แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒๗ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวชิ าสุขศกึ ษา หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๙ การบาดเจ็บและการปฐมพยาบาล ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ เรอ่ื ง ลักษณะและสาเหตุของเลือดกำเดาไหล เวลา ๑ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั เลือดกำเดาเป็นเลือดที่ไหลออกมาจากจมูก ซึ่งเกิดจากการกระแทก ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกันและหลีกเลีย่ งปัจจยั เสี่ยง พฤติกรรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพ อุบัติเหตุ การใชย้ า สารเสพติด และความรุนแรง ๓.ตวั ชี้วัด ป.๓/๓ แสดงวิธปี ฐมพยาบาลเมอื่ บาดเจ็บจากการเลน่ ๔.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถอธิบายลักษณะของเลือดกำเดาไหลได้ (K) ๒.นกั เรียนปฏบิ ตั ติ นในแสดงวิธปี ฐมพยาบาลเมื่อเลือดกำเดาไหลได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรือรน้ และสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ การบาดเจ็บจากการเลน่ - ลักษณะของการบาดเจ็บ ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทักษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผูเ้ รียนสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสงั คมและมีไวพรบิ ที่ดใี นการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผู้เรยี นสามารถการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคดิ เป็นอยา่ งเป็นระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความร้ไู ปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรูท้ ีไ่ ดร้ ับไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ผเู้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆได้ดว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื คน้ ข้อมลู เน้อื หาสาระทต่ี ้องการรู้ ๒. มุ่งม่ันในการทำงาน -มีความต้งั ใจและพยายามในหนา้ ทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย ๙.ข้นั จดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นท่ี ๑ จดั ผู้เรยี นเป็นกลุ่มย่อย (วธิ ีสอนโดยใช้ การอภปิ รายกลุ่มย่อย) ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑) รว่ มกันศึกษาความรูเ้ รื่อง ลกั ษณะและสาเหตุของ เลือดกำเดาไหล จากหนงั สือเรยี นหรอื บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๓. ครใู หน้ กั เรยี นรวมกับเพื่อนอีกกล่มุ หนงึ่ เพ่ือร่วมกันอภิปรายลกั ษณะและสาเหตุของเลือดกำเดาไหล เลอื ดกำเดาเป็นเลือดทไ่ี หลจากอวัยวะใด
ขน้ั ที่ ๒ กำหนดประเดน็ การอภปิ ราย ๑. ครใู หน้ ักเรยี นร่วมกนั เสนอประเด็นในการอภิปราย โดยกำหนดประเด็นให้ครอบคลมุ เชน่ - นอกจากเกิดจากการกระแทกหรอื กระดูกใบหนา้ ไดร้ บั บาดเจ็บแลว้ ยังมสี าเหตุใดอีกท่ที ำให้เลอื ดกำเดาไหล ได้ จงอธิบาย ๒. นกั เรียนร่วมกันเลือกและสรปุ ประเด็นในการอภปิ ราย พร้อมทง้ั กำหนดแนวทางในการอภิปราย เพือ่ ใหส้ มาชิก ในแตล่ ะกลุ่มมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องและตรงกนั ข้นั ที่ ๓ อภิปราย ๑. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันอภิปรายในประเด็นทร่ี ว่ มกันกำหนด ๒. ครสู ังเกตการอภปิ รายของนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม ตรวจสอบความถูกต้อง และแนะนำเพมิ่ เติมในสว่ นทบี่ กพร่อง ขัน้ ที่ ๔ สรปุ ผลการอภปิ ราย ๑.สมาชกิ ในแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันสรุปผลการอภิปราย และครใู หต้ ัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอผลการอภิปรายหน้า ช้ันเรียน จนครบ ทกุ กลมุ่ ขั้นที่ ๕ สรุปบทเรียน ๑.นกั เรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด ๒. นกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรู้เร่ือง ลักษณะและสาเหตุของเลอื ดกำเดาไหล ขั้นที่ ๖ ประเมนิ ผลการเรยี น ๑.ครปู ระเมินผลการเรียนจากการนำเสนอผลการอภิปรายในประเดน็ ทีน่ กั เรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกนั กำหนด ๒. นกั เรยี นร่วมกันเสนอวธิ ีป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ เลอื ดกำเดาไหล เช่น ไมเ่ ดินในบรเิ วณทีเ่ ล่นลกู บอล เปน็ ต้น ๓.นกั เรียนแต่ละคนทำแบบฝึกกจิ กรรม จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน เสรจ็ แลว้ นำสง่ ครูตรวจในช่วั โมงถดั ไป
๑๐. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนงั สอื เรียน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมนิ ผล วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมนิ ตามสภาพจริง) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อ รายบุคคล เกณฑ์ เวลา และมีความรบั ผดิ ชอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๒๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวชิ าสขุ ศึกษา หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๙ การบาดเจบ็ และการปฐมพยาบาล ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เร่อื ง วธิ ปี ฐมพยาบาลเมอ่ื บาดเจบ็ จากการเล่น เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การปฐมพยาบาลการบาดเจบ็ จากการเลน่ ควรเลอื กวธิ กี ารปฐมพยาบาลให้ถูกต้องเหมาะสมกบั ลกั ษณะ การบาดเจ็บ ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลกี เล่ียงปัจจัยเสยี่ ง พฤติกรรมเส่ียงต่อสขุ ภาพ อุบัตเิ หตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรนุ แรง ๓.ตวั ชว้ี ดั ป.๓/๓ แสดงวธิ ีปฐมพยาบาลเมือ่ บาดเจ็บจากการเลน่ ๔.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธบิ ายวิธปี ฐมพยาบาลเมือ่ บาดเจ็บจากการเลน่ ได้(K) ๒.นกั เรียนปฏิบัติตนในแสดงวิธีปฐมพยาบาลเมอ่ื บาดเจ็บจากการเล่นได้ (P) ๓.มีความกระตือรือรน้ และสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ การบาดเจบ็ จากการเล่น - วิธปี ฐมพยาบาล (บาดเจ็บ หา้ มเลอื ด ฯลฯ) ๖.ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทกั ษะในแก้ปัญหา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผูน้ ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ๑.ความสามารถในการส่ือสาร -ผเู้ รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปล่ยี นข้อมูลข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสงั คมและมีไวพรบิ ท่ีดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ อยา่ งเป็นระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตัดสนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผู้เรียนนำความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกับคนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สบื คน้ ขอ้ มลู เนื้อหาสาระทต่ี อ้ งการรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน -มคี วามต้ังใจและพยายามในหน้าทท่ี ่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๙.ข้นั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ ๑ เตรยี มการ (วิธีสอนโดยใช้การ แสดงบทบาทสมมตุ ิ) ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. ครทู บทวนวิธีการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการเลน่ ลักษณะตา่ งๆ ทเ่ี คยเรยี น จากหนงั สอื เรยี น ๓. ครแู จ้งให้นกั เรยี นทราบว่า จะใหแ้ ต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมตุ วิ ธิ กี ารปฐมพยาบาลการบาดเจบ็ จากการเลน่ กลมุ่ ละ ๑ ลกั ษณะ โดยใหต้ ัวแทนกลมุ่ ออกมาจับสลาก ดังน้ี - หมายเลข ๑ การปฐมพยาบาลบาดแผลฟกช้ำ โน ห้อเลอื ด - หมายเลข ๒ การปฐมพยาบาลบาดแผลถลอก - หมายเลข ๓ การปฐมพยาบาลบาดแผลตัด - หมายเลข ๔ การปฐมพยาบาลเลอื ดกำเดาไหล
ขน้ั ที่ ๒ แสดง ๑. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มแบ่งหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบใหส้ มาชิกแต่ละคนในกลุ่มตามความสามารถหรือความถนัด พรอ้ มกับรว่ มกันวางแผนในการแสดง ๒. ครชู ่วยอธบิ ายความรเู้ กย่ี วกับวธิ กี ารปฐมพยาบาลการบาดเจบ็ จากการเล่น ท้งั ๔ ลักษณะ ใหน้ ักเรียนแต่ละ กลุ่มมีความเข้าใจชัดเจนยิ่งข้ึน ๓. นักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมาแสดงบทบาทสมมตุ ิให้เพื่อนและ ครูดู จนครบทุกกลุ่มท่ีครูสาธิต ขั้นที่ ๓ วเิ คราะหแ์ ละอภปิ ราย ๑. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั วิเคราะห์การแสดงของแตล่ ะกลุ่ม โดยการบอกจดุ ดีและข้อบกพร่องเพ่ือใหแ้ ตล่ ะ กลมุ่ กลบั ไปปรบั ปรงุ ในสว่ นท่ีบกพร่อง ครูคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติม ขั้นท่ี ๔ แสดงเพมิ่ เติม ๑.นักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั ปรบั ปรุงจดุ บกพร่องในการแสดงตามคำแนะนำท่ไี ด้จากเพอ่ื นและครู ๒. ครใู ห้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมาแสดงบทบาทสมมุติใหม่อีกคร้ัง ขน้ั ที่ ๕ แลกเปล่ียนประสบการณ์และสรปุ ๑.นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับความรู้ทีไ่ ด้จากการแสดงบทบาทสมมุตขิ องแต่ละกลุ่ม แล้วสรุป เปน็ องค์ความรจู้ ดบันทึกลงสมดุ ๒. ครูเนน้ ย้ำให้นกั เรยี นตระหนกั ถงึ ความปลอดภัยในการเล่น และนำความรู้ทีไ่ ด้จากการเรยี นไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวนั ๓. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะคนทำใบงาน เรื่อง พฤตกิ รรมการบาดเจบ็ จากการเล่น เป็นการบ้าน เสร็จแลว้ นำสง่ ครูตรวจในชั่วโมงถัดไป ๑๐. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนังสือเรยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน
๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมีความรบั ผิดชอบ เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒๗ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวชิ าสขุ ศึกษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่๑ี ๐ กจิ กรรมเคลือ่ นไหว ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เรื่อง หลักการปฏิบตั ใิ นการฝกึ เคลื่อนไหวร่างกาย เวลา ๑ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การเคล่อื นไหวรา่ งกายช่วยสรา้ งเสรมิ ให้ร่างกายแข็งแรง และมีประสทิ ธิภาพในการควบคุมรา่ งกายได้ดี ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา ๓.ตวั ชี้วัด ป.๓/๑ ควบคมุ การเคลื่อนไหวรา่ งกายขณะอย่กู บั ท่ี เคลอ่ื นที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบอย่างมีทิศทาง ๔.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑.นกั เรียนสามารถอธบิ ายหลกั การปฏิบตั ใิ นการฝึกการเคลือ่ นไหวรา่ งกายได้(K) ๒.นักเรียนปฏิบัติในการฝึกการเคลื่อนไหวรา่ งกายได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรือรน้ และสนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ หลักการปฏบิ ัติในการเคลอ่ื นไหวร่างกาย ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๑.ความสามารถในการสื่อสาร -ผู้เรียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความร้สู ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเอง และสงั คมและมไี วพริบที่ดีในการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ อย่างเป็นระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตัดสนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผู้เรยี นนำความรทู้ ี่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ -สืบค้นข้อมลู เน้อื หาสาระทีต่ อ้ งการรู้ ๒. มุง่ มน่ั ในการทำงาน -มคี วามตั้งใจและพยายามในหน้าทีท่ ่ีไดร้ บั มอบหมาย ๙.ขั้นจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั ท่ี ๑ กระตุ้นความสนใจ (วธิ สี อนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ๑.ครูนำบตั รภาพการเคลื่อนไหวร่างกาย มาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ให้ช่วยกนั เรยี งลำดับภาพว่า ควรเคล่ือนไหว รา่ งกายใหต้ ่อเนื่องกนั อย่างไร ๒.ครขู ออาสาสมคั รนักเรยี น ๒-๓ คน ออกมาเคล่อื นไหวร่างกาย ตามตัวอยา่ งในบตั รภาพ ขน้ั ที่ ๒ สำรวจคน้ หา ๑. นกั เรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑) แล้วใหน้ กั เรียนจับค่กู บั เพ่ือนในกลุม่ และใหแ้ ตล่ ะคู่ ศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง หลักการปฏบิ ัติในการฝกึ การเคลือ่ นไหวรา่ งกายเบ้ืองตน้ จากหนังสือเรียนหรือบทเรยี น คอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite
ข้นั ที่ ๓ อธบิ ายความรู้ ๑. นักเรยี นแต่ละคู่นำความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาอธิบายกับเพ่ือนอีกค่ใู นกลุ่ม แลว้ ผลดั กันซักถามขอ้ สงสยั จนมีความรคู้ วามเข้าใจทีช่ ดั เจน ๒. นักเรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด ขั้นที่ ๔ ขยายความกเาขรา้ฝใกึ จกิจกรรมเคลอื่ นไหวรา่ งกายอยา่ งสมำ่ เสมอ จะทำให้เกดิ ผลดีอยา่ งไร ๑.นกั เรียนรว่ มกันสนทนาเกยี่ วกับประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการเคลือ่ นไหวร่างกาย ครูอธิบายความรูเ้ พิ่มเตมิ ในสว่ น ที่บกพร่อง ๒. นักเรยี นแต่ละคนทำใบงาน เร่ือง การปฏบิ ัติการเคล่ือนไหวร่างกาย ขน้ั ท่ี ๕ ตรวจสอบผล ๑.ครูสุ่มเรียกนักเรยี น ๒-๓ คน ออกมานำเสนอคำตอบในใบงาน แลว้ ใหเ้ พ่ือนร่วมกนั แสดงความ คิดเหน็ และเฉลยคำตอบ ๒.นกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความร้เู กี่ยวกบั หลักการปฏิบัติในการฝึกเคล่ือนไหวร่างกาย ๑๐. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนงั สอื เรยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจริง) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตความมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อ รายบุคคล เกณฑ์ เวลา และมคี วามรับผิดชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสุขศึกษา หน่วยการเรยี นร้ทู ่๑ี ๐ กิจกรรมเคลือ่ นไหว ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เร่อื ง เหยียดแขนงอลำตัว และแกว่งตัว เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การเคล่อื นไหวร่างกายขณะอยู่กับทใ่ี นทา่ เหยียดแขนงอลำตัว และแกว่งตัว เปน็ การฝึกปฏบิ ัติการ ควบคมุ ร่างกาย เพื่อสร้างเสรมิ สุขภาพร่างกายให้แขง็ แรง ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที ักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ๓.ตัวชวี้ ัด ป.๓/๑ ควบคมุ การเคลื่อนไหวรา่ งกายขณะอย่กู บั ที่ เคลื่อนที่ และใช้อปุ กรณ์ประกอบอยา่ งมที ิศทาง ๔.จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถอธบิ ายวธิ กี ารเคล่อื นไหวรา่ งกายขณะอยกู่ บั ท่ีในทา่ เหยียดแขนงอลำตวั และแกว่งตวั ได้ ๒.นักเรียนปฏบิ ัตเิ คลือ่ นไหวร่างกายขณะอย่กู บั ที่ในทา่ เหยยี ดแขนงอลำตัว และแกวง่ ตวั ได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรือรน้ และสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. การเคลือ่ นไหวร่างกายแบบอย่กู บั ท่ี เชน่ พับตัว เคล่ือนไหวลำตัว ๒.วธิ กี ารควบคุมการเคล่ือนไหวรา่ งกายแบบตา่ งๆ อย่างมีทิศทาง ๖.ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในแกป้ ัญหา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผู้นำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑.ความสามารถในการสือ่ สาร -ผเู้ รยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสงั คมและมไี วพริบท่ีดใี นการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผู้เรยี นสามารถการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ อยา่ งเปน็ ระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตัดสินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - ผู้เรียนนำความร้ทู ี่ไดร้ ับไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผูเ้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื คน้ ข้อมลู เนอื้ หาสาระท่ีต้องการรู้ ๒. มงุ่ ม่ันในการทำงาน -มคี วามตัง้ ใจและพยายามในหนา้ ที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๙.ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ ที่ ๑ เตรียมการสาธติ (วธิ สี อนโดยใชก้ าร สาธิต) ๑.ครูให้นักเรยี นบอกประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการปฏบิ ัติกิจกรรมการเคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะอยกู่ ับท่ี ๒.ครูเปดิ วซี ีดีการเคล่ือนไหวร่างกายขณะอย่กู ับทใ่ี นท่าเหยียดแขนงอลำตวั และแกว่งตวั ให้นกั เรียนดู ๓.ครแู จง้ ให้นกั เรียนทราบวา่ ครูจะสาธิตการเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะอยูก่ ับที่ในท่าเหยยี ดแขนงอลำตัว และแกว่งตวั ๔.ครแู นะนำใหน้ กั เรียนศึกษาความรเู้ รื่อง การเคล่อื นไหวรา่ งกายขณะอยู่กบั ท่ใี นทา่ เหยียดแขนงอลำตวั และแกวง่ ตวั จากหนังสือเรียนหรอื บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือเอกสาร ประกอบการสอนเพิม่ เติมนอกเวลาเรียน
ขัน้ ที่ ๒ สาธิต ๑. ครสู าธติ การเคลือ่ นไหวร่างกายขณะอยูก่ บั ที่ในท่าเหยียดแขนงอลำตวั และแกว่งตวั พรอ้ มอธบิ ายประกอบที ละขนั้ ตอนอยา่ งชา้ ๆ เพ่ือใหน้ ักเรยี นสงั เกตและจดจำได้อยา่ งถูกต้อง แล้วเปิดโอกาสให้นกั เรยี นซักถามข้อ สงสัย ๒. ครูให้นกั เรียนอบอุ่นรา่ งกาย โดยการยดื กลา้ มเนื้อ เพือ่ ป้องกนั การบาดเจ็บขณะปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ๓. นักเรียนจับคกู่ บั เพื่อน (คเู่ ดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓) แตล่ ะคฝู่ ึกเคลอื่ นไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ใน ทา่ เหยียดแขน งอลำตวั และแกวง่ ตวั ตามท่ีครสู าธติ ๔. ครูสงั เกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนักเรยี นแตล่ ะคู่ และเน้นย้ำให้นกั เรียนคำนึงถึงความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิ ข้ันท่ี ๓ สรปุ การสาธติ ๑.นกั เรยี นร่วมกนั สรุปขั้นตอนการเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะอยู่กับท่ีในทา่ เหยยี ดแขนงอลำตัว และแกว่งตวั ๒. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด นกั เรยี นคดิ ว่า การเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะอยู่กบั ที่ มปี ระโยชนต์ ่อรา่ งกายอยา่ งไร ข้ันที่ ๔ วัดผลประเมนิ ผล ๑.ครวู ดั ประเมนิ ผลนกั เรยี นจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะอยกู่ ับทใ่ี นทา่ เหยียดแขนงอ ลำตัว และ แกว่งตัว ในใบงาน เร่ือง เหยยี ดแขนงอลำตวั และแกวง่ ตวั ๑๐. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอื่ เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมินผล เครอื่ งมือ เกณฑ์ วิธีการ แบบทดสอบก่อนเรยี น (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจใบงาน ใบงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ รายบคุ คล เกณฑ์ สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ ตรงต่อ เวลา แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมีความรับผดิ ชอบ เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๓๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวชิ าสุขศึกษา หน่วยการเรียนรู้ท๑ี่ ๐ กจิ กรรมเคล่ือนไหว ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ เร่ือง เดนิ ไขวเ้ ท้าและเดินถอยหลัง เวลา ๑ ชว่ั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การเคล่อื นไหวร่างกายขณะเคลื่อนที่ในทา่ เดนิ ไขว้เท้า และเดินถอยหลงั เปน็ การฝึกปฏบิ ตั ิการควบคุม ร่างกาย เพ่อื สรา้ งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ๓.ตวั ชี้วัด ป.๓/๑ ควบคมุ การเคลื่อนไหวร่างกายขณะอย่กู บั ที่ เคลอื่ นที่ และใชอ้ ุปกรณ์ประกอบอย่างมีทิศทาง ๔.จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นกั เรียนสามารถอธบิ ายวิธกี ารเคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะเคลื่อนที่ในทา่ เดนิ ไขว้เทา้ และเดินถอยหลงั ได้(K) ๒.นักเรียนปฏิบัติเคล่อื นไหวร่างกายขณะเคลื่อนท่ีในทา่ เดนิ ไขว้เท้า และเดินถอยหลังได้ (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. การเคลือ่ นไหวรา่ งกายแบบเคล่ือนท่ี เช่น เดนิ ต่อเทา้ เดนิ ถอยหลงั ๒.วธิ กี ารควบคุมการเคล่ือนไหวร่างกายแบบตา่ งๆ อย่างมีทศิ ทาง ๖.ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และทกั ษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ
๗.สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๑.ความสามารถในการสื่อสาร -ผูเ้ รยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเอง และสงั คมและมไี วพรบิ ที่ดีในการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเป็นอยา่ งเป็นระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผู้เรียนนำความรู้ท่ไี ด้รบั ไปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ดว้ ยตนเอง ๘.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ -สืบคน้ ขอ้ มลู เนอ้ื หาสาระทีต่ อ้ งการรู้ ๒. ม่งุ มั่นในการทำงาน -มีความตัง้ ใจและพยายามในหน้าทีท่ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ๙.ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ที่ ๑ สังเกต รบั รู้ (วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบัติ) ๑.นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ๒.นักเรยี นจบั ค่กู บั เพ่ือน (คู่เดิมจากแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๓) แลว้ รว่ มกันศึกษาความรเู้ รื่อง การ เคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนที่ : เดนิ ไขวเ้ ท้า และเดินถอยหลงั จากหนงั สือเรียนหรอื บทเรยี น คอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๓. ครูเปดิ วซี ีดกี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะเคลื่อนที่ในทา่ เดนิ ไขวเ้ ท้า และเดินถอยหลงั ใหน้ กั เรยี นดู เพ่ือ สังเกตการเคล่ือนไหวร่างกายขณะเคลื่อนท่ใี นแตล่ ะท่า นกั เรียนมวี ธิ ีออกกำลงั กายด้วยการเคลอื่ นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนที่อย่างไรบา้ ง
ขน้ั ที่ ๒ ทำตามแบบ ๑. ครเู ปดิ วซี ีดีการเคล่อื นไหวร่างกายขณะเคล่อื นทีใ่ นท่าเดิน ไขวเ้ ท้า และเดนิ ถอยหลัง ใหน้ กั เรียนดูอีกครัง้ ๒. ครูสาธติ การเคลอื่ นไหวร่างกายขณะเคล่ือนท่ี พร้อมอธบิ ายประกอบในแตล่ ะทา่ ดังนี้ - ท่าท่ี ๑ เดนิ ไขวเ้ ท้า - ทา่ ท่ี ๒ เดนิ ถอยหลัง หรือให้นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติมจากเอกสารประกอบการสอน ๓. ครใู ห้นกั เรยี นอบอุ่นร่างกายก่อนปฏิบัตกิ จิ กรรม จากนั้นให้นักเรยี นแตล่ ะคฝู่ ึกเคล่ือนไหวร่างกายขณะ เคลอื่ นทใี่ นท่าตามตวั อย่างในวีซีดีหรอื จากที่ครูสาธิต ๔. นกั เรยี นแตล่ ะคฝู่ ึกเคล่ือนไหวร่างกายขณะเคลื่อนท่ีในแตล่ ะท่า พรอ้ มปรับปรุงแก้ไขหากมีขอ้ บกพร่องให้ ถูกต้อง หรอื ขอคำแนะนำจากครูผสู้ อน ขั้นที่ ๓ ทำเองโดยไม่มแี บบ ๑.นักเรยี นแตล่ ะค่ฝู กึ การเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะเคลื่อนที่ในท่า เดนิ ไขวเ้ ท้า และเดินถอยหลัง โดยไมต่ ้องดู ตวั อยา่ ง ๒.นกั เรียนแตล่ ะคู่ผลดั เปลี่ยนกนั ฝกึ โดยแต่ละคสู่ งั เกตและบอกข้อบกพรอ่ งในการปฏิบตั ิ ๓.ครูสังเกตการปฏิบตั ิกจิ กรรมของนักเรียนแต่ละคู่ และเนน้ ย้ำใหน้ ักเรียนคำนึงถงึ ความปลอดภยั ของตนเอง และผ้อู ืน่ ขน้ั ที่ ๔ ฝึกทำให้ชำนาญ ๑.นักเรียนแต่ละคฝู่ ึกเคลื่อนไหวรา่ งกายขณะเคลอื่ นท่ีในทา่ เดินไขวเ้ ท้า และเดนิ ถอยหลัง จากนั้นผลดั กัน ตรวจสอบความ ถกู ต้อง ๒. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคู่เคล่ือนไหวรา่ งกายขณะเคลื่อนทใี่ นท่าเดนิ ไขวเ้ ทา้ และเดนิ ถอยหลัง แลว้ บันทกึ ผลการ ปฏิบัติลงในใบงาน เรอื่ ง เดนิ ไขว้เท้า และเดนิ ถอยหลงั เสร็จแล้วนำใบงานส่งครตู รวจ
๑๐. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนงั สอื เรียน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมนิ ผล วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมนิ ตามสภาพจริง) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อ รายบุคคล เกณฑ์ เวลา และมีความรบั ผดิ ชอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๓๒ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวชิ าสขุ ศึกษา หน่วยการเรียนรทู้ ่ี๑๐ กจิ กรรมเคลอื่ นไหว ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที๓ เรอ่ื ง วิ่งกระโดดเขย่งและกระโจน เวลา ๑ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะเคล่อื นทีใ่ นท่าว่งิ กระโดดเขยง่ และกระโจน เปน็ การฝึกปฏบิ ตั กิ ารควบคุม ร่างกาย เพือ่ สร้างเสริมสขุ ภาพรา่ งกายให้แข็งแรง ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า ๓.ตวั ชีว้ ัด ป.๓/๑ ควบคมุ การเคล่ือนไหวร่างกายขณะอยกู่ บั ที่ เคล่ือนที่ และใช้อปุ กรณ์ประกอบอยา่ งมีทิศทาง ๔.จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นักเรียนสามารถอธบิ ายวิธกี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนที่ในท่าวิ่งกระโดดเขยง่ และกระโจนได้(K) ๒.นักเรยี นปฏบิ ตั ิเคล่ือนไหวร่างกายขณะเคล่ือนที่ในท่าวง่ิ กระโดดเขย่ง และกระโจนได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรือร้นและสนใจเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. การเคลอื่ นไหวรา่ งกายแบบเคลือ่ นท่ี เช่น กระโจน ๒.วิธกี ารควบคมุ การเคลื่อนไหวร่างกายแบบต่างๆ อย่างมีทิศทาง ๖.ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแกป้ ัญหา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผูน้ ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการส่ือสาร -ผูเ้ รียนสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของ ตนเองและแลกเปลีย่ นข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสงั คมและมไี วพริบท่ีดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผเู้ รียนสามารถการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน็ อยา่ งเป็นระบบมเี หตผุ ลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รยี นนำความร้ทู ่ีได้รบั ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผู้เรยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สืบค้นข้อมลู เนื้อหาสาระท่ตี อ้ งการรู้ ๒. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน -มคี วามตงั้ ใจและพยายามในหนา้ ทที่ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ๙.ขน้ั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ ๑ เตรียมการสาธติ (วธิ ีสอนโดยใช้การ สาธิต) ๑.ครใู ห้นักเรียนจับคูก่ บั เพอ่ื น (คู่เดิมจากแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓) แลว้ รว่ มกันศกึ ษาความรเู้ ร่ือง การ เคลื่อนไหวร่างกายขณะเคลอื่ นท่ี : วิง่ กระโดดเขยง่ และกระโจน จากหนังสือเรียนหรือบทเรยี น คอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. ครูอธิบายการเคลอื่ นไหวร่างกายขณะเคลื่อนที่ในทา่ ว่งิ กระโดดเขยง่ และกระโจน ใหน้ กั เรียนมี ความร้คู วามเข้าใจ ท่ถี กู ต้อง ๓. ครเู ปดิ วีซดี ีการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนที่ในท่าวิ่งกระโดดเขย่ง และกระโจนให้นักเรียนดู ๔. ครูแจง้ ใหน้ ักเรียนทราบว่า ครูจะสาธติ การเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะเคลื่อนทใี่ นทา่ วงิ่ กระโดดเขย่ง และกระโจน ๕. นกั เรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคดิ การวง่ิ กระโดดเขย่ง และกระโจน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่างไร
ขัน้ ที่ ๒ สาธิต ๑. ครูสาธิตการเคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนท่ีในท่าวงิ่ กระโดดเขย่ง และกระโจน พรอ้ มอธบิ ายประกอบในแต่ ละขน้ั ตอนใหน้ กั เรียนดูเปน็ ตัวอย่าง หรอื ใหน้ ักเรียนศกึ ษาเพ่มิ เติมจากเอกสารประกอบการสอน ๒. ตวั แทนนักเรยี นนำอบอ่นุ ร่างกายก่อนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเคล่อื นไหวร่างกายขณะเคลอ่ื นท่ใี นทา่ วิ่งกระโดด เขย่ง และกระโจน ๓. ครูเลอื กนักเรยี น ๒-๓ คู่ ออกมาสาธิตการเคล่ือนไหวร่างกายขณะเคลื่อนท่ใี นท่าว่ิงกระโดดเขย่ง และ กระโจน เพื่อใหก้ ลุ่มตวั อยา่ งสามารถปฏิบัตไิ ด้อย่างถูกตอ้ งและคลอ่ งแคล่ว ๔. นักเรียนแตล่ ะค่ฝู ึกเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะเคลือ่ นทใี่ นท่าวิง่ กระโดดเขย่ง และกระโจน ตามตวั อย่างท่คี รแู ละ เพือ่ นสาธติ ใหด้ ู หากไม่เขา้ ใจให้สอบถามครผู ้สู อน ขน้ั ท่ี ๓ สรุปการสาธิต ๑.ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคู่ร่วมกันสรปุ ข้ันตอนการเคลื่อนไหวร่างกายขณะเคล่อื นท่ีในท่าว่งิ กระโดดเขย่ง และ กระโจน ๒. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุน้ ความคดิ นกั เรียนคิดว่า การปฏบิ ัติกิจกรรมการเคลอื่ นไหวรา่ งกายขณะเคลอ่ื นที่ มปี ระโยชน์ ต่อร่างกายอยา่ งไร ขั้นท่ี ๔ วดั ผลประเมินผล ๑.ครูวดั ประเมินผลนักเรียนจากการปฏบิ ัติกิจกรรมการเคล่อื นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนที่ในท่าวง่ิ กระโดดเขย่ง และกระโจน ในใบงานเร่ือง วิ่งกระโดดเขยง่ และกระโจน ๑๐. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ ๑) หนงั สอื เรียน สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สือ่ เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน
๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมีความรบั ผิดชอบ เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสุขศึกษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ่๑ี ๐ กิจกรรมเคล่ือนไหว ชั้นประถมศกึ ษาปที ี๓ เรือ่ ง การเคล่อื นไหวร่างกาย ประกอบอปุ กรณ์ เวลา ๑ ชว่ั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การเคลอื่ นไหวร่างกายประกอบอปุ กรณ์ เป็นการฝึกปฏบิ ัติการควบคมุ รา่ งกาย เพ่อื สร้างเสรมิ สุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ๓.ตัวชวี้ ดั ป.๓/๑ ควบคุมการเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะอยกู่ ับที่ เคลือ่ นที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบอย่างมีทิศทาง ๔.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธบิ ายวธิ ีการเคล่อื นไหวรา่ งกายประกอบอุปกรณ์ได(้ K) ๒.นักเรยี นปฏิบัตวิ ิธีการเคลือ่ นไหวร่างกายประกอบอุปกรณ์ได้(P) ๓.มคี วามกระตือรือรน้ และสนใจเข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. การเคลอื่ นไหวร่างกายแบบใช้อุปกรณป์ ระกอบโดยมกี ารบังคับทิศทาง เช่น ดีด ขวา้ ง โยน และรบั ๒.วธิ ีการควบคมุ การเคลื่อนไหวรา่ งกายแบบตา่ งๆ อย่างมีทิศทาง ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และทกั ษะในแก้ปญั หา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการส่ือสาร -ผ้เู รยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความร้สู กึ และทศั นะของ ตนเองและแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง และสังคมและมีไวพริบที่ดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผู้เรยี นสามารถการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นอยา่ งเป็นระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผูเ้ รยี นนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผ้เู รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ -สืบคน้ ขอ้ มลู เนื้อหาสาระที่ตอ้ งการรู้ ๒. มงุ่ ม่ันในการทำงาน -มีความตง้ั ใจและพยายามในหน้าทท่ี ไี่ ดร้ ับมอบหมาย ๙.ขน้ั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี ๑ สังเกต รับรู้ (วธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั ิ) ๑.นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ๒.นักเรียนแตล่ ะคู่ (ค่เู ดิมจากแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓) ร่วมกนั ศึกษาความรู้เรื่อง การเคลื่อนไหว ร่างกายประกอบอปุ กรณ์ จากหนงั สือเรียนหรือบทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๓.ครูเปิดวซี ีดีการเคล่อื นไหวรา่ งกายประกอบอปุ กรณ์ในท่าทุ่มลกู บอล โยนลกู บอลสลับมือ และเตะลูก บอลสลับกบั คู่ ให้นกั เรียนดู เพื่อสงั เกตการเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบอุปกรณใ์ นแตล่ ะทา่ นักเรียนได้รับประโยชนจ์ ากการเคล่อื นไหวร่างกายโดยโยนลูกบอลสลบั มืออย่างไร
ขน้ั ท่ี ๒ ทำตามแบบ ๑. ครเู ปดิ วซี ีดกี ารเคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบอปุ กรณ์ให้นักเรียนดอู ีกคร้งั อยา่ งละเอยี ด ๒. ครนู ำนักเรยี นอบอุ่นร่างกาย แล้วให้แตล่ ะคฝู่ กึ เคลือ่ นไหวรา่ งกายประกอบอปุ กรณ์ ตามตัวอยา่ งในวีซดี ีทีละ ทา่ ดังน้ี - ทา่ ท่ี ๑ ทมุ่ ลกู บอล - ท่าท่ี ๒ โยนลูกบอลสลบั มอื - ทา่ ท่ี ๓ เตะลูกบอลสลับกับคู่ ๓. นักเรยี นแตล่ ะคฝู่ กึ คลื่อนไหวรา่ งกายประกอบอปุ กรณห์ รือใหน้ ักเรยี นศึกษาเพ่มิ เติมจากเอกสารประกอบการ สอน พรอ้ มปรบั ปรุงแกไ้ ขหากมีข้อบกพรอ่ งหรือขอคำแนะนำจากครูผู้สอน ข้ันท่ี ๓ ทำเองโดยไม่มีแบบ ๑.นักเรยี นแต่ละคู่ฝึกเคลื่อนไหวร่างกายประกอบอปุ กรณ์ โดยไมต่ ้องดูตัวอย่างจนครบทงั้ ๓ ท่า ๒.ครูสังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรมของนกั เรียนเป็นรายบุคคล และเน้นย้ำใหน้ กั เรียนคำนงึ ถงึ ความปลอดภัย ของตนเองและผู้อน่ื ข้ันที่ ๔ ฝกึ ทำให้ชำนาญ ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. นักเรยี นแตล่ ะคเู่ คลื่อนไหวร่างกายประกอบอุปกรณ์แลว้ บันทึกผลการปฏบิ ตั ิลงในใบงานเร่ือง การเคลอื่ นไหว ร่างกายประกอบอปุ กรณ์ เสร็จแลว้ นำใบงาน ส่งครูตรวจ ๓. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละคนทำแบบฝกึ กิจกรรม จากแบบวัดฯเป็นการบา้ น เสรจ็ แลว้ นำสง่ ครูตรวจในชัว่ โมง ถดั ไป ๑๐. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนังสือเรียน สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรยี น (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) ตรวจใบงาน สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ ตรงตอ่ รายบุคคล เกณฑ์ เวลา และมคี วามรบั ผดิ ชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชาสขุ ศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรู้ท่๑ี ๐ กิจกรรมเคลอื่ นไหว ช้ันประถมศกึ ษาปที ๓ี เรื่อง ทดสอบการเคลือ่ นไหว ร่างกาย เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การทดสอบการเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย เป็นการฝึกปฏิบัติการควบคุมรา่ งกาย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ รา่ งกาย ให้แขง็ แรง ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ๓.ตวั ชี้วดั ป.๓/๑ ควบคมุ การเคลื่อนไหวรา่ งกายขณะอย่กู บั ที่ เคลือ่ นท่ี และใช้อุปกรณป์ ระกอบอย่างมีทิศทาง ๔.จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถทดสอบการปฏบิ ตั กิ ารเคลื่อนไหวร่างกายตา่ งๆ ได(้ K) ๒.นักเรยี นปฏบิ ตั ิวิธีการเคลื่อนไหวรา่ งกายต่างๆ ได้(P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ ๑. การเคลอื่ นไหวร่างกายแบบอยกู่ ับท่ี เช่น ยอ่ ยดื เขย่ง พบั ตวั เคลื่อนไหวลำตัว การเคลอ่ื นไหวแบบ เคล่ือนที่ เชน่ เดนิ ต่อเท้า เดนิ ถอยหลงั กระโจน และแบบใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบโดยมีการบังคบั ทิศทาง เช่น ดดี ขว้าง โยน และรับ ๒. วิธีการควบคุมการเคล่อื นไหวร่างกายแบบต่างๆ อย่างมที ิศทาง ๖.ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทักษะในแกป้ ญั หา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ ำ
๗.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผู้เรียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทัศนะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสังคมและมีไวพริบท่ีดใี นการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นอย่างเปน็ ระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รียนนำความร้ทู ี่ได้รบั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกับคนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผ้เู รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ดว้ ยตนเอง ๘.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ -สบื ค้นขอ้ มลู เนือ้ หาสาระทต่ี อ้ งการรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน -มีความต้งั ใจและพยายามในหนา้ ที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๙.ขน้ั จดั กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ ท่ี ๑ มีผ้นู ำและมกี ารแบ่งหนา้ ที่รับผดิ ชอบ (วธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม) ๑.นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ๒. ครนู ำใบงาน มาแจกใหน้ ักเรียนแตล่ ะคน ๓.ครูให้นกั เรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๑) เลือกหวั หนา้ กลุ่มเพื่อปฏิบตั กิ ิจกรรมการ เคลือ่ นไหว ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มทดสอบการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเคลือ่ นไหวรา่ งกายขณะอยูก่ บั ที่ ขณะเคล่ือนท่แี ละ ประกอบอปุ กรณ์ในทุกทา่ เพอื่ เป็นการทดสอบสมรรถภาพทางรา่ งกาย (นอกเวลาเรียน) โดยใหค้ รอบคลมุ ประเด็นตามที่ กำหนด ดงั น้ี ๑) การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะอยู่กบั ท่ี ๒) การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะเคล่ือนท่ี ๓) การเคลือ่ นไหวรา่ งกายประกอบอปุ กรณ์ ๔) ทักษะในการปฏิบัตกิ จิ กรรมการเคลื่อนไหวรา่ งกาย
ขนั้ ท่ี ๒ วางแผน ๑. สมาชิกแตล่ ะกล่มุ รว่ มกนั ทบทวนและศึกษาความรเู้ พิ่มเติมเรอื่ ง การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะอยกู่ ับท่ี ขณะ เคลื่อนที่และประกอบอุปกรณ์ จากหนังสอื เรียน ๒. สมาชกิ แต่ละกล่มุ รว่ มกนั วางแผนการปฏบิ ัติกจิ กรรมเคล่ือนไหวรา่ งกายขณะอยู่กบั ท่ี ขณะเคลื่อนที่ และ ประกอบอปุ กรณ์ ข้ันที่ ๓ ปฏิบตั ิตามแผน ๑.สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ปฏิบัตกิ ิจกรรมเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ตามแผนที่ได้วางไวใ้ นขนั้ ที่ ๒ หากมีข้อสงสัยให้ สอบถามจากครู ข้นั ที่ ๔ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน ๑.นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มมาทดสอบการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเคลอ่ื นไหวรา่ งกายขณะอยูก่ บั ท่ี ขณะเคล่อื นที่ และประกอบ อุปกรณ์ กบั ครู (นอกเวลาเรียน) ๒. ครูประเมินผลการทดสอบการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเคลื่อนไหวรา่ งกาย พร้อมกับให้คำแนะนำในจุดท่ีบกพร่อง ขน้ั ท่ี ๕ ปรับปรงุ และพัฒนา ๑.สมาชิกแต่ละกลุม่ ร่วมกันปรับปรุงและพฒั นาการปฏิบัติกิจกรรมเคลอื่ นไหวรา่ งกายขณะอย่กู บั ที่ ขณะ เคลอ่ื นที่และประกอบอปุ กรณ์ ตามคำแนะนำทไ่ี ด้รบั จากครู ๒. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการปฏิบตั ิกิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกายขณะอยกู่ ับท่ี ขณะ เคลอ่ื นท่แี ละประกอบอุปกรณ์ แลว้ เนน้ ย้ำให้นกั เรียนคำนึงถึงความปลอดภัยและนำไปประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจำวัน ๑๐. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนงั สอื เรียน สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน
๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมีความรบั ผิดชอบ เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓๕ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชาสขุ ศึกษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่๑๑ เกมเบ็ดเตลด็ ช้ันประถมศึกษาปีท๓ี เร่อื ง การออกกำลังกาย เวลา ๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การออกกำลังกายเปน็ การปฏิบตั กิ ิจกรรมทีช่ ่วยใหส้ ขุ ภาพแข็งแรง ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ พ.๓.๒ รกั การออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเลน่ กฬี า ปฏบิ ตั เิ ปน็ ประจำอย่างสม่ำเสมอมวี นิ ยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ำ้ ใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และช่ืนชมในสุนทรียภาพ ของการกฬี า ๓.ตวั ชีว้ ัด ป.๓/๑ เลือกออกกำลงั กาย การละเล่นพ้นื เมืองและเล่นเกมท่ีเหมาะสมกับจุดเดน่ จดุ ด้อย และข้อจำกดั ของตนเอง ป.๓/๒ ปฏิบัติตามกฎ กตกิ า และข้อตกลงของการออกกำลังกาย การเล่นเกม การละเลน่ พ้นื เมืองได้ด้วย ตนเอง ๔.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑.นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายการออกกำลังกายได้ (K) ๒.นักเรยี นปฏิบตั ิวิธกี ารการออกกำลังกายได้ (P) ๓.มีความกระตือรอื รน้ และสนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. แนวทางการเลือกออกกำลังกายทีเ่ หมาะสมกบั จดุ เด่น จดุ ด้อย และข้อจำกดั ของแตล่ ะบุคคล ๒. การออกกำลงั กาย ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในแก้ปญั หา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ๑.ความสามารถในการส่อื สาร -ผ้เู รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมีไวพริบที่ดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผู้เรียนสามารถการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ อย่างเปน็ ระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตัดสนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรูท้ ี่ไดร้ ับไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ผเู้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ด้วยตนเอง ๘.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สบื คน้ ขอ้ มูลเนอื้ หาสาระทต่ี ้องการรู้ ๒. มงุ่ มั่นในการทำงาน -มีความตั้งใจและพยายามในหน้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย ๙.ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี ๑ สงั เกต (วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความตระหนัก) ๑.นักเรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ ๒.ครูสอบถามนกั เรยี นว่า ในแต่ละวนั นกั เรยี นได้ออกกำลังกายบา้ งหรือไม่ ให้อธบิ ายพร้อมเหตุผล ประกอบ แล้วสุ่มนกั เรยี น ๒-๓ คน มาอธบิ ายหนา้ ชน้ั เรยี น ๓.ครูให้นกั เรียนชว่ ยกนั บอกความหมายของคำวา่ การออกกำลงั กาย ตามความเข้าใจของนักเรียน จากนน้ั ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ ใหน้ ักเรยี นเข้าใจวา่ การออกกำลงั กายสามารถเรม่ิ ไดจ้ ากการออกกำลังกาย จากกิจวตั รประจำวัน เชน่ เดินหรอื ขจ่ี ักรยาน เมื่อไปทไี่ ม่ไกล ใช้บนั ไดแทนการขึน้ ลฟิ ต์ ทำงานบา้ นท่ี ตอ้ งออกแรง เชน่ ทำสวน ถบู า้ น เปน็ ต้น
ข้ันท่ี ๒ วิเคราะห์วจิ ารณ์ ๑.ครแู บง่ นกั เรยี นเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๔ คน คละกนั ตามความ สามารถ คือ เกง่ ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปาน กลางค่อนข้างอ่อน และออ่ น จากนนั้ รว่ มกนั ศึกษาความรูเ้ รื่อง การออกกำลงั กาย จากหนังสือเรียนหรอื บทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. ครใู ห้นักเรยี นยกตัวอย่างกิจกรรมออกกำลังกายทนี่ ักเรยี นเคยปฏบิ ตั ิ แล้วร่วมกันวิเคราะหว์ จิ ารณแ์ ละแสดง ความคดิ เหน็ ว่า กิจกรรมทีร่ ่วมกนั ยกตวั อย่างมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ๓. ตวั แทนกลมุ่ นำเสนอผลการวิเคราะห์วจิ ารณ์หน้าชั้นเรียน แล้วให้เพื่อนกลุ่มอน่ื ทมี่ ีผลการวิเคราะหท์ ่ี แตกต่างกันออกมานำเสนอเพ่ิมเตมิ ขน้ั ท่ี ๓ สรปุ ๑.นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั เขียนสรุปความรู้เรอื่ งการออกกำลงั กาย เป็นแผนผังความคดิ โดยบอกแนวทาง ในการเลอื กออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวยั ของตนเอง เพ่ือนำไปปฏิบตั ิให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย ๒. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะคนทำแบบฝกึ กจิ กรรมท่ี ๑ ข้อ ๑ จาก แบบวดั ฯ เป็นการบ้าน เสร็จแล้วนำส่งครูใน ชั่วโมงถัดไป ๑๐. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมินผล วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ ตรงต่อ รายบคุ คล เกณฑ์ เวลา และมีความรบั ผิดชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา รายวชิ าสุขศกึ ษา หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี๑๑ เกมเบด็ เตล็ด ช้นั ประถมศกึ ษาปีที๓ เร่อื ง หลักการออกกำลังกาย เวลา ๑ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การร้หู ลกั การออกกำลงั กาย จะช่วยทำให้ออกกำลังกายได้ถูกต้อง และทำใหผ้ ูอ้ อกกำลังกายมีสุขภาพ ทด่ี ี ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ พ.๓.๒ รักการออกกำลงั กาย การเลน่ เกม และการเลน่ กฬี า ปฏิบตั ิเป็นประจำอย่างสมำ่ เสมอมีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี ำ้ ใจนักกีฬา มีจติ วญิ ญาณในการแขง่ ขัน และช่ืนชมในสุนทรยี ภาพ ของการกฬี า ๓.ตัวชีว้ ดั ป.๓/๑ เลือกออกกำลงั กาย การละเล่นพ้นื เมืองและเล่นเกมท่ีเหมาะสมกบั จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย และข้อจำกัด ของตนเอง ป.๓/๒ ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงของการออกกำลงั กาย การเล่นเกม การละเลน่ พื้นเมืองไดด้ ว้ ย ตนเอง ๔.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถอธิบายหลกั การออกกำลังกายได้ (K) ๒.นกั เรยี นปฏบิ ตั ิวธิ กี ารการออกกำลงั กายได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรอื ร้นและสนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. แนวทางการเลือกออกกำลงั กายท่เี หมาะสมกับจุดเดน่ จุดด้อย และข้อจำกัดของแต่ละบคุ คล ๒. การออกกำลงั กาย ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในแกป้ ญั หา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผู้เรยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมไี วพรบิ ที่ดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผเู้ รียนสามารถการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ อย่างเปน็ ระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รียนนำความรู้ทไี่ ด้รบั ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผู้เรยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ดว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สืบค้นข้อมลู เนื้อหาสาระท่ตี ้องการรู้ ๒. ม่งุ ม่ันในการทำงาน -มคี วามต้งั ใจและพยายามในหนา้ ทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย ๙.ข้นั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันที่ ๑ สงั เกต (วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการสรา้ งเจตคติ) ๑.นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ๒.ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนบอกถึงกจิ กรรมออกกำลงั กายท่ีชน่ื ชอบ พรอ้ มระบเุ หตุผลประกอบ ๓.ครขู ออาสาสมัครนักเรียนออกมาเลา่ ถึงกิจกรรมออกกำลงั กายทีช่ ่ืนชอบใหเ้ พื่อนๆ ฟัง ข้นั ที่ ๒ วิเคราะห์ ๑.นักเรียนกล่มุ เดมิ (จากแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑) ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ รื่อง หลกั การออกกำลงั กาย จาก หนังสอื เรียนหรอื บทเรียนคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. ครูตง้ั คำถามใหส้ มาชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกันวเิ คราะห์และแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั หลักการออกกำลงั กาย เช่น - เพราะเหตุใด ควรออกกำลังกายอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ ๓ ครัง้ คร้งั ละไมน่ ้อยกวา่ ๓๐ นาที - เพราะเหตุใดการออกกำลังกายควรเลอื กกจิ กรรมให้เหมาะสมกับจดุ เด่นจุดด้อยและข้อจำกัดของ ตนเอง
๓. ตวั แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการวิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็นของกลุ่มหนา้ ชั้นเรยี น ๔. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคนเลือกกิจกรรมออกกำลงั กายท่เี หมาะสมกับตัวเองคนละ ๑ ชนดิ แลว้ เขยี นอธบิ ายถงึ ประโยชน์ของกจิ กรรมที่เลอื กลงในสมุดของตนเอง ๕. ครสู ุม่ นกั เรียน ๒-๓ คน นำเสนอคำตอบของตนเองหน้าช้นั เรยี น ครตู รวจสอบความถูกต้องและให้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ข้นั ที่ ๓ สรุป ๑.ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ความรเู้ กย่ี วกับหลักการออกกำลงั กาย โดยมีแนวทางในการสรปุ ดังน้ี ๑) ออกกำลังกายอยา่ งสม่ำเสมอ อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ ๓ ครง้ั ๒) เลอื กกจิ กรรมที่เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และขอ้ จำกัด ของตนเอง ๓) เลอื กกิจกรรมทีฝ่ ึกทักษะหลายแบบ ๔) กอ่ นออกกำลงั กาย ควรอบอุ่นร่างกาย ๕) ถ้ามีอาการผดิ ปกติขณะออกกำลงั กาย ควรหยดุ พักทนั ที ๒. ครูให้นักเรยี นแต่ละทำแบบฝึกกจิ กรรมท่ี ๑ ข้อ ๒ จากแบบวดั ฯ เสร็จแลว้ นำสง่ ครูตรวจ ๑๐. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนงั สอื เรยี น สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจใบงาน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อ รายบคุ คล เกณฑ์ เวลา และมีความรบั ผดิ ชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓๗ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวิชาสขุ ศึกษา หน่วยการเรยี นรูท้ ๑่ี ๑ เกมเบด็ เตล็ด ชั้นประถมศึกษาปที ี๓ เรอื่ ง การอบอ่นุ รา่ งกาย เวลา ๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การอบอุ่นร่างกายเป็นการเตรียมความพร้อมของรา่ งกาย ก่อนออกกำลงั กาย เพื่อให้ร่างกายเกดิ ความ พรอ้ มและมีความปลอดภัย ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ พ ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า ๓.ตัวชี้วัด ป.๓/๒ เคลื่อนไหวรา่ งกายทใี่ ชท้ ักษะการเคลอ่ื นไหวแบบบังคบั ทิศทางในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ๔.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.นักเรียนสามารถอบอุ่นร่างกายได้อยา่ งถูกวิธี (K) ๒.นกั เรยี นปฏิบตั ิวธิ กี ารอบอ่นุ รา่ งกายได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรือรน้ และสนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. การอบอนุ่ ร่างกาย ๖.ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผู้นำ
๗.สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผ้เู รียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรูส้ กึ และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลยี่ นข้อมูลข่าวสารและประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง และสังคมและมไี วพริบท่ีดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผู้เรียนสามารถการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ อยา่ งเป็นระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรู้ทไี่ ด้รับไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผเู้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สืบคน้ ขอ้ มลู เนื้อหาสาระท่ตี ้องการรู้ ๒. มุ่งมน่ั ในการทำงาน -มีความตง้ั ใจและพยายามในหน้าที่ท่ีไดร้ บั มอบหมาย ๙.ขัน้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั ที่ ๑ สังเกต รับรู้ (วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ัติ) ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ ๒. ครูสนทนากบั นักเรียนเก่ียวกับการออกกำลังกายของนกั เรียนในชวี ิตประจำวนั แล้วถามนักเรียนวา่ ก่อนออกกำลงั กายนกั เรยี นอบอุ่นร่างกายหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ๓. ครชู แ้ี จงให้นกั เรยี นฟงั วา่ ก่อนออกกำลงั กายหรือเล่นกฬี าจะต้องมีการอบอุ่นร่างกาย เพอ่ื เตรยี ม ความพรอ้ มใหก้ ับร่างกาย ซ่ึงการอบอุ่นร่างกายมีหลายประเภท โดยจะเร่มิ ตน้ จากการเคลือ่ นไหว แบบชา้ ๆ ไปจนถงึ การเคล่อื นไหวท่ีเรว็ ขน้ึ ตามลำดบั ๔. ครูแนะนำใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เรอ่ื ง การอบอุ่นรา่ งกาย จากหนังสอื เรยี นหรือบทเรียน คอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรอื เอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติมนอกเวลาเรยี น ๕. ครูสาธติ การอบอ่นุ ร่างกายในทา่ ต่างๆ ตามลำดบั ทา่ ที่ 1-6 พร้อมกบั อธิบายประกอบในแต่ละท่า เพ่ือใหน้ กั เรยี นสามารถนำไปปฏิบตั ติ ามได้
ข้ันที่ ๒ ทำตามแบบ ๑.นักเรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑) ร่วมกัน ฝกึ ปฏบิ ัติการอบอนุ่ ร่างกายในทา่ ตา่ งๆ ตาม แบบทคี่ รสู าธิตอย่างเป็นลำดับข้นั ตอน ครูตรวจสอบความถูกต้องของนักเรียนแตล่ ะคน และให้ข้อเสนอแนะ หากมีข้อบกพร่อง ขนั้ ท่ี ๓ ทำเองโดยไม่มแี บบ ๑.นกั เรียนแต่ละคนฝึกปฏบิ ัตกิ ารอบอุ่นรา่ งกายตามท่าท่ีกำหนดโดยไมม่ ีแบบ แลว้ ให้เพอ่ื นสมาชกิ ในกลมุ่ สงั เกตว่า สามารถทำเองได้อยา่ งถกู วธิ ีหรอื ไม่ ๒.ครสู ังเกตการปฏบิ ัติกจิ กรรมของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม พรอ้ มให้คำแนะนำหากการปฏบิ ัตขิ องนักเรียนมี ข้อบกพร่อง ขั้นท่ี ๔ ฝกึ ทำให้ชำนาญ ๑.นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ๒.ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมาแสดงการอบอุ่นร่างกาย ๓.ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความร้เู รือ่ ง การอบอนุ่ รา่ งกาย และเน้นย้ำให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญ ของการอบอนุ่ รา่ งกาย ๔.ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทำแบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ ข้อ ๑ จาก แบบวดั ฯ เปน็ การบา้ น เสร็จแล้วนำสง่ ครู ตรวจในชวั่ โมงถัดไป การอบอนุ่ ร่างกายก่อนออกกำลังกายมปี ระโยชน์อยา่ งไร ๑๐. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนังสอื เรียน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) ส่อื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน
๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน เวลา เกณฑ์ และมีความรบั ผิดชอบ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓๘ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชาสขุ ศกึ ษา หน่วยการเรียนรทู้ ๑่ี ๑ เกมเบด็ เตลด็ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี๓ เรอื่ ง เกมแข่งรถ เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การเล่นเกมแข่งรถ เปน็ การเคล่อื นไหวรา่ งกายทใ่ี ชท้ ักษะการเคล่อื นไหวแบบบังคบั ทิศทาง เพื่อสร้าง เสรมิ สขุ ภาพรา่ งกายใหแ้ ข็งแรง ซงึ่ ตอ้ งปฏบิ ัตใิ หถ้ ูกต้องตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเลน่ ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า พ ๓.๒ รกั การออกกำลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีน้ำใจนักกีฬา มีจติ วิญญาณในการแข่งขนั และช่ืนชม ในสนุ ทรียภาพของการกีฬา ๓.ตัวชว้ี ัด ป.๓/๒ ปฏบิ ัติตามกฎกติกาและข้อตกลงของการออกกำลังกายการเลน่ เกมการละเล่นพน้ื เมืองได้ดว้ ย ตนเอง ป.๓/๒ เคล่ือนไหวรา่ งกายท่ใี ช้ทักษะการเคลอ่ื นไหวแบบบงั คับทิศทางในการเลน่ เกมเบด็ เตลด็ ๔.จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธิบายวธิ ีเลน่ เกมแขง่ รถได้ (K) ๒.นักเรยี นปฏบิ ตั ิเล่นเกมแขง่ รถได้อย่างถูกวิธี (P) ๓.มคี วามกระตือรอื ร้นและสนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ ๑. กิจกรรมทางกายท่ใี ช้ทกั ษะการเคลื่อนไหวแบบบงั คบั ทิศทางในการเลน่ เกมเบ็ดเตล็ด ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในแก้ปัญหา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ
๗.สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผู้เรยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปล่ยี นขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสังคมและมไี วพรบิ ท่ีดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผ้เู รยี นสามารถการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เป็นอยา่ งเป็นระบบมเี หตผุ ลและ สามารถ ตัดสนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผ้เู รยี นนำความรทู้ ี่ได้รบั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ผู้เรยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สบื คน้ ขอ้ มลู เน้อื หาสาระที่ตอ้ งการรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน -มคี วามต้ังใจและพยายามในหนา้ ท่ที ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๙.ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ที่ ๑ เตรยี มการสาธิต (วธิ สี อนโดยใช้การ สาธติ ) ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตุน้ ความคดิ ๒.ครใู ห้นกั เรียนช่วยกนั ยกตัวอย่างเกมเบด็ เตล็ดทรี่ ู้จกั หรือเคยเลน่ แลว้ สมุ่ เรียกนักเรยี น ๒-๓ คน ออกมา เลา่ ถงึ วิธกี ารเลน่ ให้เพอื่ นฟงั จากนนั้ ครแู นะนำเกมเบ็ดเตล็ดให้นักเรียนรจู้ ัก ๓.ครูแนะนำให้นักเรยี นศึกษาความรู้เร่ือง เกมแข่งรถ จากหนงั สอื เรยี นหรือบทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite เพ่มิ เติมนอกเวลาเรียน ๔.ครเู ตรยี มการสาธิตและอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการสาธติ การเล่นเกมแข่งรถ เพ่ือใหส้ ามารถอธบิ ายประกอบใน แต่ละขน้ั ตอนได้ง่ายขน้ึ
ขนั้ ที่ ๒ สาธติ ๑.ครูอธิบายวธิ ีการเลน่ เกมแข่งรถ จากนัน้ ให้นักเรยี นรวมกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑) แล้วขอ อาสาสมัครนกั เรียน ๑-๒ คน ออกมานำเพอื่ นอบอุ่นรา่ งกายก่อนการฝึกเลน่ เกม ๒.ครูเลือกนกั เรียน ๑ กลุ่ม ออกมาเลน่ เกมแขง่ รถใหเ้ พื่อนดู โดยครูอธิบายประกอบในแตล่ ะข้นั ตอน เพื่อให้ กลมุ่ ตวั อยา่ งสามารถปฏิบัตไิ ด้อยา่ งถูกต้อง และคลอ่ งแคล่ว ๓.นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกปฏบิ ัตติ ามแบบให้ถูกต้อง หากไมเ่ ข้าใจให้สอบถามครูผสู้ อน หรือศึกษาเพ่มิ เติมจาก เอกสารประกอบการสอน ๔. ครูสังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล และเน้นย้ำให้นักเรียนคำนึงถึงความปลอดภยั ของ ตนเองและผู้อ่ืน ขน้ั ที่ ๓ สรุปการสาธติ ๑.นักเรยี นร่วมกันสรุปวธิ ีการเล่นเกมแขง่ รถ ครูตรวจสอบ ความถกู ต้อง ๒.นกั เรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรียนคดิ ว่า การเล่นเกมแขง่ รถให้ประโยชน์ตอ่ นกั เรยี นอย่างไร ขัน้ ที่ ๔ วัดผลประเมินผล ๑.ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกนั แขง่ ขนั เล่นเกมแข่งรถ จากนัน้ สรุปผลการแข่งขัน และให้คำชมเชยกับ นักเรยี นแต่ละกลุ่ม ๒.นักเรียนร่วมกนั อบอนุ่ ร่างกายหลังการเลน่ เกมแขง่ รถพร้อมกัน ๓.ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกยี่ วกบั ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการเล่นเกมแขง่ รถ ๑๐. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนังสือเรียน สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน
๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมีความรบั ผิดชอบ เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสขุ ศึกษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี๑๑ เกมเบ็ดเตล็ด ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที๓ เรอ่ื ง เกมบอลเรียกชื่อ เวลา ๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การเล่นเกมบอลเรียกช่ือ เปน็ การเคลอื่ นไหวรา่ งกายที่ใช้ทักษะการเคล่ือนไหวแบบบงั คับทิศทาง เพื่อสร้างเสรมิ สุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ซึ่งตอ้ งปฏบิ ัตใิ ห้ถกู ต้องตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเลน่ ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า พ ๓.๒ รกั การออกกำลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏบิ ัติเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนักกีฬา มจี ิตวญิ ญาณในการแขง่ ขัน และชน่ื ชม ในสนุ ทรียภาพของการกีฬา ๓.ตัวชว้ี ดั ป.๓/๒ ปฏิบัตติ ามกฎกตกิ าและข้อตกลงของการออกกำลังกายการเลน่ เกมการละเลน่ พื้นเมอื งไดด้ ว้ ย ตนเอง ป.๓/๒ เคล่ือนไหวร่างกายทใ่ี ช้ทักษะการเคลอ่ื นไหวแบบบังคับทิศทางในการเลน่ เกมเบ็ดเตลด็ ๔.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นกั เรียนสามารถอธิบายวิธีเลน่ เกมบอลเรยี กช่อื ได้ (K) ๒.นกั เรยี นปฏิบตั ิเลน่ เกมบอลเรียกช่อื ไดอ้ ย่างถูกวธิ ี (P) ๓.มคี วามกระตือรอื ร้นและสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ ๑. กิจกรรมทางกายท่ีใชท้ ักษะการเคลื่อนไหวแบบบังคบั ทิศทางในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน ๑.ความสามารถในการส่ือสาร -ผ้เู รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง และสงั คมและมีไวพริบท่ีดีในการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผูเ้ รยี นสามารถการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นอยา่ งเป็นระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตัดสินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรูไ้ ปใช้ - ผ้เู รยี นนำความรทู้ ่ีได้รบั ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผเู้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สบื คน้ ข้อมูลเนอื้ หาสาระทต่ี อ้ งการรู้ ๒. มุ่งมนั่ ในการทำงาน -มีความตั้งใจและพยายามในหนา้ ทีท่ ี่ไดร้ บั มอบหมาย ๙.ข้นั จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ ๑ สังเกต รบั รู้ (วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการปฏิบตั ิ) ๑.นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. ครถู ามวา่ นักเรียนเคยเล่นเกมลงิ ชงิ บอลหรือไม่ ๓. ครแู จ้งใหน้ ักเรยี นทราบว่าจะใหเ้ ล่นเกมบอลเรยี กชอ่ื ซึง่ จดั เปน็ เกมเบ็ดเตล็ด ท่มี ีลักษณะการเล่น คลา้ ยๆ ลิงชิงบอล แตจ่ ะต้องอาศัยการใช้สมาธิและความว่องไวในการเล่น ๔.ครูแนะนำให้นกั เรยี นศกึ ษาความร้เู รื่อง เกมบอลเรียกชือ่ จากหนังสือเรยี นหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite เพ่ิมเตมิ นอกเวลาเรียน นกั เรยี นชอบเลน่ เกมหรือไม่ และชอบเล่นเกมแบบใด เพราะเหตใุ ด
ขัน้ ท่ี ๒ ทำตามแบบ ๑.ครูอธิบายวธิ ีเลน่ และอุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการเล่นเกมบอลเรยี กชือ่ จากนนั้ ให้นักเรยี นรวมกลมุ่ เดิม แลว้ รวมกลุม่ กับเพื่อนอีก ๑ กลุ่ม ( ๒ กลุ่ม รวมเป็น ๘ คน) ๒.ครขู ออาสาสมัครนักเรียนออกมานำเพื่อนอบอุ่นร่างกายกอ่ นการฝกึ เลน่ เกม ๓.ครูเลอื กนักเรยี น ๑ กลุ่ม ออกมาเล่นเกมบอลเรียกช่อื ให้เพื่อนดู โดยครอู ธบิ ายประกอบในแตล่ ะ ขนั้ ตอน เพ่อื ให้กล่มุ ตัวอยา่ งสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งถกู ต้อง และคล่องแคล่ว ๔.นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกปฏบิ ตั ิตามแบบให้ถูกต้อง หากไมเ่ ขา้ ใจให้สอบถามครูผู้สอน หรือศึกษาเพิม่ เติม จากเอกสารประกอบการสอน ขน้ั ที่ ๓ ทาเองโดยไมม่ ีแบบ ๑.นักเรียนแตล่ ะกลุ่มฝึกเลน่ เกมบอลเรียกชื่อโดยไม่มีแบบแลว้ ให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มสังเกตวา่ สามารถทำได้ อยา่ งถูกวิธหี รือไม่ ๒.ครสู ังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรมของนักเรียนเป็นกลุ่ม พร้อมให้คำแนะนำหากการปฏบิ ตั ิของนักเรยี นมี ขอ้ บกพรอ่ ง ขั้นที่ ๔ ฝกึ ทำใหช้ ำนาญ ๑.ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั แขง่ ขันเลน่ เกมบอลเรียกชือ่ จากนั้นสรปุ ผลการแขง่ ขัน และให้คำ ชมเชยกบั นักเรยี น แต่ละกลุม่ ๒. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั ประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการเลน่ เกมบอลเรยี กช่ือ ๓.นักเรียนรว่ มกนั อบอุ่นร่างกายหลังการเล่นเกมพร้อมกนั ๑๐. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนงั สอื เรยี น สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมินผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบก่อนเรยี น (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงาน สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อ รายบุคคล เกณฑ์ เวลา และมีความรบั ผิดชอบ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๔๐ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวิชาสุขศกึ ษา หน่วยการเรียนรูท้ ่๑ี ๑ เกมเบ็ดเตล็ด ช้ันประถมศกึ ษาปีที๓ เร่อื ง เกมตำรวจไล่จับขโมย เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ เกมตำรวจไล่จับขโมย เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายทใี่ ชท้ กั ษะการเคล่ือนไหวแบบบังคบั ทศิ ทางเพอ่ื สรา้ ง เสริมสุขภาพรา่ งกายใหแ้ ขง็ แรง ซึ่งต้องปฏิบัติใหถ้ ูกตอ้ งตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเลน่ ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กฬี า ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจำอย่างสม่ำเสมอ มีวนิ ยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนกั กีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขนั และชื่นชม ในสนุ ทรียภาพของการกีฬา ๓.ตวั ชว้ี ดั ป.๓/๒ ปฏิบัตติ ามกฎกตกิ าและข้อตกลงของการออกกำลงั กายการเลน่ เกมการละเลน่ พน้ื เมืองไดด้ ้วย ตนเอง ป.๓/๒ เคล่อื นไหวรา่ งกายท่ใี ชท้ ักษะการเคลอ่ื นไหวแบบบงั คับทิศทางในการเล่นเกมเบด็ เตลด็ ๔.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธิบายวิธีเลน่ เกมตำรวจไลจ่ บั ขโมยได้ (K) ๒.นักเรียนปฏบิ ัติเล่นเกมตำรวจไล่จับขโมยได้อย่างถูกวิธี (P) ๓.มีความกระตือรอื ร้นและสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ ๑. กิจกรรมทางกายท่ีใชท้ กั ษะการเคล่ือนไหวแบบบังคับทิศทางในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และทักษะในแกป้ ญั หา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ ำ
๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผูเ้ รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเอง และสงั คมและมีไวพริบที่ดใี นการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผ้เู รยี นสามารถการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคิดเป็นอย่างเปน็ ระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรทู้ ไ่ี ดร้ ับไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ผูเ้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ด้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื คน้ ข้อมูลเนอ้ื หาสาระท่ีตอ้ งการรู้ ๒. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน -มีความตง้ั ใจและพยายามในหน้าท่ีทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ๙.ขั้นจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันที่ ๑ เตรยี มการสาธิต (วธิ ีสอนโดยใชก้ าร สาธติ ) ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. ครูส่ังให้นกั เรยี นเขา้ แถวหนา้ กระดานและเข้าแถวตอนลกึ เพ่ือทดสอบความคล่องแคล่วในการ เคล่ือนไหวร่างกาย ๓. ครูถามนักเรยี นวา่ การเขา้ แถวไดถ้ กู ต้อง คล่องแคล่วตามคำสง่ั แสดงว่านกั เรยี นมที ักษะทดี่ ีในการ เคลอื่ นไหวหรือไม่ เพราะเหตุใด ๔. ครเู ตรียมอุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการสาธติ การเลน่ เกมตำรวจไล่จับขโมย เพ่ือให้ครสู ามารถอธิบายประกอบใน แต่ละขั้นตอนได้ง่ายขน้ึ ๕. ครแู นะนำใหน้ ักเรียนศึกษาความรู้เรอื่ ง เกมตำรวจไลจ่ ับขโมย จากหนังสือเรียนหรือบทเรียน คอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite เพ่มิ เตมิ นอกเวลาเรยี น การเคลือ่ นไหวร่างกายท่คี ล่องแคล่ววอ่ งไวมีผลตอ่ การเล่นเกมตำรวจไล่ จบั ขโมยหรือไม่ อยา่ งไร
ข้นั ท่ี ๒ สาธิต ๑.ครูขออาสาสมคั รนักเรียนออกมานำเพ่ือนอบอนุ่ รา่ งกายก่อน การฝึกเล่นเกม ๒.ครขู ออาสาสมัครนักเรยี น ๒ คน ออกมาสาธติ การเลน่ เกมตำรวจไลจ่ ับขโมย แล้วให้เพื่อนที่เหลือเข้า แถวหนา้ กระดาน ๔ แถว ๓.ครอู ธิบายประกอบในแต่ละขั้นตอนหรอื ให้นักเรยี นศึกษาเพ่มิ เตมิ จากเอกสารประกอบการสอน เพ่ือใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งสามารถปฏิบัติได้อยา่ งถกู ต้อง และคลอ่ งแคล่ว ๔.นกั เรียนจบั คู่กบั เพื่อนฝึกเล่นเกมตำรวจไลจ่ ับขโมย ตามท่ีได้ดจู ากการสาธิต แลว้ ผลัดเปลี่ยนกันเปน็ ตำรวจ โจร และผู้กำหนด คำส่ังรปู แบบแถวในการเล่นเกม (เป็นคนให้คำส่งั แทนครู) ๕.ครูสงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรมของนักเรยี น และให้ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติท่ถี ูกตอ้ ง ขน้ั ที่ ๓ สรุปการสาธติ ๑.นักเรียนรว่ มกันสรปุ วิธกี ารเลน่ เกมตำรวจไล่จบั ขโมยครตู รวจสอบความถูกต้อง ๒. นักเรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ ขั้นท่ี ๔ วดั ผลประเมนิ ผล ๑.ครวู ัดผลประเมนิ ผลนกั เรยี นจากการเล่นเกมตำรวจไล่จบั ขโมย ๒. ครนู ำนกั เรยี นอบอนุ่ รา่ งกายพรอ้ มกันหลังเลน่ เกมจบ ๑๐. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนังสือเรียน สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) ส่อื เพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมินผล วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงาน ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น รายบุคคล รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์ สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ ตรงต่อ แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน เวลา เกณฑ์ และมคี วามรบั ผดิ ชอบ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150