Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Binder_คู่มือบริหารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนิสิต ป.โท-เอก พบศ 02-07_online

Binder_คู่มือบริหารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนิสิต ป.โท-เอก พบศ 02-07_online

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2020-12-20 08:35:56

Description: Binder_คู่มือบริหารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนิสิต ป.โท-เอก พบศ 02-07_online

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การบรหิ ารหลกั สูตร และบันทกึ กิจกรรมนิสติ หลกั สตู รบณั ฑิตศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั www.mcu.ac.th

คูม่ อื การบริหารหลักสูตรและบันทกึ กิจกรรมนิสติ หลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ท่ปี รกึ ษา รศ.ดร.สมศักดิ์ บุญปู รศ.ดร.ธีรยุทธ พ่งึ เทยี ร พระราชสตุ าภรณ, รศ.ดร. รศ.ดร.สมชยั ศรนี อก พระมหาบญุ สุข สุทธฺ ิญาโณ, ผศ. รศ.ดร.อินถา ศริ ิวรรณ พระปลดั สรวชิ ญ อภปิ ฺโญ, ผศ.ดร. รศ.ดร.สุทธิพงษ ศรีวิชัย พระครสู ถติ บญุ วัฒน, ดร. รศ.ดร.สนิ งามประโคน พระครภู ัทรธรรมคณุ , ดร. รศ.ดร.ประเทอื ง ภมู ิภัทราคม พระครโู อภาสนนทกติ ต,์ิ ผศ.ดร. รศ.ดร.วรกฤต เถอื่ นชา ง พระครกู ติ ตญิ าณวสิ ฐิ , ผศ.ดร. ผศ.ดร.ระวงิ เรอื งสังข พระครวู ริ ุฬหสตุ คุณ, ผศ.ดร. ผศ.ดร.บญุ เชดิ ชำนิศาสตร พระมหาสมบตั ิ ธนปฺโญ, ผศ.ดร. ดร.พรี วฒั น ชัยสุข พระมหาญาณวฒั น ฐิตวฑฺฒโน, ผศ.ดร. ดร.สมปอง ชาสิงหแกว พระมหาอุดร อุตฺตโร, ผศ.ดร. ดร.วนิ ยั ทองม่นั พระครูอดลุ สีลาภรณ, ดร. ดร.สังวาล เพียยุระ พระครมู นูญธรรมธาดา, ดร. ดร.ธีระศักดิ์ บงึ มุม พระปลดั โฆสิต โฆสโิ ต, ดร. ดร.ประเสริฐ บณั ฑิศกั ดิ์ พระอำนวย นนทฺ โก, ดร. ดร.ทองดี ศรีตระการ พระอธกิ ารบญุ ชว ย โชตวิ โํ ส, ดร. รศ.ดร.ชาติชาย พิทกั ษธนาคม ผจู ัดทำ ผศ.ดร.เกษม แสงนนท, พระมหาอดุ ร อตุ ตฺ โร,ผศ.ดร. ผศ.ดร.ธรี พงษ สมเขาใหญ, ดร.สนุ ทร สายคำ พิมพคร้งั ที่ ๘ ตลุ าคม ๒๕๖๒ จำนวน ๓๐๐ เลม จัดพมิ พโ ดย หลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา (หองซี ๕๑๐) คณะครศุ าสตร มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ ๗๙ หมู ๑ ถนนพหลโยธนิ ต.ลำไทร อ.วงั นอ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ๑๓๑๗๐ โทร. ๐๓๕-๒๔๘-๐๐๐ ตอ ๘๒๘๔, ๐๙๓-๐๓๐-๕๐๓๘ e-Mail: [email protected] www.edmcu.net, www.facebook.com/meda2015 พมิ พท ี่ โรงพมิ พมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๗๙ หมู ๑ ถนนพหลโยธิน ต.ลำไทร อ.วงั นอย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ๑๓๑๗๐ ดาวนโหลดแบบ e-Book ที่ www.mebmarket.com คนคำวา “พทุ ธบริหารการศึกษา”

คํานาํ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดเปดหลักสูตรพุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๙ เปนหลักสตู รแรก จากนั้นไดเปดหลักสูตร พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๔ เปดหลักสูตรพุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา และสาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว พ.ศ.๒๕๕๘ หลักสูตรไดมีความเจริญกาวหนาและไดขยายการจัดการศึกษาไปในวิทยาลัยสงฆ นครสวรรค ขอนแกน นครศรธี รรมราช ทง้ั ระดับปริญญาโทและปรญิ ญาเอก การจัดการศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษาของคณะครุศาสตร มีวตั ถุประสงคดงั น้ี เพ่อื ผลิตมหาบัณฑติ และดษุ ฎบี ณั ฑิต ใหเปน ผู ๑. มีความรู ความเขาใจ และมีวสิ ยั ทศั นในการจดั การศึกษาระดับสากลและบรู ณาการเขา กบั หลกั พทุ ธธรรมและศาสตรส มยั ใหมไ ดอ ยางกลมกลืน ๒. มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน สามารถสังเคราะห วิเคราะห วิจัย จัดระบบ ประเมินผล ขอมูล และพฒั นาองคค วามรใู หม ๆ ๓. มีภาวะผูนำ เปนแบบอยางทีดี และสามารถนำความรูคูคุณธรรมตามหลัก พระพุทธศาสนาที่ลึกซ้ึงสูการพัฒนาท่ีย่ังยืนทั้งดานกายภาพ สังคม จิตใจ และปญญา ตอชุมชน สังคม และประเทศชาติ คูมือนี้ไดรวบรวบขอมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับหนวยงาน การบูรณาการหลักธรรมกับการศึกษา การบริหารงานของหลักสูตร แผนการดำเนินงาน และบันทึกกิจกรรมของนิสิต เพื่อสะดวกตอการ ดำเนนิ งานของบคุ ลากรและนสิ ิต จงึ หวังวา คมู อื นี้จะเปน ประโยชนแกผ ูเกี่ยวของตามสมควร ขอขอบคุณผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ และนิสิตหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนกิจกรรมและรวมสรรสรางบัณฑิตศึกษาของคณะครุศาสตร ใหทรงคาตอวง การศึกษาไทยตอ ไป หลกั สูตรบณั ฑิตศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ตลุ าคม ๒๕๖๒

สารบัญ ๑ ข้อมลู พ้ืนฐานเกย่ี วกบั หนว่ ยงาน ๑ ๔ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๕ คณะครุศาสตร หลักสูตรบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร ๗ การบรู ณาการพุทธธรรมกบั การศกึ ษา ๗ ๑๒ การพฒั นามนุษยตามหลักพุทธธรรม ๑๗ การบูรณาการหลกั ธรรมกบั การจดั การศึกษา ๑๗ หลกั ธรรมสำหรับครแู ละนกั เรียน ๑๙ • หลกั ธรรมสำหรับครู อาจารย ๒๑ • หลกั ธรรมสำหรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ๒๑ การบรหิ ารงานของหลกั สตู ร ๒๕ ๒๖ การบรหิ ารงานทว่ั ไป ๒๗ • แผนการชำระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ๒๙ ๓๒ การจดั การศกึ ษา ๓๓ • หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ๓๕ • หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ๓๖ • พันธสัญญาของผสู มคั รเขา ศึกษา ๓๘ • แนวปฏิบัติสำหรบั การเขา ช้นั เรยี น ๓๘ • เพลงมารช ครุศาสตร ๓๙ • การสวดมนตก อนเรยี น ๔๑ ๔๒ การวิจยั และสรา งนวตั กรรม • ประเดน็ ในการศึกษา คนควา วิจัย ๔๓ • สรปุ ข้ันตอนการทำวิทยานิพนธ/ ดุษฎนี ิพนธ (๒๕๖๒) ๔๔ การบริการวิชาการและทะนุบำรงุ ศิลปวัฒนธรรม ๔๕ • ตัวอยาง แบบเสนอโครงการ ๔๗ ๔๘ บันทึกกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของนิสติ ๔๙ ๕๐ บันทกึ การชำระเงินคาธรรมเนยี มการศึกษา ๕๑ บนั ทึก การเขารวมประชมุ สัมมนา หรือกิจกรรมทางวิชาการ ๕๒ บนั ทึก การศึกษาดงู านภายในประเทศและตา งประเทศ บนั ทึก ผลการศึกษาภาษาตางประเทศ ๕๕ บันทึก การสอบวดั คณุ สมบตั ิ (QE) บันทกึ การปฏิบัตวิ ปิ ส สนากรรมฐาน บันทกึ การดำเนนิ งานเก่ียวกับบทความวิชาการ บนั ทึก การดำเนินงานเกยี่ วกับวทิ ยานิพนธ (พบท่ปี รกึ ษา/คลนี คิ วิทยานพิ นธ) ภาคผนวก (การรับทราบหลกั สูตรของ สกอ. และการรับรองมาตรฐานของคุรุสภา)

ขอ้ มลู พื้นฐานเกีย่ วกบั หนว่ ยงาน มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ความเปนมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณพระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว รัชกาลท่ี ๕ ไดทรงสถาปนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิ เพื่อเปนสถาบันการศึกษา พระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสำหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ โดยพระราชทาน นามวามหาธาตุวิทยาลัย เมอื่ พ.ศ.๒๔๓๐ และเปด ดำเนินการเมือ่ วันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๓๒ ตอมาไดท รงเปลีย่ นจากมหาธาตวุ ิทยาลัย เปนมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ เมื่อ วันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ.๒๔๓๙ แตยังคงจัดการศึกษาเฉพาะปริยัติธรรมแผนกบาลีเทาน้ัน ยังมิไดดำเนินการ ศึกษาในรูปแบบอุดมศึกษาหรือรูปแบบมหาวิทยาลัย ตามพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหวั ดังนั้น เพื่อเปนการสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันท่ี ๙ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๐ พระพิมลธรรม (ชอย ฐานทตฺตเถร) อธิบดีสงฆวัดมหาธาตุ พรอมท้ัง พระ เถรานุเถระฝายมหานกิ าย จำนวน ๕๗ รปู ไดป ระชุมหารอื ท่ีจะเปดการศกึ ษาในรูปแบบมหาวิทยาลยั รับสมคั ร ผูสนใจวิชาดานพระปริยัติสัทธรรมช้ันสูง ภาษาตางประเทศ และวิทยาการบางอยางอันเปนอุปกรณแกการ คนควาหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา พ.ศ.๒๔๙๐ ประกาศใชร ะเบียบมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย เปด รบั พระภิกษสุ ามเณรผสู อบไดตัง้ แต เปรียญธรรม ๔ ประโยคขึ้นไปเขาศึกษา มีนิสิตเขาศึกษารุนแรกจำนวน ๑๕๖ รูป เปดการศึกษาเม่ือวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๐ โดยจัดใหเรียนวิชาพ้ืนฐาน เรียกวา การศึกษาระดับ ช้ันอบรมพ้ืนความรู จนถึงช้ัน เตรียมอุดมศึกษาเปน เวลา ๔ ป จากนั้นจึงใหเ รยี นตอระดับปริญญาตรีในคณะพุทธศาสตรซึ่งเปดเปนคณะแรก รับพระภิกษุสามเณรท่ีจบช้นั เตรียมอุดมศึกษาน้ี และเปนผูสอบไดเ ปรียญธรรม ๕ ประโยคขึ้นไป จำนวนผูผาน ค่มู ือการบรหิ ารหลักสตู รและบันทกึ กิจกรรมนิสติ ๑

การคัดเลือกใหเขาเรียน ในปการศึกษา ๒๔๙๔ จำนวน ๑๖ รูป สำเร็จการศึกษาในป ๒๔๙๘ เปน “พุทธ ศาสตรบัณฑติ ” รุนแรก จำนวน ๖ รูป พ.ศ.๒๕๑๒ มหาเถรสมาคมไดออกคำส่ัง เรื่อง การศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ พ.ศ.๒๕๑๒ จำนวน ๑๒ ขอ สาระสำคัญขอ ๓ ระบุสวนท่ีเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไววา “ใหการศึกษา ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ซึ่งดำเนินการอยูแลว เปนการศกึ ษาของคณะสงฆ” พ.ศ.๒๕๒๗ รัฐบาลไดออกพระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผูสำเร็จวิชาการทางพระพุทธศาสนา พ.ศ.๒๕๒๗ โดยมาตรา ๔ (๓) กำหนดวา “ใหผูสำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนาตามหลักสูตรปริญญาพุทธ ศาสตรบัณฑิต มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ มีวิทยฐานะชั้นปริญญาตรี เรียกวา “พุทธ ศาสตรบัณฑติ ” ใชอกั ษรยอ วา “พธ.บ.” พ.ศ.๒๕๓๐ สภามหาวิทยาลัย ประกาศใชระเบียบมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ในพระ บรมราชูปถัมภ วาดว ยการบริหาร พ.ศ.๒๕๓๐ พ.ศ.๒๕๔๐ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กำหนดใหมหาวิทยาลัยเปน นิติบุคคล และอยูในกำกับของรัฐ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๑๑๔ ตอนท่ี ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๔๐ การขยายสวนงานจัดการศกึ ษา มหาวิทยาลัยไดแ บงสวนงานในสว นกลางและสวนภมู ภิ าค เพ่อื รองรับการจัดการศกึ ษา ดังน้ี พ.ศ.๒๔๙๐ ตงั้ คณะพทุ ธศาสตร พ.ศ.๒๕๐๔ ตั้งคณะครุศาสตร พ.ศ.๒๕๐๖ เปดหลกั สูตรอบรมครูศาสนศกึ ษา ระดบั ประกาศนยี บตั ร พ.ศ.๒๕๑๖ ต้ังคณะเอเชียอาคเนยต อ มาเปลีย่ นเปนคณะมานุษยสงเคราะหศาสตร พ.ศ.๒๕๒๑ ต้ังวิทยาเขตหนองคายเปนวิทยาเขตแรกที่วัดศรีสะเกษ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย เปดปรญิ ญาตรี หลกั สูตรคณะครุศาสตร พ.ศ.๒๕๒๖ ตั้งคณะสงั คมศาสตร (แยกวิชาสายสังคมศาสตรออกจาก คณะมานุษยสงเคราะหศ าสตร) และต้ังคณะมนษุ ยศาสตร (โดยแยกวิชาสายภาษาศาสตร จติ วิทยาออกจากคณะมานุษย สงเคราะหศ าสตร) พ.ศ.๒๕๒๘ ต้งั วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช ทีว่ ดั แจง จงั หวดั นครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๕๒๘ ต้งั วทิ ยาเขตเชยี งใหม ท่วี ดั สวนดอก จังหวดั เชียงใหม พ.ศ.๒๕๒๙ ตั้งวิทยาเขตขอนแกน ที่วัดธาตุ ปจจุบันยายไปที่ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัด ขอนแกน พ.ศ.๒๕๒๙ ตั้งวิทยาเขตนครราชสีมาที่วัดพระนารายณมหาราช ปจจุบันยายไปท่ีบานหัวถนน ถนน ชาติพัฒนา อำเภอเมอื ง จงั หวัดนครราชสมี า พ.ศ.๒๕๒๙ ตั้งวิทยาเขตอุบลราชธานี ท่ีวัดมหาวนาราม ปจจบุ ันยายไปที่บานหมากมี่ ตำบลกระโสบ อำเภอเมอื ง จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ.๒๕๓๐ ตั้งวิทยาเขตสุรินทร ที่วัดศาลาลอย ปจจุบันยายไปหมู ๘ ตำบลนอกเมือง อำเภอเมือง จงั หวัดสรุ ินทร คมู่ ือการบรหิ ารหลักสูตรและบันทกึ กิจกรรมนสิ ิต ๒

พ.ศ.๒๕๓๐ ตงั้ วทิ ยาเขตแพร ท่ีวดั พระบาทมิ่งเมือง จงั หวดั แพร พ.ศ.๒๕๓๔ ต้ังวิทยาเขตพะเยา ท่วี ัดศรโี คมคำ จงั หวัดพะเยา พ.ศ.๒๕๓๕ ต้งั วิทยาเขตบาีศกึ ษาพทุ ธโฆส ท่ีวัดมหาสวสั ดน์ิ าคพุฒาราม พทุ ธมณฑล นครปฐม พ.ศ.๒๕๕๙ ตง้ั วิทยาเขตนครสวรรค นอกจากนี้ยังไดตั้งหนวยงานระดับวิทยาลัยสงฆข้ึนอีก ๙ แหง ประกอบ ดวยวิทยาลัยสงฆนครพนม วิทยาลัยสงฆเลย วิทยาลัยสงฆลำพูน วิทยาลัยสงฆนครสวรรค วิทยาลัยสงฆพุทธชินราชพิษณุโลก วิทยาลัย สงฆบุรีรัมย วิทยาลัยสงฆปตตานี และวิทยาลัยสงฆนครนาน และวิทยาลัยสงฆพุทธโสธรฉะเชิงเทรา และ มี การขยายหองเรยี น หนวยวิทยบริการ อยูในจงั หวัดตา งๆ ทวั่ ทุกภาค มหาวิทยาลัยยังไดรับสถาบันการศึกษาทางพุทธศาสนาทั้งในประเทศ และตางประเทศ เขาเปน สถาบันสมทบรวม ๔ แหง คือ พ.ศ.๒๕๔๔ วทิ ยาลยั พระพุทธศาสนาดองกุก ชอนบอบ ประเทศเกาหลีใต พ.ศ.๒๕๔๗ มหาปญ ญาวทิ ยาลยั หาดใหญ สงขลา พ.ศ.๒๕๔๗ มหาวิทยาลยั พระพทุ ธศาสนาซิน จู ไตหวนั พ.ศ.๒๕๕๐ สถาบันการศกึ ษาพระพุทธศาสนาชั้นสูง แหงเมืองแคนดี ประเทศศรีลังกา สถาบันธรรม เกต ประเทศฮงั การี ไดเขา สมทบเพื่อผลิตบณั ฑติ ศึกษาดา นพระพุทธศาสนาในแถบภมู ภิ าคยโุ รปดว ย ปจจุบัน มหาวทิ ยาลัยไดยายที่ทำการมาท่ี ๗๙ หมู ๑ ถนนพหลโยธิน (กม.๕๕) ตำบลลำไทร อำเภอ วังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย ๑๓๑๗๐ บนพื้นท่ี ๒๑๙ ไรเศษ ทำใหสามารถจัดการศึกษา การบริหารจดั การ และการบริการวชิ าการแกสังคมไดอยา งเตม็ ท่ี ในชว งเวลาสิบกวา ปทผ่ี า นมาหลังจากทไี่ ดร ับพระราชบัญญตั ิ พ.ศ.๒๕๔๐ เปนมหาวิทยาลัย ในกำกับ ของรัฐแลว มหาวิทยาลัยก็ไดเปนผูนำในการจดั ประชมุ สัมมนา และใหบรกิ ารวิชาการ ในระดับชาติและระดับ นานาชาติมาโดยลำดับ เชน จัดงานวนั วิสาขบูชาวันสำคัญสากล งานศาสนสัมพันธนานาชาติ งานเยาวชนโลก งานสภามหาวทิ ยาลยั พทุ ธโลก เปนตน สุภาษติ ปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทศั น และพนั ธกิจ สภุ าษิต ปฺญา โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต แปลวา ปญ ญาเปนแสงสวา งในโลก ปรัชญา จัดการศึกษาพระพทุ ธศาสนา บรู ณาการกับศาสตรสมัยใหม พฒั นาจิตใจและสังคม ปณิธาน ศึกษาพระไตรปฎกและวิชาช้ันสงู สำหรับพระภกิ ษสุ ามเณร และคฤหัสถ วสิ ัยทศั น ผลติ คนดีและเกง อยางมสี มรรถภาพ จัดการศึกษาและวิจัยดีอยา งมีคุณภาพ บริการวชิ าการดีอยางมสี ขุ ภาพ บรหิ ารดีอยางมีประสิทธภิ าพ พนั ธกจิ จัดการศึกษา วจิ ยั และสรางนวตั กรรม พระราชปรยิ ตั ิกว,ี ศ.ดร. อธิการบดี สงเสรมิ พระพุทธศาสนาและบริการวชิ าการแกส งั คม ทะนบุ ำรุงศลิ ปะและวฒั นธรรม คูม่ ือการบรหิ ารหลกั สตู รและบันทกึ กจิ กรรมนสิ ิต ๓

คณะครุศาสตร์ คณะครุศาสตร เปดดำเนินการเม่ือวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๔ เปนตนมา นับเปนคณะที่ ๒ ตอ จากคณะพุทธศาสตร ในระยะแรกจัดการศึกษาแบงออกเปน ๔ ภาควิชา คือ ภาควิชาการศึกษา ภาควิชา จิตวิทยา ภาควิชาบรรณารักษศาสตร และภาควิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ตอมา พ.ศ.๒๕๒๖ ได ปรับปรงุ โดยแบง เปน ๓ ภาควชิ า คือ ภาควชิ าบริหารการศึกษา ภาควิชาหลักสตู รและวธิ สี อนสังคมศึกษา และ ภาควิชาการศึกษานอกโรงเรยี น ปจจุบัน คณะครุศาสตรแบงสวนงานตามประกาศ พ.ศ.๒๕๕๖ เปน ๖ สวน ไดแก สํานักงานคณบดี ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว ภาควิชาบริหารการศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน โรงเรียนบาลเี ตรยี มอดุ มศึกษา โรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา และกลมุ งานหรือโครงการพเิ ศษหลายโครงการ วตั ถปุ ระสงคข องคณะครุศาสตร ๑. เพื่อจัดการศึกษาแกพ ระสงฆและบุคคลทั่วไป ใหม คี วามรูใ นศาสตรความเปนครู การจดั การศึกษา เทคนคิ การสอน และการเผยแผพระพทุ ธศาสนา ๒. เพ่ือผลิตบัณฑิตทมี่ ีปฏิปทานา เล่ือมใส ใฝรูใฝคิด เปนผูนำดานจิตใจ และปญญา รจู ักเสียสละเพ่ือ พระพุทธศาสนาและสงั คม ๓. เพ่อื ประยุกตและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา การวจิ ยั และบรกิ าร ๔. เพ่ือสงเสริมและเผยแพรองคความรูดานการศึกษาและพุทธธรรมสูสังคม ทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม ธำรงรักษาเอกลกั ษณ และภูมิปญ ญาไทย การจดั การศึกษา คณะครุศาสตร จัดการศึกษาปริญญาตรี ๕ สาขา วิชา ไดแก สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการ แนะแนว การสอนพระพทุ ธศาสนา สงั คมศกึ ษา การสอนภาษาไทย และการสอนภาษาอังกฤษ ระดับประกาศนียบัตร ๓ หลักสูตร คือ ประกาศนียบัตรวิชาการเทศนา (ป.ทศ.) การสอนศีลธรรมใน โรงเรียน (ป.สศ.) ประกาศนียบตั รบัณฑิต วชิ าชพี ครู ระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท ๓ คือ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา การสอนสังคมศึกษา และ จติ วทิ ยาการศึกษาและการแนะแนว ปรญิ ญาเอก ๑ สาขาวชิ า คือ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ปรชั ญา ปณธิ าน วิสยั ทศั น พันธกิจ ปรชั ญา : ศกึ ษาดี มคี ุณธรรม นำความรูสสู งั คม ปณิธาน : จะพัฒนาบัณฑิตใหม ปี ฏิปทานาเล่อื มใส ใฝร ูใฝคดิ เปน ผนู ำ ดา นจิตใจและปญ ญา มีศรทั ธาอุทิศตนเพอ่ื พระพุทธศาสนา วสิ ยั ทัศน : ศนู ยกลางการศึกษาพระพทุ ธศาสนาระดบั นานาชาติ พระราชสตุ าภรณ, รศ.ดร. สรา งคนดแี ละคนเกงอยา งมสี มรรถภาพ คณบดีคณะครุศาสตร จดั การศึกษาและวิจยั ดีอยางมีคุณภาพ บริหารดอี ยา งมีประสทิ ธภิ าพ คู่มือการบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกจิ กรรมนิสิต ๔

พันธกิจ : จัดการศกึ ษา วจิ ัยและสรางนวตั กรรม สง เสรมิ พระพทุ ธศาสนาและบริการวชิ าการแกสงั คม ทะนบุ ำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม สปี ระจำคณะ : สแี ดง คณบดีคณะครศุ าสตร ๑. พระมหาจำลอง ภูริปฺโญ (สารพัดนึก) พ.ศ. ๒๕๑๑–๒๕๒๑ (ปจจุบัน ศาสตราจารยพิเศษ ดร. จำลอง สารพัดนึก) ๒. พระมหากนกพนั ธุ องฺควณฺโณ (นงนชุ ) พ.ศ. ๒๕๒๒–๒๕๒๓ ๓. พระมหาณรงค จติ ฺตโสภโณ (เชิดสงู เนิน) พ.ศ. ๒๕๒๓–๒๕๒๓ (พระสธุ วี รญาณ, รศ.ดร.) ๔. พระมหากิตติ อตฺตาโภ พ.ศ. ๒๕๒๓–๒๕๒๔ ๕. พระประสิทธสิ ุตตคุณ (สวัสด์ิ อตฺถโชโต) พ.ศ. ๒๕๒๔–๒๕๓๐ ๖. พระครศู รีธรรมปฏภิ าณ (สมภพ ปุ ญฺ าคโม) พ.ศ. ๒๕๓๐–๒๕๓๓ ๗. พระครวู ินัยธรสเุ มธ ธีรธมฺโม (ขำสวัสด)ิ์ พ.ศ. ๒๕๓๓–๒๕๓๖ ๘. พระสุวรรณเมธาภรณ (ขุนทอง สุวณฺณเมโธ), ผศ. พ.ศ. ๒๕๓๖–๒๕๔๐และ พ.ศ. ๒๕๔๑–๒๕๕๒ (ปจจุบันเปน รองอธิการบดีฝายวิชาการ) ๙. พระครปู ลัดมารุต วรมงฺคโล (กุลเพชร) , ผศ.ดร. พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๑ และ พ.ศ. ๒๕๕๓–๒๕๕๗ ๑๐. พระครูโสภณพทุ ธศิ าสตร, ผศ.ดร. (เชีย่ ว ชิตนิ ทฺ รโิ ย) พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑ ๑๑. พระราชสตุ าภรณ, รศ.ดร. (ประศกั ด์ิ อคคฺ ปโฺ ญ) พ.ศ. ๒๕๖๑-ปจจบุ ัน หลกั สูตรบณั ฑิตศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ พ.ศ.๒๕๔๘ ถือเปนการเปล่ยี นแปลงระบบการจดั ศึกษาครง้ั สำคญั เพราะมีการปรบั หลักสูตรปรญิ ญา ตรใี หเปน หลกั สตู ร ๕ ป ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ภาควิชาบริหารการศึกษา ไดเปดหลักสูตรระดับปริญญาโท ๑ สาขาวิชา คือ การบริหารการศึกษา เปน รนุ ที่ ๑ จดั การเรียนการสอน ณ วดั ศรีสุดาราม พ.ศ.๒๕๕๒ คณะครุศาสตรยายสำนกั งานมาอยูที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วงั นอย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา พ.ศ.๒๕๕๔ ไดขยายการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ไปที่วิทยาลัยสงฆ นครสวรรค วิทยาเขตขอนแกน และวิทยาเขตนครศรีธรรมราช ตามลำดับ พรอมไดพัฒนาสำนักงาน บัณฑติ ศึกษาขน้ึ ทชี่ ั้น ๕ อาคารเรยี นรวม เพอ่ื รองรบั การพฒั นาซง่ึ มผี สู นใจเขามาศึกษาเปนจำนวนมาก พ.ศ.๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๔ เปดหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาพุทธ บรหิ ารการศึกษา รบั นสิ ิตรุนที่ ๑ และไดรับความเห็นชอบหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (สกอ.) เม่อื ๗ กันยายน ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๕๗ ไดเ ปด หลักสตู รดษุ ฎบี ณั ฑติ ทว่ี ิทยาลยั สงฆน ครสวรรค คมู่ ือการบริหารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนสิ ติ ๕

พ.ศ.๒๕๕๘ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน เปดหลักสูตรใหมคือ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนสังคมศึกษา พ.ศ.๒๕๕๙ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว เปดหลักสูตรใหม คือ หลักสูตรพุทธศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าจิตวทิ ยาการศึกษาและการแนะแนว พ.ศ. ๒๕๖๐ ไดมีการปรับปรุงหลักสูตรโดยเปล่ียนชื่อสาขาวิชาเปน “พุทธบริหารการศึกษา” ทั้ง ระดับปริญญาโท และปรญิ ญาเอก พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดร ับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลยั เปลยี่ นชือ่ หลักสูตรเปน “ครุศาสตรมหาบัณฑิต” และ “ครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑติ ” ในปเ ดียวกนั น้ี ไดเ ปดหลกั สตู รดุษฎบี ณั ฑิตทีว่ ิทยาลยั สงฆข อนแกน ดวย พ.ศ.๒๕๖๒ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ไดใหการรับทราบหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ ทั้งสองหลักสูตร และคุรุสภารับรองมาตรฐานการผลิตและมาตรฐานบัณฑิต ซ่ึงทำใหหลักสูตรสามารถ กลา วไดวา “มมี าตรฐานคุรสุ ภา บูรณาการวิถีพทุ ธ” ไดอยา งเตม็ ภาคภมู ิ การติดตอ เลขท่ี ๗๙ หมู ๑ ถนนพหลโยธนิ กม.๕๕ ตำบลลำไทร อำเภอวงั นอย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ไปรษณีย ๑๓๑๗๐ โทรศพั ท ๐-๓๕๒๔-๘๐๐๐, ๐-๓๕๓๕-๔๗๑๐, ๐-๓๕๓๕-๔๗๑๑ โทรสาร ๐-๓๕๒๔-๘๐๐๖ เวบ็ ไซต www.mcu.ac.th คู่มอื การบริหารหลกั สตู รและบันทึกกิจกรรมนิสติ ๖

การบูรณาการพุทธธรรมกบั การศึกษา การพัฒนามนษุ ย์ตามหลกั พุทธธรรม พุทธศาสนสุภาษิตบทหนึ่งกลาววา “ทันโต เสฏโฐ มนุสเสสุ” แปลวา ในหมูมนุษย ผูท่ีฝกแลวเปนผู ประเสริฐที่สุด” (กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, ๒๔๗๗ : ๔๙) ดานทานพุทธทาสภิกขุ (๒๕๓๗) กลาววา “เปน มนุษยเปนไดเพราะใจสูง เหมือนหน่ึงยูงมีดีท่ีแววขน ถาใจต่ำเปนไดแตเพียงคน ยอมเสียทีที่ตนไดเกิดมา ใจ สะอาดใจสวางใจสงบ ใครมีครบควรเรียกมนุสสา เพราะทำถูกพูดถูกทุกเวลา เปรมปรีดาทุกคืนวันสุขสันต จรงิ ใจสกปรกมดื มวั และรอนเรา ใครมีเขาควรเรยี กวา ผีสิง เพราะทำผิดพูดผิดจิตประวงิ แตในสิ่งนำตัวกล้ัว อบาย คิดดูเถิดถาใครไมอยากตก จงรบี ยกใจตนรีบขวนขวาย ใหใจสูงเสียไดกอนตัวตาย ก็สมหมายที่เกิด มาอยาเชือนเอย” นั่นก็หมายความวา โดยธรรมชาติแลวมนุษยเปนเพียงสัตวโลกชนิดหนึ่งซ่ึงมีสัญชาตญาณ เดมิ ๆ เหมือนกบั สตั วอ น่ื ๆ ประเด็นนี้เปนที่ยอมรับกนั ท่วั ไปวา มนษุ ยเ กิดมานั้นมีความพกพรอ งหรือมีบาปติด ตัวมาดวยทุกคน มนุษยจะมีความแตกตางก็เพราะการฝกฝน ความสามารถในการเรียนรู และมีปญญาเกิดข้ึน เมื่อมีปญญาแลว ก็ทำในส่ิงท่ีแตกตางออกไป ท่เี รยี กวา มีใจสงู ขึ้น พัฒนายิ่งขึน้ จนทำใหมนุษยไ ดชอ่ื วาเปนผู ครอบครองโลกน่ันเอง เมื่อเจาชายสิทธัตถะตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา เม่ือกวา ๒,๖๐๐ ปท่ีแลว ไดทรงแสดงแนว ทางการพัฒนาเรียกวา “ไตรสิกขา” ที่จะทำใหมนุษยแตกตางจากสัตวเหลาอื่น ไตรสิกขาเปนแบบแผนในการ พัฒนาทรัพยากรมนษุ ยอยา งไรนน้ั มรี ายละเอียดตอไปนี้ มนษุ ยค ือใคร ตามหลักพุทธศาสนามนุษยมีองคประกอบพื้นฐานการกอกำเนิดไมตางจากสัตวอื่น ๆ คือมีรางกาย และจิตใจ หรือ “รปู และนาม” สวนท่ีมีลักษณะเปนช้ินสวน มองเห็น แตะตองไดดวยประสาทสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย เรียกวา “รูป” รูปมีสวนประกอบสำคัญคือ ธาตุ ๔ ไดแก ดิน น้ำ ลม ไฟ และมีอาการตาง ๆ ที่อาศัยธาตุ ๔ เกิดขนึ้ ทัว่ ไป เรียกวา อริ ยิ าบถยอย หรืออาการยอยของธาตุ ๔ เรยี กวา อปุ าทายรปู เชน การยืน เดิน นั่ง นอน กิน ด่ืม ทำ พดู คดิ เปน ตน อีกสวนหน่ึง ไมสามารถเห็นหรือสัมผัสดวยประสาททั้ง ๕ ได เรียกวา “นาม” นามประกอบดวย เวทนา คือความรสู กึ วา สุข ทุกข หรือเฉย ๆ สญั ญา คอื สวนท่ีทำหนา ทใี่ นการจำไดหมายรสู ิ่งตา ง ๆ ท่ไี ดพบเห็น สังขาร คือความรูสึกปรงุ แตงวาดี ชั่ว โลภ โกรธ หลง และวิญญาณ คือการรับรูจากประสาทสัมผัส การเรียนรู ความรู การคดิ วเิ คราะหต า ง ๆ ทั้งรปู และนามเม่ือรวมกันเขา เรยี กวา “ขนั ธ ๕” เขียนสรปุ เปนภาพเพือ่ ใหเขา ใจไดง าย ดงั รปู น้ี คูม่ อื การบริหารหลักสูตรและบันทึกกจิ กรรมนิสติ ๗

มนุษยประกอบดวยกายกบั ใจ หรอื รูปและนาม รวมเรียกวาขนั ธ ๕ จะพฒั นามนุษยอยางไร จากพื้นฐานการกำเนิดชีวติ มนุษยขางตนจะเห็นไดวา โดยธรรมชาติของชีวิตแลว มนุษยไมไดแตกตาง จากสตั วเ หลาอ่ืนๆ เลย ถาหากปลอ ยไปตามธรรมชาติ มนษุ ยก ็คงมีพฤติกรรมไมแตกตางจากสัตวท้ังหลายมาก นัก แตมนุษย มีจิตใจและปญญาดีกวา จงึ ไดพัฒนาอารยธรรมข้ึนมา ทำใหมีศาสนา ลัทธิ ความเช่ือ และแนว ปฏบิ ตั ิตา งๆ เกดิ ขนึ้ ในโลกมากมาย เมื่อพระพุทธเจาอุบัติข้ึนในโลก ไดทรงส่ังสอนประชาชนดวยหลักธรรมตางๆ ที่เหมาะสมกับบุคคล ประสบการณ หรือสถานการณน้ันๆ เพ่ือพัฒนามนษุ ยใ หดีขน้ึ สูงสงข้ึน ตา งจากสรรพสัตวทง้ั หลายทงั้ ดา นกาย วาจา และใจ ดังพุทธศาสนสุภาษิตและบทกลอนของทานพุทธทาสภิกขุท่ีไดยกข้ึนเปนอุทาหรณในเบ้ืองตน หลักธรรมทั้งหลายท่ีพระพุทธเจาแสดงท้ังหมด สามารถสรุปลงในหลักการที่เรียกวา “ไตรสิกขา” ซึ่งก็เปน คำตอบของคำถามขา งตนวา เราสามารถพัฒนามนษุ ยด วย “ไตรสิกขา” น่นั เอง ไตรสิกขาเปน เครอื่ งมือพัฒนามนษุ ยใ หสมบรู ณ (ดว ยกาย วาจา ใจ) (ทมี่ าภาพ: www.fugly.com/media/IMAGES/Random/morphing-clinton.jpg) ไตรสกิ ขาคอื อะไร สิกขา คือส่ิงท่ีทุกคนตองศึกษา เรยี นรู ทำความเขาใจ และนำไปปฏิบัติ เพื่อจะใหชีวิตมีพัฒนาการที่ดี ข้ึนท้ังดา นรางกาย วาจา สงั คม อาชีพการงาน จติ ใจ และปญญา มีอยู ๓ อยา ง ไดแก ศีล คือหลกั ความประพฤตปิ ฏบิ ตั ทิ างกาย วาจา สงั คม อาชีพการงาน เรียกวา สีลสิกขา สมาธิ คือหลักความปฏิบัติทางจิตใจท่ีจะทำใหม่ันคง มุงม่ัน ไมหวั่นไหวงาย บางคร้ังก็เรียกวา จิต สิกขา คู่มอื การบริหารหลกั สตู รและบันทึกกจิ กรรมนิสิต ๘

ปญญา คือหลักปฏิบัติทางความรู ความคิด วิสัยทัศน ท่ีจะนำไปสูการปฏิบัติหรือแสดงออกทางกาย วาจา และพัฒนาใหด ียง่ิ ข้ึน เรยี กวา ปญ ญาสกิ ขา ทั้งสามอยางรวมกันเรียกวา ไตรสิกขา หรือ สิกขา ๓ พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจาท่ีจารึกไว ในพระไตรปฎกทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ ก็คือ ไตรสิกขา กลาวคือ พระวินัยปฎก ๒๑,๐๐๐ พระ ธรรมขนั ธ สรุปลงในสีลสิกขา พระสุตตันตปฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ สรปุ ลงในจิตสิกขา และพระอภธิ รรม ปฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ สรปุ ลงในปญ ญาสกิ ขา ดังสรปุ ในรูปน้ี สรุปหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาลงในไตรสิกขา ขอบเขตในการพฒั นามนษุ ย เปนที่ทราบแลววา ไตรสิกขา เปนเคร่ืองมือในการพัฒนามนุษยใหตางจากสัตวท้ังหลายท่ีประชาชน ยึดถือและปฏิบัติตามได พระพุทธเจายังไดทรงแสดงหลักการอันเปนขอบขายของการพัฒาท้ังสวนบุคคลและ หมูคณะอีก เรียกวา “ภาวนา” หมายถึง การเจริญ การทำใหเปนใหมีข้ึน การฝกอบรม การพัฒนา (cultivation; training; development) มี ๔ อยาง ไดแ ก ๑. กายภาวนา คอื การเจริญกาย พัฒนากาย การฝก อบรมกาย ใหรูจักติดตอเกี่ยวของกับส่ิงทั้งหลาย ภายนอกทางอินทรียทั้งหาดวยดี และปฏิบัติตอส่ิงเหลาน้ันในทางที่เปนคุณ มิใหเกิดโทษ ใหกุศลธรรมงอก งาม ใหอกศุ ลธรรมเสอ่ื มสูญ การพัฒนาความสมั พนั ธกับสง่ิ แวดลอ มทางกายภาพ (physical development) ๒. สีลภาวนา คือการเจริญศีล พัฒนาความประพฤติ การฝกอบรมศีล ใหต้ังอยูในระเบียบวินัย ไม เบียดเบยี นหรือกอความเดอื ดรอนเสียหาย อยูรวมกบั ผูอ่ืนไดด ว ยดี เกือ้ กูลแกก ัน (moral development) ๓. จิตภาวนา คือการเจริญจิต พัฒนาจิต การฝกอบรมจิตใจ ใหเขมแข็งมั่นคงเจริญงอกงามดวย คุณธรรมทั้งหลาย เชน มีเมตตากรุณา ขยันหมั่นเพียร อดทนมีสมาธิ และสดช่ืน เบิกบาน เปนสุขผองใส เปน ตน : cultivation of the heart; emotional development) ๔. ปญญาภาวนา คือการเจรญิ ปญญา พัฒนาปญญา การฝกอบรมปญญา ใหรูเขาใจสิ่งทั้งหลายตาม เปนจริง รูเทาทันเห็นโลกและชีวิตตามสภาวะ สามารถทำจิตใจใหเปนอิสระ ทำตนใหบริสุทธิ์จากกิเลสและ ปลอดพนจากความทุกข แกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนไดดวยปญญา (cultivation of wisdom; intellectual development) ในบาลีทานแสดงภาวนา ๔ ในรูปท่ีเปนคุณสมบัติของบุคคล จึงเปน ภาวิตกาย ภาวิตศีล ภาวติ จิต ภา วิตปญญา (ผูไดเจริญกาย ศีล จิต และปญญาแลว) บุคคลที่มีคุณสมบัติชุดน้ีครบถวนยอมเปนพระอรหันต (พระพรหมคณุ าภรณ, ๒๕๕๕ : ๗๐) คู่มือการบรหิ ารหลกั สูตรและบันทึกกจิ กรรมนิสิต ๙

จะพฒั นามนุษยไ ปใหถึงขนั้ สูงสดุ อยา งไร พระพุทธเจาทรงจำแนกบุคคลออกเปน ๒ ประเภท คือ เสขบุคคล ไดแกมนุษยทุกคนที่เกิดมา ตองมี การศึกษาและพัฒนาตนเองอยูเร่ือยไป นับต้ังแตการเปนปุถุชนท่ัวไปจนถึงอรหันตมรรค และ อเสขบุคคล ไดแ กผูท่ีบรรลุธรรมขน้ั สูงสดุ ไมต อ งศึกษาหรือพัฒนาตนใหบ รรลุอะไรอกี ตอไป ซึง่ กค็ ือพระอรหันตผล การพัฒนาตนเพ่ือไปสูความเปน อเสขบุคคล น้ันตองปฏิบัติตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสาย กลาง เพราะเปนขอปฏิบัติอันพอดีท่ีจะนำไปสูจุดหมายแหงความหลุดพนเปนอิสระ ดับทุกข ปลอดปญหา ไม ติดของในท่ีสุด ทั้งสองอยาง คือ กามสุขัลลิกานุโยค และอัตตกิลมถานุโยค เรียกเต็มวา อริยอัฏฐังคิกมรรค (พระพรหมคุณาภรณ, ๒๕๕๕ : ๒๑๕) มอี งค ๘ ประการ ดังนี้ ๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ ไดแ ก ความรอู ริยสัจจ ๔ หรือ เห็นไตรลักษณ หรือ รูอ กศุ ลและอกุศลมูล กับ กศุ ลและกุศลมูล หรอื เห็นปฏิจจสมปุ บาท (Right View; Right Understanding) ๒. สัมมาสงั กัปปะ ดำรชิ อบ ไดแ ก เนกขมั มสังกัป อพยาบาทสังกปั อวิหิงสาสงั กปั (Right Thought) ๓. สมั มาวาจา เจรจาชอบ ไดแ ก วจีสจุ รติ ๔ (Right Speech) ๔. สัมมากมั มนั ตะ กระทำชอบ ไดแ ก กายสุจรติ ๓ (Right Action) ๕. สมั มาอาชวี ะ เลี้ยงชพี ชอบ ไดแก เวน มิจฉาชพี ประกอบสัมมาชพี (Right Livelihood) ๖. สมั มาวายามะ พยายามชอบ ไดแก สัมมปั ปธาน ๔ (Right Effort) ๗. สมั มาสติ ระลึกชอบ ไดแ ก สติปฏฐาน ๔ (Right Mindfulness) ๘. สมั มาสมาธิ (ตั้งจิตม่นั ชอบ ไดแ ก ฌาน ๔ (Right Concentration) สามารถสรปุ ไตรสกิ ขาไปสูภาวนาและอรยิ มรรคมีองค ๘ ไดดังรูปน้ี จากสกิ ขา ๓ ขยายไปสูภาวนา ๔ และมรรคมอี งค ๘ ทางเลือกในการพฒั นามนุษย (มงคล ๓๘) เพื่อใหเหมาะกับบุคคลระดับตางๆ ยังมีหลักธรรมที่สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอีกมาก เชน มงคล ๓๘ ซ่ึงมีบทสรุปกลา ววา เอตาทิสานิ กตวฺ าน สพพฺ ตถฺ มปราชติ า สพฺพตฺถ โสตถฺ ี คจฉฺ นฺติ ตนเฺ ตสํ มงฺคลมตุ ฺตมนตฺ ิ คูม่ อื การบรหิ ารหลักสตู รและบันทกึ กิจกรรมนสิ ติ ๑๐

แปลวา เทวดาและมนุษยทั้งหลายกระทำมงคลเชนนี้แลว ยอมเปนผูไมปราชัยในที่ทุกสถาน ยอมถึง ความสวัสดใี นท่ที ้งั ปวง น้ีคอื อุดมมงคลของเทวดาและมนุษยเหลา น้นั (ขุ.ขุ. ๒๕/๕/๓) มงคล ๓๘ ประการนี้ แบง เปน ๑๐ หมวด (คาถา) ดังน้ี คาถาที่ ๑ ไมค บคนพาล คบบณั ฑิต บชู าคนท่คี วรบูชา คาถาท่ี ๒ อยูใ นท่เี หมาะสม ทำความดีใหพ รอม ตงั้ ตนไวช อบ คาถาที่ ๓ ศึกษามาก มีศิลปวทิ ยา มรี ะเบียบวินัย วาจาสภุ าษติ คาถาท่ี ๔ บำรงุ มารดาบิดา สงเคราะหบ ุตรภรรยา งานไมอากูล คาถาท่ี ๕ แบงปน ต้ังอยใู นธรรม สงเคราะหญาติ ทำงานไมม ีโทษ คาถาที่ ๖ ละเวนความช่ัว ไมด ม่ื นำ้ เมา ไมประมาทในธรรม คาถาท่ี ๗ เคารพ ออ นนอ ม สันโดษ กตญั ู ฟงธรรมตามกาล คาถาที่ ๘ อดทน วาสอนงาย พบเห็นสมณะ สนทนาธรรมตามกาล คาถาที่ ๙ เพียรเผากเิ ลส ถอื พรหมจรรย เหน็ อริยสัจ ทำนพิ พานใหแ จง คาถาที่ ๑๐ จิตไมหวนั่ ไหวดว ยโลกธรรม จติ ไมเ ศรา หมอง จติ ปราศจากธลุ ี จติ เกษม การพัฒนามนษุ ยใหยอดเยี่ยม (ทศบารม)ี การพัฒนาตนนั้นมีหลายระดับ ถาตองการพัฒนาใหยอดเย่ียม คือการทำความดีท่ีบำเพ็ญอยางพิเศษ เพื่อบรรลุซึ่งจุดหมายอันสูง เชน ความเปนพระพุทธเจา และความเปนมหาสาวก เรียกวา บารมี ๑๐ หรอื ทศ บารมี ไดแก ๑. ทาน การให การเสยี สละ ๒. ศีล การรกั ษากายวาจาใหเ รยี บรอ ย ประพฤตถิ กู ตอ งตามระเบียบวินยั ๓. เนกขัมมะ การออกบวช, ความปลกี ตวั ปลกี ใจจากกาม ๔. ปญญา ความรอบรู ความหยงั่ รเู หตุผล เขาใจสภาวะของสง่ิ ทง้ั หลายตามความเปนจริง ๕. วิริยะ ความเพียร ความแกลวกลา ไมเกรงกลัวอุปสรรค พยายามบากบ่ันอุตสาหะ กาวหนา เรือ่ ยไป ไมทอดท้งิ ธรุ ะหนาที่ ๖. ขันติ ความอดทน ความทนทานของจติ ใจ สามารถใชสตปิ ญญาควบคุมตนใหอยูในอำนาจเหตุผล และแนวทางความประพฤติ ที่ตง้ั ไวเ พอ่ื จุดหมายอนั ชอบไมลอุ ำนาจกิเลส ๗. สัจจะ ความจรงิ คือ พดู จรงิ ทำจริง และจริงใจ ๘. อธิษฐาน ความต้ังใจมั่น, การตัดสินใจเด็ดเด่ียว วางจุดหมายแหงการกระทำของตนไวแนนอน และดำเนนิ ตามน้นั แนน แน ๙. เมตตา ความรักใคร ความปรารถนาดี มีไมตรี คิดเก้ือกูลใหผูอื่นและเพื่อนรวมโลกทั้งปวง มี ความสุขความเจรญิ ๑๐. อุเบกขา ความวางใจเปนกลาง ความวางใจสงบราบเรียบสม่ำเสมอ เท่ียงธรรม ไมเอนเอียงไป ดวยความยนิ ดยี นิ รายหรือชอบฟง บารมนี นั้ ทานกลา ววาจะบำเพญ็ ใหบ รบิ รู ณ ตอ งครบ ๓ ระดบั คือ ๑. บารมี ระดบั สามัญ เชน ทานบารมี ไดแ ก ใหท รัพยสนิ เงินทอง สมบัตนิ อกกาย ๒. อุปบารมี ระดบั รองหรือจวนจะสงู สุด เชน ทานอุปบารมี ไดแ ก การเสยี สละอวยั วะเปน ทาน ค่มู อื การบริหารหลักสูตรและบันทกึ กิจกรรมนิสิต ๑๑

๓. ปรมัตถบารมี ระดบั สูงสดุ เชน ทานปรมัตถบารมี ไดแ ก การสละชีวติ เพื่อประโยชนแ กผ อู น่ื การบำเพ็ญบารมี ๑๐ ครบ ๓ ขั้นนี้เรียกวา สมติงสปารมี หรือ สมติงสบารมี แปลวา บารมี ๓๐ ถวน (พระพรหมคุณาภรณ, ๒๕๕๕: ๒๓๙) ดงั รปู น้ี คุณธรรม ๑๐ บำเพญ็ ๓ ระดับ คอื บารมี อปุ บารมี ปรมตั ถบารมี รวมเปน บารมี ๓๐ มนษุ ยควรมปี ญญา ๒ ดาน มีผูใหคำนิยามของการศึกษาไวมากมาย แตค ำวา การศึกษาในทางพุทธศาสนา หมายถึง ไตรสิกขา อัน เปนกระบวนการพัฒนามนุษยใหสมบูรณท้ังกาย วาจา สังคม อาชีพการงาน จิตใจ และปญญา เพื่อทำ ประโยชนต อ ตนและผูอ่ืน ดังนัน้ องคค วามรู วชิ า หรือปญ ญา ตามหลกั ไตรสิกขา จึงมี ๒ แบบ คือ ๑. โลกิยปญญา ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต อาชีพ การงาน สังคม และวิชาการตางๆ ทาง โลก หรือเรียกวา วชิ าชีพ ๒. โลกุตตรปญญา ความรูเก่ียวกับความจริงของชีวิต (เทวทูต ๔) ลักษณะของชีวิต (ไตรลักษณ) องคประกอบของชีวิต (ธาตุ ๔ ขันธ ๕) โลกธรรม (โลกธรรม ๘) และปรมัตถธรรม (ธรรมชาติท่ีเปนจริงแท แนนอน คือ จิต เจตสกิ รูป นพิ พาน) หรอื เรียกวา วชิ าชีวิต ความรู หรือปญญาดงั กลาว สามารถเกดิ ขน้ึ ได ๓ ทาง ไดแ ก ๑. สุตตมยปญ ญา ความรเู กดิ จากการฟง การอาน คน ควา การฟงบรรยาย อภิปรายตา งๆ ๒. จินตามยปญ ญา ความรูเ กิดจากการคดิ วเิ คราะห ใครครวญ พจิ ารณาหาเหตผุ ล ๓. ภาวนามยปญญา ความรเู กดิ จากการลงมอื ปฏิบตั ิ ฝก ฝน ทำแลวทำอีกจนเกดิ ความชำนาญ การบรู ณาการหลกั ธรรมกับการจัดการศกึ ษา ระดับพื้นฐาน ไตรสิกขา เปนหลักพ้ืนฐานของการศกึ ษา หมายถงึ เปนแนวทางการเรียนรูแ ละพัฒนาตลอดชวี ติ มีผนู ำ หลักไตรสิกขาไปบูรณาการกับการจัดการศึกษาตั้งแตระดับพื้นฐานจนถึงปริญญาเอก ดังเชนคณะกรรมการ พัฒนานวตั กรรมการศึกษา (๒๕๔๖) ไดใหความหมายของโรงเรียนวิถพี ุทธวา คือโรงเรยี นระบบปกตทิ วั่ ไปทีน่ ำ หลักพุทธธรรมมาใช หรือประยุกตใชในการบริหารและการพัฒนาผูเรียนโดยรวมของสถานศึกษา เนนกรอบ การพัฒนาตามหลักไตรสิกขาอยางบูรณาการ ผูเรียนไดเรียนรูผานการพัฒนา “การกิน อยู ดู ฟง เปน” คือมี ปญญา รูแ ละเขา ใจในคุณคาแท ใชกระบวนการทางวัฒนธรรมแสวงหาปญญา และมวี ัฒนธรรมเมตตาเปน ฐาน ค่มู อื การบริหารหลกั สูตรและบันทกึ กจิ กรรมนสิ ติ ๑๒

การดำเนินชีวิต โดยมีผูบริหารและคณะครูเปนกัลยาณมิตร ชวยกันพัฒนาดำเนินการจัดการศึกษาใหผูเรียนมี วถิ กี ารทำงาน วถิ ีชวี ติ วิถกี ารเรยี นรู วถิ ีวฒั นธรรมตางๆ ตามหลักไตรสกิ ขาทง้ั ๓ ดาน คือ ๑. ดานพฤติกรรม (ศลี ) เนน ใหน กั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี - มีกริ ิยามารยาท กนิ อยู ดู ฟง เปน - รจู กั เลอื กเสพสิ่งบรโิ ภคและสื่อตา งๆ ใหเ กิดประโยชนด วยปญ ญา - รูจักความพอดี พอประมาณ ในการแสวงหา การบริโภค สะสมสิ่งตา งๆ - ปฏิบัตติ ามระเบยี บ กฎเกณฑที่ถกู ตอ งเพือ่ ใหเกิดวินัยในตนเอง - ไมเ บยี ดเบยี นตนเองและผอู นื่ โดยมศี ลี ๕ เปนพ้ืนฐานในการดำเนนิ ชวี ิต - มีชวี ติ ทสี่ ัมพันธด วยดีกับบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและส่งิ แวดลอม ๒. ดานจติ ใจ (สมาธิ) เนน ใหน ักเรยี นมีคณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี - มสี มรรถภาวะที่ดี คอื มีสมาธิ มคี วามตั้งมน่ั เขม แข็ง มุงมนั่ ทำดี ดวยจติ ใจกลา หาญ อดทน สูส่ิง ยาก ขยนั หมั่นเพยี ร ไมยอ ทอ ฟนฝาอปุ สรรคผานความยากลำบากไปได พึง่ ตนเองได - มีคุณภาวะ คือ มีความกตัญูรูคุณ มีจิตใจเมตตา กรุณาโอบออมอารี มีน้ำใจ ละอายชั่วกลัว บาป ซ่อื สัตย รับผิดชอบ กลารบั ผิด เกิดจิตที่เปน บญุ กุศลอยา งสม่ำเสมอ - มีสุขภาวะท่ดี ี คือ มคี วามสขุ ความรา เริง เบกิ บาน มองโลกในแงดี มีกำลังใจ เกิดแรงบนั ดาล ใจในการเรียนรู ในการรว มกจิ กรรมงานตา งๆ ๓. ดา นความคดิ ความเช่ือ และการแสวงหาความรู (ปญ ญา) เนนใหน ักเรียนมคี ุณลกั ษณะ ดังน้ี - มีศรัทธาเล่ือมใสและเขา ใจในพระรตั นตรยั กฎแหงกรรม และบาปบุญคณุ โทษ - มีทักษะและอุปนิสัยในการเรียนรูทีดี ใฝรู ใฝคิด รูจักคนควา จดบันทึก เรียนรูจากการปฏิบัติ จรงิ การคดิ วเิ คราะหป ระมวลผล สามารถนำเสนอถา ยทอดไดท้งั แบบกลุมและรายบุคคล - มีทกั ษะชีวิต รเู ทาทนั ตอส่ิงเราภายนอกและกิเลสภายในตน สามารถแกป ญหาและนำหลกั ธรรม ไปใชในการดำเนินชวี ิตได มีฐานชีวิตที่ดี มีปญ ญาเขา ใจสจั ธรรมชวี ิตไดตามวุฒภิ าวะของตน - มีทัศนคติท่ีดีตอการปฏิบัติกรรมฐาน สามารถตอยอดพัฒนาไปสูการปฏิบัติธรรมใหเกิดความ เจริญงอกงามในธรรมทีส่ งู ยงิ่ ขน้ึ ไป ลกั ษณะโรงเรียนวิถีพุทธ เนนการจัดสภาพทุกดาน เพอ่ื สนบั สนนุ ใหผูเรยี นพฒั นาตามหลกั พุทธธรรม อยางบูรณาการ โดยสงเสรมิ ใหเกิดความเจริญงอกงามตามหลกั วุฒิธรรม ๔ ประการ คอื ๑. สัปปรุ ิสสงั เสวะ หมายถงึ การอยใู กลคนดี ใกลผ รู ู มีครู อาจารยดี มขี อมลู มีสือ่ ท่ีดี ๒. สทั ธมั มสั สวนะ หมายถึง เอาใจใสศ ึกษาโดยมีหลักสูตร การเรียนการสอนที่ดี ๓. โยนิโสมนสิการ หมายถงึ มีกระบวนการคิดวเิ คราะหพจิ ารณาหาเหตุผลและถูกวธิ ี ๔. ธัมมานธุ มั มปฏปิ ตติ หมายถงึ สามารถนำความรูไ ปใชในชวี ิตไดถกู ตองเหมาะสม ระดับอุดมศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๒๕๕๕:๑๓) ได นำหลักไตรสิกขามาเปนกรอบแนวคิดเพื่อสรางอัตลักษณแกนิสิต โดยบูรณาการสรุปตามอักษรยอของ มหาวิทยาลัยคือ MCU และแปลความหมายใหส อดคลองกับไตรสกิ ขา ดังนี้ M - Mentality มีความรูดี (ปญ ญา) คูม่ อื การบริหารหลักสตู รและบันทกึ กิจกรรมนสิ ิต ๑๓

C - Character มคี วามประพฤติดี (ศลี ) U - Universal mind มจี ติ สาธารณะ ใจมนั่ คง ซอื่ ตรง เสยี สละ (สมาธ)ิ ทั้งไดนำหลักธรรมมาบูรณาการเปนกรอบแนวคิดในจัดการศึกษา ท้ังระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก โดยมองวา นสิ ิตทุกระดับจะตองไดเ รยี นรู ๒ อยางคือ วิชชา ความรูตางๆ ตามสาขาวิชาท่ีตน เรียน และ จรณะ หลักความประพฤตปิ ฏบิ ตั ทิ ่ดี งี าม ดงั รายละเอียดตอไปน้ี ระดับปริญญาตรี ใชกรอบแนวคดิ วา “มีนวลักษณ รหู ลักพัฒนา ม่ันในไตรสิกขา มีสาธารณจิต” สรุป เปน รูปดังนี้ มีนวลักษณ หมายถึง คุณลักษณะ ๙ ประการของนิสิต ตามความหมายของ MAHACHULA ประกอบดว ย M - Morality มปี ฏิปทานาเล่อื มใส A - Awareness รเู ทาทันความเปลีย่ นแปลงทางสังคม H - Helpfulness มีศรทั ธา อุทศิ ตนเพือ่ พระพุทธศาสนา A - Ability มคี วามสามารถในการแกปญ หา C - Curiosity มคี วามใฝรู ใฝคดิ H - Hospitality มีน้ำใจเสยี สละเพอื่ สวนรวม U - University มีโลกทัศนก วา งไกล L - Leadership มีความเปนผูน้ำดานจติ ใจและปญญา A - Aspiration มคี วามมงุ ม่นั พัฒนาตนใหเพียบพรอมดวยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม รูหลักพัฒนา หมายถึง รูและเขาใจหลักการพัฒนาตามแนวของ ภาวนา ๔ ไดแก กายภาวนา พัฒนา กาย สีลภาวนา พฒั นาสงั คม จิตภาวนา พฒั นาจติ ใจ ปญ ญาภาวนา พัฒนาปญ ญา มั่นในไตรสิกขา หมายถึง หลกั การดำเนินชีวติ ตามหลกั ศีล สมาธิ ปญญา หรือ สุจริต ๓ คอื กายสจุ ริต วจสี จุ รติ มโนสุจริต เปน ตน มสี าธารณจิต หมายถงึ นำ้ ใจดี วจีไพเราะ สงเคราะหประชาชน วางตนเหมาะสม ตามหลกั สังคหวัตถุ ๔ ไดแก ทาน ปย วาจา อัตถจริยา สมานัตตา ดงั สรุปตามรูปน้ี บรู ณาการหลักธรรมกบั การสรา งคณุ ลกั ษณะนสิ ิตระดับปรญิ ญาตรี ระดับปริญญาโท เปนระดับที่เนนองคความรูระดับสูง และมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาน้ันๆ เปน อยางดี จึงกำหนดแนวทางพัฒนานิสิตตอเนื่องจากปริญญาตรี โดยใชหลัก ปฏิสัมภิทา ๔ (อัตถะ ธัมมะ นิรุตติ คมู่ อื การบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกิจกรรมนิสติ ๑๔

ปฏิภาณ) เปนกรอบแนวคิด สรุปเปนคำคลองจองวา “รอบรูวิชาการ ชำนาญวิชาชีพ เชี่ยวชาญส่ือศึกษา บรกิ ารประชาชน” มีคำอธิบาย ดังน้ี รอบรูวิชาการ หมายถึง มีความรู ความเขาใจในวิชาการพื้นฐานและวิชาที่เกี่ยวของอยางทั่วถึงรอบ ดาน รูเทาทันสถานการณ รูหลักการและทฤษฎีชัดเจนในสาขาวิชาที่ศึกษา รวมถึงศึกษาดูงาน การเสริมสราง วิสัยทัศนในดานตางๆ สอดคลองกับ อัตถปฏิสัมภิทา หรือ Conceptual Skill และสอดคลองกับจตุสดมภ การศึกษาขอ ๑ เรียนเพือ่ ใหเกดิ ความรู หรือ Learning to know ชำนาญวิชาชีพ หมายถึง มีความรูความเขาใจ และปฏิบัติไดถูกตอง จนถึงมีความชำนาญในวิชา เฉพาะสาขา หรือวิชาเอก รวมถึงมีการวิจัยและพัฒนาความรูและนวัตกรรมใหมๆ ได สอดคลองกับ ธัมม ปฏิสัมภิทา หรือ Technical skill และสอดคลองกับจตุสดมภการศึกษาขอ ๒ เรียนเพื่อใหเกิดทักษะ สามารถ ประกอบอาชพี ไดเปน อยา งดี ฝมอื คณุ ภาพ หรอื Learning to do เช่ียวชาญสื่อศึกษา หมายถึง มีความสามารถในการใชภาษาและเทคโนโลยีสาร สนเทศเพ่ือการ สื่อสาร การนำเสนอ หรือการแสดงออกตอสังคม ไดอยางเช่ียวชาญ รวมถึงมีความ สามารถ ในการพัฒนา นวัตกรรมและส่ือการศึกษาใหมๆ เพื่อการศึกษาท่ีกอใหเกิดความรูความเขาใจและอยูรวมกันอยางสันติ สอดคลองกับ นิรุตติปฏิสัมภิทา หรือ Presentation Skill และสอดคลองกับจตุสดมภการศึกษาขอ ๓ เรียน เพ่อื อยูรว มกนั อยา งสันติ หรือ Learning to live Together บริการประชาชน หมายถึง มีความรูคูคุณธรรรม รูจักเสียสละ มีจิตบริการ ฉลาดสามารถประยุกต ความรู ทฤษฎี ภาษาและเทคโนโลยีตางๆ ใหสอดคลองกลมกลืนกัน เพื่อการบริหารหรือบริการที่มี ประสิทธิภาพ เปนประโยชนตอสังคม สอดคลองกับ ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หรือ Human relation Skill และ สอดคลอ งกับจตุสดมภการศกึ ษาขอ ๔ เรียนเพอ่ื เปนมนษุ ยท ีส่ มบรู ณ Learning to be ดงั รปู นี้ Conceptual Technical Skill Skill Presentation Human Skill Relation Skill เทยี บองคป ระกอบจตสุ ดมภทางการศึกษา และทักษะ ๔ ดา น ของมหาบัณฑติ ทค่ี วรมี (ท่มี ารูป https://lsw09.wikispaces.com/Mental%20Models) ระดับปริญญาเอก เปนระดับสูงสุดของการศึกษา นิสิตจะตองมีท้ังความรู วิสัยทัศน ความเชี่ยวชาญ และมนุษยสัมพันธ ในทุติยปาปณิกสูตร (องฺ.เอก. ๒๐/๒๐/๑๖๓) ระบุวาพอคา (นักธุรกิจ) จะประสบ ความสำเร็จตองมีคุณลักษณะ ๓ ประการ คือ มีตาดี หรือมีวิสัยทัศน (จักขุมา) สามารถจัดการธุระไดด ี (วิธูโร) และมีบุคคลที่จะพึ่งพิงอาศัยได (นิสสยสัมปนโน) สรุปเปนคำคลองจองใหจำงายวา “มีวิสัยทัศน เชี่ยวชาญ ปฏบิ ัติ ฉลาดมนุษยสัมพันธ” มคี ำอธิบาย ดงั น้ี คู่มือการบรหิ ารหลกั สูตรและบันทกึ กิจกรรมนสิ ิต ๑๕

มีวิสัยทัศน หมายถึง มีความรอบรูในหลักการและทฤษฎีตางๆ มีความสามารถสรางทฤษฎีใหม และมวี ิสยั ทศั นกวา งไกลสสู ากล สอดคลองกับบาลีขอ จักขุมา หรอื Pro-vision เชี่ยวชาญปฏิบัติ หมายถึง มีความเชี่ยวชาญในเชิงปฏิับัติ ปฏิบัติดี ปฏิบัติถูกตองตามหลักทฤษฎีท่ี เรียนมา รวมถึงสามารถสรางและพัฒนาส่ิงใหมๆ และการใชภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเคร่ืองมือใน การสื่อสารไดดี สอดคลองกับบาลีขอ วธิ ูโร หรือ Professional ฉลาดมนุษยสัมพันธ หมายถึง มีความสามารถในการบริหารอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถ สรางปจจัยในการบริหารขึ้นมาได โดยมีความเหมาะสมกับสภาพชุมชน สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม สอดคลอ งกบั บาลีขอ นิสสยสมั ปน โน หรอื Public Relation โดยสรปุ คอื มีความสอดคลอ งกับทักษะของผบู รหิ ารระดบั ตางๆ ดงั รปู นี้ แนวคดิ การพัฒนานิสติ ระดับ ป.เอก ใหเ ปนผทู ีม่ วี ิสยั ทศั น (จกั ขุมา-Conceptual Skills) เชีย่ วชาญปฏิบตั ิ (วธิ ูโร-Technical Skills) ฉลาดมนุษยสัมพนั ธ (นสิ สยั สมั ปน โน-Human Skills) บรู ณาการพทุ ธธรรมกับการศึกษาจะชวยสังคมดขี ึ้นอยา งไร ผูท ่ีไดรับการพฒั นาโดยไตรสิกขา ซงึ่ เปน บทสรปุ ของพทุ ธธรรม เชื่อวา ยอ มจะไดร บั ประโยชน ดังน้ี ๑. ประโยชนตน เปน ผมู กี ารพัฒนาอยางสมดลุ ทั้งทางกาย วาจา อาชีพ สงั คม จิตใจ และปญ ญา ๒. ประโยชนผูอ่ืน ผูท่ีศึกษาหรือพัฒนาจากพื้นฐานแบบไตรสิกขา ยอมไมเห็นแกตัว ยอมมุง ใหงาน สังคม และเพอื่ นมนุษยดว ยกนั อยดู มี สี ขุ เหมอื นกัน ๓. ประโยชนทั้งสองฝาย เม่ือทกุ คนมีศีล สมาธิ ปญญา ยอมเปน ประโยชนตอตนและสงั คมดวย ๔. ประโยชนอยางยิ่ง ผูที่พัฒนาตนตามแนวทางพุทธธรรมหรือไตรสิกขา ยอมรูท้ังวิชาชีพและเขาใจ วิชาชีวิต ไมตกเปนทาสของอธรรม ยอมจะไดรับส่ิงที่ดีงามย่ิงขึ้น และสามารถเขาถึงความสมบูรณสูงสุดเปน อเสขบคุ คล บรรลุอรหันตผล ไมเ วยี นวายตายเกิดอกี ตอไป บทสรปุ มนุษยและสัตวท้ังหลายมีองคประกอบของชีวิต ๒ สวน คือกายและใจ หรือรูปและนาม หรือขันธ ๕ แตมนุษยแตกตางตรงท่ีมีปญญา สามารถฝก ฝนพัฒนาใหยิ่งขึ้นไปได เคร่ืองมือในการพัฒนาน้ันก็คือ ไตรสิกขา ไดแ ก ศีล สมาธิ ปญญา โดยมีขอบเขตการพัฒนา ๔ ดาน คือ กาย สงั คม จิตใจ และปญ ญา มขี อปฏบิ ัตทิ ี่จะทำ ใหบรรลุถึงเปาหมายคืออริมรรคมีองค ๘ มีสัมมาทิฏฐิ เปนตน และยังหลักธรรมอื่นท่ีเหมาะแกบุคคล เหตุการณตาง ๆ เชน มงคล ๓๘ และ ทศบารมี เปนตน เราสามารถบูรณาการไตรสิกขา และหลักธรรมอ่ืนๆ กับการจัดการศึกษาต้ังแตระดับพื้น ฐานจนถึงปริญญาเอกได ผูปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา จะไดรับประโยชน คู่มือการบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกิจกรรมนิสิต ๑๖

อยางนอย ๔ ประการ คือ ประโยชนตน ประโยชนผูอ่ืน ประโยชน ท้ังสองฝาย และประโยชนอยางยิ่ง คือการ บรรลุเปนพระอรหนั ตผลไมเ วียนวายตายเกดิ ในสังสารวัฏอีกตอไป หลักธรรมสาํ หรับครูและนกั เรียน พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต, ๒๕๔๐) ไดสรุปหลักคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครูและนักเรียน เพือ่ ใหเ ขา ใจงาย สะดวกตอการศกึ ษาและนำไปปฏบิ ัติ ปรากฏในหนงั สอื ธรรมนูญชีวิต ดังนี้ o หลกั ธรรมสำหรับครู อาจารย ผูทำหนาที่สั่งสอน ใหการศึกษาแกผูอ่ืน โดยเฉพาะครู อาจารย หรือผูแสดงธรรม พึงประกอบดวย คุณสมบัติ และประพฤติตามหลักปฏิบตั ิ ก. เปน กัลยาณมิตร คือมดี ว ยองคค ุณของกลั ยาณมติ ร หรือกลั ยาณมติ รธรรม ๗ ประการ ดงั น้ี ๑. ปโย นารัก คือ มีเมตตากรุณา ใสใจคนและประโยชนสุขของเขา เขาถึงจิตใจ สรางความรูสึกสนิท สนมเปน กันเอง ชวนใจผูเ รยี นใหอ ยากเขา ไปปรึกษาไตถาม ๒. ครุ นาเคารพ คือ เปนผูหนักแนน ถือหลักการเปน สำคัญ และมคี วามประพฤติสมควรแกฐานะ ทำ ใหเกดิ ความรูสกึ อบอุนใจ เปนทีพ่ ง่ึ ไดและปลอดภัย ๓. ภาวนีโย นาเจริญใจ คือ มีความรูจริง ทรงภูมิปญญาแทจริง และเปนผูฝกฝนปรับปรุงตนอยูเสมอ เปน ท่นี า ยกยอ งควรเอาอยา ง ทำใหศิษยเ อย อางและรำลกึ ถงึ ดว ยความซาบซ้งึ มน่ั ใจ และภาคภูมใิ จ ๔. วตฺตา รจู ักพูดใหไดผล คือ รูจักชีแ้ จงใหเขาใจ รวู าเมอื่ ไรควรพดู อะไร อยางไร คอยใหคำแนะนำวา กลาวตกั เตือน เปน ทปี่ รึกษาท่ีดี ๕. วจนกฺขโม อดทนตอถอยคำ คือ พรอมท่ีจะรับฟงคำปรึกษาซักถามแมจุกจิก ตลอดจนคำลวงเกิน และคำตักเตือนวิพากษว จิ ารณต า งๆ อดทน ฟงได ไมเ บือ่ หนา ย ไมเสยี อารมณ* ๖.คมฺภีรฺจ กถํ กตฺตา แถลงเรื่องล้ำลึกได คือ กลาวชี้แจงเร่ืองตางๆ ท่ียุงยากลึกซ้ึงใหเขาใจได และ สอนศษิ ยใหไ ดเ รียนรเู รื่องราวท่ลี ึกซึง้ ยงิ่ ขึน้ ๗. โน จฐาเน นิโยชเย ไมชักนำในอฐาน คือ ไมชักจูงไปในทางท่ีเสื่อมเสีย หรือเรื่องเหลวไหลไม สมควร (องฺ.สตตฺ ก. ๒๓/๓๔/๓๓) ข. ตั้งใจประสิทธ์ิความรู โดยต้ังตนอยูในธรรมของผูแสดงธรรม ท่ีเรียกวา ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คอื ๑. อนุบุพพิกถา สอนใหมีขั้นตอนถูกลำดับ คือ แสดงหลักธรรม หรือเนื้อหาตามลำดับความงายยาก ลุม ลึก มเี หตุผลสัมพนั ธต อ เนอ่ื งกันไปโดยลำดบั ๒. ปริยายทสั สาวี จับจุดสำคญั มาขยายใหเ ขาใจเหตผุ ล คือ ชแี้ จง ยกเหตุผลมาแสดง ใหเขาใจชัดเจน ในแตล ะแงแตล ะประเดน็ อธิบายยักเย้อื งไปตา งๆ ใหม องเห็นกระจา งตามแนวเหตผุ ล ๓. อนุทยตา ตง้ั จิตเมตตาสอนดว ยความปรารถนาดี คือ สอนเขาดว ยจิตเมตตา มุงจะใหเ ปน ประโยชน แกผ ูรบั คำสอน คมู่ อื การบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกิจกรรมนิสติ ๑๗

๔. อนามิสันดร ไมมีจิตเพงเล็งเห็นแกอามิส คือ สอนเขามิใชมิใชมุงท่ีตนจะไดลาภ สินจาง หรือ ผลประโยชนต อบแทน ๕. อนุปหัจจ* วางจิตตรงไมกระทบตนและผูอ่ืน คือ สอนตามหลักตามเนื้อหา มุงแสดงอรรถ แสดง ธรรม ไมย กตน ไมเ สยี ดสขี ม ขผ่ี ูอื่น (อง.ฺ ปฺจก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕) ค. มลี ีลาครคู รบทั้งส่ี ครทู ีส่ ามารถมีลลี าของนกั สอน ดังน้ี ๑. สันทัสสนา ชี้ใหชัด จะสอนอะไร ก็ช้ีแจงแสดงเหตุผล แยกแยะอธิบายใหผูฟงเขาใจแจมแจง ดังจูง มอื ไปดเู หน็ กบั ตา ๒. สมาทปนา ชวนใหปฏิบัติ คือ ส่ิงใดควรทำ ก็บรรยายใหมองเห็นความสำคัญ และซาบซึ้งในคุณคา เห็นสมจรงิ จนผฟู ง ยอมรบั อยากลงมอื ทำ หรอื นำไปปฏิบตั ิ ๓. สมุตเตชนา เราใหก ลา คือ ปลกุ ใจใหคึกคัก เกิดความกระตือรือรน มกี ำลงั ใจแข็งขัน มั่นใจจะทำให สำเรจ็ ไมกลวั เหน็ดเหน่ือยหรอื ยากลำบาก ๔. สัมปหังสนา ปลุกใหราเริง คือ ทำบรรยากาศใหสนุกสดช่ืน แจมใส เบิกบานใจ ใหผูฟงแชมชื่น มี ความหวงั มองเห็นผลดแี ละทางสำเรจ็ จำงา ยๆ วา สอนให แจมแจง จูงใจ แกลวกลา รา เริง (เชน ท.ี สี. ๙/๑๙๘/๑๖๑) ง. มีหลักตรวจสอบสาม เมอื่ พูดอยางรวบรัดที่สุด ครูอาจตรวจสอบตนเอง ดว ยลักษณะการสอน ของพระบรมครู ๓ ประการ คอื ๑. สอนดวยความรจู ริง รจู รงิ ทำไดจ ริง จงึ สอนเขา ๒. สอนอยางมีเหตุผล ใหเ ขาพิจารณาเขาใจแจง ดวยปญ ญาของเขาเอง ๓. สอนใหไดผลจริง สำเร็จความมุงหมายของเรื่องที่สอนนั้นๆ เชน ใหเขาใจไดจริง เห็นความจริง ทำ ไดจ รงิ นำไปปฏบิ ตั ไิ ดผ ลจรงิ เปน ตน (อง.ฺ ตกิ . ๒๐/๕๖๕/๓๕๖) จ. ทำหนาทีค่ รูตอศษิ ย ปฏิบตั ิตอ ศษิ ยโดยอนเุ คราะหตามหลกั ธรรมเสมือนเปนทิศเบื้องขวา* ดังน้ี ๑. แนะนำฝกอบรมใหเ ปน คนดี ๒. สอนใหเ ขาใจแจมแจง ๓. สอนศิลปวิทยาใหสนิ้ เชิง ๔. สง เสริมยกยองความดีงามความสามารถใหปรากฏ ๕. สรางเครื่องคุมภัยในสารทิศ คือ สอนฝกศิษยใหใชวิชาเล้ียงชีพไดจริงและรูจักดำรงตนดวยดี ท่ีจะ เปนประกนั ใหดำเนนิ ชวี ติ ดีงามโดยสวัสดี มคี วามสุขความเจริญ** (ที.ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓) คู่มอื การบริหารหลักสูตรและบันทกึ กจิ กรรมนิสิต ๑๘

o หลกั ธรรมสำหรับนกั เรยี น นักศึกษา คนท่ีเลาเรียนศึกษา จะเปนนักเรียน นักศึกษา หรือนักคนควาก็ตาม นอกจากจะพึงปฏิบัติตาม หลักธรรมสำหรับคนที่จะประสบความสำเร็จ คือ จักร ๔* และอิทธิบาท ๔* แลว ยังมีหลักการที่ควรรู และ หลกั ปฏบิ ัติที่ควรประพฤตอิ กี ดังตอ ไปน้ี ก. รหู ลกั บพุ ภาคของการศกึ ษา คอื รูจกั องคประกอบท่ีเปน ปจจยั แหง สัมมาทฏิ ฐิ ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. องคประกอบภายนอกที่ดี ไดแก มีกัลยาณมิตร หมายถึง รูจักหาผูแนะนำส่ังสอน ที่ปรึกษา เพื่อน หนังสือ ตลอดจนสงิ่ แวดลอมทางสังคมโดยท่วั ไปท่ดี ี ทเ่ี กอ้ื กลู ซ่ึงจะชักจูง หรือกระตุนใหเกิดปญญาไดด วยการ ฟง การสนทนา ปรกึ ษา ซกั ถาม การอาน การคนควา ตลอดจนการรูจักเลือกใชส่อื มวลชนใหเ ปนประโยชน ๒. องคประกอยภายในที่ดี ไดแ ก โยนิโสมนสกิ าร หมายถงึ การใชค วามคิดถูกวิธี รูจักคิด หรอื คิดเปน คอื มองส่งิ ท้ังหลายดว ยความคิดพิจารณา สืบสาวหาเหตุผล แยกแยะสิ่งน้นั ๆ หรือปญหานั้นๆ ออกใหเห็นตาม สภาวะและตามความสัมพันธแ หง เหตุปจจยั จนเขาถงึ ความจริง และแกปญ หาหรอื ทำประโยชนใหเ กดิ ขึน้ ได กลา วโดยยอ วา ขอ หนึ่ง รจู ักพึ่งพาใหไดป ระโยชนจากคนและสิ่งที่แวดลอม ขอสอง รูจ ักพึ่งตนเอง และทำตวั ใหเ ปนท่พี ึง่ ของผอู ่นื (ม.มู. ๑๒/๔๙๗/๕๓๙) ข. มีหลักประกันของชีวิตที่พัฒนา เม่ือรูหลักบุพภาคของการศึกษา ๒ อยางแลว พึงนำมา ปฏิบัติในชีวิตจริง พรอมกับสรางคุณสมบัติอื่นอีก ๕ ประการใหมีในตน รวมเปนองค ๗ ท่ีเรยี กวา แสงเงนิ แสง ทองของชีวิตที่ดีงาม หรือ รุงอรุณของการศึกษา ท่ีพระพุทธเจาทรงเปรียบวาเหมือนแสงอรุณที่เปนบุพนิมิต แหง อาทิตยอทุ ยั เพราะเปนคุณสมบตั ติ นทนุ ท่เี ปนหลักประกันวา จะทำใหกา วหนาไปในการศึกษา และชีวิตจะ พฒั นาสูความดงี ามและความสำเรจ็ ท่สี งู ประเสริฐอยา งแนนอน ดงั ตอ ไปน้ี ๑. แสวงแหลง ปญญาและแบบอยา งทดี่ ี ๒. มวี นิ ัยเปน ฐานของการพฒั นาชีวิต ๓. มีจติ ใจใฝรใู ฝส รา งสรรค ๔. มงุ มัน่ ฝกตนจนเตม็ สดุ ภาวะที่ความเปน คนจะใหถงึ ได ๕. ยดึ ถือหลกั เหตุปจจยั มองอะไรๆ ตามเหตแุ ละผล ๖. ตั้งตนอยูในความไมประมาท ๗. ฉลาดคดิ แยบคายใหไดป ระโยชนแ ละความจรงิ ค. ทำตามหลักเสริมสรางปญญา ในทางปฏิบัติ อาจสรางปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒ อยางขางตน นน้ั ได ดวยการปฏิบตั ิตามหลกั วุฒธิ รรม ๔* (หลักการสรา งความเจริญงอกงามแหงปญ ญา) ๑. สปั ปรุ สิ สังเสวะ เสวนาผรู ู คือ รูจ ักเลอื กหาแหลงวิชา คบหาทานผูรู ผทู รงคุณความดี มีภูมิธรรมภูมิ ปญญานา นับถอื ๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟงดูคำสอน คือ เอาใจใสสดับตรับฟงคำบรรยาย คำแนะนำสั่งสอน แสวงหา ความรู ท้ังจากตัวบุคคลโดยตรง และจากหนังสือหรือสื่อมวลชน ตั้งใจเลาเรียน คนควา หมั่นปรึกษาสอบถาม ใหเขาถงึ ความรทู จ่ี ริงแท ๓. โยนิโสมนสิการ คิดใหแยบคาย คือ รู เห็น ไดอาน ไดฟงส่ิงใด ก็รูจักคิดพิจารณาดวยตนเอง โดย แยกแยะใหเห็นสภาวะและสืบสาวใหเห็นเหตุผลวานั่นคืออะไร เกิดข้ึนไดอยางไร ทำไมจึงเปนอยางนั้น จะ เกิดผลอะไรตอ ไป มีขอ ดี ขอเสยี คณุ โทษอยางไร เปนตน คมู่ อื การบริหารหลกั สตู รและบันทกึ กิจกรรมนิสติ ๑๙

๔. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ ปฏิบัตใิ หถูกหลัก นำสงิ่ ท่ีไดเ ลาเรยี นรบั ฟงและตริตรองเห็นชัดแลว ไปใชหรือ ปฏิบัติหรือลงมือทำ ใหถูกตองตามหลักตามความมุงหมาย ใหหลักยอยสอดคลองกับหลักใหญ ขอปฏิบัติยอย สอดคลองกับจุดหมายใหญ ปฏิบัติธรรมอยางรูเปาหมาย เชน สันโดษเพื่อเก้ือหนุนการงาน ไมใชสันโดษ กลายเปน เกยี จครา น เปนตน (อง.ฺ จตุกฺก. ๒๑/๒๔๘/๓๓๒) ง. ศึกษาใหเปนพหูสูต คอื จะศึกษาเลาเรยี นอะไร กท็ ำตนใหเปนพหูสูตในดา นนน้ั ดวยการสราง ความรูความเขาใจใหแจมแจงชัดเจนถึงขั้นครบ องคคุณของพหูสูต (ผูไดเรียนมาก หรือผูคงแกเรียน) ๕ ประการ คือ ๑. พหสุ สฺ ุตา ฟงมาก คอื เลาเรยี น สดับฟง รูเห็น อา น สง่ั สมความรใู นดานนัน้ ไวใหมากมายกวา งขวาง ๒. ธตา จำได คอื จับหลักหรอื สาระได ทรงจำเรื่องราวหรอื เนอื้ หาสาระไวไ ดแมน ยำ ๓. วจสา ปริจิตา คลองปาก คือ ทองบน หรือใชพูดอยูเสมอ จนแคลวคลองจัดเจน ใครสอบถามก็พูด ชีแ้ จงแถลงได ๔. มนสานุเปกฺขิตา เจนใจ คือ ใสใจนึกคิดจนเจนใจ นึกถึงครั้งใด ก็ปรากฏเนื้อความสวางชัดเจน มองเหน็ โลงตลอดไปท้งั เรือ่ ง ๕. ทิฐิยา สุปฏิวิทฺธา ขบไดดวยทฤษฎี คือ เขาใจความหมายและเหตุผลแจมแจงลึกซึ้ง รูท่ีไปที่มา เหตุผล และความสัมพันธของเนื้อความและรายละเอียดตางๆ ท้ังภายในเร่ืองนั้นเอง และท่ีเกี่ยวโยงกับเรื่อง อ่นื ๆ ในสายวิชาหรือทฤษฎีน้ันปรุโปรง ตลอดสาย (อง.ฺ ปจฺ ก. ๒๒/๘๗/๑๒๙) จ. เคารพผูจุดประทีปปญญา ในดานความสัมพันธกับครูอาจารย พึงแสดงคารวะนับถือ ตาม หลกั ปฏบิ ัตใิ นเรอื่ งทศิ ๖ ขอ วาดว ย ทศิ เบอื้ งขวา* ดงั น้ี ๑. ลกุ ตอนรบั แสดงความเคารพ ๒. เขา ไปหา เพือ่ บำรงุ รบั ใช ปรึกษา ซกั ถาม รบั คำแนะนำ เปน ตน ๓. ฟง ดวยดี ฟงเปน รจู กั ฟงใหเกิดปญญา ๔. ปรนนิบัติ ชว ยบริการ ๕. เรยี นศิลปวทิ ยาโดยเคารพ เอาจรงิ เอาจงั ถอื เปน กิจสำคัญ (ที.ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓) บรรณานกุ รม กองทุนศนู ยส ืบอายพุ ระพทุ ธศาสนาวดั ชลประทานรงั สฤษฎ. ชวี ิตงาม. นนทบุรี : ม.ป.ท., ๒๕๓๗. ธำรง อดุ มไรจติ รกลุ และคณะ. เศรษฐศาสตรพ อเพยี ง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, ๒๕๔๔. พระเทพโสภณ (ประยรู ธมมฺ จติ ฺโต). ทิศทางการศกึ ษาไทย. กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). ธรรมนูญชีวิต. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๐. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม. พมิ พค ร้ังที่ ๒๓. กรุงเทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๕. ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. คมู ือระดับบัณฑติ ศกึ ษา. พมิ พค รงั้ ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๘. มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระไตรปฎ กภาษาไทย ฉบับมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . กรุงเทพฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติ.ปฏิรูปการเรียนรู ผเู รยี นสำคญั ทสี่ ดุ . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพคุรสุ ภาลาดพรา ว, ๒๕๔๓. คมู่ อื การบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกิจกรรมนสิ ติ ๒๐

การบริหารงานของหลกั สตู ร การบรหิ ารงานท่วั ไป พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๖ กำหนดใหสถาบันอุดมศึกษามีหนาท่ีและ อำนาจในการจัดการศึกษา การวิจัยและสรางนวัตกรรม การบริการวิชาการแกสังคม การทะนุบำรุงศิลปะ และวฒั นธรรม และมหี นาทแ่ี ละอำนาจอ่ืนตามทกี่ ฎหมายกำหนด การดำเนินการตองสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ และแผนดานการอุดมศึกษา และสนองตอความจำเปน และความตองการของประเทศในดานตาง ๆ การสงเสริมใหเกิดผูประกอบการ รายใหมใหแกประเทศ การ พัฒนากำลังคนของประเทศ และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อใหประเทศไทยพัฒนาไปสูประเทศที่มี ความกา วหนา ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และมพี ลเมอื งท่ีมคี ณุ ภาพ มาตรา ๒๗ สถาบันอุดมศึกษาตองดำเนินการใหคณาจารยและบุคลากรอื่นมีความรูเทาทัน ความกา วหนา ทางวิชาการในโลก พฒั นาการเรียนการสอน การวิจยั ใหทันสมัยสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลง ทางวิชาการ ความเปล่ียนแปลงของโลก สังคม และเทคโนโลยี และสงเสริมและสนับสนุนการผลิตผลงานทาง วชิ าการในระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาติ มาตรา ๒๘ สถาบันอุดมศึกษาพึงสงเสริมและสนับสนุนใหผูประกอบการภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม และชุมชน นำความรู ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษาไปใชประโยชนอยาง กวา งขวาง และนำไปใชในการสรา งผปู ระกอบการรายใหมใหก บั ประเทศ รวมถึงกำหนดมาตรการใด ๆ เพ่ือเปนการสงเสริมและสนับสนุนทางดานการเงินเพื่อการประกอบ ธรุ กจิ ใหม หรือนำความรู ผลการวจิ ยั หรือนวัตกรรมไปใชโ ดยมีหรอื ไมม ปี ระโยชนตอบแทน นอกจากการจัดการศึกษา การวิจัยและการสรางนวัตกรรมแลว สถาบันอุดมศึกษายังตองมีการบริการ วิชาการแกสังคม ดังในมาตรา ๔๐ กำหนดใหสถาบันอุดมศึกษามีหนาท่ีในการใหบริการทางวิชาการ ให คำปรึกษาทางวิชาการและถายทอดองคความรูที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวิจัยและการสราง นวัตกรรมแกภ าครัฐภาค เอกชน ชมุ ชน และสังคม เพอ่ื นำความรไู ปใชป ระโยชน สงเสริมการเรียนรูต ลอดชีวิต สถาบันอุดมศึกษาในฐานะที่เปนท่ีพึ่งทางวิชาการของชุมชนและสังคม ตองรวมเปนสวนหนึ่งของ ชุมชนในการพัฒนาพ้ืนที่ที่ใกลเคียงกับที่ต้ังของสถาบันอุดมศึกษาน้ันหรือพ้ืนท่ีอื่นตามท่ีสถาบันอุดมศึกษา เหน็ สมควร และตองสงเสริมใหผูเรยี นมสี วนรวมในการทำกิจกรรมตาง ๆ กับสงั คมเพ่ือสรางเสริมจิตสาธารณะ ในการนำความรูแ ละประสบการณมาใชเ พื่อสรางประโยชนแกส ว นรวม และในมาตรา ๔๑ กำหนดใหส ถาบนั อดุ มศกึ ษามีหนาที่ในการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยการ อนุรกั ษ ฟน ฟู สืบสาน และเผยแพรภ ูมิปญ ญาทอ งถิ่นและของชาติ รวมทงั้ สง เสริมใหมีการวิเคราะห สังเคราะห และบรู ณาการการทะนบุ ำรุงศิลปะและวฒั นธรรมกบั การเรียนการสอนและกจิ กรรมของผูเรยี น จากภารกิจดังกลาว หลักสูตรบัณฑิตศึกษาจึงนำมาเปนแนวทางในการบริหารงานของหลักสูตรโดย อนโุ ลม สรุปเปนแผนภูมกิ ารบรหิ ารหลักสตู ร ดังนี้ ค่มู ือการบริหารหลกั สูตรและบันทกึ กิจกรรมนิสติ ๒๑

ค่มู ือการบริหารหลกั สตู รและบันทึกกจิ กรรมนสิ ติ ๒๒

การบริหาร เปนงานพืน้ ฐานของหนวยงานหรอื องคกรตาง ๆ เพื่อใหหนวยงานดำเนินไปไดอ ยางมั่นคง และชวยสงเสริมงานภาระงานดานอ่ืนใหดำเนินไปอยางตอเน่ือง สวนมากจะประกอบไปดวย งานสารบรรณ งานแผน งบประมาณ โครงการ งานบุคลากร งานการเงิน บัญชี งานทะเบียนนิสิต งานประชุม พิธีการ งาน ประชาสมั พนั ธ และงานประกนั คณุ ภาพ เปน ตน การจัดการศึกษา เปนงานหลักท่ีสำคัญของสถาบันหรือหลักสูตรตาง ๆ ซ่ึงมีภารงานประกอบไปดวย งานหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดหาหองเรียน การศึกษาดูงาน การพัฒนาส่ือและแหลงเรียนรู เทคโนโลยีการศึกษา กิจกรรมเสริมเรียนรู การฝกปฏิบัติการวิชาชีพ วิชาเสริมการเรียนรู เชน ภาษาอังกฤษ บาลี และการปฏิบัติกรรมฐาน เปน ตน การวจิ ยั และการสรางนวัตกรรม เปนงานการศกึ ษา คนควา เรยี บเรียง และนำเสนอผลงานวิจยั หรือ นวตั กรรมท่ไี ดทำการศกึ ษามา และตอ งใหมีความถูกตองตามระเบียบวธิ ีวจิ ยั และกอ นจะเรมิ่ ดำเนินการก็ตอ งมี คุณสมบัติครบตามหลักสูตรกำหนดกอน ไดแก การสอบ Q.E. (ป.เอก) การเขาคลินิกวิทยานิพนธ การกำหนด หัวขอโครงราง การสอบ ๓ บท การดำเนินการวิจัย การสนทนากลุม (ป.เอก) การสอบดุษฎีพิจารณ (ป.เอก) การสอบปอ งกนั จนถึงการเสนอบทความวจิ ยั ตอ เวทสี าธารณะ การบริการวิชาการ และการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เปนงานที่สถาบันหรือหลักสูตรตอง ดำเนินการเพื่อเปนประโยชนตอชุมชน สังคมสวนรวม โดยการกำหนดเปนแผนงาน โครงการ งบประมาณ (Plan) การจดั กิจกรรมตามแผน (Do) การสรปุ และรายงานผล (Check) การประเมินผลและเตรยี มโครงการ ใหม (Act) ตามรอบปง บประมาณ หรอื เปนโครงการระยะยาว ตามความเหมาะสม บคุ ลากรหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร ช่ือ ตำแหนง /หนาทรี่ บั ผิดชอบ โทรศัพท รศ.ดร.สมศกั ดิ์ บุญปู รองคณบดีคณะครุศาสตร 081-838-2416 ผอ.หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา และ ผอ. ดร.พีรวฒั น ชัยสุข หลักสูตร ค.ด. พทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา 086-046-5122 ผศ.ดร.เกษม แสงนนท หัวหนาภาควิชาบริหารการศึกษา 089-819-5991 พระครกู ติ ติญาณวสิ ฐิ , ดร.ผศ. และเลขานกุ ารหลักสตู รบัณฑิตศึกษา 081-003-6175 พระครโู อภาสนนทกติ ต์,ิ ผศ.ดร. ผอ.หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ 061-535-1415 พระมหาสมบตั ิ ธนปโฺ ญ,ผศ.ดร. และอาจารยผ รู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ค.ม. 062-379-9099 พระมหาญาณวฒั น ฐิตวฑฒฺ โน,ผศ.ดร. อาจารยผูรับผิดชอบหลกั สตู ร ค.ม. 081-297-2613 ผศ.ดร.ระวิง เรอื งสงั ข อาจารยผรู ับผิดชอบหลกั สตู ร ค.ม. 085-404-7009 รศ.ดร.สุทธพิ งษ ศรีวชิ ัย อาจารยผูรบั ผิดชอบหลกั สตู ร ค.ด. 084-104-4273 รศ.ดร.อนิ ถา ศิริวรรณ อาจารยผ ูรบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ค.ด. 095-964-9430 รศ.ดร.สนิ งามประโคน อาจารยผ ูรบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ค.ด. 081-860-6922 พระครสู าทรปรยิ ัตคิ ณุ , ดร. อาจารยป ระจำหลกั สูตร ค.ม, ค.ด. 081-241-3949 อาจารยประจำหลกั สตู ร ค.ม, ค.ด. อาจารยป ระจำหลกั สูตร ค.ม, ค.ด. อาจารยประจำหลักสูตร ค.ม. คมู่ ือการบรหิ ารหลักสูตรและบันทกึ กิจกรรมนิสติ ๒๓

ชอ่ื ตำแหนง /หนา ท่รี ับผดิ ชอบ โทรศัพท พระครูภัทรธรรมคณุ , ดร. อาจารยป ระจำหลักสตู ร ค.ม, ค.ด. 081-994-3875 พระครูสถติ ยบุญวัฒน, ดร. อาจารยป ระจำหลักสตู ร ค.ม. 089-915-2077 พระครูวิรฬุ หสตุ คณุ , ผศ.ดร. อาจารยประจำหลกั สูตร ค.ม, ค.ด. 081-848-81116 พระครสู งั ฆรกั ษจักรกฤษณ ภูริปโฺ ญ, ผศ.ดร. อาจารยประจำหลักสูตร ค.ม, ค.ด. 065-565-3506 ผศ.ดร.บญุ เชิด ชำนิศาสตร อาจารยป ระจำหลักสูตร ค.ม, ค.ด. 089-928-8093 พระสุรชัย สรุ ชโย, ดร. เลขานกุ ารหลกั สูตร ค.ม. ดร.ยุทธวีร แกว ทองใหญ อาจารยหลกั สตู ร ป.บัณฑิตวชิ าชีพครู ดร.ทองดี ศรีตระการ อาจารยประจำหลกั สูตรสังคมศกึ ษา นายสทุ ศิ สวัสดี จนท. บรหิ ารงานทั่วไป นายประวิทย ชยั สขุ จนท. บริหารงานทัว่ ไป นางสาวอรุณรัตน วไิ ลรตั นกลุ จนท.บริหารงานทวั่ ไป นางสาวมณี อาลากุล จนท. สนง.บัณฑติ ศกึ ษา นางสาววรรณิภา บรรณามล จนท. สนง.บัณฑติ ศึกษา นางสาววลิ าวลั ย บญุ เพ็ง จนท. สนง.บัณฑติ ศกึ ษา นางสาววารี โศกเตีย้ จนท. การเงนิ -บญั ชี การบริหารงานหลักสูตร ตองมีปจจัยในการบริหารนั้นคือ กำลังคน วัสดุอุปกรณ งบประมาณ และ การบริหารจัดการที่ดี หลักสูตรจึงไดกำหนดแผนการชำระคาธรรมเนียมการศึกษาไวเพ่ือใหนิสิตทราบ และได เตรียมตวั ในการชำระไว ดังน้ี (เฉพาะหลักสูตร ค.ม., ค.ม. พุทธบริหารการศึกษา สวนกลาง) คู่มอื การบรหิ ารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนสิ ิต ๒๔

o แผนการชำระเงนิ คา ธรรมเนียมการศกึ ษา (เฉพาะหลกั สูตร ค.ม., ค.ม. สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร สว นกลาง) • หลักสตู ร ค.ม. สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา (แผน ก ๑)* กำหนดเวลาชำระ ปก ารศกึ ษา ภาคการศึกษา บรรพชิต คฤหสั ถ ๑ - ๓๐ มิ.ย. ภาคที่ ๑ (มิ.ย.-ต.ค.) ๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ พ.ย. ปท ี่ ๑ ภาคที่ ๒ (พ.ย.-มี.ค.) ๓๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ ม.ิ ย. ๑ - ๓๐ พ.ย. ปท่ี ๒ ภาคท่ี ๑ (ม.ิ ย.-ต.ค.) ๒๐,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ ภาคที่ ๒ (พ.ย.-ม.ี ค.) ๒๐,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐ *ทุกภาคเทากนั จนกวา จะจบ ปท ี่ ๓ เปนตน ไป ภาคที่ ๕ รกั ษาสถานภาพ ภาคละ ๕,๐๐๐* รวมทั้งส้ิน* (เฉพาะผูจบตามเวลา) ๑๐๐,๐๐๐ ๑๑๐,๐๐๐ • หลักสูตร ค.ด. สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา (แบบ ๑.๑ และ ๒.๑)* ปก ารศกึ ษา ภาคการศึกษา บรรพชิต คฤหัสถ กำหนดเวลาชำระ ภาคท่ี ๑ (มิ.ย.-ต.ค.) ๗๐,๐๐๐ ๗๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ ม.ิ ย. ปท ่ี ๑ ภาคที่ ๒ (พ.ย.-ม.ี ค.) ๗๐,๐๐๐ ๗๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ พ.ย. ปท ่ี ๒ ภาคที่ ๑ (มิ.ย.-ต.ค.) ๕๕,๐๐๐ ๗๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ มิ.ย. ภาคที่ ๒ (พ.ย.-ม.ี ค.) ๕๕,๐๐๐ ๗๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ พ.ย. ภาคที่ ๑ (มิ.ย.-ต.ค.) ๕๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ มิ.ย. ปท ่ี ๓ ภาคท่ี ๒ (พ.ย.-มี.ค.) ๕๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๑ - ๓๐ พ.ย. ปท ่ี ๔ เปน ตนไป ภาคท่ี ๗ รักษาสถานภาพ ภาคละ ๒๕,๐๐๐* *ทุกภาคเทากนั จนกวาจะจบ รวมทั้งสน้ิ (เฉพาะผูจบตามเวลา) ๓๕๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ *หมายเหตุ ๑. คา ธรรมเนียมนเ้ี ปนคา ธรรมเนียมการศึกษาภาคปกติเทา นน้ั และอาจมกี ารปรบั ขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ ๒. คา ธรรมเนยี มอนื่ ๆ ทจ่ี ะตองชำระตางหากนอกจากคาธรรมเนียมการศกึ ษา ไดแ ก ๒.๑ คาลงทะเบยี นปรบั พ้นื ฐานผูจบไมต รงสาขาท้ัง ป.โท และ ป.เอก วิชาละ ๑,๐๐๐ บาท ๒.๒ คา ลงทะเบยี นสอบวดั คณุ สมบตั ิ (QE) หมวดวชิ าละ ๑,๐๐๐ บาท (เฉพาะ ป.เอก) ๒.๓ คา ลงทะเบยี นสอบวัดความรภู าษาตา งประเทศอ่ืน เชน บาลี วิชาละ ๑,๕๐๐ บาท (เฉพาะ ป.เอก) ๒.๔ คาลงทะเบยี นเรยี นหรอื สอบภาษาอังกฤษ (MCU003, 004, 005, 006) ใชต ามประกาศมหาวิทยาลัย ๒.๕ คาลงทะเบยี นทำวทิ ยานิพนธ (หลังสอบหัวขอและโครงราง) ป.โท และ ป.เอก ๓,๐๐๐ บาท ๒.๖ คาลงทะเบยี นสอบดษุ ฎีพจิ ารณ (Public Hearing) ครงั้ ละ ๓,๐๐๐ บาท (เฉพาะ ป.เอก) ๒.๖ คาลงทะเบยี นสอบปองกันวทิ ยานพิ นธ ป.โท และ ป.เอก ๕,๐๐๐ บาท ๒.๘ คารักษาสถานภาพนิสิต ป.โท ภาคละ ๕,๐๐๐ บาท, ป.เอก ภาคละ ๒๕,๐๐๐ บาท ๓. คา ใชจา ยสวนบุคคลในการศึกษาดูงาน กิจกรรมเสริมหลักสูตร หรืออื่น ๆ นอกจากน้ี จายตามจริงในแตล ะงาน ๔. คาลงทะเบียนบทความวชิ าการในเวทีสาธารณะ จา ยตามขอ กำหนดของแตละวารสารทไี่ ปตพี มิ พ คมู่ ือการบริหารหลักสูตรและบันทกึ กิจกรรมนิสติ ๒๕

การจดั การศกึ ษา มาตรา ๓๑ ระบุวา หลักสูตรการศึกษาที่สภาสถาบันอุดมศึกษาจะอนุมัติเพ่ือใหเปดสอนไดตองมี มาตรฐานไมต่ำกวาขอกำหนดขั้นต่ำดานคุณภาพที่คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด และตอง มุงเนนการพัฒนาคุณภาพของผูเรียน พัฒนาวิชาชีพหรือทักษะอาชีวะชั้นสูง หรือการคนควาวิจัย เพ่ือพัฒนา องคความรแู ละเพือ่ พฒั นาสงั คม สถาบันอุดมศึกษาพึงจัดใหมีหลักสูตรการศึกษาหรือการเรียนการสอนในรูปแบบที่หลากหลายจนถึง ระดับปริญญา ซึ่งอาจเปนการศึกษาแบบชุดการเรียนรู การศึกษาตลอดชีวิต การศึกษานอกเวลางาน เพื่อ พฒั นาศกั ยภาพและทกั ษะการทำงานของบุคคลในทุกชวงวยั มาตรา ๓๒ สถาบันอุดมศึกษาตองใหการศึกษาอยางเต็มท่ีกับผูเรียน โดยมุงพัฒนาใหผูเรียนมีความ เปนเลิศท้ังในดานวิชาการหรือวิชาชีพ และเปนคนดีของสังคม ทั้งตองสรางเสริมผูเรียนใหเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม และมีความรบั ผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศ ใหสถาบันอุดมศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาของสถาบนั อดุ มศึกษา มาตรา ๓๓ เพ่ือเปนการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษา ใหรัฐสนับสนุน ระบบสารสนเทศทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหแกสถาบันอุดมศึกษาทุกแหง ทั้งท่ีเปนของรัฐและเอกชน เพื่อ ความเทา เทยี มในการเขา ถึงสารสนเทศทางการศกึ ษาของสถาบนั อดุ มศึกษา มาตรา ๓๔ สถาบันอุดมศึกษาท้ังของรัฐและของเอกชนอาจรวมมือกันในการจัดการศึกษาการวิจัย และการสรางนวัตกรรม และในดานอื่น ๆ เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ประเทศ ความรว มมือหมายความรวมถึงการใชบุคลากรรวมกัน การรวมกันออกคาใชจายใชทรัพยากรรวมกัน หรอื ความรว มมืออยา งอ่ืน ท้ังนี้ ตามหลกั เกณฑ วิธกี าร และเงอื่ นไขที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๕ สถาบันอุดมศึกษาพึงสรางความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคอตุ สาหกรรมเพื่อสนับสนุนการจดั การเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหผูเรียนไดเ รียนรูโดยการ ปฏิบัติงานจริง และเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ และคุณลักษณะอื่นใหสอดคลองกับความ ตอ งการของประเทศ สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดทำขอตกลงรวมกับหนวยงานตามวรรคหน่ึง ในการจัดหลักสูตรการศึกษา การเรยี นการสอน การวดั และการประเมินผล โดยผเู รยี นใชเวลาสวนหนึ่งในสถาบันอุดมศกึ ษาและอกี สว นหนึ่ง ในสถานประกอบการของหนวยงานดงั กลาว ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง สถาบันอุดมศึกษาอาจอนุญาตใหบุคลากรและผูเรียน ไปปฏบิ ัติงานในหนว ยงานดังกลา วได ตามระเบียบท่ีสภาสถาบนั อุดมศึกษากำหนด มาตรา ๓๖ หนวยงานของรฐั หรอื หนวยงานภาคเอกชนท่ีใหความรวมมอื ในการดำเนินการตามมาตรา ๓๕ อาจไดรับสิทธปิ ระโยชน ดังตอไปนี้ (๑) การสนับสนนุ ดานวิชาการและทรัพยากรตามสมควรแกก รณี (๒) ไดรับการเชิดชูเกียรติ (๓) สิทธิประโยชนทางภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร (๔) สิทธิประโยชนอ่ืนตามท่ี รัฐมนตรีกำหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการอดุ มศึกษา จากหลักการขางตน หลักสูตรจึงไดดำเนินการตามแผนการจัดการศึกษาของหลักสูตร ที่ไดกำหนดไว ในรายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) โดยสรุป ดงั น้ี คูม่ อื การบรหิ ารหลกั สตู รและบันทึกกิจกรรมนสิ ิต ๒๖

o หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา รหสั หลกั สตู ร : ๒๕๔๙๑๘๕๑๑๐๐๑๖๗ ช่ือหลักสูตร : หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา Master of Arts Program in Buddhist Educational Administration ชื่อปรญิ ญาและสาขาวิชา (เต็ม/ยอ, ไทย/องั กฤษ) พทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธบริหารการศึกษา) พธ.ม. (พทุ ธบริหารการศกึ ษา) Master of Arts (Buddhist Educational Administration) M.A. (Buddhist Educational Administration) วัตถปุ ระสงคข องหลักสูตร เพื่อผลติ มหาบัณฑติ ๑. ใหเปนผูมีความรูและเขาใจศาสตรดานบริหารการศึกษาอยางกวางขวาง มีวิสัยทัศนกวางไกล มี ความคิดริเร่มิ สรางสรรค และมีภาวะผนู ำในทางวชิ าการ ๒. ใหเปนผูมีความสามารถในการใชงาน และพัฒนานวัตกรรมการบริหารการศึกษา การวิจัย และ สรางสรรองคความรูใ หมๆ ทเี่ หมาะกับภาระงานหรือบริการแกส งั คม ๓. ใหสามารถบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการบริหารการศึกษาอยางเหมาะสม เปนผูมีความรูคู คณุ ธรรม รเู ทา ทนั สถานการณ และดำรงตนอยูใ นสงั คมอยางมคี วามสุข โครงสรางหลกั สูตร หมวดวิชา แผน ก แบบ ก ๒* ๑. หมวดวิชาบังคับ ๙ (๓) ๑) นับหนว ยกิต ๒๑ ๒) ไมน ับหนวยกติ (๓) ๒. หมวดวชิ าเอก ๑๒ ๓. หมวดวิชาเลอื ก ๔๒ ๔. วิทยานิพนธ หนวยกติ ตลอดหลกั สตู ร คมู่ ือการบริหารหลกั สูตรและบันทึกกจิ กรรมนสิ ติ ๒๗

แผนการจัดการศกึ ษา ๖๑๐ ๒๐๑ รายวชิ าและกิจกรรม ภาคการศกึ ษา ๖๑๐ ๑๐๒ การพฒั นาวิชาชพี ทางการศกึ ษา ๖๑๐ ๒๐๒ ระเบยี บวธิ ีการวจิ ัยทางพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๓ ภาค ๔ ๖๑๐ ๑๐๓ ภาวะผนู ำทางการศึกษา กจิ กรรม : นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารบรหิ ารโรงเรยี นวถิ พี ุทธ มิ.ย.- ๖๑๐ ๒๐๓ ปฐมนเิ ทศ, ไหวครู, สมั มนา, กรรมฐาน..................... ต.ค. ๖๑๐ ๒๐๔ นโยบายและหลักการบริหารการศึกษา ๖๑๐ ๒๐๕ การพฒั นาหลักสูตรและสงเสรมิ คุณภาพการศึกษา พ.ย.- ๖๑๐ ๒๐๖ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ม.ี ค. กจิ กรรม : คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๖๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน, ศึกษาดูงาน, กำหนดหวั ขอ /โครงราง, ม.ิ ย.- ๖๑๐ ๓๐๒ สอบหวั ขอ และโครงราง (๓ บท).............................. ต.ค. ๖๑๐ ๑๐๑ กรรมฐาน* ๖๑๐ ๒๐๗ พน้ื ฐานภาษาบาลี พ.ย.- กจิ กรรม : สัมมนากิจกรรมการเรียนรเู ชิงพทุ ธบรู ณาการ มี.ค. XXX XXX การฝกปฏิบตั กิ ารวิชาชีพบรหิ ารการศึกษา ๖๑๐ ๔๐๐ สมั มนา, ฝกปฏิบตั กิ ารวิชาชพี ฯ, ดำเนินการวิจยั , กจิ กรรม : วิเคราะหข อมลู , สรุปผลการศกึ ษา........................... วชิ าเลอื ก หรอื วิชาเสรมิ ทบ่ี ัณฑิตวิทยาลัยกำหนด วทิ ยานพิ นธ (Thesis)* กรรมฐาน, MCU003-004, สอบปองกนั , บทความวจิ ัย, สง รายงานฉบับสมบูรณ.................... แผนการทำวิทยานพิ นธของนิสิต ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๓ ภาค ๔ กจิ กรรม มยิ -ตค พย-มคี มิย-ตค พย-มคี ๑. กำหนดหัวขอและโครงรางวิทยานิพนธ ๒. สอบโครงรางวทิ ยานิพนธ (๓ บท) ๓. ดำเนินการวจิ ัย, วิเคราะหข อมลู , สรปุ ผลการศกึ ษา ๔. สอบปอ งกันวิทยานิพนธ (ภายใน ๑๕ มี.ค.) ๕. เสนอบทความวจิ ัย (ภายใน ๓๑ ม.ี ค.) ๖. สง รายงานฉบบั สมบูรณ (ภายใน ๓๑ ม.ี ค.) เกณฑก ารสำเรจ็ การศึกษา ๑) ศึกษารายวชิ าครบ ๒) ปฏิบัตกิ ารวิชาชพี ๙๐ ชม. ๓) อังกฤษ MCU 003-004 ๔) กรรมฐาน ครบ ๓๐ วนั ๕) สอบปองกันวิทยานิพนธ ๖) เสนอบทความวชิ าการ/วิจัย คู่มือการบริหารหลกั สูตรและบันทึกกิจกรรมนสิ ติ ๒๘

o หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎบี ัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา รหสั หลกั สตู ร : ๒๕๕๔๑๘๕๑๑๐๒๑๗๖ ชอื่ หลกั สตู ร : หลักสตู รพุทธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา Doctor of Philosophy Program in Buddhist Educational Administration ช่ือปริญญาและสาขาวิชา (เตม็ /ยอ, ไทย/อังกฤษ) พุทธศาสตรดุษฎบี ัณฑติ (พทุ ธบริหารการศกึ ษา) พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) Doctor of Philosophy (Buddhist Educational Administration) Ph.D. (Buddhist Educational Administration) วัตถปุ ระสงคของหลักสตู ร เพอื่ ผลติ ดษุ ฎีบัณฑติ ๑. เพื่อผลิตพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต ใหมีความรูความเขาใจวิชาการทางพระพุทธศาสนาประยุกตเขา กับวิชาการแหงการบรหิ ารการศกึ ษา พรอ มกับบูรณาการกบั ศาสตรส มัยใหมไ ดอยางกลมกลืน ๒. เพ่ือผลิตพทุ ธศาสตรดุษฎีบัณฑิต ใหนาความรูในวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ไปประยกุ ตใชใ นการ บริหารการศึกษาและเนนถึงความรูคูคุณธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา มีความลึกซ้ึงดานจิตภาวนา สุข สงบ เยือกเย็น แจมใส ใฝรู สรางสรรค และมีวิสัยทัศนกวางไกล มีความเพียบพรอม เปนตนแบบหรือตัวอยางที่ดี ใหแกสังคม ๓. เพ่ือผลิตพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต ใหมีความรูความสามารถในการสังเคราะหขอมูลวิเคราะห วิจัย จดั ระบบ และประเมินผลขอมูลจนเกิดองคความรูใหม เพื่อความเจริญกาวหนาทางวิชาการพระพุทธศาสนาท่ี บูรณาการเขากบั วิชาการทางดา นการบรหิ ารการศึกษา ตลอดจนพฒั นาสังคมและประเทศชาติ โครงสรา งหลกั สูตร หมวดวชิ า แบบ ๑.๑ แบบ ๒.๑ ๑. หมวดวิชาบงั คบั - ๙ ๑.๑ นบั หนวยกติ (๒๔) (๙) ๑.๒ ไมน บั หนวยกิต ๙ ๒. หมวดวิชาเอก - ๖ ๓. หมวดวชิ าเลอื ก - ๓๖ ๔. ดษุ ฎีนพิ นธ ๖๐ ๖๐ ๖๐ หนวยกิตตลอดหลักสตู ร คมู่ อื การบรหิ ารหลกั สตู รและบันทกึ กจิ กรรมนิสิต ๒๙

แผนการจัดการศึกษา หลักสตู ร แบบ ๑.๑ รายวิชาและกิจกรรม ภาคการศกึ ษา ๘๐๖ ๑๐๓ สมั มนากลยทุ ธการพฒั นาคณุ ภาพทางการบรหิ าร ๑ ๒๓๔๕ ๖ การศึกษาเชิงพุทธ มิย- ๘๐๖ ๒๐๘ สมั มนาการบริหารและการนำสถานศึกษาสูความสำเรจ็ ตค ๘๐๖ ๑๐๑ สมั มนาภาษาอังกฤษสำหรับบรหิ ารการศึกษา ๘๐๖ ๑๐๒ สัมมนาวิธวี ิจัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา กจิ กรรม ปฐมนเิ ทศ, ไหวครู, ปฏบิ ัติธรรม ๘๐๖ ๑๐๔ สมั มนาการศกึ ษาคณะสงฆกบั การบรหิ ารการศึกษา พย- ๘๐๖ ๒๐๖ สมั มนาพุทธวธิ ีการบริหารการศึกษา มคี ๘๐๖ ๒๐๗ สมั มนาการบริหารทรพั ยากรทางการการศึกษา ๘๐๖ ๒๐๕ สัมมนากรรมฐาน กิจกรรม ศกึ ษาดูงาน, ปฏิบัตธิ รรม ๘๐๐ ๒๐๐ ดุษฎนี พิ นธ มิย- กจิ กรรม สอบวดั คุณสมบตั ิ, MCU 005, MCU 006 ตค สอบกำหนดหัวขอและโครงราง พย- สอบหวั ขอและโครงราง (๓ บท) มคี ๘๐๐ ๒๐๐ ดษุ ฎีนิพนธ กิจกรรม วิเคราะหขอมูล สัมมนากลุม ยอย เรียนภาษาบาลี มยิ - ๘๐๐ ๒๐๐ ดษุ ฎีนิพนธ ตค กจิ กรรม สอบดษุ ฎีนิพนธพิจารณ, ลงตีพิมพบทความวชิ าการ จำนวน ๒ เรอ่ื ง พย- ๘๐๐ ๒๐๐ ดษุ ฎนี ิพนธ มีค กิจกรรม ลงตีพมิ พบทความวจิ ยั TCI ฐาน ๑ จำนวน ๒ เรือ่ ง, สอบปองกันดษุ ฎีนิพนธ เกณฑก ารสำเร็จการศึกษา ๑) ศกึ ษาครบทุกรายวชิ า ๒) สอบผานวัดคณุ สมบัติ (QE) ๓) สอบผานภาษาอังกฤษและ ภาษาตา งประเทศอกี ๑ ภาษา ๔) ไดร บั การตีพิมพบ ทความวิชาการ จำนวน ๓ เร่อื ง ๕) เขา รวมประชมุ สัมมนา หรือกจิ กรรมทางวิชาการไมนอยกวา ๗ ครงั้ ๖) ไดร ับการตีพิมพบ ทความ วจิ ยั ฐาน TCI จำนวน ๑ เร่อื ง ๗) สอบปอ งกนั ดุษฎนี ิพนธ ๘) กรรมฐานครบ ๔๕ วัน ๙) เกณฑอนื่ ๆ ตามท่มี หาวิทยาลัยกำหนด คมู่ อื การบรหิ ารหลกั สตู รและบันทึกกจิ กรรมนสิ ิต ๓๐

แผนการจดั การศึกษา หลักสตู ร แบบ ๒.๑ ภาคการศึกษา ๖ ๑๒๓๔๕ รายวิชาและกิจกรรม ๘๐๖ ๑๑๒ กลยทุ ธการพฒั นาคณุ ภาพทางการบรหิ าร มิย- ตค การศกึ ษาเชิงพุทธ ๘๐๖ ๑๐๙ ภาษาองั กฤษสำหรับบรหิ ารการศกึ ษา ๘๐๖ ๑๑๐ วธิ วี จิ ัยทางการบริหารการศึกษา ๘๐๖ ๒๑๖ การบริหารและการนำสถานศึกษาสูความสำเร็จ กจิ กรรม ปฐมนเิ ทศ, ไหวคร,ู ปฏบิ ตั ธิ รรม ๘๐๖ ๒๑๓ การศึกษาคณะสงฆกับการบริหารการศึกษา พย- ๘๐๖ ๒๑๔ พทุ ธวธิ กี ารบริหารการศกึ ษา มีค ๘๐๐ ๒๑๑ กรรมฐาน ๘๐๖ ๒๑๕ การบรหิ ารทรัพยากรทางการบรหิ ารการศกึ ษา กิจกรรม ศกึ ษาดงู าน, ปฏบิ ัตธิ รรม, ฝก ปฏิบัติการวิชาชีพ ๘๐๖ ๓๑๗ ปฏบิ ตั กิ ารวิชาชพี ทางการบรหิ ารการศกึ ษา มิย- ๘๐๖ ๓๑๙ การพฒั นาเคา โครงวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา ตค ๘๐๖ ๓๒๐ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ พย- บรหิ ารการศึกษา มีค ๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ กิจกรรม MCU 005-MCU 006, เรยี นภาษาตา งประเทศ (บาล)ี , ฝก ปฏิบตั กิ ารวชิ าชีพ ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎนี ิพนธ กิจกรรม สอบวัดคุณสมบตั ิ, กำหนดหัวขอ และโครงราง, สอบหวั ขอ และโครงรา ง (๓ บท), วเิ คราะหขอมลู , สมั มนากลมุ ยอย ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎนี พิ นธ มิย- กจิ กรรม ลงตีพิมพบ ทความวชิ าการ จำนวน ๓ เรือ่ ง, ตค สอบดุษฎีนิพนธพิจารณ ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎนี พิ นธ พย- กจิ กรรม ลงตีพิมพบ ทความวิจัย TCI ฐาน ๑ จำนวน ๑ เรอ่ื ง มีค สอบปอ งกนั ดุษฎีนิพนธ หลักเกณฑก ารสำเร็จการศึกษา ๑) ศกึ ษาครบทกุ รายวิชา ๒) สอบผานการสอบวดั คณุ สมบัติ (QE) ๓) สอบผาน ภาษาอังกฤษ และภาษาตางประเทศอกี ๑ ภาษา ๔) ไดร บั การตพี มิ พบ ทความวชิ าการ จำนวน ๓ เรอ่ื ง ๕) เขา รวมประชุม สมั มนา หรอื กจิ กรรมทางวิชาการไมนอยกวา ๑๐ ครง้ั ๖) ไดรับการตพี มิ พบทความวจิ ยั ฐาน TCI จำนวน ๑ เรื่อง ๗) สอบ ปองกันดุษฎนี ิพนธ ๘) กรรมฐานครบ ๔๕ วนั ๙) เกณฑอ ื่น ๆ ตามทม่ี หาวทิ ยาลยั กำหนด คมู่ อื การบรหิ ารหลกั สูตรและบันทกึ กิจกรรมนิสติ ๓๑

o พันธสัญญาของผสู มัครเขา ศึกษา พนั ธสัญญาของผสู มัครเขา ศกึ ษา หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศึกษา คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ***************** ขา พเจา...........................................................................ไดส มัครเขาศึกษาในหลกั สูตร............................. สาขาวชิ า...................................................ภาคการศึกษาที่..............ปก ารศกึ ษา..................... โดยท่ีขาพเจาได ทราบเงอื่ นไขการปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑของหลกั สูตรแล วา ดังน้ี ๑. ปฏิบตั ิตามแผนการศึกษาทหี่ ลกั สูตรจดั ใหแตละภาคการศึกษา โดยไมมขี อ ขดั ขอ งใด ๆ ๒. ชำระคาเลา เรียนและคาธรรมเนียมการศึกษาแตละภาคการศึกษา ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด โดยไมม ขี อขัดของใด ๆ ๓. เขาศึกษาตามตารางเรยี น เวลา และสถานที่ท่หี ลักสูตรกำหนด โดยไมม ีขอ ขดั ของใด ๆ ๔. เขารวมการปฐมนิเทศนิสิตใหม และกิจกรรมทางวิชาการ การอบรม สัมมนา ท่ีหลักสูตรหรือ มหาวิทยาลัยจัดขึ้น เพ่ือการศึกษาหรือเสริมสรางความรูและประสบการณในสาขาวิชา โดยความสมัครใจ ไม นอยกวาภาคการศกึ ษาละ ๑ คร้ัง ๕. เขารวมและปฏิบัติตามเงื่อนไขของกิจกรรมและโครงการสัมมนา หรือศึกษาดูงานนอกสถานที่ท้ัง ภายในและตางประเทศที่หลักสูตรจัดขึ้น เพ่ือการศึกษาและเสริมสรางประสบการณในสาขาวิชา โดยไมมี ขอขดั ของใด ๆ ๖. ปฏิบัติตามระบบการศึกษาของหลักสูตร กลาวคือ การเรียนการสอนปกติ การสัมมนา ศึกษาดูงาน การวัดผล กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร การสอบวดั คณุ สมบัติ (QE) โดยไมมขี อขัดของใด ๆ ๗. ปฏิบตั ิตามระบบการทำวิจยั ของหลกั สตู ร กลาวคือ การกำหนดหวั ขอและโครงรางวทิ ยานพิ นธ/ดุษฎี นิพนธ การสอบ ๓ บท การสอบประชาพิจารณ การสอบปองกัน การเขียนบทความวิชาการเพ่ือตีพิมพใน วารสาร โดยไมม ขี อขัดขอ งใด ๆ ๘. สอบวดั คณุ สมบตั ภิ าษาตางประเทศ โดยไมมขี อ ขัดของใด ๆ ๙. ฝกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษาและบริหารสถานศึกษา ตามแผนที่เลือกศึกษา และเปนไป หลกั เกณฑทห่ี ลักสตู รกำหนด โดยไมมขี อ ขัดของใด ๆ ๑๐. ปฏบิ ัติกรรมฐานครบ ๓๐ วัน สำหรับระดบั ปรญิ ญาโท และครบ ๔๕ วัน สำหรบั ระดบั ปรญิ ญาเอก ซ่งึ เปน สวนหนึง่ ในการจัดการศกึ ษาของหลกั สูตร ๑๑. ศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามระบบและหลักเกณฑตาง ๆ ของหลกั สตู ร และเงอ่ื นไขการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลยั อยางครบถว นสมบรู ณจนกวาจะสำเร็จการศึกษาอยางมีคุณภาพ ขา พเจายินดีปฏิบัติตามพันธสัญญาของหลักสูตรตามรายละเอียดที่ไดตกลงไว ณ เบื้องตนโดยเครงครัด และไมมขี อขัดขอ งใด ๆ ลงชือ่ ………………………………………ผสู มคั ร (..................................................) .........../............./........... คู่มือการบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกิจกรรมนสิ ิต ๓๒

o แนวปฏิบตั สิ ำหรบั การเขาชนั้ เรียน เพ่ือใหการเรียนการสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวทิ ยาลัย เปน ไปดวยความเรียบรอย จึงออกแนวปฏิบัติสำหรับการเขาเรยี นในชนั้ เรียนของนสิ ิต ดังตอไปนี้ ๑. การเขาเปนนสิ ิตและการบริหารชนั้ เรียน ๑.๑ กอนการเปดการเรียนการสอน นิสิตตองดำเนินการเก่ียวกับระบบงานทะเบียน และชำระ คา ธรรมเนียมการศกึ ษาตามระเบยี บหลักสตู รใหเ รยี บรอ ยกอน ๑.๒ ใหมีการบริหารชั้นเรียน โดยเลือกหรือตั้งบุคคลหรือคณะทำงานประกอบดวย ประธาน รอง ประธาน เลขานุการ วิชาการ สื่อและเทคนิคการศึกษา สวัสดิการ ประชาสัมพันธ หรือช่ืออยางอ่ืนที่มีความ เหมาะสมและจำเปน ตอการบริหารช้ันเรียน ๑.๓ ใหมีระบบบริการ ชวยเหลือ ติดตอประสานงานกันภายในกลุม เชน กลุมไลน กลุมเฟซบุก หรือ ชองทางอนื่ ๆ ที่ติดตอ กันไดโดยสะดวก ๒. การแตงกายของนิสิต ๒.๑ นิสติ บรรพชติ ใหน ุง หมเรียบรอยตามหลกั เสขยิ วตั รของสงฆ ๒.๒ นิสิตคฤหสั ถ ใหแตงกายสุภาพ เรียบรอ ย ไมสวมกางเกงบลูยนี ส หรือกางเกงขาส้ันแบบสามสวน ขนึ้ ไป หรอื กางเกงทมี ีสีสันฉดู ฉาดหรอื แบบไมส ภุ าพ ๒.๓ หามใสเสื้อยืดแขนกุด หรือเส้ือผาบาง หรือรัดรูปจนเกินไป กรณีใสเสื้อยืดคอกลมใหสวมเสื้อสูท หรอื แจค็ เก็ต หรอื เสื้อตรา มจร ทบั ๓. การลงช่ือเขา ช้ันเรยี น ๓.๑ นิสติ ตอ งมาเขา ช้นั เรียนกอนหรอื ตรงตามเวลาท่ีกำหนดในการบรรยาย ๓.๒ ใหนสิ ิตเซน็ ตช อื่ ทุกครั้งที่เขา เรียนในแตล ะวันและแตล ะรายวิชา ๓.๓ หามนิสิตเซ็นตช ื่อแทนกนั หากผใู ดละเมิดอาจถูกตัดสิทธิ์การสอบรายวิชาน้ัน ๔. การจดั ทีน่ ั่งในหองเรียน ๔.๑ นิสิตบรรพชิต ใหน่ังเกาอ้ีซีกดานในของหอง โดยเริ่มต้ังแตแถวหนาหองไป นิสิตคฤหัสถใหน่ัง เกา อี้ซีกดานนอกของหอง โดยเร่ิมต้ังแตแ ถวหนา ไป เชนเดียวกนั ๔.๒ นิสิตบรรพชิต ไมควรนั่งคละ หรือน่ังดานหลังของนิสิตคฤหัสถ เวนแตมาเขาชั้นเรียนภายหลังท่ี นสิ ติ อนื่ ๆ นั่งเรยี บรอ ยแลว ๕. การสวดมนตกอนเรยี น ๕.๑ ใหมีการสวดมนตประจำวันทุกวันกอนการเรียนการสอน เมื่อสมาชิกพรอมเพรียงกันใหเริ่มสวด ได โดยไมตองรอเพอ่ื นมาครบหรอื อาจารยเขา บรรยาย คมู่ ือการบริหารหลกั สตู รและบันทึกกิจกรรมนสิ ิต ๓๓

๕.๒ การสวดมนตใหเ ร่มิ จาก (๑) บูชาพระรัตนตรัย (อรหํ สมฺมา...) การสรรเสริญพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ (นโม ๓ จบ, อติ ปิ โ ส ภควา...) (๒) สวดมนตบทใดบทหน่ึงที่มีความยาวพอประมาณ และเปนการเสริมสรางสติปญญา เขาใจ งาย และนำไปสูการปฏิบัติได เชน โอวาทปาฏิโมกขคาถา (สพฺพปาปสฺส อกรณํ...) ชยสิทธิคาถา (พาหุง...) มงคลสตู ร (อเสนา...) (๓) ทำสมาธิเพื่อเจรญิ สติ เวลา ๕-๑๐ นาที หรอื อยใู นเวลาทเ่ี หมาะสม และ (๔) แผเ มตตาและอทุ ศิ สวนกุศลแกสรรพสัตว ๖. การทำความเคารพอาจารย ๖.๑ อาจารยผูบรรยายเปนบรรพชิต ใหน ิสิตทุกรูป/คน ลุกข้ึนยืนประนมมือแลวพรอมกันกลาวคำวา “นมัสการพระอาจารยครับ-คะ ” ๖.๒ อาจารยผูบรรยายเปนคฤหัสถ เมื่ออาจารยถึงพรอมแลว ใหนิสิตบรรพชิตน่ังโดยอาการสำรวม แลวกลาวคำวา “ขอเจริญพรอาจารย” พรอ มกนั ๖.๓ หลังจากนิสิตบรรพชิตกลาวเสร็จ ใหประธานนิสิตคฤหัสถ หรือผูแทน หรือผูอาวุโสในช้ันเรียน กลาวคำวา “นิสิตทุกคนแสดงความเคารพอาจารย” นสิ ิตคฤหัสถยืนข้ึนแลวกลาวพรอ มกันวา “สวัสดีครับ-คะ อาจารย” เมือ่ เสรจ็ สนิ้ การบรรยาย ใหน สิ ติ คฤหสั ถย นื ขน้ึ แลวกลา วพรอมกนั วา “ขอบคุณครบั -คะ อาจารย” ๗. การปฏบิ ตั ติ นขณะกำลงั เรยี นในช้นั เรยี น ๗.๑ นิสติ ตองมีความเคารพตอการศึกษา ตอผูใหความรู และสถานศึกษาตามความเหมาะสม (สิกขา คารวตา) อันเปน หลักพื้นฐานการเรียนรตู ามวถิ พี ทุ ธ ๗.๒ หามลุกเดินไปมา หรือเดินเขา-ออก หรือพูดเสียงดัง หรือกระทำการใด ๆ อันเปนการรบกวน สมาธิของผอู ่นื ในขณะท่อี าจารยกำลังบรรยาย ๗.๓ ถาจำเปน ตองออกไปทำธุระนอกหองเรียน ตองขออนุญาตกับอาจารยกอน ๗.๔ ถาเขาเรียนชาเกินกวา ๓๐ นาที ใหถือเปนการขาดเรียน หรืออาจไมอนุญาตใหเขาหองเรียนใน กรณีที่อาจารยเขา บรรยายหรือเขา สอนเกิน ๓๐ นาทีแลว ๗.๕ หา มเปด โทรศพั ทมอื ถือ ถา เปด ใหใ ชระบบที่ไมม ีเสียงดงั ในขณะเรยี น ๗.๖ กรณีจำเปนอยางยิ่งตองรับโทรศัพท ใหออกไปรับนอกหองเรียน โดยไมสงเสียงดังรบกวนการ เรียนการสอน ๗.๗ หามเปดเคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคลในขณะกำลังเรียน ยกเวนกรณีท่ีตองใชประกอบ การศึกษาคนควา วิชาท่กี ำลังเรยี นอยู โดยตอ งไดรบั อนุญาตจากอาจารยผ ูบ รรยายเทา นน้ั ๗.๘ ใหนิสิตแสดงออกดานวิชาการ สอบถาม ซักถาม ถามตอบ แลกเปลี่ยนเรียนรู หรือทำกิจกรรมการ เรียนรอู ยา งสรา งสรรค เพ่ือใหเขาถึงองคค วามรใู นศาสตรน ้ัน ๆ อยางแทจรงิ ๘. การจบการเรยี นในช้นั เรียน ๘.๑ ไหวพระ (อรหํ สมมฺ า...) กอนแยกยา ยจากกนั อันเปนประเพณขี องสถาบันแหงนี้ ค่มู ือการบรหิ ารหลักสตู รและบันทึกกจิ กรรมนสิ ิต ๓๔

๘.๒ ใหชวยกันเก็บเอกสาร รายงาน อุปกรณ หรืองานสั่งจากอาจารยหรือหลักสูตร เพ่ือนำสงคืน หรือเพอ่ื ใชใ นการเรยี นครัง้ ตอไป ๘.๓ ใหชวยกันปดไฟฟา แอรคอนดิช่ัน โปรเจคเตอร เครื่องขยายเสียง คอมพิวเตอร หรืออุปกรณ อื่นๆ ใหอ ยูในสภาพเรียบรอ ย กอนออกจากหองเรยี น o เพลง มารช ครศุ าสตร มจร ช.ศรนี อก ประพันธ *ครศุ าสตรภ มู ิใจในศกั ด์ิศรี บารมีพุทธธรรมนำศึกษา สถาบันเดน สกาวยาวนานมา สรา งสรรคชาวประชาเปนคนดี ชมพูพราวเพริศเจดิ จรสั สงบสงดั ศรทั ธารักเปน สักขี พระปยมหาราชแหง วงศจักรี ภบู ดีสรา งสรรคในทางธรรม ครุศาสตร มจร. นามพอน้ี ผลติ คนดสี ืบสานงานฉนำ พัฒนาสงั คมนิยมธรรม กาวนำตามบาทพระศาสดา นี่คือถิ่นธรรมนอมนำจติ มวลนสิ ิตเปนทายาทศาสนา ออกสอนโรงเรียนนานา เสริมศรัทธาแมพมิ พมง่ิ มงคล สื่อการสอนกรรมฐานผลงานเดน ครเุ ปน คุณครูอยูทุกหน จริยนำทางสรางกมล บริหารนำตนมเี กียรติงาม....(ดนตร)ี **รวมความรักสามัคคีเปน พ่นี อง รว มปรองดองไทยอังกฤษสงั คมสาม ครศุ าสตรส รางครดู ีคอื นิยาม รวมเปนนาม มจร. แหงพอเรา ***รวมเปน นาม มจร. แหง พอเรา รวมเปน นาม มจร. แหงพอ เรา รวมเปน นาม มจร. แหงพอเรา. *,** (ซำ้ ), *** ยำ้ สรปุ คู่มอื การบรหิ ารหลกั สูตรและบันทึกกิจกรรมนสิ ติ ๓๕

o การสวดมนตกอนเรียน การสวดมนต หมายถงึ การทองบน สาธยายบทสวดเปนทำนองมนต ซ่ึงเปนคำภาษาบาลีทีเ่ ปน คำสอน ของพระ พุทธเจา จากพระไตรปฎ กโดยตรง อกี สวนหนึง่ เปนบททอ่ี าจารยท้งั หลายแตงข้นึ เพือ่ ใชสวดสรรเสริญ คณุ ของพระรัตนะตรยั และเพ่อื ปดเปาทุกขภยั หรือเพอ่ื ความเปนศริ มิ งคลแกบุคคลและสถานที่ เพ่ือเปนการปรับสมดุลกาย วาจา ใจ ใหเกิดสติ สมาธิ ปญญา ทั้งเปนวัฒนธรรมองคกรอันดีงามที่ได ปฏิบัติกันมาชานาน หลักสูตรจึงกำหนดใหมีการสวดมนต ทำสมาธิ และแผเมตตากอนเรียนหรือปฏิบัติงาน ตา งๆ มขี ้ันตอน ดงั น้ี ๑. บชู าพระรตั นตรยั ใหส วดบูชาพระรัตนตรยั กอ น ดงั นี้ อะระหัง สัมมาสมั พุทโธ ภะคะวา, พุทธงั ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ สว๎ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมงั นะมัสสามิ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงั ฆงั นะมามิ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนตุ ตะโร ปรุ ิสะทมั มะสาระถิ สตั ถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาตฯิ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญหู ีตฯิ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อญั ชะลกี ะระณโี ย อะนุตตะรัง ปุญญกั เขตตัง โลกสั สาตฯิ ๒. สวดมนตบทพเิ ศษ ใหเลือกบทสวดมนตที่กระทัดรัด ไมใชเวลามาก แตเปนหลักการสำคัญทางพุทธศาสนา เชน ชยสิทธิ คาถา มงคลสตู ร ธัมมจกั กัปปวตั ตนสูตร อาทติ ตปรยิ ายสูตร อนัตตลกั ขณสตู ร ในท่ีนีจ่ ะใชบ ท โอวาทปาตโิ มกข คาถา เปนตวั อยา ง ดังนี้ (หัวหนา นำ) หนั ทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส. สพั พะปาปสสะ อะกะระณงั การไมทำบาปทัง้ ปวง กสุ ะลสั สูปะสมั ปะทา การทำกศุ ลใหถ งึ พรอม สะจิตตะปะรโิ ยทะปะนงั การชำระจติ ของตนใหขาวรอบ เอตงั พุทธานะ สาสะนัง ธรรม ๓ อยางนีเ้ ปน คำสัง่ สอนของพระพทุ ธเจา ทง้ั หลาย ขันตี ปะระมงั ตะโป ตีติกขา ขันติ คือความอดกลั้น เปนธรรมเครอ่ื งเผากิเลสอยา งยง่ิ นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พทุ ธา ผรู ูทัง้ หลายกลาววา นพิ พานเปน ธรรมอนั ย่ิง คู่มอื การบริหารหลกั สตู รและบันทึกกิจกรรมนสิ ิต ๓๖

นะ หิ ปพพะชิโต ปะรปู ะฆาตี ผกู ำจัดสัตวอ ่ืนอยูไมชือ่ วา เปนบรรพชิตเลย สะมะโณ โหติ ปะรงั วเิ หฐะยันโต ผูทำสัตวอ ื่นใหล ำบากอยไู มช อื่ วาเปนสมณะเลย อะนูปะวาโท อะนปู ะฆาโต การไมพดู ราย, การไมทำรา ย ปาติโมกเข จะ สงั วะโร การสำรวมในปาตโิ มกข มตั ตญั ุตา จะ ภตั ตสั ม๎ ิง ความเปน ผรู ปู ระมาณในการบรโิ ภค ปนตญั จะ สะยะนาสะนัง การนอนการนง่ั ในทีอ่ ันสงัด อะธจิ ติ เต จะ อาโยโค ความหม่ันประกอบในการทำจติ ใหยิง่ เอตัง พุทธานะ สาสะนัง ธรรม ๖ อยางนี้ เปนคำสงั่ สอนของพระพุทธเจา ท้งั หลาย ๓. บรหิ ารจติ และเจริญสติ (ทำสมาธิ) ชวี ิตมนุษยมี ๒ สวน คือกายและใจ หรือรปู นาม ผูท่ีจะอยางเปนสุขตองรูจกั ปรับกายและจิตใหสมดุล ดวยการบรหิ ารจิตและเจรญิ สติ รว มกันทำสมาธิ ๕ - ๑๐ นาที หรอื ในเวลาทเ่ี หมาะสม ๔. แผเ มตตาและอุทศิ สวนกศุ ลแกสรรพสตั ว สพั เพ สตั ตา สัตวทั้งหลายท้งั ปวง ท่ีเปนเพอื่ นทกุ ข เกดิ แกเจบ็ ตาย ดว ยกนั ทงั้ หมดทง้ั ส้ิน อะเวรา โหนตุ จงเปน สขุ ๆ เถิด อยาไดม เี วรแกกนั และกันเลย อัพยาปช ฌา โหนตุ จงเปนสขุ ๆ เถิด อยา ไดเ บยี ดเบียนซง่ึ กนั และกนั เลย อะนฆี า โหนตุ จงเปน สขุ ๆ เถิด อยา ไดม ีความทกุ ขก ายทกุ ขใ จเลย สขุ ี อัตตานงั ปะรหิ ะรนั ตุ จงมคี วามสุขกายสุขใจ รกั ษาตนใหพนจากทกุ ขภ ยั ทั้งสนิ้ เถิด คำอทุ ศิ สวนกุศล อิทัง เม มาตาปตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปตะโร ขอสวนบุญน้ีจงสำเร็จแกมารดา บิดาของ ขา พเจา ขอใหมารดา บดิ าของขา พเจามคี วามสุข อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอสวนบุญน้ีจงสำเร็จแกญาติท้ังหลาย ของขาพเจา ขอใหญ าติทง้ั หลาย ของขา พเจามคี วามสุข อิทัง เม คุรูปชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปชฌายาจริยา ขอสวนบุญน้ีจงสำเร็จ แกครู อปุ ชฌายอาจารยของขา พเจา ขอใหค รูอุปชฌายอ าจารยข องขา พเจามีความสุข อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี ขอสวนบุญน้ีจงสำเร็จแกเจากรรมนายเวรท้ังหลาย ทงั้ ปวง ขอใหเ จากรรมนายเวรทง้ั หลายทั้งปวงมีความสุข อทิ ัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สขุ ิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา ขอสวนบุญน้ีจงสำเรจ็ แกสัตวทั้งหลายทงั้ ปวง ขอใหส ัตวท้งั หลายท้ังปวง มคี วามสุขท่ัวหนากันเทอญ คู่มอื การบริหารหลกั สูตรและบันทกึ กจิ กรรมนิสิต ๓๗

การวิจัยและการสรา้ งนวตั กรรม มาตรา ๓๗ ระบุวา การวิจัยและการสรางนวัตกรรมจะตองสอดคลองกับความตองการและความ จำเปนของประเทศ เพ่ือนำไปใชในการพัฒนาและแกปญหาของประเทศไดอยางเปนรูปธรรมและเพ่ือความ เจริญงอกงามทางวิชาการ และตองสอดคลองกับแนวทางที่สภานโยบายและคณะกรรมการสงเสริม วทิ ยาศาสตรวิจยั และนวัตกรรมกำหนด รฐั มีหนา ที่ในการสง เสรมิ การศกึ ษาวิจัยตามวรรคหนึ่งใหเปนไปเพื่อการสรา งความรูและนวตั กรรมเพื่อ ใชใ นการพฒั นาชมุ ชน สงั คม และประเทศ มาตรา ๓๘ ใหสถาบันอุดมศึกษาใหความรวมมือในการจัดทำฐานขอมูลดานวิทยาศาสตรวิจัยและ นวตั กรรมของประเทศ มาตรา ๓๙ เพื่อสงเสริมใหมีการนำผลการวิจัยและนวัตกรรมของสถาบันอุดมศึกษาไปใชประโยชน สถาบันอุดมศึกษาพึงสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในดานการวิจัยและการสรางนวัตกรรมการบริหารการวิจัย การแลกเปล่ียนบุคลากร การจัดตั้งกลุมวิจัยรวม การแปลงผลงานวิจัยใหเปนรูปธรรมระหวาง สถาบันอุดมศึกษากับองคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานอ่ืนของรัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมทั้งใน ประเทศและตางประเทศ สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดต้ังนิติบุคคลหรือรวมลงทุนกับหนวยงานของรัฐหรือเอกชน โดยมี วัตถปุ ระสงคเพ่ือนำผลการวิจัยและนวตั กรรมของสถาบันอดุ มศึกษาไปใชป ระโยชนก็ได o ประเด็นในการศึกษา คน ควา วจิ ัย หลักสูตรกำไดหนดประเด็นสำหรับการศึกษา คนควา วิจัย ท่ีมีความสอดคลองกับสาขาวิชา หรือ ประเด็นท่ีเปนไปเพื่อการสรางความรูและนวัตกรรมเพื่อใชในการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศ สามารถ นำไปใชในการพัฒนาและแกปญหาของประเทศไดอยางเปน รปู ธรรม เจรญิ งอกงามทางวชิ าการ ดังนี้ • นโยบาย วิสยั ทศั น หรือแผนงานทางการศึกษา • ภาวะผนู ำทางการศึกษา • การพัฒนาคุณภาพการบรหิ าร หรอื นวัตกรรมการบริหาร • การบรหิ ารงานวิชาการ หรอื งานบุคคล หรืองบประมาณ หรอื บรหิ ารทว่ั ไปในสถานศึกษา • การพัฒนาคณุ ภาพครู อาจารย หรอื การพฒั นาผูเ รยี น • การพฒั นาแหลง การเรียนรู ส่ือการศกึ ษา นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษา • การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา • จติ อาสา และการบรกิ ารวชิ าแกชมุ ชน • ธรรมาภิบาล หรือการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม • บูรณาการหลกั พทุ ธธรรมกับการบริหารการศึกษา • ประเดน็ อ่นื ๆ ท่สี อดคลองกับท่คี ณะกรรมการบริหารหลักสูตร มหาวิทยาลัย และสภานโยบาย และคณะกรรมการสงเสรมิ วิทยาศาสตรวิจัยและนวตั กรรมกำหนด คูม่ อื การบริหารหลกั สตู รและบันทึกกิจกรรมนิสิต ๓๘

o สรปุ ข้ันตอนการทำวทิ ยานพิ นธ/ ดุษฎีนพิ นธ (๒๕๖๒) ๑. การสอบหวั ขอ และโครงรา งวิทยานิพนธ/ดษุ ฎีนพิ นธ นสิ ิตทีม่ คี ุณสมบตั พิ รอม (หนวยกิตครบ/ผลสอบ QE ครบ) ใหปฏิบัติ ดังน้ี ๑.๑ ขอสอบกำหนดหวั ขอและโครงรา งฯ ๖ ชดุ สง กอ นสอบ ๑ สัปดาห (บฑ ๖.๑) ๑.๒ เขาสอบตามกำหนดการ ถาสอบผา นใหแกไขภาย ๑๕ วนั หรอื ตามที่ กก.สอบกำหนด ๑.๓ สง หัวขอ และโครงรางท่ีแกไขแลว ๓ ชดุ เพ่ือขออนุมัติตอ บัณฑิตวิทยาลยั (บฑ ๘.๑) ๑.๔ พัฒนาหวั ขอ และโครงรางฯ (๓ บท) และสงขอตรวจรูปแบบกอนสอบ (บฑ ๖.๑) ๑.๕ ขอสอบหัวขอและโครงรางฯ (๓ บท) ใหมลี ายเซ็นต กก.ควบคมุ วทิ ยานิพนธบ นปก ๖ ชดุ กอนสอบ ๑ สปั ดาห (บฑ ๖.๑) ๑.๖ เขาสอบตามกำหนดการ ถาสอบผา นใหแกไ ขภาย ๓๐ วนั หรอื ตามท่ี กก.สอบกำหนด ๑.๗ สง หัวขอ และโครงรางฯ (๓ บท) ทแ่ี กไ ขแลว ๒ ชดุ ใหแ กหลักสูตร (บฑ ๘.๑) ๒. การดำเนินการทำวิจยั หลงั จากไดรบั อนุมตั ิหัวขอและโครงรา งฯ แลว ใหปฏิบัติ ดังน้ี ๒.๑ สรา งเคร่ืองมอื วจิ ยั และใหผเู ชยี่ วชาญ ๓-๕ คน ตรวจคา IOC (แนบ ๓ บท) ๒.๒ นำไปทดลองกับผทู ่ีมใิ ชประชากร/กลมุ ตวั อยางงานวจิ ยั นัน้ จำนวน ๓๐-๖๐ ชุด ๒.๓ แจกแบบสอบถาม สมั ภาษณ สัมมนา หรือปฏบิ ัติการภาคสนาม แลวแตก รณี ๒.๔ วิเคราะหแ ละประมวลผลขอ มูลจากขอ ๒.๓ และเขียนรายงาน บทที่ ๔-๕ ๒.๕ จัด Focus Group หรือ Connoisseurship หรอื อ่นื ๆ แลวแตก รณี (เฉพาะ ป.เอก) ๒.๖ แกไ ขตามท่ีผูทรงคุณวุฒแิ นะนำจากขอ ๒.๕ (เฉพาะ ป.เอก) ๒.๗ ขอทำดุษฎพี จิ ารณ /Public Hearing (บฑ ๘.๑(๒), เฉพาะ ป.เอก) ๒.๘ เขยี นรายงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ (๕ บท) ตามรปู แบบของสถาบัน ๓. การตรวจรูปแบบวทิ ยานพิ นธ/ ดษุ ฎนี พิ นธ (Format) ผทู ี่จะสอบปองกนั ตอ งตรวจรูปแบบรายงานวิจยั กอน ใหป ฏิบัติ ดังน้ี ๓.๑ ขอตรวจรปู แบบวทิ ยานิพนธ/ ดษุ ฎีนพิ นธ (บฑ ๖.๑) พรอมแนบเอกสาร ดงั นี้ (๑) วิทยานพิ นธ/ดุษฎีนิพนธทีเ่ รยี บเรียงเสรจ็ แลว เพื่อตรวจรปู แบบ ๑ เลม (๒) ชือ่ หัวขอ และโครงรางฯ ท่ีไดร บั อนุมัติใหทำการวิจัย ๑ ชุด (จาก ๑.๓) ๓.๒ นำผลการตรวจรปู แบบไปแกไ ขปรบั ปรุง และดำเนนิ การขอสอบตอ ไป ๔. การสอบปอ งกันวทิ ยานพิ นธ/ดุษฎีนพิ นธ การขอสอบปองกันวิทยานิพนธ/ ดุษฎนี พิ นธ (Defense) ใหปฏบิ ัติ ดังนี้ ๔.๑ ขอสอบปองกันวทิ ยานิพนธ/ ดษุ ฎนี พิ นธ กอนสอบ ๑ สัปดาห (บฑ ๘.๑ (๓)) แนบหลักฐาน ดังน้ี (๑) หลักฐานชำระคาเทอมภาคการศึกษาลาสดุ (๒) หลกั ฐานชำระคารักษาสถานภาพ (ถาม)ี (๓) หลักฐานการตรวจรูปแบบวทิ ยานิพนธ (บฑ ๖.๑) คู่มอื การบรหิ ารหลกั สูตรและบันทึกกิจกรรมนิสิต ๓๙

(๔) หลกั ฐานการตีพมิ พบทความวิชาการ (ป.โท ๒ ชดุ /ป.เอก ๓ ชุด) (๕) หลกั ฐานผลสอบภาษาตางประเทศ............................................ (๖) หลักฐานปฏบิ ตั กิ รรมฐาน (ป.โท ๓๐ วนั /ป.เอก ๔๕ วัน) ๔.๒ วิทยานิพนธท ่ีเรยี บเรียงเสร็จแลว (ปกออ น) ๖ เลม ๔.๓ เขา สอบตามกำหนดการที่หลักสตู รกำหนด ๕. การสงรายงานฉบับสมบรู ณ และขอจบ ถาสอบผานแลว ใหแ กไขตาม กก.สอบแนะนำ ภายในเวลาทก่ี ำหนด และปฏบิ ัติ ดงั น้ี ๕.๑ ยื่น บฑ.๑๒, บฑ.๑๓, บฑ.๑๔ พรอมแนบหลักฐาน ดังน้ี (๑) สำเนาหนาปก+หนา อนุมัติ+บทคัดยอ ไทย/อังกฤษ+ผลการเรยี น เยบ็ รวมกนั ๒ ชดุ (๒) หนา อนมุ ัติที่ กก.สอบปองกนั และคณบดีบัณฑิตวิทยาลยั ลงนามแลว ๑๒ แผน (๓) หลักฐานการเสนอบทความวิจัย พรอมเลมตีพิมพ ๑ ชดุ (๔) วิทยานิพนธฉบบั สมบูรณ (ปกแข็ง) ๖ เลม และซดี บี รรจุไฟล .doc และ .pdf ๒ แผน ๕.๒ ติดตอ สำนักทะเบยี นและวัดผล (หลังสภาอนุมตั ิ) เพื่อข้นึ ทะเบยี นบัณฑิต ขอรบั ปริญญาบัตร ๑. สอบหัวขอ้ และโครงร่าง ๕. ส่งรายงาน ๒. ดาํ เนินการ และขอจบ วจิ ยั ๔. สอบ ๓. ตรวจ ป้องกัน รปู แบบ *ดูรายละเอียดจากคูมอื การเขียนรายงานวทิ ยานพิ นธ ดษุ ฎีนพิ นธ หรอื การวจิ ัย คมู่ อื การบรหิ ารหลกั สตู รและบันทึกกจิ กรรมนิสิต ๔๐

การบรกิ ารวชิ าการ และทะนบุ ํารุงศิลปวฒั นธรรม หลักสูตรไดใหบรกิ ารวิชาการ และทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตามพระราชบัญญัตกิ ารอดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ระบุวา มาตรา ๔๐ สถาบันอุดมศึกษามีหนาที่ในการใหบริการทางวิชาการ ใหคำปรึกษาทางวิชาการ และ ถายทอดองคความรูท่ีเกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวิจัยและการสรางนวัตกรรมแกภาครัฐ ภาคเอกชน ชมุ ชน และสังคม เพอ่ื นำความรไู ปใชประโยชนแ ละสง เสริมการเรียนรตู ลอดชีวติ รวมเปนสวนหน่ึงของชุมชนในการพัฒนาพื้นท่ีที่ใกลเคียงกับที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษานั้นหรือพื้นท่ี อนื่ ตามทสี่ ถาบนั อดุ มศึกษาเห็นสมควร และตองสง เสริมใหผเู รียนมสี วนรวมในการทำกจิ กรรมตา ง ๆ กับสังคม เพือ่ สรางเสริมจิตสาธารณะในการนำความรูและประสบการณม าใชเพ่ือสรางประโยชนแ กส ว นรวม มาตรา ๔๑ สถาบันอุดมศึกษามีหนาที่ในการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยการอนุรักษ ฟนฟู สืบสาน และเผยแพรภูมิปญญาทองถ่ินและของชาติ รวมทั้งสงเสริมใหมีการวิเคราะห สังเคราะห และบูรณา การการทะนบุ ำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนและกิจกรรมของผเู รยี น โดยในแตละปงบประมาณ หลักสูตรไดมีโครงการและกิจกรรม เก่ียวกับการบริการวิชาการแกสังคม การทะนบุ ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม หลายโครงการ ดังภาพนี้ คมู่ ือการบริหารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนิสติ ๔๑

o ตัวอยาง แบบเสนอโครงการ ชือ่ โครงการ : โครงการสัมมนาวชิ าการและศกึ ษาดงู านตางประเทศ (สงิ คโปร) หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ : หลกั สตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา กำหนดการดำเนนิ งาน : วันที่ ๖ – 1๐ ธนั วาคม 256๑ สถานท่ีตั้งโครงการ : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย อยธุ ยา หลกั การและเหตุผล หลักสูตรบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร ไดเปดดำเนินการต้ังแตปการศึกษา 2549 เปนตนมา ไดจัด การศึกษาดานครุศาสตร/ศึกษาศาสตรโดยบูรณาการกับหลักพุทธธรรมสำหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ โดยจัดการศึกษาท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติ พรอมทั้งศึกษาดูงานเพ่ือเพิ่มพูนความรูความสามารถใหแกนิสิต ทางหลักสูตรจึงไดกำหนดใหนิสิตไดไปสัมมนาและศึกษาดูงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษา ณ สาธารณรัฐสงิ คโปร เพ่ือเพมิ่ พูนความรใู หมากย่ิงขึน้ วตั ถุประสงค 1. เพ่ือเสรมิ สรางวสิ ยั ทศั น ความรู และประสบการณแ กน ิสติ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา คณะครศุ าสตร 2. เพ่อื สมั มนาวิชาการและศกึ ษาดงู านการบริหารและการจัดการศึกษาสมยั ใหมระดบั นานาชาติ เปาหมายการดำเนนิ งาน 1. ดานปริมาณ : อาจารย และนิสติ หลักสตู รบณั ฑติ ศึกษา รว มงาน จำนวน ๗๕ รูป/คน 2. ดานคุณภาพ : อาจารยแ ละนิสติ ไดความรู วิสยั ทศั น และประสบการณการบริหารการศึกษา วิธีการดำเนินงาน 1. ขออนมุ ตั โิ ครงการ ๒. แตงต้งั กรรมการ และประชมุ เพื่อเตรยี มดำเนินงานโครงการ ๓. ดำเนินโครงการตามแผนท่กี ำหนดไว ๔. ประเมินผลการดำเนินงาน สรปุ และรายงานโครงการ งบประมาณ งบประมาณจากหลักสตู ร..............................จำนวน.............................บาท โดยมแี ผนการใชจ า ยดังน้.ี .......................................... ประโยชนท ี่คาดวา จะไดรับ 1. นสิ ิตไดรับความรแู ละประสบการณเพม่ิ เตมิ ในสาขาวชิ าท่ีกำลังศึกษาเลา เรยี น 2. นสิ ิตมสี วนรวมและประสบการณส ัมมนาและศึกษาดงู านดา นการบริหารการศึกษา ************** เอกสารแนบ - แผน/กำหนดการ และกจิ กรรม - เอกสารประกอบการประชุม อบรม หรอื สัมมนา - ผรู บั ผิดชอบ / การประสานงาน / การประชาสัมพนั ธ ค่มู อื การบริหารหลกั สตู รและบันทกึ กจิ กรรมนสิ ิต ๔๒

บนั ทกึ กิจกรรมต่าง ๆ ของนสิ ิต ค่มู ือการบริหารหลกั สูตรและบันทกึ กจิ กรรมนิสิต ๔๓

บันทึก การชำระเงินคาธรรมเนยี มการศึกษา ******************** หลักสูตร  ปริญญาโท  ปริญญาเอก สาขาวชิ า.................................................................................... ชอ่ื นิสติ ..............................................................รหสั นิสติ .....................................รุนท่.ี ..............แบบ.................. ไดช ำระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ดังนี้ (ดแู ผนการชำระเงนิ ในหนา ถัดไป) คร้งั ที่ ภาคเรียนที่ ปก ารศกึ ษา วันทีช่ ำระเงนิ จำนวนเงิน บนั ทกึ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. รวมทง้ั สิ้น ชำระครบแลว ไดร ับชำระครบแลว ลงชือ่ .......................................นิสิต ลงชอื่ ................................จนท.การเงนิ (____________________) (_____________________) ......../........../........ ......../........../........ ค่มู อื การบริหารหลักสูตรและบันทกึ กจิ กรรมนสิ ิต ๔๔

บันทกึ การเขา รวมประชุม สมั มนา หรอื กจิ กรรมทางวชิ าการ ******************** หลกั สตู ร  ปรญิ ญาโท  ปริญญาเอก สาขาวิชา.................................................................................... ชอ่ื นิสติ ..............................................................รหสั นสิ ติ .....................................รนุ ท.ี่ ..............แบบ.................. เกณฑ: ระดบั ป.โท ไมนอ ยกวา ๕ ครงั้ , ป.เอก ไมนอยกวา ๗ คร้ัง (รวมปฐมนเิ ทศ, สมั มนาในภาคเรียนได) ไดเ ขา รวมประชมุ สัมมนา หรอื กิจกรรมทางวิชาการ ดังนี้ ครง้ั วันท่/ี เวลา ผทู รงคณุ วุฒิ ท่ี และสถานที่ สรุปสาระสำคัญ ใหก ารรับรอง ๑ วันท.ี่ ............................ ชอื่ งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จัดโดย............................................................................................... สถานท่ี......................... สาระสำคัญ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๒ วันท่ี............................. ชื่องาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จดั โดย............................................................................................... สถานท.ี่ ........................ สาระสำคญั ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๓ วนั ที่............................. ช่ืองาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จัดโดย............................................................................................... สถานท.่ี ........................ สาระสำคญั ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๔ วนั ท่ี............................. ช่อื งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จดั โดย............................................................................................... สถานท.่ี ........................ สาระสำคญั ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๕ วนั ที่............................. ชื่องาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จัดโดย............................................................................................... สถานท่ี......................... สาระสำคัญ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... คูม่ ือการบรหิ ารหลักสูตรและบันทึกกิจกรรมนสิ ติ ๔๕

ครง้ั วนั ท่/ี เวลา สรปุ สาระสำคัญ ผูท รงคุณวุฒิ ที่ และสถานที่ ใหก ารรับรอง ๖ วันที.่ ............................ ชอื่ งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จดั โดย............................................................................................... สถานท่.ี ........................ สาระสำคญั ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๗ วนั ท่.ี ............................ ชอื่ งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จัดโดย............................................................................................... สถานท่.ี ........................ สาระสำคญั ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๘ วันที.่ ............................ ช่อื งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จดั โดย............................................................................................... สถานที่......................... สาระสำคัญ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๙ วนั ท่ี............................. ชอ่ื งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จัดโดย............................................................................................... สถานที่......................... สาระสำคญั ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ๑๐ วนั ที.่ ............................ ชือ่ งาน/โครงการ............................................................................... เวลา............................. จัดโดย............................................................................................... สถานที.่ ........................ สาระสำคัญ........................................................................................ ..................................... .......................................................................................................... ..................................... .......................................................................................................... ไดด ำเนนิ การครบถว นแลว รบั รองตามนี้ ลงชื่อ..........................................นสิ ติ ลงชอ่ื ........................................ผรู บั รอง* (_______________________) (_____________________) ......../........../........ ......../........../........ คมู่ ือการบริหารหลักสตู รและบันทึกกิจกรรมนิสติ ๔๖