Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ quit smoking เพื่อสุขภาพ

โครงการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ quit smoking เพื่อสุขภาพ

Published by 029 ปิยพรรณ, 2021-10-13 03:00:07

Description: หนังสือเล่มนี้จัดขึ้นเพื่อผู้ที่ต้องการศึกษาการเลิกบุหรี่

Search

Read the Text Version

โครงการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ quit smoking เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นางสาว ปราณี วัฒนวงศ์ 644991025 นางสาว วิมลสิริ สนพลาย 644991026 นางสาว ปวรรัตน์ กลิ่นเมือง 644991027 นางสาว ศรีกัญญา ใจซื่อ 644991028 นางสาว ปิยพรรณ ปักษากนก 644991029 นางสาว พัชราภรณ์ เข็มเพชร 644991030 นางสาว พิชญาภา หงษ์ทอง 644991031 นางสาว พิยดา ประทุมรัตน์ 644991033 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 1 เสนอ อาจารย์กมลภู ถนอมสัตย์ รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่ งของรายวิชาสร้างเสริมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2564 คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คำจำกัดความที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเลิกบุหรี่ บุหรี่ การสูบบุหรี่ ยาสูบที่นำมาบริโภคทุกประเภท การที่บุคคลนั้นปฏิบัติ ทั้งในรูปแบบสูด ดม อม กระบวนการสูบบุหรี่จนเกิด เคี้ยว ได้แก่ บุหรี่ที่ผลิตจาก ความเคยชิน โรงงาน ยาสูบที่นำมามวนเอง หรือฝอยมวนเองทุกชนิด การให้คำปรึกษา การเลิกบุหรี่แบบกระชับ การคัดกรอง ประวัติการสูบบุหรี่ การให้คำปรึกษาเสพติด ผลิตภัณฑ์ยาสูบในระยะเวลา การสอบถามผู้สูบบุหรี่เบื้อง สั้น ๆ (1-5 นาที) ต้นว่า ต้องการเลิกสูบบุหรี่ หรือไม่ และประเมินการติด นิโคติน การให้การบำบัด การติดตาม การให้การบำบัดตามแนวทาง การติดตามผลการบำบัดผู้เสพ การให้บริการระบบบำบัดผู้เสพ ติดผลิตภัณฑ์ยาสูบเข้าสู่ ติดผลิตภัณฑ์ยาสูบ กระบวนการบำบัดโรคเสพติด ผลิตภัณฑ์ยาสูบ

สถานการณ์การติดบุหรี่ของคนไทย

โทษและพิษภัยของบุหรี่ The harm and harm of cigarettes 1.ควันที่สูบ 2.ควันบุหรี่ที่เผาไหม้โดย สารปรุงแต่งในบุหรี่ (Mainstream) ไม่ได้สูบ (Sidestream) เมื่อสูดดมควันบุหรี่เป็น ประจำอาจเสี่ยงต่อโรค ควันบุหรี่มือสอง ควสูบ 1. แอมโมเนีย ร้ายแรงได้ เช่น โรค พ่นออกมาทางลมหายใจ หัวใจและหลอดเลือด ผสมกับควันจากปลาย 2.ลิ้นกวาง โรคปอด โรคมะเร็ง สาร มวนบุหรี่ที่กำลังเผาไหม้ พิษจากควันบุหรี่มือ โดยไม่ผ่านตัวกรองสาร 3.กานพลู สองที่ผู้ใกล้ชิด พิษใดๆ ควันชนิดนี้ 4.Diethyl glycol ประกอบด้วยสาร เคมี7,000 ชนิด

ความสัมพันธ์ของบุหรี่่กับ โควิด-19 แนวทางของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ (สสส.) ได้สนับสนุนภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อดำเนิน การเกี่ยวกับการชวนและช่วยเลิกบุหรี่ โดยมุ่งหวังที่จะทำให้ คนเลิกสูบให้ได้มากที่สุด

อันตรายของควันบุหรี่ต่อสุขภาพร่างกาย 1. สมองเสื่อมสมรรถภาพ 2. หน้ าเหี่ยวย่น แก้เร็ว 3. โรคเหงือก ฟันดำ และกลิ่นปาก 4. ไอเป็นเลือด ไอเรื้อรัง ผอมลง 5. เหนื่อยง่าย หอบ แน่นหน้ าอก 6. หัวใจขาดเลือด 7. เล็บเหลือง นิ้วเหลือง 8. นิ้วเป็นแผลเรื้อรัง นิ้วกุด 9. ท้องแน่น อืด เบื่ออาหาร 10. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

อาการถอนนิโคตินที่พบบ่อย 7 อาการ 1. อาการอยากบุหรี่ 2. อาการกระวนกระวาย 3. อาการนอนไม่หลับ 4. อาการหิวมาก

5. อาการไม่มีสมาธิ 6. อาการอ่อนเพลีย 7. อาการปวดท้อง ท้องผูก ท้องอืด อาการจะเป็นชั่วคราวประมาณ 72 ชั่วโมง เท่านั้น แล้วจะค่อย ๆ ลดลงไปเรื่อย ๆ

3 ใจ สู่ความสำเร็จในการเลิกบุหรี่ ใจที่ 1 ตั้งใจ กำหนดวันที่จะลงมือเลิกบุหรี่ คิดแล้วควรทำทันที เลิกวันนี้ ดีที่สุด อย่าผลัดวันประกันพรุ่ง ควรเป็นวันที่มีความหมายกับชีวิต และ ครอบครัว เช่น วันเกิดตัวเอง วันเกิดคุณพ่อ คุณแม่ วันเกิดลูก วันครบ รอบแต่งงาน อย่าเลือกวันที่เครียด และต้องไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมเดิม ๆ ที่เคยสูบบุหรี่

ใจที่ 2 มั่นใจ มีการเตรียมความพร้อมที่จัดการกับตัวเองที่จะทิ้งบุหรี่ ไม่ ไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมเดิม ๆ ที่เคยสูบบุหรี่ และจัดการกับอาการอยากบุหรี่ อย่างถูกต้อง โดยรับคำปรึกษาจากรพสต.ในพื้นที่หรือโทร 1600 ใจที่ 3 กำลังใจ คิดถึงเหตุผลที่อยากเลิกบุหรี่และท่องจำไว้ อาจเขียนเป็น จดหมายหรือ รูปภาพ รวมทั้งบอกคนรู้ใจให้คอยเป็นกำลังใจ เพื่อให้ก้าว ผ่านช่วงวิกฤตไปได้

ข้อดีของการเลิกบุหรี่ ภายใน24-48 ชั่วโมง ภายใน48 ชั่วโมง ภายใน72 ชั่วโมง ความดันเลือดและ ร่างกายสดชื่น กินอาหารได้อร่อย ชีพจรกลับมาปกติ เพราะไม่หลงเหลือ ขึ้นเพราะตุ่มรับรส นิโคตินในร่างกาย ทำงานดีขึ้น ภายใน96ชั่วโมง ภายใน3สัปดาห์ ภายใน2เดือน จิตใจสงบและสบาย ออกกำลังกายได้มาก กำลังวังชาจะกลับ ตัวขึ้น เพราะอาการ ขึ้นเพราะการทำงาน มาเพราะเลือดไหล เวียนไปสู่เเขนเเละขา อยากบุหรี่ลดลง ของปอดดีขึ้น ได้ดีขึ้น ภายใน3เดือน ภายใน5ปี ภายใน10-15ปี การหายใจดีขึ้น สุขภาพโดยรวมดีขึ้น ลดอัตราเสี่ยงการ เกิดโรคร้ายจากบุหรี่

เทคนิคการต่อสู้กับอาการอยากบุหรี่ เตรียมความพร้อมสำหรับวันเลิกบุหรี่ กำหนดวันเลิกสูบบุหรี่อย่างเด็ดขาด สร้างความเชื่อมั่นว่าคุณทำได้ เช่น การ ปลุกใจด้วยคำพูดว่าฉันต้องเลิกบุหรี่ให้ ได้ ลองทำกิจกรรมใหม่ๆ เพื่อเอาชนะอาการถอน นิโคติน เช่น เดินเล่น ออกกำลังกายเบา ๆ กำลังใจเป็นสิ่งสำคัญ หากำลังใจจากคนใกล้ตัว เช่นขอให้คนรอบข้างเป็นกำลังใจให้ท่านเลิกบุหรี่ ได้สำเร็จ เตรียมวิธีการป้องกันการสูบช้ำ เช่น ไม่รับบุหรี่ ไม่ทดลองสูบซ้ำแม้แต่มวน เดียว No smoking


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook