Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อวัสดุ-ป.2-ppt

สื่อวัสดุ-ป.2-ppt

Published by bowling_ice, 2022-05-28 08:03:23

Description: สื่อวัสดุ-ป.2-ppt

Search

Read the Text Version

มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง สมบตั ขิ องสสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาคหลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ตวั ช้วี ดั ว 2.1 ป.2/1 เปรยี บเทยี บสมบตั ิการดดู ซบั นา้ ของวัสดโุ ดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ และระบุการนา้ สมบัตกิ ารดดู ซบั นา้ ของวสั ดไุ ปประยกุ ต์ใช้ในการท้าวตั ถุในชวี ติ ประจา้ วัน ว 2.1 ป.2/2 อธบิ ายสมบตั ิทส่ี ังเกตไดข้ องวสั ดทุ ี่เกิดจากการนา้ วัสดุมาผสมกนั โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ ว 2.1 ป.2/3 เปรยี บเทียบสมบตั ทิ ีส่ ังเกตได้ของวัสดุ เพอ่ื น้ามาทา้ เป็นวตั ถุใน การใช้งานตามวตั ถุประสงค์ และอธบิ ายการน้าวัสดทุ ใ่ี ช้แลว้ กลับมาใชใ้ หมโ่ ดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ ว 2.1 ป.2/4 ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องการนา้ วสั ดุทใี่ ชแ้ ล้วกลบั มาใช้ใหม่ โดยการนา้ วัสดุท่ีใชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่

รอบตวั เรามวี ตั ถหุ รือส่งิ ของมากมาย เชน่ ของเล่น ของใช้ ซ่งึ ทา้ มาจากวัสดุชนิดตา่ ง ๆ ทั้งทมี่ ีสมบัตเิ หมือนกันและแตกตา่ งกนั วสั ดุมสี มบัติต่าง ๆ หลายประการ เชน่ มีผวิ ขรุขระ เรยี บ มันวาว แขง็ ยดื หยนุ่ ใส ทึบ ดูดซบั น้าได้ นา้ ไฟฟ้าได้ เปน็ ตน้

วสั ดตุ ่อไปนี้มีสมบัตอิ ะไรบ้าง มคี วามออ่ นนุม่ มีความแข็ง ไม่ยดื หยุ่น ยืดหยนุ่ ได้ ไมด่ ูดซับน้า กันนา้ ไม่ได้ ดดู ซับนา้ ได้ ผิวไม่มนั วาว เปราะและแตกไดง้ า่ ย กันนา้ ไดด้ ี นา้ ไฟฟา้ และความร้อน ผิวมนั วาว ผา้ ฉีกขาดได้งา่ ย ไมน่ า้ ไฟฟา้ และความร้อน

วัสดุต่อไปนี้มสี มบัติอะไรบา้ ง แก้ว มีความอ่อนนุ่ม มีความแข็ง ยดื หยนุ่ ได้ ไม่ยดื หยุน่ ดดู ซับน้าได้ ไมด่ ดู ซับน้า กนั นา้ ได้ดี กนั นา้ ไมไ่ ด้ ผวิ มนั วาว ผิวไมม่ ันวาว ฉกี ขาดไดง้ า่ ย เปราะและแตกได้ง่าย ไมน่ ้าไฟฟ้าและความร้อน น้าไฟฟา้ และความร้อน

วัสดตุ ่อไปนี้มีสมบัติอะไรบา้ ง กระดาษ มคี วามออ่ นน่มุ มีความแขง็ ยืดหยุน่ ได้ ไมย่ ดื หยุ่น ดดู ซบั น้าได้ ไม่ดูดซับน้า กันนา้ ไดด้ ี กันน้าไม่ได้ ผิวมนั วาว ผิวไม่มนั วาว ฉกี ขาดไดง้ ่าย เปราะและแตกไดง้ ่าย ไมน่ า้ ไฟฟ้าและความร้อน นา้ ไฟฟ้าและความร้อน

วัสดุต่อไปน้มี ีสมบตั อิ ะไรบ้าง พลาสตกิ มคี วามอ่อนนมุ่ มีความแข็ง ยดื หยุ่นได้ ไมย่ ืดหย่นุ ดดู ซับนา้ ได้ ไมด่ ูดซบั นา้ กนั นา้ ได้ดี กันนา้ ไม่ได้ มนี า้ หนักมาก มนี ้าหนักเบา ฉกี ขาดได้ง่าย เปราะและแตกไดง้ ่าย ไมน่ ้าไฟฟ้าและความร้อน น้าไฟฟา้ และความร้อน

วัสดตุ อ่ ไปวนสั ี้มดีสมตุ บ่อัตไอิ ปะไนรบี้ม้างสี มบัติอะไรบ้าง มีความออ่ นนมุ่ มคี วามแขง็ ไม่ยืดหยุ่น ยืดหย่นุ ได้ ไม่ดดู ซับน้า ข้นึ สนิมได้ ดูดซบั น้าได้ ผวิ ไม่มนั วาว เปราะและแตกไดง้ า่ ย ผไุ ด้ น้าไฟฟา้ และความร้อน ผวิ มนั วาว ไม้ ฉกี ขาดได้งา่ ย ไม่น้าไฟฟ้าและความร้อน

วัสดตุ ่อไปนี้มีสมบัติอะไรบ้าง โลหะ มีความอ่อนนุ่ม มีความแข็ง ยดื หยุน่ ได้ ไมย่ ืดหยุ่น ดดู ซับนา้ ได้ ไมด่ ูดซับน้า ผไุ ด้ ขน้ึ สนิมได้ ผวิ มนั วาว ผวิ ไม่มนั วาว ยดื งอได้ ยืดงอไมไ่ ด้ ไมน่ า้ ไฟฟ้าและความรอ้ น น้าไฟฟ้าและความรอ้ น

เดก็ ๆ จะเหน็ วา่ วสั ดแุ ต่ละชนดิ มสี มบตั ิ ท่แี ตกตา่ ง ซึ่งวนั นีเ้ รามาเรยี นเรือ่ ง สมบัตขิ องการดูดซับนา้ ของวัสดุ

การดดู ซับน้าของวตั ถุ คอื สมบัตหิ น่งึ ของวัสดุ เมือ่ น้าวสั ดุไปวางหรอื ซับของเหลว จะทา้ ใหข้ องเหลว ซมึ ผา่ นเขา้ ไปในเนอื้ ของวัสดุ เราจึงนา้ วสั ดทุ ีม่ ีสมบัติ การดูดซบั น้าไปใชท้ า้ วตั ถเุ พอ่ื ใช้ประโยชนต์ า่ ง ๆ

แผน่ พลาสติก ไมส่ ามารถดดู ซับนา้ เขา้ ไป กระดาษ ดูดซับน้าเขา้ ไปแทรกอยู่ภายในเน้อื แทรกอยภู่ ายในเนื้อของแผน่ พลาสตกิ แสดง ของกระดาษ แสดงว่ากระดาษนนั้ มีสมบตั ิ วา่ แผน่ พลาสตกิ นัน้ ไมม่ ีสมบตั ิการดดู ซับน้า การดูดซบั น้า แผ่นพลาสตกิ กระดาษ

กิจกรรมท่เี ราจะท้ากันในวนั นี้ คือ เปรียบเทยี บสมบตั กิ ารดูดซับน้าของวสั ดุ

ขนั้ ตอนการตรวจสอบการดูดซับน้าของวัสดุ 1.ขั้นขตั้นรตวอจนสกอาบรเกตารรยี ดมดู ซตับัดนวสั้าดุแตใ่ลชะ้ปชานกิดคขบี นคาีบดวใหสั เ้ดทจุ า่ ่มุกันในน้าสีเปน็ เวลา 10 วนิ าที แพลละายสกตวิกัสดขุ ้นึ รอจนนผ้า้าหฝยา้ ยดหมด กระดาษ อะลมู ิเนียมฟอยล์ รินน้าสีแดงลงในแก้ว 4 ใบ โดยแตล่ ะใบมปี รมิ าณน้าเทา่ กนั โดยมีขีดเสน้ บอกระดับน้า

เปรียบเทยี บสมบตั ิการดูดซบั นา้ ของวสั ดุ จุ่มลงนา้ แดง 10 วนิ าที ยกวัสดุข้นึ รอจนน้าหยดหมด พลาสติก ผา้ ฝา้ ย กระดาษ อะลูมิเนียมฟอยล์

เปรียบเทยี บสมบัติการดดู ซับน้าของวสั ดุ จากกจิ กรรมน้ี เรามาชว่ ยกนั ตอบค้าถามกนั คะ่ 1. วัสดุใดดดู ซับน้าได้ดีท่ีสุด ผา้ ฝ้าย รไู้ ด้จาก ปริมาณน้าสีท่เี หลืออยูใ่ นแกว้ พบว่าเหลือนา้ สีอยใู่ นแก้วนอ้ ยท่ีสุด พลาสตกิ ผา้ ฝา้ ย กระดาษ อะลมู ิเนียมฟอยล์

เปรียบเทยี บสมบตั ิการดูดซบั น้าของวสั ดุ 2. วัสดุทด่ี ูดซับน้าสีได้ คือ ผา้ ฝ้าย กระดาษ รไู้ ดจ้ าก น้าสีท่ีอย่ใู นแก้วมีปริมาณนอ้ ยลง พลาสตกิ ผ้าฝา้ ย กระดาษ อะลมู ิเนียมฟอยล์

เปรียบเทยี บสมบัติการดดู ซับน้าของวสั ดุ 3. วสั ดุทด่ี ดู ซบั นา้ สไี มไ่ ด้ คือ พลาสติก อะลูมเิ นียมฟอยล์ รไู้ ดจ้ าก น้าสีทีอ่ ยู่ในแกว้ มปี รมิ าณเท่าเดิม พลาสตกิ ผา้ ฝา้ ย กระดาษ อะลูมเิ นียมฟอยล์

เลอื กวตั ถทุ ี่ดดู ซบั น้าได้

การใชป้ ระโยชนจ์ ากสมบตั ิการดูดซบั นา้ ของวสั ดุ เส้ือ - ทา้ จากผ้า เตกน็ รแทะก์้วดนา้าษทชิ ชู - มีสมบตั ิดูดซบั น้า เส่อื ยาง - ท้าจากแก้ว - ใช้สวมใส่ดดู ซับเหงอ่ื ให้สบายตวั - ทา้ จา-กผไ-ม้าทม่ใยา้ีสจสมาังบกเคัตกริดราูดะะดซหาับ์ ษน้า - ท้าจากพลาสติก ไใมช่ม้ปีสูพมืน้ บปัต้อดิ งูดกซันับควนาา้ มช--ืน้ ไใจมชา่ม้เปกีสส็น-มนทบใ--าชพ่ี ัตมใมใ้กัดิชสหสี ชูดเ้น่ญมชั่วซา้บด็า้คับตัสไรนมดิาิง่ ้าใ่ตวดู ห่าซกน้งบั ัน้าๆนนร้า่วั้าใหแ้แดหด้ง - ฝน แมลง -

เราเรียนการดดู ซบั นา้ ของแต่ละวัสดุกันเสรจ็ แลว้ เราลองมาท้าแบบฝกึ หดั กัน

แบบทดสอบท้ายบทเรียน 1. เมือ่ ฝนตกเราควรเลอื กใชว้ ัตถใุ ดในการกันฝน รม่ กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ รองเทา้ ยาง เสอ้ื กันฝน

แบบทดสอบท้ายบทเรยี น 2. เม่อื อาบน้าเสร็จ ควรเลอื กใช้วัตถใุ ดทา้ ใหต้ วั แห้งหลังอาบน้า กระดาษชา้ ระ ผ้าเชด็ ตัว ฟองน้า กระดาษสา

แบบทดสอบท้ายบทเรยี น 3. ถ้าต้องการเลือกซ้อื ผา้ ปูโต๊ะรับประทานอาหารควรเลอื กใช้ ผา้ ปโู ตะ๊ ที่ทา้ จากวสั ดุใด กระดาษลัง พลาสติก ผ้าใยสงั เคราะห์ ผา้ ฝา้ ย

วนั น้เี รามาเรยี นเรื่อง สมบตั ิของวสั ดุทีไ่ ดจ้ าก การผสมวัสดุ เราจะไดเ้ รียนร้เู กี่ยวกบั สมบตั ขิ องวสั ดุท่ี ไดจ้ ากการผสมวัสดโุ ดยการสงั เกตและเปรียบเทยี บสมบตั ิ ของวัสดกุ ่อนและหลังผสมกนั

สมบตั ิของวสั ดทุ ี่ได้จากการผสมวสั ดุ การน้าวสั ดมุ าผสมกนั เป็นการนา้ วสั ดตุ ั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมเขา้ ดว้ ยกัน แลว้ ท้าให้ วสั ดทุ ไ่ี ด้มสี มบตั ทิ เี่ หมาะสมตอ่ การนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ได้ตามจดุ ประสงคท์ เี่ ราตอ้ งการ ตัวอย่าง เปเปอรม์ าเช่ ปูน เฉาก๊วย

ตวั อยา่ ง การนา้ วัสดุมาผสมกัน เปเปอร์มาเช่ งานศิลปะกระดาษอดั กาวรปู ทรงตา่ ง ๆ วสั ดทุ ี่นามาผสม กระดาษเหลือใช้ กาว เมื่อน้ากระดาษผสมกบั กาว สมบตั ิของกระดาษจะเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร กระดาษจะแขง็ จนสามารถทา้ เปน็ รูปทรงต่าง ๆ ได้

กจิ กรรม สมบตั ขิ องวัสดุกอ่ นและหลังผสมกนั เป็นอย่างไร ? ผลการสังเกตการฉีกกระดาษและการดดู ซับน้าของกระดาษก่อนอดั กาว การฉีกกระดาษ ฉีกไดง้ า่ ย ฉีกได้ยาก ฉีกไม่ได้ การดดู ซับน้าของกระดาษ ดูดซบั นา้ ไมไ่ ด้ ดูดซบั น้าได้ ผลการสังเกตการฉกี กระดาษและการดดู ซับนา้ ของกระดาษหลังอัดกาว การฉีกกระดาษ ฉีกได้งา่ ย ฉีกไดย้ าก ฉีกไมไ่ ด้ การดูดซบั น้าของกระดาษ ดูดซบั นา้ ไม่ได้ ดดู ซบั น้าได้ สรุปได้ว่า วสั ดบุ างอย่างสามารถน้ามาผสมกัน ทา้ ใหว้ สั ดุหลงั ผสมมีสมบตั แิ ตกตา่ งไปจากสมบตั ิของวัสดุกอ่ นผสม

ตวั อยา่ ง การนา้ วัสดมุ าผสมกัน (ต่อ) ปูนซีเมนต์ วัตถุดิบหลักสาหรบั งานกอ่ สร้าง วสั ดุที่นามาผสม หนิ ทราย น้ า เมื่อนา้ วัสดุเหลา่ นีผ้ สมด้วยกัน สมบัตขิ องวสั ดจุ ะเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร มีความแข็งและทนทานมากข้นึ

วนั น้ีเรามาเรียนเร่อื งการใช้ประโยชนจ์ ากวสั ดุ โดยการสงั เกตและเปรียบเทยี บสมบัติบาง ประการของวสั ดทุ ีน่ ามาทาวัตถเุ พ่ือใชง้ านตาม ต้องการ นอกจากนี้ยังได้สารวจวัสดุทใ่ี ช้แล้ว และบอกแนวทางการนาวสั ดกุ ลบั มาใช้ใหม่

ในการเลือกวัสดุมาท้าเป็นวัตถุ เราควรพจิ ารณา ถงึ สมบัตขิ องวัสดุก่อน เมอื่ น้าวสั ดุมาทา้ เป็นวัตถจุ ะได้ ตรงตามวตั ถุประสงคห์ รอื ความต้องการของการน้าไป ใชง้ าน

ตวั รถ ทา้ มาจาก โลหะ มือจับ ท้ามาจาก ยาง ยางรถ ท้ามาจาก ยาง ซ่ลี อ้ ท้ามาจาก โลหะ

วัสดแุ ต่ละชนดิ มสี มบัติบางอยา่ งเหมอื นกนั และแตกต่างกัน ในการเลอื กวสั ดมุ าทา้ เป็นของเลน่ หรอื ของใช้ ต้องพจิ ารณาสมบัติ ของวัสดชุ นิดนั้น ๆ ซ่ึงวสั ดุต่าง ๆ จะมีสมบตั ิทเี่ หมาะสมตอ่ การนา้ มาใช้ ท้าวตั ถไุ ด้ต่างกันตามวัตถุประสงคใ์ นการใชง้ าน

พลาสตกิ ยาง ผ้า ไม้ วสั ดทุ ี่ดดู ซับได้และดดู ซับน้าไมไ่ ด้ กระดาษ แก้ว โลหะ กระดาษผสมกาว

พลาสติก ผา้ กระดาษ วสั ดุทน่ี มุ่ และวสั ดุทแ่ี ขง็ ไม้ ยาง แกว้ โลหะ กระดาษผสมกาว

ยาง กระดาษ ไม้ ฟองน้ า วัสดทุ ่ยี ดื หย่นุ และไมย่ ดื หยนุ่ พลาสตกิ (บางชนิด) โลหะ แกว้ กระดาษผสมกาว

สมบตั ขิ องวสั ดุประเภทตา่ ง ๆ ตัวอยา่ งการนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ สมบตั ขิ องวสั ดุ - ใช้ก่อสรา้ งบ้านเรือน - มคี วามแขง็ แรง ทนทาน - ทา้ เฟอร์นเิ จอร์ เช่น โตะ๊ เก้าอ้ี - รปู รา่ งคงตัว - ไม่เป็นสนมิ ไม้

สมบตั ขิ องวัสดปุ ระเภทตา่ ง ๆ สมบตั ขิ องวัสดุ ตัวอย่างการน้า ไปใช้ประโยชน์ - มคี วามแขง็ แรง ทนทาน - นา้ ความร้อนและนา้ ไฟฟา้ - ท้าเคร่อื งครวั เช่น ชอ้ น สอ้ ม มีด - นา้ มาหลอมได้ - ทา้ เคร่ืองมอื ช่าง เชน่ น็อต เลือ่ ย โลหะ

สมบัตขิ องวัสดุประเภทตา่ ง ๆ ตวั อยา่ งการนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ สมบตั ิของวัสดุ - ทา้ ยางรถยนต์ - มคี วามยืดหยุ่นสงู - ทา้ ยางรดั ของ - ไม่ดดู ซบั นา้ กันนา้ ได้ดี - ทา้ ถงุ มอื ยาง - มคี วามเหนยี วและทนต่อแรงดึง ยาง

สมบัติของวสั ดปุ ระเภทต่าง ๆ ตัวอย่างการน้า ไปใช้ประโยชน์ สมบัตขิ องวัสดุ - ทา้ เครอื่ งนงุ่ ห่ม เชน่ เสือ้ กางเกง - มคี วามอ่อนนมุ่ น้าหนกั เบา - ท้าเคร่อื งใช้ เช่น หมอน ผา้ ห่ม - ดูดซับน้าได้ดี ไม่กันน้า - ไมน่ ้าความรอ้ นและไฟฟ้า ผ้า

สมบัตขิ องวัสดปุ ระเภทต่าง ๆ สมบัติของวัสดุ ตัวอย่างการน้า ไปใช้ประโยชน์ - น้าหนกั เบา ฉกี ขาดไดง้ า่ ย - ดูดซบั นา้ พบั เปล่ยี นรูปทรงได้ - ทา้ สมุด หนังสอื - ไม่น้าความร้อนและไฟฟา้ - ทา้ กระดาษชา้ ระ - ท้ากล่องกระดาษ กระดาษ

สมบัติของวสั ดปุ ระเภทตา่ ง ๆ สมบตั ิของวัสดุ ตวั อยา่ งการนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ - มีความแข็ง แต่เปราะ แตกง่าย - ไมด่ ดู ซับน้า กนั น้าได้ - ท้าภาชนะต่าง ๆ - ทนความร้อนและโปร่งใส เชน่ ถว้ ย ขวด แกว้ น้า - ท้าเครื่องใช้ แกว้ เชน่ หลอดไฟ กระจก

สมบัตขิ องวสั ดุประเภทตา่ ง ๆ พลาสติก สมบตั ิของวัสดุ ตัวอย่างการน้า ไปใชป้ ระโยชน์ - น้าหนกั เบา ทา้ ให้มสี สี ันไดง้ า่ ย - ไมด่ ดู ซับน้า กนั น้าไดด้ ี - ทา้ เครอ่ื งใช้ เชน่ กะละมัง - ไม่นา้ ความร้อนและไฟฟา้ ถงุ พลาสติก - ไมท่ นต่อความรอ้ นสูงๆ - ทา้ ของเล่นเด็ก

สมบตั ขิ องวัสดปุ ระเภทตา่ ง ๆ ตวั อย่างการน้า ไปใชป้ ระโยชน์ สมบัติของวัสดุ - ทา้ เคร่ืองใช้ เช่น โตะ๊ เกา้ อี้ ครก - มีความแขง็ แรง ทนทาน - ท้าเครอ่ื งประดบั เช่น - นา้ หนกั มาก ทนต่อความร้อน หนิ แกะสลัก - ไม่ยืดหยุ่น กันน้าได้ หนิ - ทนต่อความรอ้ น ไมน่ า้ ไฟฟา้

เราจะเหน็ ไดว้ า่ วัสดชุ นดิ ต่าง ๆ มีสมบัติท่เี ฉพาะตวั ดงั นั้น ในการเลอื กวสั ดมุ าท้าวตั ถุ เราจงึ จ้าเป็นตอ้ งพิจารณาสมบัตขิ องวัสดุ เป็นอันดับแรกว่า มีความสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ในการใชง้ านหรอื ไม่ นอกจากน้ี เรายงั ต้องค้านึงถงึ ความเหมาะสมและความปลอดภยั ใน การน้ามาใชง้ านอีกด้วย

ผา้ เชด็ มอื ผ้ากันเป้ ือน มีด ทา้ จากผ้า เพราะผา้ สามารถดดู ซบั นา้ ได้ดี ทา้ จากพลาสติก เพราะ ท้าจากโลหะ เพราะมีความแข็งแรง จึงนา้ มาใช้เช็ดทา้ ความสะอาดได้ ไมด่ ดู ซับน้า จงึ ปอ้ งกันน้า หรอื สิ่งสกปรกได้ ทนทาน จึงนา้ มาใช้ห่นั ของท่ี อ่อนกวา่ หม้อ เขียง ทา้ จากโลหะ เพราะโลหะ ท้าจากไม้ เพราะไม้คงทน สามารถน้าความร้อน แขง็ แรง ไม่เปน็ สนิม จึงนา้ มา จงึ ท้าใหอ้ าหารสุก ใช้รองรบั อาหารท่เี ราตอ้ งการ ห่ัน สับ หรือซอย

เราเรียนการใช้ประโยชนจ์ ากวสั ดตุ า่ ง ๆ เสรจ็ แลว้ เราลองมาทา้ แบบฝกึ หัดกัน

แบบทดสอบท้ายบทเรยี น เลือกใช้วัสดจุ ากเหตกุ ารณ์ดงั ต่อไปน้ี (เลอื กได้มากกวา่ 1 ข้อ) สถานการณ์ที่ 1 บอยต้องการทา้ กลอ่ งดนิ สอทีม่ คี วามแขง็ แรง กันน้าได้ บอยควรเลือกใชว้ สั ดอุ ะไร ? แก้ว ไม้ พลาสตกิ

แบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น เลือกใช้วสั ดุจากเหตุการณ์ดงั ต่อไปน้ี (เลอื กไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) สถานการณท์ ี่ 2 ชยั ตอ้ งการเปล่ยี นประตูใหม่ ต้องการให้แข็งแรงและมองเห็น ข้างนอกได้ ควรเลอื กใชว้ ัสดุอะไร? แก้ว ไม้ พลาสติก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook