Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชวนอ่าน ชวนคิด พินิจสาระสำคัญ

ชวนอ่าน ชวนคิด พินิจสาระสำคัญ

Published by Wannapha Srikaeo, 2021-08-08 15:29:38

Description: อ่านจับใจความ สาระสำคัญบทความสั้น ๆ

Keywords: ชวนอ่าน ชวนคิด

Search

Read the Text Version

ชวนอา น ชวนคิด พินิจสาระสําคัญ

คํานํา หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ เรอง ชวนอ่าน ชวนคิด พินิจสาระสาํ คัญ ได้จัดทําขนึ เพือใชป้ ระกอบการเรยน การสอน สาํ หรับนักเรยนระดับชนั มัธยมศึกษาปที ๑ ตลอดจนบคุ คลทสี นใจ โดยคณะผู้จดั ทําได้แบ่ง เนือหาของหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ สน์ ีไว้ ได้แก่ ความ หมายการอา่ นจบั ใจความสาํ คญั จุดมงุ่ หมายในการ อ่านจับใจความสําคัญ หลกั การอ่านจับใจความ สําคญั แนวทางการอ่านจบั ใจความสําคัญ ขอ้ ควร ปฏบิ ตั ใิ นการอา่ นจับใจความสาํ คัญ การฝกฝนการ อา่ นจบั ใจความสาํ คญั ตัวอย่างการอา่ นจับใจความ สาํ คัญ และแบบฝกการอา่ นจับใจความสาํ คัญ หวงั เปนอยา่ งยิงวา่ เนอื หาสาระของหนังสือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์เล่มนี จะเปนประโยชน์ และใหค้ วามรู้ แกผ่ ู้เรยนและผู้สนใจทวั ไป คณะผจู้ ัดทาํ

สารบัญ หน้า เรอง ๑ ๒ ความหมายการอา่ นจับใจความสาํ คัญ ๕ จุดมุ่งหมายในการอา่ นจบั ใจความสาํ คัญ ๙ หลกั การอ่านจบั ใจความสําคัญ ๑๒ แนวทางการอ่านจับใจความสําคญั ๑๓ ขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นการอา่ นจบั ใจความสําคญั ๑๖ การฝกฝนการอ่านจบั ใจความสาํ คญั ๑๙ ตัวอยา่ งการอา่ นจับใจความสําคญั แบบฝกการอา่ นจับใจความสําคัญ

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๑ สาระการอา น ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๒ Ýจับใจความสําคญั จากเร่อื งท่ีอาน

๑ ความหมายการอาน จับใจความสําคัญ การอ่านจับใจความสําคัญ คือ การค้นหาสาระสําคัญของ เรอื งหรอื ของหนังสือทีอ่าน ส่วน นันคือข้อความทีมสี าระ ครอบคลมุ ข้อความอืน ๆ ใน ยอ่ หน้านันหรอื เนือเรอื ง ทังหมด ข้อความตอนหนึง หรอื เรอื งหนึงจะมใี จความ สําคัญทีสุดเพยี งหนึงเดียว ซงึ ใจความสําคัญก็คือสิงทีเปน สาระสําคัญของเรอื งนันเอง

๒ จดุ มุงหมายในการอาน จบั ใจความสาํ คัญ ๑. เพอื ให้นักเรยี นอ่านและ จับใจความได้ ไมใ่ ชเ่ พยี งเพอื เรยี นจบภายในชวั โมง เท่านัน เพอื ให้กิจกรรมการอ่านมี ความหมาย การอ่านจึงควร เปนการอ่านจากเอกสารนอก เหนือจาก หนังสือเรยี น หนังสือไมค่ วรหนามาก ควร จับเวลาให้พอเหมาะกับเนือ เรอื ง ๒. ให้ผูอ้ ่านสามารถบอก รายละเอียดของเรอื งราวที อ่านวา่ มสี าระอะไรบา้ ง โดย

๓ จุดมุงหมายในการอา น จับใจความสาํ คญั เล่ารายละเอียดได้ชดั เจนเพอื แสดงวา่ ผูอ้ ่านมคี วามเข้าใจใน เรอื งทีอ่าน ๓. อ่านเพอื ปฏิบตั ิตามคํา สังและคําแนะนํา ๔. ฝกการใชส้ ายตา นิยม อ่านเพอื ฝกการอ่านเรว็ และ ตอบคําถามได้ถูกต้อง แมน่ ยาํ ๕. อ่านเพอื สรุปหรอื ยอ่ เรอื งทีอ่านเกียวกับอะไร ๖. อ่านแล้วสามารถคาด การณ์ ทํานายเรอื งวา่ จะ ลงเอยอยา่ งไร

๔ จุดมุง หมายในการอา น จับใจความสําคัญ ๗. อ่านและทํารายงานยอ่ สรุป มกี ารฝกโน้ตยอ่ ๘. อ่านเพอื หาความจรงิ และแสดงข้อคิดเห็นได้

๕ หลักการอาน จับใจความสาํ คัญ ๑. ตังจุดมุง่ หมายในการ อ่านให้ชดั เจน เพอื ใชเ้ ปน แนวทางในการกําหนดกา รอ่านได้ อยา่ งเหมาะสมและ สามารถจับใจความหรอื คํา ตอบได้รวดเรว็ ยงิ ขึน ๒. ฝกการแบง่ จับสายตาใน แต่ละบรรทัดโดยใชส้ ายตาจับ เปนจุด ๆ พยายามแผช่ ว่ ง สายตา ให้กวา้ ง และใชเ้ วลาให้ น้อย แล้วเคลือนสายตาไป อยา่ งรวดเรว็ ทําซา ๆ หลาย ๆ ครงั จนเกิดความชาํ นาญ เมอื

๖ หลกั การอาน จับใจความสาํ คญั ชาํ นาญแล้วจะใชส้ ายตาในการ จับเนือความในแต่ละบรรทัด น้อยลง ๓. พยายามเก็บแต่ใจความ สําคัญของข้อความ หรอื เรอื ง ทีอ่านอยา่ งรวดเรว็ ๔. ขณะทีอ่านจะต้องรูว้ า่ ข้อความสําคัญอยูท่ ีใด โดยมี ข้อสังเกตวา่ ใจความสําคัญ ส่วนมาก จะปรากฏให้เห็นใน บรรทัดแรก หรอื บรรทัด สุดท้ายของแต่ละยอ่ หน้า

๗ หลกั การอาน จบั ใจความสาํ คัญ ๕. กําหนดปรมิ าณของ ข้อความทีจะอ่านไวล้ ่วงหน้า และจับเวลาทุกครงั เมอื เรมิ ต้น อ่าน ในแต่ละหน้า ซงึ หากมี การฝกหลายๆ ครงั จะทําให้ เวลาในการอ่านลดน้อยลง ๖. ขณะทีอ่านต้องพยายาม บงั คับสายตาให้กวาดไปตาม ตัวหนังสืออยา่ งรวดเรว็ ควร หลีกเลียง การอ่านทีละคํา และ ควรได้รบั การฝกอ่านทีละ ประโยค

๘ หลักการอา น จบั ใจความสําคญั ๗. หากเรอื งทีอ่านเปนเรอื ง ทีมคี วามยาวและหลายยอ่ หน้า เมอื อ่านจบลงทุกครงั ควรมี การทดสอบความเข้าใจด้วย การฝกถามตัวเอง บางเรอื ง อาจมคี ําตอบไมค่ รบแต่ต้อง ตอบเท่าทีมอี ยูใ่ ห้ครบถ้วนเพอื จะจับใจความสําคัญให้ได้มาก ทีสุดแล้วจดลงในกระดาษ นํา ไปเปรยี บเทียบกับเนือเรอื งถึง ความถูกต้องและพยายาม สํารวจหรอื เปรยี บเทียบข้อ บกพรอ่ งเพอื หาทางแก้ไข

๙ แนวทางการอา น จับใจความสาํ คัญ ๑. สํารวจส่วนประกอบของ หนังสือ เชน่ ชอื เรอื ง คํานํา สารบญั ฯลฯ เพราะส่วน ประกอบ ของหนังสือจะทําให้ เกิดความเข้าใจเกียวกับเรอื ง หรอื หนังสือทีอ่านได้กวา้ ง ขวางและรวดเรว็ ๒. ตังจุดมุง่ หมายเพอื เปน แนวทางใชก้ ําหนดวธิ อี ่านให้ เหมาะสม และจับใจความ หรอื หาคําตอบได้รวดเรว็ ขึน โดย จับใจความให้ได้วา่ ใคร ทํา อะไร ทีไหน

๑๐ แนวทางการอาน จับใจความสําคญั อยา่ งไร แล้วนํามาสรุปเปนใจ ความสําคัญ ๓. มที ักษะในการใชภ้ าษา สามารถเข้าใจความหมายของ คําศัพท์ต่าง ๆ มปี ระสบการณ์ หรอื ภมู หิ ลังเกียวกับเรอื งที อ่าน มคี วามเข้าใจในเรอื งที อ่าน มคี วามเข้าใจในลักษณะ ของหนังสือ เพราะหนังสือ แต่ละประเภทมรี ูปแบบการ แต่ง และเปาหมายของเรอื งที แตกต่างกัน

๑๑ แนวทางการอาน จับใจความสาํ คัญ ๔. ใชค้ วามสามารถในด้าน การแปลความหมายของคํา ประโยค และข้อความต่าง ๆ อยา่ งถูกต้องรวดเรว็ ๕. ใชป้ ระสบการณ์เกียวกับ เรอื งทีอ่านมาประกอบจะชว่ ย ให้เข้าใจและจับใจความได้ง่าย ขึน

๑๒ ขอควรปฏิบตั ใิ นการอาน จบั ใจความสาํ คญั ๑. อ่านผา่ น ๆ โดยตลอด เพอื ให้รูว้ า่ เรอื งทีอ่านเปนเรอื ง เกียวกับอะไร มใี คร ทําอะไร ทีไหน อยา่ งไร เมอื ไร ๒. อ่านให้รายละเอียดอีก ครงั หนึง เพอื ทําความเข้าใจ เรอื งทีอ่าน ๓. เขียนเรยี บเรยี งใจความ สําคัญของเรอื งทีอ่านด้วยสํา นวนภาษาของตนเอง ๔. อ่านทบทวนเพอื ตรวจ สอบความถูกต้องอีกครงั หนึง

๑๓ การฝกฝนการอาน จบั ใจความสาํ คัญ ๑. สรา้ งนิสัยรกั การอ่าน โดยพยายามฝกอ่านข้อความ ทุกประเภท แมแ้ ต่ปาย ประกาศต่าง ๆ ก็ควรอ่าน การ ฝกอ่านบอ่ ย ๆ จะทําให้เกิด นิสัยรกั การอ่าน อ่านหนังสือ ได้เรว็ ชา่ งสังเกต และจดจํา ข้อความต่าง ๆ ได้ดีขึน ๒. หัดใชพ้ จนานุกรมเมอื อ่านแล้วพบศัพท์ทีไมเ่ ข้าใจ อยา่ ท้อถอยหรอื ปล่อยผา่ น การใช้ พจนานุกรมจะทําให้รู้ คําศัพท์มากขึน

๑๔ การฝก ฝนการอาน จับใจความสาํ คญั ๓. จดบนั ทึกการอ่านขณะ ทีอ่าน ควรมสี มุดจดบนั ทึก เพอื บนั ทึกถ้อยคําทีน่าสนใจ แปลกใหม่ มคี ติ ข้อคิดความรู้ ใหม่ ๆ หรอื ข้อความทีนักเรยี น ประทับใจ โดยจดบนั ทึกชอื หนังสือ และผูเ้ ขียน หาก เปน หนังสือทีนักเรยี นต้องอ่าน บอ่ ย ๆ ควรใชป้ ากกาเน้น ข้อความหรอื แปะกระดาษสี คันหน้าทีมี ข้อความดังกล่าว ๔. ฝกจับใจความสําคัญที ละยอ่ หน้า ควรเรมิ ต้นจาก

๑๕ การฝกฝนการอา น จับใจความสาํ คัญ การจับใจความ สําคัญในแต่ละ ยอ่ หน้าให้ได้ถูกต้องแมน่ ยาํ เสียก่อน เพราะงานเขียนทีดี นัน แมใ้ จความหลายอยา่ งใน หนึงยอ่ หน้ามใี จความสําคัญ ๑ ใจความเท่านัน หากเรอื งมี หลายยอ่ หน้า แสดงวา่ มี ใจความสําคัญหลายใจความ เมอื นําใจความสําคัญของ แต่ละยอ่ หน้ามาพจิ ารณารวม กันจะทําให้สามารถจับใจ ความสําคัญของเรอื งได้ใน ทีสุด

๑๖ ตวั อยางการอา น จับใจความสาํ คัญ ค้างคาว ค้างคาวเปนสัตวท์ ีออกหากินในเวลา กลางคืน มนั สามารถบนิ ผาดโผน ฉวดั เฉวยี นไปมา โดยไมต่ ้องพงึ สายตา มนั อาศัยเสียงสะท้อนกลับของตัวมนั เอง โดย ค้างคาวจะส่งคลืนสัญญาณพเิ ศษ ซงึ สัน และรวดเรว็ เมอื สัญญาณไปกระทบสิง กีดขวางด้านหน้าก็จะสะท้อนกลับเข้ามา ทําให้รูว้ า่ มอี ะไรอยูด่ ้านหน้า มนั จะบนิ หลบ เลียงได้ แมแ้ ต่สายโทรศัพท์ทีระโยงระยาง เปนเส้นเล็ก ๆ คลืนเสียงก็จะไปกระทบแล้ว สะท้อนกลับเข้าหขู องมนั ได้ ไมม่ สี ัตวช์ นิด ไหนทีจะสามารถรบั คลืนสะท้อนกลับไปได้ ในระยะใกล้ แต่ค้างคาวทําได้ และบนิ วน กลับได้ทันท่วงที

๑๗ วธิ กี ารสรปุ ใจความสําคญั ใคร - ค้างคาว ทําอะไร - ออกหากิน เมอื ไร - ตอนกลางคืน อยา่ งไร - โดยไมใ่ ชส้ ายตา แต่อาศัย เสียงสะท้อนกลับของตัวมนั เอง ผลเปนอยา่ งไร - สามารถหลบสิง กีดขวาง ใจความสําคัญของเรือง ค้างคาว คือ ค้างคาวจะออกหากินในตอนกลางคืน โดยไมต่ ้องอาศัยสายตา แต่จะอาศัย เสียงสะท้อนกลับของตัวมนั เอง

๑๘ แบบฝก การอา น จบั ใจความสาํ คญั กานาชาสอนใจ มบี า้ นหลังหนึงทีบา้ นมกี านาชาสูงค่า เพราะเปน กาทีปนมาจากดินชนิดพเิ ศษสุดของประเทศจีน เลยวางไวห้ ัวเตียงอยา่ งทะนุถนอม มอี ยูค่ ืนหนึง ด้วยความไมร่ ะวงั มอื ไปปดโดนฝากานาชากระเด็น ตกสู่พนื ทังโกรธทังเจ็บใจ เมอื คิดวา่ ทําฝาแตกแล้ว จะเก็บกาไวใ้ ห้ดเู จ็บใจเล่นทําไม คิดได้ดังนันเลย หยบิ กานาชาขวา้ งออกไปนอกหน้าต่าง รุง่ เชา้ ตืนมา ลกุ ลงจากเตียง เห็นฝากานาชาหล่นอยูบ่ นรองเท้า นุ่นทีข้างเตียง ไมม่ อี ะไรแตกเสียหาย กานาชาก็ ขวา้ งทิงไปแล้ว ยงิ เจ็บใจ เลยกระทืบฝาจนแตก ละเอียด พอตอนสายเดินออกไปนอกบา้ น ปรากฏ วา่ กานาชาทีขวา้ งออกไปเมอื คืนนัน ยงั คาอยูบ่ น ต้นไมไ้ มม่ อี ะไรบุบสลายทําให้รูว้ า่ มอี ะไรอยูด่ ้านหน้า มนั จะบนิ หลบเลียงได้ แมแ้ ต่สายโทรศัพท์ทีระโยง ระยางเปนเส้นเล็ก ๆ คลืนเสียงก็จะไปกระทบแล้ว สะท้อนกลับเข้าหขู องมนั ได้ ไมม่ สี ัตวช์ นิดไหนทีจะ สามารถรบั คลืนสะท้อนกลับไปได้ในระยะใกล้ แต่ ค้างคาวทําได้ และบนิ วนกลับได้ทันท่วงที

๑๙ แบบฝกหดั จากเนือเรอง นักเรยนสามารถสรุป ใจความสาํ คญั ได้อยา่ งไร ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ...........................................................................

๒๐ แบบฝก การอาน จับใจความสาํ คัญ คิดแบบผงึ หรือแมลงวนั สมมุติวา่ เราจับผงึ จํานวน ๖ ตัว ใส่ในขวด และจับแมลงวนั ๖ ตัว ใส่ในอีกขวด จากนันวาง ขวดนอนลง โดยหันก้นขวดไปยงั หน้าต่างทีมี แสงสวา่ งกวา่ เราจะพบวk่ กล่มุ ผงึ จะพยายาม บนิ ออกทางก้นขวด จนกระทังมนั ตายจากการ ขาดอาหารหรอื หมดแรง ในขณะทีแมลงวนั จะ บนิ วนอยูใ่ นขวดชนไปชนมา แต่ก็จะค่อย ๆ ทยอยบนิ หาทางออกมาจากขวดได้ จากฝงคอ ขวดทีอยูต่ รงกันข้ามกับก้นขวดซงึ หันไปทาง หน้าต่าง นักวทิ ยาศาสตรเ์ ชอื วา่ ผงึ เปนสัตวท์ ีฉลาดมี องค์ความรู้ พวกมนั รูว้ า่ หากบนิ ไปในทิศทางทีมี แสงสวา่ งจะเปนทางออกจากรงั แต่เมอื มนั ต้อง มาอยูใ่ นขวด ซงึ เปนสถานการณ์ทีผงึ ไมเ่ คย ประสบมาก่อน มนั ก็ยงั คงเชอื ในความคิดแบบ เดิม ๆ ไมเ่ ปลียนแปลง คือ ต้องบนิ ออกทางแสง สวา่ งเท่านัน แต่สําหรบั แมลงวนั เปนสัตวท์ ีไมม่ ี ความคิดเปนตรรกะอะไร ดังนันเมอื มนั ถูกจับไว้ ในขวด มนั จึงบนิ ชนผนังขวดแกะทางไปเรอื ย จนในทีสุดก็พบกับทางออก

๒๑ แบบฝกหดั จากเนือเรอง นักเรยนสามารถสรุป ใจความสาํ คญั ได้อยา่ งไร ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ...........................................................................

๒๒ แบบฝก การอาน จับใจความสาํ คัญ ศิ ษย์ทีครู ไม่ต้องการ เด็กชายเดช เดชากุล เปนนักเรยี นชันประถม ศึกษาปที ๕ เปนลูกคนเดียวของผูม้ อี ันจะกินคน หนึงถูกพอ่ แมต่ ามใจมากเกินไป เดชเปนเด็กฉลาด แต่เขาไมส่ นใจต่อการเรยี นขาดเรยี นบ่อย เอาแต่ ใจตนเอง วนั หนึงเดชมาเรยี นตามปกติครูพรทิพย์ จึงเรยี กเดชมาพบทีโต๊ะหน้าห้องแต่เดช ไมย่ อม ออกมาทําเปนไมส่ นใจต่อคําพูดของคณุ ครูและมี การโต้ตอบทําให้ครูไมส่ ามารถ ข่มใจได้อีกจึงพูด สังสอนเดชอย่างโมโห วนั รุง่ ขึนเดชมาเรยี นเพยี ง ครงึ วนั แล้วก็หิวกระเปาเดินคอตกกลับบ้าน ครูพร ทิพย์สังเกตุวา่ ช่วงนีเดชมาเรยี นทุกวนั แต่งกาย เรยี บรอ้ ยแต่ซึมเศรา้ ครูพรทิพย์ทําเปนไมส่ นใจ เดชไมใ่ ยดีจนกระทังถึงวนั สอบอ่านวชิ าภาษาไทย เดชก็เข้ามาจะสอบแต่ครูไมส่ นใจไมพ่ ูดด้วยเขาก็ เดินออกไปแล้วเดินกลับบ้านนาตาซึม วนั รุง่ ขึน เดชไมม่ าเรยี นหลายวนั และครูได้ข่าววา่ เดชไม่ สบายครูจึงไปเยียม ทีบ้านเดชขอโทษคณุ ครู คณุ ครูพรทิพย์ให้อภัยเดชทุกอย่างเพราะเดชได้ ปรบั ปรุงตัวเองจนกลายเปนคนละคน คณุ ครูพร ทิพย์มคี วามสุขสุดทีจะกล่าว

๒๓ แบบฝกหดั จากเนือเรอง นักเรยนสามารถสรุป ใจความสาํ คญั ได้อยา่ งไร ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ...........................................................................

๒๔ แบบฝก การอา น จับใจความสําคญั รักพอดี ๆ ปรมิ าณความรกั คงไมส่ ามารถวดั ด้วยหน่วย วดั นาหนักได้ เพราะความรกั เปนเรอื งนามธรรม จับต้องไมไ่ ด้ แต่สามารถสัมผสั รบั รูค้ วามรูส้ ึกได้ รกั แค่ไหนถึงเรยี กวา่ พอดี จึงไมส่ ามารถกะ เกณฑ์เปนตัวเลขได้ มเี พยี งคนสองคนเท่านันที จะรูด้ ีวา่ รกั แค่ไหนถึงจะพอดี รกั แบบพอดีมนั ต้องอาศัยองค์ประกอบของความรกั และเหตผุ ล รกั แบบพอดีของคนๆหนึง ไมจ่ ําเปนต้องเท่ากับ ของอีกคนเสมอไปและไมม่ ใี ครสามารถกําหนด แทนกันได้ เพราะอยา่ งนีคนทีรกั ในวยั เรยี นต้อง เปนผูก้ ําหนดเอง โดยดจู ากปจจัยต่าง ๆ เชน่ ความรบั ผดิ ชอบมากน้อยแค่ไหน ผลการเรยี น อยูร่ ะดับไหน ความสัมพนั ธข์ องคนรอบข้างเป นอยา่ งไร และอืน ๆ ถ้าปจจัยเหล่านีอยูใ่ นขัน ตอนพอใจ มคี วามรบั ผดิ ชอบอยา่ งเต็มที การ เรยี นอยูใ่ นขันดี ก็ไมม่ อี ะไรต้องน่าเปนห่วง ความรกั แบบพอดีของคนเหล่านีจึงสามารถเลย ครงึ แก้ว(นา)มาได้

๒๕ แบบฝกหดั จากเนือเรอง นักเรยนสามารถสรุป ใจความสาํ คญั ได้อยา่ งไร ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ...........................................................................



คณะผูจ ัดทํา ๑. นายธรี พงษ์ พาเหลียม รหสั ประจาํ ตวั นสิ ิต ๖๒๐๑๐๕๑๔๐๒๕ กล่มุ เรยนที ๑ ๒. นางสาววรรณ์นภา ศรแก้ว รหสั ประจาํ ตัวนิสติ ๖๒๐๑๐๕๑๔๐๔๗ กลุม่ เรยนที ๒ ๓. นางสาวสกุ านดา การกาํ รหัสประจาํ ตวั นิสติ ๖๒๐๑๐๕๑๔๐๕๔ กลมุ่ เรยนที ๒ นิสิตสาขาวิชาภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook