประพฤติเสยี หาย หรือกระทาผดิ ตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์ทีร่ ะบุไวใ้ นข้อ ๓๒ และข้อ ๓๓ ตามสมควรแก่กรณี เฉพาะกรณีที่นสิ ติ กระทาผิดระเบียบการสอบทุกประเภทของบัณฑติ วทิ ยาลยั ให้คณะกรรมการประจา บณั ฑิตวทิ ยาลัยร่วมกับกรรมการควบคุมการสอบ เปน็ ผู้พิจารณาลงโทษตามสมควรแก่กรณีตามเกณฑ์ท่ีระบุไว้ ในขอ้ ๓๒ บทเฉพาะกาล ขอ้ ๓๕ ใหใ้ ชข้ ้อบงั คบั นก้ี ับนสิ ิตระดับบัณฑิตศึกษา ดังต่อไปน้ี ๓๕.๑ นสิ ติ ท่เี ขา้ ศึกษาตามหลกั สูตรปริญญามหาบณั ฑติ กอ่ นปีการศกึ ษา ๒๕๔๒ ยงั คงปฏิบัติ ตามข้อบงั คับมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดับปริญญา โท พุทธศกั ราช ๒๕๓๐ ๓๕.๒ นสิ ติ ท่ีเขา้ ศึกษาตามหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ตั้งแตป่ ีการศึกษา ๒๕๔๒ เปน็ ตน้ ไป ให้ ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๔ กนั ยายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๑ พระสเุ มธาธบิ ดี (พระสุเมธาธบิ ดี) นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๗๓ ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ (ฉบบั ท่ี ๒) แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ.๒๕๔๘ *************** อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พ.ศ.๒๕๔๐ และมตสิ ภามหาวิทยาลยั ในคราวประชมุ คร้ังท่ี ๔/๒๕๔๘ เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงมีมตใิ หแ้ ก้ไขเพ่ิมเติมข้อบงั คบั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ข้อบังคบั น้ีเรยี กว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วา่ ด้วยการศึกษาระดับ บณั ฑติ ศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ แกไ้ ขเพม่ิ เติม พทุ ธศักราช ๒๕๔๘” ขอ้ ๒ ใหย้ กเลกิ ข้อความในข้อ ๑๐.๑ และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปน้ีแทน “ข้อ ๑๐.๑ หลกั สตู รปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต ใหศ้ ึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๖ หนว่ ยกติ และวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต จาแนกประเภทดังน้ี วชิ าบังคับ ไมน่ อ้ ยกว่า ๘ หนว่ ยกิต วิชาเอก ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๒ หนว่ ยกติ วิชาเลือก ไมน่ ้อยกว่า ๖ หน่วยกิต วิทยานพิ นธ์ ๑๒ หนว่ ยกิต รวมทัง้ สิน้ ไมน่ ้อยกว่า ๓๘ หนว่ ยกติ ประกาศ ณ วนั ที่ ๙ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๕๔๘ พระราชรตั นโมลี (พระราชรัตนโมล)ี อุปนายกสภามหาวิทยาลัย ทาหนา้ ทแ่ี ทน นายกสภามหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๗๔ ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ (ฉบับท่ี ๓) แกไ้ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ.๒๕๔๙ ------------------------- เพอ่ื ใหก้ ารบริหารจดั การเก่ยี วกับการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา ของมหาวทิ ยาลัยดาเนนิ ไปดว้ ยความ เรยี บรอ้ ย มีประสิทธภิ าพ และบรรลวุ ัตถุประสงค์ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แหง่ พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๔๐ และมตสิ ภามหาวิทยาลัย ในคราวประชมุ คร้งั ที่ ๕/๒๕๔๙ เมอื่ วนั ศกุ ร์ที่ ๑ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๔๙ จึงใหแ้ ก้ไขเพมิ่ เติมข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ คุณสมบตั ิของผ้เู ข้าศึกษาระดับประกาศนยี บัตรบัณฑติ และมหาบัณฑติ ๖.๑ ผสู้ มัครเข้าศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรบณั ฑติ ๖.๑.๑ ตอ้ งเปน็ ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเทา่ จากมหาวิทยาลยั หรอื สถาบนั การศึกษาท่สี ภามหาวทิ ยาลัยรับรอง และ ๖.๑.๒ ไม่เคยถูกลงโทษให้พน้ สภาพการเปน็ นิสิตบัณฑิตวิทยาลัย ๖.๒ ผสู้ มคั รเข้าศกึ ษาระดับมหาบณั ฑติ ๖.๒.๑ ต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเทา่ จากมหาวทิ ยาลัยหรอื สถาบนั การศึกษาที่สภามหาวทิ ยาลยั รบั รอง ๖.๒.๒ ต้องไดร้ บั คา่ ระดับเฉล่ียสะสมในระดับปรญิ ญาตรีไม่ต่ากว่า ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แตม้ ยกเว้นผมู้ ปี ระสบการณ์การทางานติดตอ่ กันเป็นเวลาไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ปี นบั แตส่ าเร็จการศึกษาและผ้จู บเปรยี ญ ธรรมเก้าประโยค และ ๖.๒.๓ ไม่เคยถกู ลงโทษให้พน้ สภาพการเปน็ นสิ ิตบัณฑติ วิทยาลัย ข้อ ๗ ผู้สมัครเข้าศึกษาระดับดษุ ฎบี ณั ฑติ ๗.๑ ระดบั ดุษฎีบณั ฑิต แบบ ๑.๑ และแบบ ๒.๑ ๗.๑.๑ ต้องเป็นผู้สาเรจ็ การศึกษาระดบั ปรญิ ญาโทหรือเทียบเทา่ จากมหาวทิ ยาลัยหรือ สถาบันการศึกษาทีส่ ภามหาวทิ ยาลัยรับรอง ๗.๑.๒ ตอ้ งไดค้ ่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปรญิ ญาโทไม่ต่ากวา่ ๓.๕๐ ระบบ ๔ แต้ม ยกเว้น ผ้มู ีประสบการณก์ ารทางานติดตอ่ กนั เป็นเวลาไมน่ ้อยกว่า ๒ ปี นับแต่วันสาเรจ็ การศึกษาหรือมผี ลงานทาง วชิ าการท่คี ณะกรรมการประจาบัณฑติ วทิ ยาลยั เห็นชอบ และ ๗.๑.๓ ไม่เคยถูกลงโทษให้พน้ สภาพการเป็นนิสติ บณั ฑิตวทิ ยาลัย ๗.๒ ระดบั ดษุ ฎบี ัณฑติ แบบ ๑.๒ และแบบ ๒.๒ หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๗๕ ๗.๒.๑ ต้องเป็นผสู้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลยั หรือ สถาบันการศึกษาท่ีสภามหาวทิ ยาลยั รบั รองหรือเปรยี ญธรรมเกา้ ประโยค ซง่ึ บัณฑติ วิทยาลยั อนุมตั ิใหเ้ ข้าศึกษา เปน็ กรณีพเิ ศษ ๗.๒.๒ ตอ้ งไดค้ ่าระดบั เฉล่ยี สะสมในระดบั ปริญญาตรีไมต่ ่ากว่า ๓.๒๕ จากระบบ ๔ แตม้ ยกเว้นผู้มีประสบการณก์ ารทางานตดิ ต่อกันเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ปี นบั แต่สาเรจ็ การศกึ ษาและผูจ้ บเปรียญ ธรรมเกา้ ประโยค ๗.๒.๓ ไมเ่ คยถกู ลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสติ บณั ฑิตวทิ ยาลยั ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๙ แห่งข้อบงั คับมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ด้วย การศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ และใหใ้ ชข้ อ้ ความตอ่ ไปนี้แทน ขอ้ ๙ การศึกษาในบณั ฑิตวทิ ยาลยั ใชร้ ะบบทวภิ าคหรือไตรภาค ตามท่ีกาหนดไว้ในหลกั สตู รแตล่ ะ สาขาวิชา ระบบทวภิ าค ๑ ปี การศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศกึ ษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ มี ระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกวา่ ๑๕ สปั ดาห์ และอาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้อกี ๑ ภาค มรี ะยะเวลาศึกษาไม่ นอ้ ยกว่า ๖ สปั ดาห์ และจะกาหนดระเบียบวา่ ด้วยการศกึ ษาภาคฤดูร้อน ท่ีไม่ขดั กับข้อบงั คับนีโ้ ดยความ เหน็ ชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยก็ได้ ระบบไตรภาค ๑ ปี การศึกษาแบ่งออกเปน็ ๓ ภาคการศกึ ษาปกติ ๑ ภาคการศกึ ษาปกติ มี ระยะเวลาไม่น้อยกวา่ ๑๒ สัปดาห์ ข้อ ๔ ใหย้ กเลิกข้อความในข้อ ๑๐ แหง่ ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ด้วย การศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.๒๕๔๘ และให้ใช้ข้อความต่อไปน้ีแทน “ข้อ ๑๐ หลกั สตู ร ๑๐.๑ หลกั สูตรประกาศนียบัตรบณั ฑติ ๑๐.๒ หลักสตู รระดบั มหาบณั ฑิต แผน ก แบบ ก (๑) และ แผน ก (๒) ๑๐.๓ หลกั สูตรระดับมหาบัณฑิต แผน ข ๑๐.๔ หลกั สตู รระดบั ดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑ และแบบ ๒ โครงสรา้ งของแต่ละหลกั สูตร การศกึ ษารายวชิ าและการทาวทิ ยานิพนธ์ตามจานวนหนว่ ยกิต ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลยั ข้อ ๕ ระยะเวลาการศึกษาตามหลกั สตู ร ๑๑.๑ หลักสตู รประกาศนยี บัตร ให้มรี ะยะเวลาศกึ ษาไม่นอ้ ยกว่า ๒ ภาคการศึกษาปกติ และไม่ เกนิ ๔ ภาคการศกึ ษาปกติ ในระบบทวิภาคหรือใหม้ ีระยะเวลาไม่น้อยกวา่ ๓ ภาคการศกึ ษาปกติ และไม่เกิน ๖ ภาคการศึกษาปกตใิ นระบบไตรภาค ๑๑.๒ หลักสูตรระดับมหาบัณฑติ ให้มรี ะยะเวลาศึกษาไม่นอ้ ยกวา่ ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่ เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ ในระบบทวภิ าคหรือใหม้ ีระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ ๔ ภาคการศกึ ษาปกติ และไมเ่ กนิ ๑๕ ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๗๖ ๑๑.๓ หลกั สูตรระดบั ดุษฎบี ัณฑติ แบบ ๑.๑ และ ๒.๑ ให้มีระยะเวลาศึกษามนี อ้ ยกว่า ๖ ภาค การศึกษาปกติ และไม่เกนิ ๑๐ ภาคการศกึ ษาปกติ ในระบบทวิภาคหรอื ใหม้ รี ะยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๖ ภาค การศึกษาปกติ และไมเ่ กิน ๑๕ ภาคการศึกษาปกตใิ นระบบไตรภาค ๑๑.๔ หลักสตู รระดับดุษฎบี ัณฑิต แบบ ๑.๒ และ ๒.๒ ใหม้ ีระยะเวลาศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า ๘ ภาค การศกึ ษาปกติ และไม่เกนิ ๑๔ ภาคการศึกษาปกติ ในระบบทวภิ าคหรอื ให้มรี ะยะเวลาไม่น้อยกว่า ๘ ภาค การศกึ ษาปกติ และไม่เกนิ ๒๑ ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค ในกรณีทนี่ สิ ติ ไมส่ ามารถสาเร็จการศึกษาในระยะเวลาตามท่ีกาหนด คณะกรรมการประจาบัณฑติ วทิ ยาลยั อาจอนุมัตใิ ห้ต่ออายุสภาพนสิ ติ ไดอ้ ีก แต่ทั้งนีต้ ้องไม่เกิน ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑๑.๕ การนับเวลาในข้อ ๑๑ ให้นบั รวมเวลาทน่ี ิสติ ได้รับอนุมตั ิใหล้ าพกั การศึกษาด้วยยกเว้น นิสติ ทไี่ ด้รับอนุมตั ใิ ห้ลาพกั การศกึ ษาตามข้อ ๑๓.๑.๑ ขอ้ ๖ ให้ยกเลกิ ขอ้ ความในขอ้ ๒๑.๑ แห่งขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย การศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ และให้ใช้ข้อความต่อไปน้ีแทน ข้อ ๒๑.๑ ระบบการประเมินผลการศกึ ษารายวิชาแบง่ เป็น ๗ ระดบั และค่าระดับ ดงั น้ี ระดบั A A- B+ B C+ C F ค่าระดบั ๔.๐๐ ๓.๖๗ ๓.๓๓ ๓.๐๐ ๒.๕๐ ๒.๐๐ ๐ ข้อ ๗ ใหย้ กเลกิ ข้อความในข้อ ๒๗ แห่งขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ว่าดว้ ย การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา พุทธศกั ราช ๒๕๔๑ และให้ข้อความต่อไปน้ีแทน ขอ้ ๗ การเสนอโครงร่างวทิ ยานพิ นธ์และลงทะเบยี นทาวิทยานิพนธ์ มีหลักปฏิบตั ิดงั นี้ ๒๗.๑ นสิ ติ หลักสตู รระดับมหาบัณฑิต ที่ศกึ ษารายวิชามาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ภาค ๒๗.๒ นิสิตหลักสูตรระดบั ดุษฎบี ัณฑิต แบบ ๑ มีสิทธเ์ิ สนอโครงร่างวทิ ยานพิ นธ์ เพื่อขออนุมัติ ลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ หลงั จากข้นึ ทะเบียนเปน็ นิสติ แล้ว ๒๗.๓ นสิ ิตหลกั สตู รระดับดษุ ฎีบณั ฑิต แบบ ๒ ทศ่ี ึกษารายวชิ ามาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ ๑ ภาค การศกึ ษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต มสี ทิ ธ์ิเสนอโครงรา่ งวิทยานพิ นธ์ เพ่ือขออนุมัติ ลงทะเบยี นทาวทิ ยานพิ นธ์ ๒๗.๔ นสิ ิตสามารถลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธไ์ ด้ หลงั จากไดร้ ับอนุมตั หิ วั ขอ้ และโครงรา่ ง วิทยานพิ นธ์แล้ว ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘ กนั ยายน พทุ ธศักราช ๒๕๔๙ พระธรรมสุธี (พระธรรมสุธี) นายกสภามหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๗๗ ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แกไ้ ขเพม่ิ เติม พ.ศ. ๒๕๕๓ *************** เพ่อื ใหก้ ารบรหิ ารจดั การเก่ยี วกับการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา ของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลัย ดาเนนิ ไปด้วยความเรียบร้อย มปี ระสทิ ธิภาพ และบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แหง่ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พ.ศ.๒๕๔๐ และมติสภามหาวทิ ยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เม่อื วันพฤหสั บดีท่ี ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ขอ้ บังคบั น้ี เรียกว่า “ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดับ บณั ฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แก้ไขเพม่ิ เติม พุทธศักราช ๒๕๕๓” ขอ้ ๒ ให้ใชข้ อ้ บงั คบั นี้กบั นิสติ ท่ีรับเขา้ ศึกษา ตง้ั แตป่ ีการศึกษา ๒๕๕๓ เปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ ข้อความในข้อ ๓๐ แหง่ ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ว่าด้วย การศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ และให้ใชข้ อ้ ความต่อไปนแี้ ทน “ขอ้ ๓๐ คณุ สมบตั ิของผู้สาเร็จการศกึ ษา ๓๐.๑ มีเวลาศึกษาไม่น้อยกวา่ และไม่เกินกวา่ ท่ีกาหนดไวใ้ นข้อ ๑๑ ๓๐.๒ ไดศ้ ึกษารายวชิ าต่างๆ ครบถ้วนและถกู ต้องตามเง่ือนไขทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสตู ร ๓๐.๓ ไดห้ นว่ ยกติ สะสมไมน่ ้อยกว่าทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสตู ร ๓๐.๔ ไดค้ า่ ระดบั เฉลีย่ สะสมไมต่ ่ากวา่ ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม ๓๐.๕ ได้ระดับไมต่ ่ากว่า B ในรายวชิ าบงั คับและรายวิชาเอกทุกรายวชิ าและไดร้ ะดบั S ใน กรณที ่ีหลกั สตู รกาหนดให้วดั ผลเปน็ S หรอื U ๓๐.๖ สอบผา่ นการประเมนิ ผลวิทยานิพนธแ์ ละส่งวิทยานิพนธ์ฉบบั สมบรู ณ์ตามที่มหา วิทยาลัย กาหนด ๓๐.๗ วทิ ยานิพนธ์ในหลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต จะต้องไดร้ ับการตพี ิมพห์ รืออย่างน้อย ดาเนินการให้ทั้งหมด หรือส่วนหน่งึ ของวิทยานิพนธ์ไดร้ ับการยอมรับใหต้ ีพิมพ์ในวารสาร หรอื สิง่ พิมพ์ทาง วชิ าการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการท่ีมรี ายงานการประชมุ (proceeding) ๓๐.๘ วิทยานพิ นธใ์ นหลกั สูตรพุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต จะตอ้ งได้รับการตพี ิมพ์ หรืออยา่ งน้อย ดาเนนิ การให้ท้ังหมดหรือสว่ นหน่งึ ของวทิ ยานิพนธ์ได้รบั การยอมรับให้ตีพมิ พ์ในวารสารหรือส่ิงพิมพท์ างวิชาการ ท่ีมกี รรมการภายนอกรว่ มกลั่นกรองก่อนการตีพมิ พ์ (Peer-review) และเปน็ ทีย่ อมรับ” หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๗๘ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๖ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓ พระธรรมสุธี (พระธรรมสธุ ี) นายกสภามหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๗๙ ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยการศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๑ (ฉบบั ท่ี ๕) แก้ไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. ๒๕๕๓ *************** โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ บางส่วนของข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ด้วย การศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับท่ี ๔) แกไ้ ขเพ่ิมเติม พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ ให้มคี วาม เหมาะสมมากยิง่ ข้ึน อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แหง่ พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พ.ศ.๒๕๔๐ และมติสภามหาวทิ ยาลัย ในคราวประชุมคร้ังท่ี ๔/๒๕๕๓ เม่ือวันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ มถิ ุนายน จงึ ออกข้อบังคบั ไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ ขอ้ บงั คับนเี้ รยี กวา่ “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ว่าดว้ ยการศึกษาระดับ บัณฑติ ศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบบั ที่ ๕) แก้ไขเพมิ่ เติม พทุ ธศักราช ๒๕๕๓” ขอ้ ๒ ใหใ้ ชข้ ้อบงั คบั นก้ี ับนสิ ติ เขา้ ศึกษา ต้งั แตป่ ีการศกึ ษา ๒๕๕๓ เปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๓ ใหย้ กเลิกข้อความในข้อ ๒ แห่งข้อบงั คบั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ว่าด้วย การศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แก้ไขเพ่ิมเติม พุทธศกั ราช ๒๕๕๓และใหใ้ ช้ ข้อความต่อไปน้ีแทน “ขอ้ ๒ ให้ใชข้ ้อบงั คับนี้กับนิสิตที่รับเข้าศึกษา ต้ังแตป่ ีการศึกษา ๒๕๔๙ เปน็ ต้นไป” ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ พระธรรมสุธี (พระธรรมสุธี) นายกสภามหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๘๐ ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ด้วย การศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบบั ท่ี ๖) แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๘ ----------------------- เพ่ือให้การบริหารจัดการเก่ียวกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั ดาเนินไปด้วยความเรยี บร้อย มีประสิทธภิ าพ และบรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามนโยบายของมหาวิทยาลยั อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ และมติสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๕๘ วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับ บณั ฑติ ศกึ ษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบบั ที่ ๖) แกไ้ ขเพมิ่ เติม พ.ศ. ๒๕๕๘” ขอ้ ๒ ใหใ้ ชข้ ้อบังคบั นี้ตงั้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศเปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๓ ให้ยกเลิกข้อความใน ข้อ ๑๑ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย การศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พุทธศกั ราช ๒๕๔๑ และให้ใช้ขอ้ ความตอ่ ไปนแ้ี ทน “ข้อ ๑๑ ระยะเวลาการศกึ ษาตามหลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา มีดังนี้ ขอ้ ๑๑.๑ หลักสูตรประกาศนยี บตั รบัณฑติ ให้มีระยะวเลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๒ ภาคการศึกษา ปกติ และไม่เกิน ๔ ภาคการศึกษาปกติ ในระบบทวิภาคหรือให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๓ ภาคการศึกษาปกติ และไมเ่ กิน ๖ ภาคการศึกษาปกติในระบบไตรภาค ข้อ ๑๑.๒ หลักสูตรระดับมหาบัณฑิต ให้มีระยะวเลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติในระบบทวิภาค หรือให้มีระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ และ ไม่เกิน ๑๕ ภาคการศึกษาปกตใิ นระบบไตรภาค ขอ้ ๑๑.๓ หลักสตู รระดับดุษฎีบัณฑิต ผู้สาเร็จการศึกษาดับปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาต่อระดับ ดุษฏีบัณฑิต ให้มีระยะวเลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๖ ภาคการศึกษาปกติใน ระบบทวิภาค หรือให้มีระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า ๖ ภาคการศกึ ษาปกติ และไมเ่ กนิ ๒๔ ภาคการศึกษาปกติในระบบ ไตรภาค ผู้สาเร็จการศึกษาดับปริญญาโทแล้วเข้าศึกษาต่อระดับดุษฏีบัณฑิต ให้มีระยะวเลาศึกษาไม่ น้อยกวา่ ๔ ภาคการศกึ ษาปกติ และไม่เกิน ๑๒ ภาคการศึกษาปกติในระบบทวิภาค หรือให้มีระยะเวลาไม่น้อย กว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ และไมเ่ กนิ ๑๘ ภาคการศกึ ษาปกตใิ นระบบไตรภาค ข้อ ๑๑.๔ การนับเวลาในข้อ ๑๑ ให้นับรวมเวลาท่ีนิสิตได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษาด้วย ยกเวน้ นสิ ติ ทไ่ี ด้รับอนุมัติใหล้ าพักการศึกษาตามข้อ ๑๓.๑.๑” หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๘๑ ขอ้ ๔ ให้ยกเลิกขอ้ ความในขอ้ ๒๙ แหง่ ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ว่าด้วย การศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา พุทธศกั ราช ๒๕๔๑ และใหใ้ ชข้ อ้ ความต่อไปนแ้ี ทน “ข้อ ๒๙ วิทยานิพนธ์ซึ่งสอบผ่านการประเมินผลแล้ว ให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ ปริญญาระดบั มหาบณั ฑิตหรือปรญิ ญาระดับดษุ ฎบี ณั ฑิต การนาวิทยานพิ นธต์ ามวรรคหน่ึงออกเผยแพร่โฆษณาต้องไดร้ บั อนุมัติจากบัณฑติ วิทยาลัยก่อน ข้อ ๕ ยกเลิกข้อความในข้อ ๒๙ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๔) แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ข้อความ ต่อไปนแ้ี ทน “ขอ้ ๓๐ คุณสมบตั ิของผู้สาเร็จการศึกษา ๓๐.๑ มีเวลาศึกษาไม่น้อยกวา่ และไมเ่ กนิ กว่าท่กี าหนดไว้ในข้อ ๑๑ ๓๐.๒ ได้ศกึ ษารายวิชาต่างๆ ครบถว้ นและถูกตอ้ งตามเงื่อนไขทีก่ าหนดไวใ้ นหลกั สตู ร ๓๐.๓ ไดห้ น่วยกติ สะสมไม่น้อยกว่าท่กี าหนดไวใ้ นหลักสตู ร ๓๐.๔ ไดค้ า่ เฉลยี่ สะสมไม่ตา่ กว่า ๓.๐๐ จากระดบั ๔ แต้ม ๓๐.๕ ไดร้ ะดับไมต่ า่ กวา่ B ในวชิ าบงั คับและรายวิชาเอกทุกรายวิชา และได้ระดับ S ในกรณีท่ี หลกั สูตรกาหนดใหว้ ดั ผลเป็น S หรอื U ๓๐.๖ นิสิตหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต แผน ก สอบผ่านการประเมินผลวิทยานิพนธ์ และส่ง วิทยานิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ๓๐.๗ นิสิตหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต แผน ข สอบผ่านการประมวลความรู้ สอบผ่านการ ประเมินผลสารนพิ นธ์ และส่งสารนพิ นธฉ์ บับสมบูรณ์ ตามทมี่ หาวทิ ยาลัยกาหนด ๓๐.๘ วิทยานิพนธ์ในหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย ดาเนนิ การใหท้ ัง้ หมด หือสว่ นหนง่ึ ของวิทยานิพนธไ์ ดร้ บั การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรอื เสนอตอ่ ท่ีประชุมวิชาการทมี่ ีรายงานการประชุม (Proceeding) ๓๐.๙ วิทยานิพนธ์ในหลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย ดาเนินการให้ท้ังหมด หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทาง วชิ าการทมี่ กี รรมการภายนอกร่วมกลน่ั กรองกอ่ นการตพี ิมพ์ (Peer review) และเป็นท่ียอมรบั ” ข้อ ๖ ใหย้ กเลิกข้อความในขอ้ ๓๒ แหง่ ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ว่าด้วย การศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา พุทธศักราช ๒๕๔๑ และใหใ้ ช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๓๒ ให้กรณีท่นี ิสิตกระทาผิดเก่ียวกับการสอบหรือความผิดอื่นๆ ต้องได้รับโทษสถานใดสถาน หนงึ่ ตามสมควรแกค่ วามผิด ดังน้ี ๓๒.๑ ภาคทัณฑ์ ๓๒.๒ ใหส้ อบตกรายวิชาใดวิชาหน่งึ หรอื หลายวชิ า ๓๒.๓ ให้สอบตกหมดทุกรายวฃิ าในภาคการศึกษานน้ั ๓๒.๔ ใหพ้ ักการศึกษาตง้ั แต่ ๑ ภาคการศกึ ษา ถึง ๓ ภาคกาศึกษาแล้วแต่กรณี ๓๒.๕ ใหพ้ น้ สภาพการเปน็ นสิ ติ ” หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๘๒ ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พระธรรมสธุ ี (พระธรรมสุธี) นายกสภามหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๘๓ ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยคณะกรรมการประจาบณั ฑิตวิทยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะ พ.ศ.๒๕๔๑ *************** เพ่ืออนุวัตให้เปน็ ไปตามความในมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั พ.ศ.๒๕๔๐ จึงเห็นสมควรออกข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยว่าดว้ ยคณะกรรมการประจาบณั ฑติ วิทยาลยั และ คณะกรรมการประจาคณะ อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แห่งพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พ.ศ.๒๕๔๐ สภามหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ในคราวประชมุ คร้ังที่ ๘ /๒๕๔๑ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๑ จึงมีมติใหอ้ อกบงั คับไว้ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ขอ้ บังคบั น้เี รยี กว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ด้วยคณะกรรมการ ประจาบณั ฑติ วทิ ยาลัยและคณะกรรมการประจาคณะ พ.ศ.๒๕๔๑” ขอ้ ๒ ให้ใช้ข้อบังคับนี้ตง้ั แต่วันถดั จากวันประกาศเปน็ ต้นไป ข้อ ๓ บรรดากฎ ระเบยี บ ข้อบงั คับ ขอ้ กาหนด คาส่ัง หรอื ประกาศอื่นใดซึง่ ขัดหรือแย้งกบั ขอ้ บังคบั น้ี ให้ใช้ขอ้ บังคับนี้แทน ขอ้ ๔ ให้มีคณะกรรมการประจาบัณฑติ วิทยาลยั ประกอบดว้ ย (๑) ประธานกรรมการ ได้แก่ คณบดี (๒) รองประธานกรรมการ ได้แก่ รองคณบดซี งึ่ เปน็ พระภกิ ษุ (๓) กรรมการผูเ้ ปน็ คณาจารยป์ ระจาบัณฑิตวิทยาลัยจานวนสี่รูป หรอื ผู้ที่อธิการบดีแตง่ ตงั้ โดย คาแนะนาของคณบดี (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒจิ านวนไม่เกินห้ารปู หรือคนทอี่ ธิการบดีแตง่ ตง้ั โดยคา แนะนาของ คณบดี (๕) กรรมการและเลขานุการ ได้แก่ เลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย ขอ้ ๕ ให้มคี ณะกรรมการประจาคณะ ประกอบดว้ ย (๑) ประธานกรรมการ ไดแ้ ก่ คณบดี (๒) รองประธานกรรมการ ไดแ้ ก่ รองคณบดีซ่ึงเป็นพระภิกษุ (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง ได้แก่ หวั หน้าภาควิชา (๔) กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิจานวนไมเ่ กินหา้ รปู หรือคนที่อธิการบดีแต่งต้งั โดยคา แนะนาของ คณบดี (๕) กรรมการและเลขานุการ ได้แก่ เลขานกุ ารประจาคณะ ขอ้ ๖ คณะกรรมการประจาบัณฑติ วิทยาลยั และคณะกรรมการประจาคณะ มวี าระการดารงตาแหนง่ เทา่ กบั วาระการดารงตาแหน่งของคณะบดี หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๘๔ ในกรณีที่กรรมการตามขอ้ ๔ และข้อ ๕ พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระและไดม้ ีการแตง่ ต้งั ผู้ดารงตาแหนง่ แทนแลว้ ให้ผ้ทู ไ่ี ด้รับแต่งตั้งอยใู่ นตาแหนง่ เพียงเท่าวาระที่เหลือของผูซ้ ึ่งตนแทนในกรณีท่ีกรรมการพ้นจาก ตาแหนง่ ตามวาระแต่ยังมิได้แตง่ ตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ใหก้ รรมการซ่งึ พ้นจากตาแหน่งปฏิบตั ิหน้าทตี่ อ่ ไปจนกว่า จะได้แต่งตงั้ กรรมการขึน้ ใหม่ ทง้ั น้ตี ้องไมเ่ กินหกสิบวนั ขอ้ ๗ คณะกรรมการประจาบัณฑติ วทิ ยาลยั และคณะกรรมการประจาคณะ มีอานาจและหนา้ ที่ ดังนี้ (๑) วางนโยบายและแผนงานใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของมหาวิทยาลยั (๒) พิจารณาหลกั สูตรเพื่อนาเสนอตอ่ สภาวชิ าการ (๓) พิจารณาวางระเบียบ ข้อบังคับ ท่เี ก่ียวกับการบริหารและการดาเนนิ งาน เพือ่ เสนอตอ่ สภา วิชาการ (๔) ให้คาปรึกษาและเสนอความเหน็ แกค่ ณบดี (๕) ปฏบิ ัติหนา้ ทอี่ ืน่ ๆ ตามท่สี ภาวิชาการหรอื อธกิ ารบดีมอบหมาย ข้อ ๘ ให้มีการประชุมคณะกรรมการประจาบณั ฑติ วิทยาลยั และคณะกรรมการประจาคณะอย่างนอ้ ยปี ละส่คี รง้ั วธิ กี ารประชุมให้นาขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยการประชมุ สภา มหาวทิ ยาลยั มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม ข้อ ๙ ใหอ้ ธกิ ารดีรักษาการให้เป็นไปตามข้อบงั คบั น้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ พระสุเมธาธบิ ดี (พระสุเมธาธบิ ด)ี นายกสภามหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๘๕ ระเบยี บบัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยวธิ ปี ฏบิ ตั ิเกีย่ วกับวทิ ยานพิ นธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ *************** อนุวตั ให้เปน็ ไปตามความในข้อ ๒๖ แห่งขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ว่าดว้ ย การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ จึงเหน็ สมควรออกระเบียบบณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลง กรณราชวทิ ยาลัย วา่ ด้วยวิธีปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั วิทยานิพนธข์ องบณั ฑิตวทิ ยาลัย อาศัยอานาจตามความในข้อ ๒๖ แห่งขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วา่ ด้วย การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๑ คณะกรรมการประจาบัณฑติ วิทยาลยั ในคราวประชุมครั้งท่ี ๓/ ๒๕๕๐ เม่อื วันท่ี ๒๔ กนั ยายน พ.ศ.๒๕๕๐ จึงมีมตใิ หว้ างระเบียบไวด้ งั ต่อไปนี้ หมวดท่ี ๑ บททั่วไป ขอ้ ๑ ระเบยี บน้เี รียกว่า “ระเบยี บบัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ว่าดว้ ยวิธี ปฏิบัตเิ กีย่ วกับวิทยานพิ นธ์ พ.ศ.๒๕๕๐” ขอ้ ๒ บรรดา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือประกาศอน่ื ใดซ่ึงขัดหรือแย้งกบั ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบยี บ น้แี ทน ขอ้ ๓ ให้ยกเลิก (๑) ระเบียบบณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยวิธีปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั วทิ ยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๔๒ (๒) ระเบยี บบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วา่ ดว้ ยวิธปี ฏบิ ัติเก่ียวกบั วทิ ยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เติม พ.ศ.๒๕๔๖ (๓) ประกาศบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เรื่อง กาหนด ส่วนประกอบเพมิ่ เติมของโครงร่างวิทยานิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๔๔ (๔) ประกาศบัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย เรอ่ื ง การรายงาน ความกา้ วหน้าวิทยานิพนธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ ขอ้ ๕ ใหใ้ ชร้ ะเบียบน้ีตงั้ แตว่ ันถดั จากประกาศ เปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๖ ให้คณบดบี ัณฑติ วทิ ยาลยั รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๘๖ หมวดที่ ๒ การอนมุ ตั ิหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธแ์ ละการลงทะเบียน ขอ้ ๖ การอนมุ ัตหิ วั ข้อและโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ ๖.๑ ใหน้ สิ ติ จัดทาหัวขอ้ และโครงร่างวิทยานพิ นธ์ โดยความเห็นชอบของผู้ทจ่ี ะไดร้ ับแต่งต้ังเป็น ประธานหรอื กรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ และเสนอตอ่ บัณฑิตวิทยาลยั เพื่อตรวจรูปแบบก่อน เมือ่ ผ่านการ ตรวจรปู แบบและแกไ้ ขแลว้ จึงเสนอขอสอบอนมุ ตั หิ วั ข้อและโครงร่างวทิ ยานิพนธ์ ตามข้ันตอน ๖.๒ โครงรา่ งวิทยานิพนธ์ มสี ว่ นประกอบดังนี้ (๑) หัวขอ้ วิทยานิพนธท์ ้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (๒) รายชอ่ื คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ (๓) ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (๔) วัตถุประสงค์ของการวิจัย (๕) ทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง (๖) วธิ ีดาเนนิ การวิจัย (๗) ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั (๘) โครงสร้างของรายงานวิทยานพิ นธ์ (สารบญั ชัว่ คราว) (๙) บรรณานกุ รมและเชิงอรรถ (๑๐) ประวตั ผิ ู้วจิ ยั สว่ นประกอบอื่นๆ นอกจากน้ี ให้เปน็ ไปตามคู่มือการทาวิทยานพิ นธ์ และขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ของ บัณฑติ วิทยาลัย ๖.๓ การเสนอขออนมุ ตั สิ อบหวั ขอ้ และโครงร่างวิทยานิพนธ์ ให้นสิ ติ ยื่นแบบคารอ้ ง บฑ ๘ พรอ้ ม ดว้ ยหวั ข้อและโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ จาวน ๖ ฉบับ ในจานวนนีต้ ้องมีลายเซน็ รับรองของผสู้ มควรเป็นกรรมการ ควบคุมวิทยานิพนธท์ กุ คน บนปกของโครงร่างฯ จานวน ๑ ฉบับ ต่อบัณฑติ วิทยาลัย ๖.๔ นสิ ติ ทีป่ ระสงคจ์ ะเสนอหวั ข้อและโครงร่างวิทยานิพนธเ์ ชิงปรมิ าณ ทีม่ ีเคร่ืองมือวจิ ัยหรือ แบบสอบถามชว่ั คราว ตอ้ งสง่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบ ในวันพิจารณาหัวข้อและโครงรา่ งวิทยานิพนธ์ ๖.๕ คณบดบี ณั ฑติ วิทยาลยั แต่งตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาหัวข้อ และโครงรา่ งวทิ ยา นพิ นธ์ ในแต่ ละปกี ารศึกษา คณะกรรมการทไ่ี ด้รบั แต่งตงั้ จะเปน็ ผู้พจิ ารณาหวั ขอ้ และโครงร่างวทิ ยานิพนธท์ นี่ สิ ิตเสนอ และ ในการประชมุ พจิ ารณาสอบแต่ละครงั้ นสิ ิตต้องเข้านาเสนอและชแ้ี จงเกย่ี วกบั หวั ข้อและโครงรา่ งวิทยานิพนธ์ ด้วย ๖.๖ เมอ่ื นสิ ติ แก้ไขหัวข้อและโครงรา่ งวทิ ยานิพนธต์ ามมตคิ ณะกรรมการแลว้ ให้ยน่ื แบบคาร้อง บฑ ๘.๑ พร้อมดว้ ยหัวขอ้ และโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ จานวน ๔ ชดุ ตอ่ บณั ฑิตวิทยาลยั ใหป้ ระธานคณะกรรมการ พิจารณาหวั ข้อและโครงรา่ งวิทยานพิ นธ์ เสนอผลการพิจารณาหัวขอ้ และโครงร่างวิทยานิพนธ์ของนิสิตทผ่ี า่ น ความเหน็ ชอบแล้วพร้อมรายชือ่ ผู้สมควรเปน็ คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ในหวั ขอ้ นน้ั ตอ่ คณบดีบัณฑิต วทิ ยาลยั เพ่อื พจิ ารณาอนมุ ัติ หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๘๗ ๖.๗ เม่ือคณบดีบณั ฑติ วทิ ยาลยั อนุมัตหิ วั ข้อและโครงร่างวิทยานิพนธแ์ ละเม่ือบณั ฑติ วทิ ยาลัย ประกาศรายช่ือนิสติ และหัวข้อวทิ ยานพิ นธ์พรอ้ มท้ังรายชือ่ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธท์ ่ไี ด้รบั อนมุ ตั ิแลว้ นิสติ จึงจะมสี ทิ ธลิ งทะเบยี นวิทยานพิ นธ์ ขอ้ ๗ การลงทะเบียนวิทยานพิ นธ์ ๗.๑ นิสิตระดบั ปริญญาโทที่มีสิทธิลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธ์ ต้องศกึ ษารายวิชาในหลัก สูตรของ บัณฑติ วิทยาลยั มาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศกึ ษาปกติ และมีหน่วยกติ สะสมไมน่ ้อยกว่า ๙ หนว่ ยกติ ๗.๒ นสิ ิตระดบั ปริญญาเอก แบบ ๑ ที่มสี ทิ ธิลงทะเบยี นวิทยานิพนธ์ ภายหลังจากขึ้นทะเบยี นเป็น นิสติ แลว้ นสิ ิตระดับปริญญาเอก แบบ ๒ ที่มีสทิ ธลิ งทะเบยี นวิทยานพิ นธ์ ตอ้ งศกึ ษารายวิชาในหลกั สตู รของ บัณฑติ วิทยาลัยมาแล้วไมน่ ้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมหี นว่ ยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกติ ๗.๓ ใหน้ ิสิตลงทะเบยี นวิทยานิพนธภ์ ายใน ๓๐ วัน นบั จากวนั ทีบ่ ณั ฑติ วิทยาลยั ประกาศอนุมตั ิ หวั ข้อวทิ ยานพิ นธ์ โดยกรอกแบบการลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธ์ บฑ ๙ แล้วย่ืนต่อบณั ฑิตวิทยาลัยพร้อมทงั้ ชาระ เงนิ ค่าลงทะเบียนในสว่ นงานตามทมี่ หาวิทยาลยั กาหนด หากไม่สามารถชาระค่าลงทะเบียนวทิ ยานิพนธ์ ภายใน ระยะเวลาที่กาหนด ต้องย่ืนคารอ้ งขอชาระค่าลงทะเบยี นล่าช้าตอ่ บัณฑิตวิทยาลยั ทัง้ น้ี ตอ้ งไมเ่ กิน ๓๐ วนั ทา การ หากเกนิ ต้องชาระเป็นคา่ ปรับในอัตราการลง ทะเบยี นล่าชา้ จานวน ๕๐ บาท ต่อ ๑ วันทาการ ข้อ ๘ การเปล่ียนแปลงเกย่ี วกบั โครงร่างวิทยานิพนธ์ ๘.๑ การขอเปลี่ยนแปลงใดๆ เกย่ี วกบั วิทยานิพนธ์ท่ีไมใ่ ชส่ าระสาคัญใหน้ ิสติ ยืน่ แบบคาร้อง บฑ ๘ พร้อมทัง้ ชแ้ี จงเหตผุ ลที่ขอเปลย่ี นแปลงต่อคณบดีบัณฑติ วิทยาลัยเพื่อขออนุมัตโิ ดยผา่ นคณะกรรมการควบคุม วทิ ยานิพนธ์ เมือ่ ได้รับการอนุมตั ใิ ห้เปล่ียนแปลงให้นาสง่ หวั ข้อและโครงร่างทีเ่ ปล่ียนแปลงใหม่ต่อบณั ฑติ วทิ ยาลัย จานวน ๔ ชุด ๘.๒ หากการเปลี่ยนแปลงหัวข้อหรือโครงร่างวิทยานิพนธ์ทเี่ ป็นสาระสาคัญ นสิ ติ ต้องปฏบิ ัติ เชน่ เดียวกบั การยื่นขออนุมัติหัวขอ้ และโครงร่างวิทยานพิ นธ์ใหม่ โดยไม่ต้องลงทะเบยี นวทิ ยา นพิ นธ์ซา้ อกี ยกเวน้ หากการเปล่ยี นแปลงเป็นความประสงค์ส่วนตวั ของนิสิต เม่ือคณะกรรมการพิจารณาแล้ว พบวา่ ไม่มี เหตผุ ลความจาเปน็ เพยี งพอ นิสติ ต้องชาระค่าลงทะเบยี นวิทยานพิ นธซ์ า้ อกี ๘.๓ ใหน้ สิ ิตตดิ ตามผลการขออนมุ ัตกิ ารเปลี่ยนแปลงเก่ยี วกบั วิทยานิพนธ์ หลงั จากท่ไี ด้ยนื่ คารอ้ ง และได้เข้าชแี้ จงแลว้ หมวดที่ ๓ คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ ข้อ ๙ คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ ๙.๑ คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ต้องมีทัง้ บรรพชิตและคฤหสั ถ์ จานวนไม่นอ้ ยกวา่ ๒ รปู คน แต่ไม่เกิน ๓ รปู /คน ทั้งนจี้ ะต้องมีอาจารยป์ ระจามหาวิทยาลยั อย่างนอ้ ย ๑ รูป/คน ๙.๒ คณะกรรมการผคู้ วบคุมวทิ ยานพิ นธ์ของนสิ ติ ระดับปรญิ ญาโท ต้องมีคณุ สมบัติไดร้ ับปริญญา ชนั้ ใดชัน้ หนึ่งในสาขาวิชาท่นี สิ ิตทาวิทยานพิ นธ์หรือสาขาวชิ าทีเ่ ก่ียวขอ้ ง หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๘๘ คณะกรรมการผู้มีคุณสมบัติไดร้ ับปริญญาต่ากวา่ ระดับปริญญาเอก ต้องมีตาแหน่งทางวิชาการไม่ ต่ากว่าผชู้ ่วยศาสตราจารยห์ รือเป็นผเู้ ชยี่ วชาญ ๙.๓ คณะกรรมการผคู้ วบคมุ วทิ ยานพิ นธ์ของนิสิตระดบั ปริญญาเอก ต้องมีคณุ สมบัติได้รบั ปริญญา ชัน้ ใดชัน้ หน่ึงในสาขาวิชาทน่ี สิ ิตทาวิทยานพิ นธห์ รือสาขาวิชาที่เกีย่ วข้อง คณะกรรมการผูม้ ีคุณสมบตั ิได้รบั ปรญิ ญาต่ากว่าระดับปริญญาเอก ตอ้ งมตี าแหนง่ ทางวิชาการไม่ ต่ากว่ารองศาสตราจารย์หรอื เปน็ ผูเ้ ช่ยี วชาญ ๙.๔ คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์มีหน้าทดี่ ังตอ่ ไปนี้ (๑) ใหค้ าปรึกษาแนะนาเกย่ี วกับวิธีทาวิทยานพิ นธ์ รวมท้ังตัดสินแก้ไขปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ขณะทา วทิ ยานิพนธ์ (๒) ให้คาปรึกษาแนะนาเกีย่ วกับการเขียนวทิ ยานิพนธ์ (๓) พิจารณาให้ความเหน็ ชอบในการขอสอบวิทยานิพนธข์ องนิสติ ขอ้ ๑๐ การเขียนวทิ ยานิพนธ์ ใหน้ สิ ติ เรียบเรียงวิทยานพิ นธ์โดยใหม้ รี ปู แบบและขนาดวทิ ยานพิ นธ์ ตามคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ ของบัณฑติ วทิ ยาลยั หมวดที่ ๔ การรายงานความกา้ วหน้าวิทยานพิ นธ์ ขอ้ ๑๑ การรายงานความกา้ วหนา้ วทิ ยานพิ นธ์ ๑๑.๑ นสิ ิตระดับปริญญาโททกุ สาขา ผไู้ ด้รับผลการศึกษาตั้งแต่ ๙ หน่วยกิต ขึ้นไป และยงั ไมไ่ ด้ ย่นื เสนอหัวขอ้ และโครงรา่ งวิทยานิพนธ์ ต้องมารายงานความก้าวหน้าในการจัดทาหัวข้อและโครงร่าง วทิ ยานิพนธ์ต่อบัณฑิตวทิ ยาลัยและอาจารยผ์ ตู้ ิดตามความก้าวหนา้ วิทยานิพนธท์ ุก ๑ เดือน ๑๑.๒ นสิ ิตระดบั ปริญญาเอก แบบ ๒.๑ (หลกั สตู รภาษาไทย) ผไู้ ดร้ ับผลการศกึ ษาต้งั แต่ ๖ หน่วย กิตขน้ึ ไป และยังไม่ไดย้ ื่นเสนอขอสอบหวั ข้อและโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ต้องมารายงานความ ก้าวหน้าในการจัดทา หัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ ต่อบัณฑติ วทิ ยาลยั และอาจารย์ผตู้ ิดตามความ กา้ วหน้าวทิ ยานพิ นธ์ ทกุ ๑ เดอื น ๑๑.๓ นสิ ิตระดับปริญญาเอก แบบ ๑.๑ (หลกั สูตรภาษาอังกฤษ) ผ้ผู ่านรายวชิ าทกี่ าหนดให้ศกึ ษา เพม่ิ เติมครบ ๓ รายวิชาแลว้ และยังไม่ไดย้ น่ื เสนอขอสอบหวั ข้อและโครงรา่ งวทิ ยา นพิ นธต์ อ้ งมารายงาน ความกา้ วหน้าในการจัดทาหวั ขอ้ และโครงรา่ งวิทยานิพนธ์ ตอ่ บัณฑิตวทิ ยาลัยและอาจารย์ผู้ติดตาม ความก้าวหนา้ วิทยานิพนธ์ ทุก ๑ เดอื น ๑๑.๔ นิสิตผ้ลู งทะเบยี นทาวิทยานิพนธแ์ ลว้ ตอ้ งมารายงานความกา้ วหน้าในการทาวทิ ยานิพนธ์ ตอ่ บณั ฑิตวิทยาลยั และอาจารย์ผูต้ ิดตามความก้าวหน้าวทิ ยานพิ นธ์ ทุก ๓ เดือน หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๘๙ หมวดที่ ๕ การสอบวิทยานพิ นธ์ ข้อ ๑๒ การขอสอบวิทยานิพนธ์ ๑๒.๑ นิสิตระดบั ปริญญาโท มสี ิทธิขอสอบวิทยานิพนธไ์ ดเ้ มื่อ (๑) ใช้เวลาทาวทิ ยานิพนธ์ไมน่ ้อยกวา่ ๓ เดอื น นบั ตั้งแตว่ นั ทีไ่ ด้รบั อนุมตั หิ ัวข้อและโครง รา่ งวทิ ยานพิ นธ์ และลงทะเบียนวทิ ยานิพนธ์ (๒) สอบผ่านรายวิชาต่างๆ ครบถว้ นตามเงื่อนไขท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร และได้คา่ ระดบั เฉล่ียสะสมในรายวิชาตลอดหลักสตู รไมต่ า่ กวา่ ๓.๐๐ (๓) เขียนวิทยานพิ นธ์เสรจ็ สมบูรณ์ ตามคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ และไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการดังกลา่ วให้ทาการขอสอบได้ ๑๒.๒ นิสิตระดับปริญญาเอก มสี ทิ ธขิ อสอบวทิ ยานพิ นธไ์ ด้เมื่อ (๑) ใช้เวลาทาวิทยานิพนธ์ไมน่ ้อยกวา่ ๘ เดอื น นบั ตงั้ แต่วันท่ีไดร้ บั อนมุ ตั หิ ัวข้อและโครง รา่ งวทิ ยานพิ นธ์ และลงทะเบียนวทิ ยานพิ นธ์ (๒) สอบผ่านรายวิชาตา่ งๆ ครบถ้วนตามเงื่อนไขทกี่ าหนดไวใ้ นหลักสูตรและไดร้ บั คา่ ระดบั เฉลย่ี สะสมในรายวิชาตลอดหลักสตู รไม่ต่ากวา่ ๓.๐๐ (๓) สอบผา่ นการสอบวัดคณุ สมบัติในรายวิชาตามทบี่ ณั ฑติ วทิ ยาลัยกาหนด (๔) เขยี นวทิ ยานิพนธ์สาเรจ็ สมบรู ณ์ ตามคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ และได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการดังกล่าวให้ทาการขอสอบได้ ๑๒.๓ ให้นสิ ิตย่นื คารอ้ งขอตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ์ พรอ้ มทัง้ แนบวิทยานิพนธ์ ๑ ฉบบั ต่อ บัณฑิตวิทยาลัยก่อนวนั สอบวิทยานิพนธไ์ มน่ ้อยกว่า ๓๐ วนั ๑๒.๔ ให้นิสติ รบั ผลการตรวจรปู แบบวิทยานพิ นธ์จากบัณฑิตวทิ ยาลยั หลังจากยน่ื คาร้องแล้ว ๑๐ วนั ทาการ ๑๒.๕ ให้นิสติ ยนื่ แบบคาร้องขอสอบวทิ ยานพิ นธ์ บฑ.๘ ต่อบัณฑิตวทิ ยาลัย ผ่านประธาน คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ พร้อมกบั เสนอวทิ ยานิพนธท์ เี่ รยี บเรียงเสร็จแลว้ รวมทั้งบทคดั ยอ่ ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ อย่างละ ๖ ชดุ ๑๒.๖ ให้บณั ฑิตวิทยาลัยสง่ วิทยานิพนธแ์ ละบทคัดย่อ ถงึ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ ก่อนวนั สอบไมน่ ้อยกวา่ ๒ สัปดาห์ ข้อ ๑๓ คณะกรรมการตรวจสอบวทิ ยานพิ นธ์ ๑๓.๑ คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพิ นธ์ มจี านวนไม่นอ้ ยกวา่ ๓ ท่าน แตไ่ มเ่ กนิ ๕ ทา่ น ประกอบด้วย (๑) ประธาน ได้แก่ คณบดีหรือผ้ทู ี่คณบดีมอบหมาย (๒) คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ (๓) กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิจากภายนอกมหาวทิ ยาลัย จานวนไมเ่ กิน ๓ ทา่ น หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๙๐ ๑๓.๒ เม่ือบณั ฑิตวทิ ยาลัยติดต่อเชิญผู้ทีส่ มควร ได้รบั แต่งต้ังเป็นกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ ได้แล้ว ให้เสนอรายนามกรรมการตรวจสอบวทิ ยานิพนธต์ ่อคณะกรรมการประจาบัณฑติ วทิ ยาลยั เพือ่ พิจารณา แต่งต้งั ๑๓.๓ เมื่อประธานคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ลงนามแต่งตง้ั คณะกรรม-การตรวจสอบ วทิ ยานิพนธ์แล้ว ให้บัณฑติ วิทยาลยั ประกาศกาหนดวัน เวลาและสถานท่ีสอบให้ทราบโดยท่วั กนั และมีหนังสอื เชญิ ถงึ กรรมการตรวจสอบวทิ ยานิพนธ์ก่อนวันสอบ ไม่น้อยกวา่ ๑๐ วนั รายนามคณะกรรมการตรวจสอบ วิทยานพิ นธ์ใหถ้ ือเปน็ ความลับสาหรับผูส้ อบ ๑๓.๔ ในกรณที ี่กรรมการตรวจสอบวทิ ยานิพนธ์ ไม่สามารถมาตรวจสอบวิทยานิพนธ์ได้ ให้แจง้ ตอ่ บณั ฑิตวทิ ยาลยั โดยผ่านประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพิ นธ์ พรอ้ มท้ังแจ้งผลการตรวจสอบ วิทยานิพนธด์ ้วย หมวดท่ี ๖ การประเมนิ ผลวิทยานพิ นธ์ ขอ้ ๑๔ การประเมนิ ผลวทิ ยานพิ นธ์ ๑๔.๑ ในการสอบวทิ ยานิพนธ์ นสิ ติ ตอ้ งตอบข้อซักถามต่างๆ เกยี่ วกับวทิ ยานิพนธห์ รอื เรอ่ื งที่ เก่ยี วข้อง หลงั จากสอบแลว้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพิ นธป์ ระชุมพจิ ารณาประเมินผลในขณะ ประเมนิ ผลให้นิสิตออกจากห้องสอบ ๑๔.๒ ให้มกี ารจดบนั ทึกรายละเอียดเก่ียวกบั การประเมินผลวิทยานิพนธ์ทุกครั้ง ๑๔.๓ หากคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพิ นธม์ ีมติใหแ้ ก้ไขวทิ ยานิพนธ์ ไม่ว่ากรณีใดๆ นิสติ ต้อง แก้ไขวทิ ยานิพนธใ์ ห้ถูกต้องตามมตแิ ละคาแนะนานน้ั กอ่ นทีจ่ ะนาวิทยานิพนธ์ฉบับท่แี กไ้ ขแลว้ สง่ บณั ฑิต วิทยาลยั กรณที ่ีนิสิตไม่สามารถส่งวทิ ยานิพนธไ์ ด้ทนั เวลา ตามท่คี ณะกรรมการกาหนด จะตอ้ งดาเนนิ การย่ืนขอ ขยายเวลาการสง่ วิทยานิพนธ์ต่อบัณฑิตวิทยาลยั โดยผ่านความเห็นชอบของประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วทิ ยานิพนธ์ ทง้ั น้ี การขยายเวลาตอ้ งอยภู่ ายใต้ในระยะเวลา ๖ เดอื น นบั แตว่ ันสอบ หากเกนิ จากกาหนดนี้ ให้ ถือวา่ สอบไม่ผา่ น และจะต้องดาเนนิ การขอสอบใหม่ กรณีที่ยังคงสถานภาพนิสิตอยู่เทา่ น้ัน ๑๔.๔ ใหค้ ณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธท์ าการประเมนิ ผลวิทยานิพนธ์ โดยกาหนดเปน็ ๔ ระดบั ดังน้ี ผลการศึกษา ระดบั ดีเยีย่ ม (Excellence) A ดี (Good) B+ ผา่ น (Passed) B ตก (Failed) F ส่วนวิทยานิพนธท์ อี่ ยใู่ นระหวา่ งการเรยี บเรียง ใหแ้ สดงสถานะดว้ ยสัญลักษณ์ IP (In progress) หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๙๑ ๑๔.๕ การลงนามของกรรมการตรวจสอบวทิ ยานิพนธใ์ นหน้าอนมุ ัติวทิ ยานพิ นธ์ อาจกระทาได้ เม่ือเหน็ สมควร แตป่ ระธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธจ์ ะลงนามไดต้ ่อเมื่อวทิ ยา นพิ นธน์ น้ั ได้รบั การ แกไ้ ขท้ังรูปแบบ และเน้ือหาเรยี บร้อยแลว้ เทา่ นนั้ จากนั้นคณะบดบี ัณฑติ วิทยาลัยจึงลงนามอนุมัติ ๑๔.๖ ให้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพิ นธ์ เสนอผลการประเมินต่อคณบดีบัณฑติ วทิ ยาลยั หากมีมตไิ ม่เปน็ เอกฉนั ท์ให้รวบรวมใบประเมินผลของกรรมการทุกทา่ น เพอ่ื สง่ ให้คณะกรรมการ ประจาบณั ฑิตวทิ ยาลยั พิจารณาช้ีขาดเมื่อทราบผลการประเมิน และนสิ ติ ส่งวทิ ยา นิพนธ์ฉบับท่ีแก้ไขเรียบรอ้ ย แล้วบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศผลให้ทราบโดยท่ัวกนั ขอ้ ๑๕ การสง่ วิทยานิพนธฉ์ บับสมบูรณ์ ๑๕.๑ เมื่อนิสิตแกไ้ ขเนือ้ หาและรปู แบบ ตามมติคณะกรรมการตรวจสอบวิทยานพิ นธแ์ ล้ว ให้นิสติ ส่งวิทยานิพนธฉ์ บับท่ีแก้ไขที่มีลายมือชอ่ื คณะกรรมการตรวจสอบวทิ ยานพิ นธค์ รบถ้วนทุกคน จานวน ๗ เล่ม โดยเย็บเลม่ และเข้าปกแขง็ เรียบร้อย ตามรปู แบบทบ่ี ัณฑิตวทิ ยาลยั กาหนดพร้อมด้วย บทคัดย่อภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษอีกอย่างละ ๒ ชดุ และแผน่ ซีดบี นั ทกึ ไฟลห์ ัวข้อวทิ ยานิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ทั้งทีเ่ ป็นแบบไฟล์ Microsoft Word และไฟล์ Adobe PDF จานวนไฟล์ละ ๑ แผน่ ต่อบณั ฑิตวทิ ยาลยั วนั ที่นสิ ิตส่งวิทยานิพนธ์ ฉบบั สมบรู ณถ์ ือวา่ เปน็ วันทน่ี ิสติ สาเรจ็ การศกึ ษา ๑๕.๒ ในกรณที นี่ สิ ติ ประสงค์จะเผยแพรว่ ิทยานิพนธ์หรือมอบใหแ้ ก่หน่วยงานใด ตามข้อผูกพัน หรอื อนื่ ๆ หลังจากท่ีไดร้ บั อนุมตั วิ ทิ ยานพิ นธ์ ใหน้ ิสติ ยื่นคารอ้ งพร้อมด้วยวิทยานิพนธ์ตามจานวนท่ตี อ้ งการเสนอ ต่อคณบดบี ัณฑติ วทิ ยาลัย เพื่อพิจารณาลงนามในหนา้ อนุมตั ิ ท้ังนีใ้ ห้แนบวทิ ยานิพนธ์ ฉบับซงึ่ คณบดีบัณฑิต วิทยาลยั ลงนามไว้แล้ว ๑ เล่ม พร้อมท้งั แผ่นบนั ทึกข้อมลู วิทยานพิ นธฉ์ บบั สมบรู ณจ์ านวน ๑ ชุด ๑๕.๓ วิทยานพิ นธแ์ ละบทคดั ย่อทง้ั ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษของนสิ ิตท่สี าเร็จการศึกษา ใหเ้ ป็นลิขสทิ ธขิ์ องบณั ฑิตวิทยาลยั ก่อนนาไปพิมพ์เผยแรต่ ้องได้รับอนุมตั ิจากคณบดบี ัณฑิตวิทยาลยั บทเฉพาะกาล ข้อ ๑๖ นิสติ ท่ีได้รบั อนุมัตหิ วั ข้อและโครงการวิทยานิพนธ์ และลงทะเบยี นไว้แล้วกอ่ นท่ีจะประกาศใช้ ระเบียบน้ี ให้ปฏิบัตติ ามระเบียบบณั ฑิตวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ว่าดว้ ยวิธี ปฏิบตั เิ ก่ียวกบั วิทยานพิ นธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ และระเบยี บบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช วทิ ยาลยั วา่ ดว้ ยวิธีปฏบิ ตั ิวทิ ยานิพนธ์ แก้ไขเพม่ิ เติม พุทธศักราช ๒๕๔๖ ขอ้ ๑๗ นิสติ ทไี่ ดร้ บั อนุมตั ิหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ และลงทะเบียนภายหลังทปี่ ระกาศ ใช้ระเบยี บ น้แี ล้ว ใหป้ ฏิบัตติ ามระเบยี บนี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ พระศรีสทิ ธมิ นุ ี (พระศรีสิทธมิ นุ )ี คณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั ประธานคณะกรรมการประจาบัณฑิตวทิ ยาลยั หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๙๒ ระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าดว้ ยการศกึ ษาภาคฤดูรอ้ น พ.ศ. ๒๕๕๒ *************** เพือ่ ให้การจัดการศึกษาในภาคการศึกษาฤดรู อ้ นในระดบั บัณฑิตศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบ รอ้ ย มี ประสิทธิภาพ บรรลุตามวตั ถุประสงคแ์ ละนโยบาลของมหาวิทยาลยั และเพ่ืออนมุ ตั ิให้เป็นไปตามความในข้อ ๙ แห่งข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ว่าด้วยการศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๑ โดย อาศัยมติท่ีประชมุ คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ในคราว ประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๔๒ เมอ่ื วันท่ี ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๔๒ บณั ฑิตวทิ ยาลยั จงึ วางระเบียบไว้ดังตอ่ ไปนนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนเี้ รียกว่าระเบยี บบณั ฑติ วิทยาลยั วา่ ดว้ ยการศึกษาภาคฤดูร้อน พ.ศ. ๒๕๔๒” ข้อ ๒ ใหใ้ ช้ระเบยี บนต้ี ง้ั แตว่ ัถัดจากวันประกาศเป็นตน้ ไป ขอ้ ๓ ภาคการศึกษาฤดูร้อน ตอ้ งมีเวลาการศึกษาไม่น้อยกวา่ ๖ สัปดาห์ และมีจานวนชว่ั โมงการศกึ ษา ในแต่ละรายวชิ าเทา่ กบั การศึกษาภาคปกติ ข้อ ๔ จานวนหน่วยกิตท่กี าหนดใหน้ ิสติ ลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูร้อน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต และไมเ่ กิน ๖ หนว่ ยกิต โดยความเห็นชอบของอาจารยท์ ่ปี รึกษาทว่ั ไป นิสิตทป่ี ระสงค์จะลงทะเบยี นน้อยกวา่ หรือมากกกวา่ ท่ีกาหนดไว้ในข้อ ๔ ให้ย่นื คาร้องตอ่ คณบดีบณั ฑติ วิทยาลัย เพือ่ ขออนุมตั เิ ป็นกรณีพิเศษ ขอ้ ๕ อตั ราคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษาในภาคการศึกษาฤดรู ้อน ให้เป็นไปตามทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด ขอ้ ๖ ให้ใชร้ ะเบยี บนส้ี าหรบั นสิ ติ ทเ่ี ข้าศึกษาตง้ั แต่ปี พ.ศ.๒๕๔๒ ข้อ ๗ ให้คณบดีบัณฑติ วิทยาลยั รักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๒ พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ (พระมหาสมจนิ ต์ สมมฺ าปญโฺ ญ) คณบดบี ัณฑติ วทิ ยาลัย ประธานคณะกรรมการประจาบณั ฑติ วิทยาลยั หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๙๓ ระเบยี บบัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ว่าด้วยการฝึกภาคปฏิบัติวปิ ัสสนากรรมฐาน พ.ศ. ๒๕๔๗ *************** เพ่อื ใหก้ ารศึกษาวิชากรรมฐานของนิสิตบัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย บรรลุวัตถปุ ระสงค์ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั โดยอาศยั มติทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจาบณั ฑิตวิทยาลยั ในคราวประชมุ ครัง้ ที่ ๒/๒๕๔๗ เมื่อวนั ท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๗ บัณฑิตวทิ ยาลยั จึงวางระเบยี บไว้ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ระเบยี บนเี้ รยี กวา่ “ระเบียบบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ว่าดว้ ย การฝกึ ภาคปฏบิ ัตวิ ปิ สั สนากรรมฐาน พ.ศ.๒๕๔๗” ข้อ ๒ ใหใ้ ชร้ ะเบียบนตี้ ัง้ แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ให้คณะกรรมการประจาบัณฑิตวทิ ยาลัยมีอานาจหนา้ ทเ่ี กยี่ วกับการฝกึ ปฏิบัตวิ ิปัสสนากรรมฐาน ดงั นี้ (๑) วางนโยบาย กาหนดหลกั เกณฑ์ วิธปี ฏิบตั เิ กี่ยวกับวิธกี ารฝกึ ภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน การวัดผลและติดตามผลลพั ธข์ องการฝึกภาคปฏิบตั ิวปิ สั สนากรรมฐาน (๒) กาหนดวนั เวลาและสถานท่ี สาหรบั การฝึกภาคปฏิบตั วิ ิปสั สนากรรมฐาน (๓) รายงานผลการฝกึ ภาคปฏบิ ัติวิปสั สนากรรมฐานตอ่ มหาวทิ ยาลัย ข้อ ๔ ให้นสิ ิตบัณฑติ วิทยาลยั ฝึกภาคปฏบิ ตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน ในวนั เวลา และสถานที่ตามท่ี คณะกรรมการประจาบัณฑิตวทิ ยาลยั กาหนด ดังนี้ (๑) นิสิตระดับประกาศนียบัตรบัณฑติ ต้องฝกึ ภาคปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานไมน่ ้อยกวา่ ๑๕ วัน (๒) นิสติ ระดบั มหาบัณฑิตต้องฝึกภาคปฏิบัติวปิ ัสสนากรรมฐานไม่นอ้ ยกว่า ๓๐ วัน (๓) นิสติ ระดับดุษฎีบัณฑติ ต้องฝกึ ภาคปฏบิ ัติวิปัสสนากรรมฐานไม่นอ้ ยกว่า ๔๕ วัน โดยให้ใช้ กบั นิสติ ท่ีเขา้ ศกึ ษาตั้งแตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๔๓ เป็นตน้ ไป ข้อ ๕ ใหค้ ณบดีบัณฑติ วทิ ยาลยั รักษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๕ สงิ หาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗ พระมหาสมจินต์ สมมฺ าปญฺโญ (พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ) คณบดบี ัณฑติ วิทยาลัย ประธานคณะกรรมการประจาบัณฑติ วิทยาลัย หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๙๔ ประกาศมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ *************** โดยทเ่ี หน็ เปน็ การสมควรปรับปรงุ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต และหลกั สูตรพุทธ ศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ ให้เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร เพอื่ ประโยชนใ์ นการกาหนดมาตรฐานการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา ให้ดาเนนิ ไปดว้ ย ความเรียบรอ้ ย มีประสิทธภิ าพ และบรรลุวตั ถุประสงค์ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๙ (๒) แหง่ พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั พ.ศ.๒๕๔๐ และมติสภามหาวทิ ยาลัย ในคราวประชมุ ครงั้ ที่ ๖/๒๕๔๘ เมอ่ื วันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๘ จงึ ออกประกาศมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ระดบั ประกาศนียบัตรบณั ฑิต มีจานวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ ๒๔ หนว่ ยกิต ๒. ระดับปริญญาโท มจี านวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกวา่ ๓๘ หนว่ ยกติ โดยแบ่งการศึกษา เปน็ ๒ แผน ดงั นี้ ๑) แผน ก เป็นการศึกษาทีเ่ นน้ การวจิ ยั โดยมีการทาวทิ ยานิพนธ์ ดังน้ี แบบ ก (๑) ทาเฉพาะวทิ ยานพิ นธ์ซง่ึ มคี ่าเทียบได้ ๓๘ หน่วยกติ และบณั ฑติ วิทยาลัยอาจจดั ให้ ศึกษารายวิชาเพ่มิ เติม โดยไมต่ ้องนับหนว่ ยกิต เพื่อคุณภาพการศกึ ษาของผูศ้ ึกษา แบบ ก (๒) ศึกษารายวชิ าไมน่ ้อยกวา่ ๒๖ หนว่ ยกิต และทาวิทยานิพนธซ์ ่งึ มคี ่าเทยี บได้ ๑๒ หน่วยกติ จาแนกประเภทดังน้ี วิชาบงั คบั ไมน่ ้อยกว่า ๘ หน่วยกติ วชิ าเอก ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๒ หน่วยกติ วิชาเลือก ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกติ วทิ ยานพิ นธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมทง้ั สิ้น ไมน่ ้อยกว่า ๓๘ หน่วยกติ ๒) แผน ข ศกึ ษารายวชิ าไม่น้อยกว่า ๓๒ หน่วยกติ และทาการศึกษาอิสระซ่งึ มีค่าเทยี บได้ ๖ หนว่ ยกิต จาแนกประเภท ดงั น้ี วชิ าบงั คบั ไมน่ ้อยกว่า ๘ หน่วยกติ วชิ าเอก ไมน่ ้อยกว่า ๑๒ หนว่ ยกิต วชิ าเลือก ไม่น้อยกว่า ๑๒ หนว่ ยกิต การศกึ ษาอิสระ ๖ หนว่ ยกติ รวมทง้ั สิ้น ไมน่ อ้ ยกว่า ๓๘ หนว่ ยกติ ๓. ระดับปรญิ ญาเอก แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ ดังน้ี หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๙๕ ๑) แบบ ๑ ผเู้ ขา้ ศกึ ษาต้องทาวิทยานิพนธ์ ซ่ึงมีค่าเทียบได้ ๕๔ หนว่ ยกิต แบง่ การศึกษาเปน็ ๒ แบบ โดยบัณฑติ วิทยาลัยอาจจัดให้ศึกษารายวชิ าเพ่ิมเติมโดยไมต่ ้องนบั หน่วยกติ เพือ่ คุณภาพการศึกษาของผศู้ ึกษา (๑) แบบ ๑.๑ ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเรจ็ ปริญญาโทต้องทาวทิ ยานิพนธ์ซ่ึงมีค่าเทียบได้ ๕๔หน่วยกติ (๒) แบบ ๑.๒ ผู้เข้าศกึ ษาที่สาเรจ็ ปรญิ ญาตรหี รือเปรียญธรรม ๙ ประโยค ซึ่งบณั ฑติ วทิ ยาลยั อนุมัตใิ หเ้ ขา้ ศึกษาเปน็ กรณีพเิ ศษ ต้องทาวทิ ยานิพนธซ์ ึง่ มีค่าเทียบได้ ๗๘ หนว่ ยกติ ๒) แบบ ๒ แบง่ การศึกษาเป็น ๒ แบบ ดังนี้ (๑) แบบ ๒.๑ ผเู้ ข้าศกึ ษาทสี่ าเรจ็ ปริญญาโท ต้องศึกษารายวิชาไม่นอ้ ยกวา่ ๑๙ หนว่ ยกติ และ ทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๓๖ หน่วยกติ จาแนกประเภทดงั นี้ วชิ าบังคบั ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หน่วยกติ วิชาเอก ไม่นอ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกติ วิชาเลอื ก ไม่นอ้ ยกว่า ๖ หน่วยกติ วทิ ยานพิ นธ์ ๓๖ หนว่ ยกิต รวมทั้งสิน้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๕๔ หน่วยกิต (๒) แบบ ๒.๒ ผู้เขา้ ศกึ ษาที่สาเร็จปรญิ ญาตรี หรือเปรียญธรรม ๙ ประโยค ซง่ึ บัณฑิตวิทยาลยั อนมุ ัตใิ หเ้ ข้าศึกษาเป็นกรณีพเิ ศษ ต้องศึกษารายวิชาไมน่ ้อยกวา่ ๓๐ หนว่ ยกติ และทาวทิ ยา นพิ นธ์ซง่ึ มีคา่ เทียบ ได้ ๔๘ หนว่ ยกิต จาแนกประเภทดงั นี้ วิชาบงั คบั ไม่น้อยกวา่ ๙ หน่วยกิต วิชาเอก ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกติ วชิ าเลือก ไมน่ อ้ ยกวา่ ๙ หนว่ ยกิต วิทยานิพนธ์ ๔๘ หนว่ ยกิต รวมทั้งสนิ้ ไมน่ ้อยกวา่ ๗๘ หนว่ ยกิต ทงั้ น้ี ตั้งแตป่ กี ารศึกษา ๒๕๔๙ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๘ กันยายน พทุ ธศักราช ๒๕๔๘ พระราชรตั นโมลี (พระราชรตั นโมลี) อปุ นายกสภามหาวทิ ยาลยั ทาหน้าที่แทน นายกสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๙๖ ประกาศบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เร่ือง การสอบวัดความรภู้ าษาอังกฤษสาหรับนสิ ติ หลักสูตรดุษฎบี ณั ฑิต แผน ๒ พ.ศ. ๒๕๔๙ *************** เพ่อื ให้การสอบวดั ความรูภ้ าษาอังกฤษของนสิ ิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ แผน ๒ ดาเนินไปดว้ ย ความเรยี บร้อย มีประสิทธภิ าพ บรรลุตามวตั ถุประสงคแ์ ละนโยบายของมหาวิทยาลัย อาศัยมติที่ประชมุ คณะกรรมการประจาบัณฑติ วิทยาลยั ในคราวประชุมคร้ังท่ี ๒/๒๕๔๙ เม่ือวันองั คารที่ ๒๐ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๔๙ จงึ ให้ยกเลิกประกาศบณั ฑิตวทิ ยาลัย เรื่องการการสอบวัดความรู้ภาษาองั กฤษสาหรับ นิสติ หลักสตู รพุทธศาสตรดุษฎีบณั ฑิต พ.ศ.๒๕๔๖ และให้ใช้ประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ การสมัครสอบ ๑.๑ นิสิตย่นื แบบคาร้องสมัครขอสอบวัดความร้ภู าษาองั กฤษตามเวลาทบี่ ัณฑิตวทิ ยาลัยกาหนด ๑.๒ ในกรณที ีน่ สิ ติ สอบไม่ผา่ น มสี ิทธิย่ืนแบบคาร้องสมัครขอสอบตามเวลาท่ีบณั ฑิตวิทยาลัย กาหนด ๑.๓ อตั ราคา่ ธรรมเนยี มการสอบวัดความรูภ้ าษาอังกฤษใหเ้ ป็นไปตามที่บณั ฑติ วิทยาลยั กาหนด ขอ้ ๒ บณั ฑติ วทิ ยาลัยดาเนินการสอบวดั ความรู้ภาษาอังกฤษ ตามหลกั สตู รพุทธศาสตรดุษฎบี ัณฑิต โดย แต่งต้ังคณะกรรมการ จานวนไมน่ อ้ ยกว่า ๓ ทา่ น แตไ่ ม่เกิน ๕ ท่าน ทั้งน้ี จะตอ้ งมีอาจารย์ประจามหาวทิ ยาลัย ๑ ท่าน เพอื่ ดาเนนิ การและควบคุมการสอบให้ได้มาตรฐาน ข้อ ๓ การสอบวัดความรภู้ าษาองั กฤษ เพอื่ ทดสอบทกั ษะ ๔ ด้าน คอื ๓.๑ ทักษะดา้ นการฟงั (Listening) ๒๐๐ คะแนน ๓.๒ ทกั ษะดา้ นการพดู (Speaking) ๒๐๐ คะแนน ๓.๒ ทักษะดา้ นการเขยี น (Writing)) ๒๐๐ คะแนน ๓.๔ ทักษะดา้ นการอ่าน (Reading) ๒๐๐ คะแนน รวมคะแนนเต็ม ๘๐๐ คะแนน ข้อ ๔ การประเมนิ ผล ๔.๑ การประเมินผลการสอบวดั ความรู้ภาษาอังกฤษ กาหนดเปน็ ๒ ระดบั ดงั นี้ ผา่ น (Passed) ๔๘๐ คะแนน ตก (Failed) ต่ากว่า ๔๘๐ คะแนน ๔.๒ ให้ประธานคณะกรรมการสอบวัดความรภู้ าษาอังกฤษ เสนอผลการประเมินต่อบัณฑติ วทิ ยาลัย เพอื่ แจง้ ผลให้แกน่ สิ ิตผเู้ ขา้ สอบไดท้ ราบ หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐