Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook Anatomy ปี1 1051

Ebook Anatomy ปี1 1051

Published by kunkueanichkamol, 2021-10-24 07:57:02

Description: Ebook Anatomy ปี1 1051

Search

Read the Text Version

ANATOMY กายวิภาคศาสตร์ By Nichkamol Kunkura 6417701001051 Nursing 64

Preface คำนำ หนั งสือ E-book เล่มนี้ จัดทำสรุปเนื้ อหารายวิชา Anatomy โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและทบทวนความ รู้ในแต่ละบทเรียน ซึ่งในหนั งสือ E-book เล่มนี้ เกี่ยวกับ Anatomy ทั้งหมด ทั้งนี้ เนื้ อหาภายในหนั งสือเล่มนี้ เป็นเรื้อหาที่ผู้จัด ทำได้สรุปเองทั้งหมด โดยอ้างอิงจากเอกสารประกอบ การเรียนและข้อมูลความรู้บนอินเทอร์เน็ ต ผู้จัดทำขอ ขอบคุณ ดร.นิ ตยา ศรีสุข ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม E-book ผู้ให้แนวทางการศึกษา และเพื่อนๆทุกคนที่ให้ความช่วย เหลือโดยตลอด ผู้จัดทำหวังว่าหนั งสือเล่มนี้ จะมี ประโยชน์ แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน นางสาวณิชากมล กูลเกื้อ ผู้จัดทำ

ส า ร บัญ เ รื่อ ง ห น้ า ที่ บทที่ 1 Introduction to anatomy....................................1 บทที่ 2 Cell&Skin............................................................7 บทที่ 3 ระบบสื บพันธุ์เพศหญิง...........................................14 บทที่ 4 ต่อมไร้ท่อ...................................................................18 บทที่ 5 ระบบกระดูก..........................................................27 บทที่ 6 ระบบกล้ามเนื้ อ.......................................................34 บทที่ 7 ระบบย่อยอาหาร.............................................................41 บทที่ 8 ระบบขับถ่ายปัสสาวะและระบบสื บพันธุ์เพศชาย.......51 บทที่ 9 ระบบหายใจ............................................................57 บทที่ 10 ระบบประสาท..........................................................63 บทที่ 11 ระบบไหลเวียนโลหิต................................................71

UNIT 1 Introduction to 1 anatomy

บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา Anatomical position = เป็นท่ายืน อยู่ในลักษณะตัวตรง ส้นเท้าชิดใบหน้ า มองตรงไปข้างหน้ า แขนทั้งสองเหยียดตรงชิดกับลำตัว มือแบออกทั้งสอง ข้าง หันฝ่ามือไปด้านหน้ า Sagittal plane= แบ่งเป็นซ้ายขวา (ตำแหน่ งใดก็ได้) Mid sagittal plane= แบ่งเป็นซ้ายขวา เท่าๆกัน Coronaal plane แบ่งเป็น Frontal plane ด้านหน้ า ด้านหลัง Horizatal plane แบ่งเป็น Transverse plane ด้านบนด้าน ล่าง ศัพท์บอกตำแหน่ ง superior= ด้านบน superior= ใกล้ผิวหนั ง anterior= ด้านหน้ า inferior= ด้านล่าง deep= ลึกจากผิวหนั ง posterior= ด้านหลัง intrinsic= จุดเกาะต้น medial= เกือบใกล้ลำตัวด้านใน extrinsic= จุดเกาะปลาย lateral= ด้านนอกลำตัว external= ออกมาทางด้านนอก proximal= อยู่ใกล้กับส่วนกลางของร่างกาย internal= อยู่ใกล้เข้ามาด้านใน distal= อยู่ไกลส่วนกลางของร่างกาย 2

Anatomical Position การบรรยายหรือบอกตำแหน่ งในร่างกายของคน ต้อง ถือว่าร่างนั้ นต้องอยู่ใน anatomical position เป็นการ ป้องกันการคลุมเครือในการบอกตำแหน่ งหรือความ สัมพันธ์ของโครงสร้างต่างๆ ในร่างกาย 3

Cavities of the body ช่องต่างๆของร่างกาย แบ่งตามแนวยาว Frontal หรือ Coronal plane จะพบว่า ช่องว่างถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 2. Posterior 1. Anterior cavity cavity ช่างส่ วนหลัง ช่างส่วนหน้ า ช่องที่อยู่ในกะโหลก ช่องอก ศีรษะ (Cranal cavity) (Thoracic cavity) มีมันสมองบรรจุอยู่ มีหลอดลม ปอด หัวใจ ภายใน หลอดเลือดใหญ่ๆ ภายในยังมีช่องเล็กๆอีก 3 ช่อง คือ ช่องท้อง 1. ช่องเบ้าตา (Abdominal cavity) (Orbital) มีกระเพาะอาหาร ตับ ถุง 2. ช่องจมูก น้ำดี ตับอ่อน ม้าม ลำไส้ (Nasal cavity) ไต และหลอดไต 3. ช่องปาก (Buccal cavity) ช่องท้องน้ อยหรือช่อง อุ้งเชิงกราน ช่องที่อยู่ของไขสั นหลัง (Spinal cavity) (Plevic cavity) มีไขสั นหลังทอดอยู่โดย ญ. มีมดลูก ท่อมดลูก ทอดติดจากมันสมอง รังไข่ ช. มีVas deferens, Seminal vesicle และ Prostate gland 4

ชนิดการเคลื่อนไหว Adduction Adduction Eversion Inversion Flexion Extension Hyperextension Circumduction 5 ที่มา : หนังสือกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา ผศ.รำแพนพรเทพเกษมสันต์

Supination Pronation DAZZLE eau de parfum Protraction Retraction Rotation Flexion Extension ที่มา : หนังสือกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา ผศ.รำแพนพรเทพเกษมสันต์ 6

Unit 2 7 Cell&skin

Cell หน่ วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิ ดตั้งแต่มนุษย์ พืช สัตว์ สาหร่าย รา แบคทีเรีย รวมทั้งจุลินทรีย์ต่างๆ หน่ วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต เซลล์ส่ วนใหญ่จะมีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น Structure of cell ทุกเซลล์จะมีโครงสร้างพื้นฐาน 3 อย่างเหมือนกัน คือ 1 เยื่อหุ้มเซลล์ 2 ไซโตพลาสซึม 3 นิ วเคลียส Cell membrane Cytoplasm Nucleus เสมือนรั้วบ้าน เป็นของเหลวคล้าย อยู่ส่ วนด้านในสุด กันเซลล์ออก วุ้นประกอบด้วยสาร ของเซลล์ มีขนาด จากกันห่อหุ้ม อินทรีย์+อนิ นทรีย์ เล็กที่สุดควบคุม ส่ วนประกอบ เป็นองค์ประกอบของ การแสดงลักษณะ เซลล์ที่มีโครงสร้าง ในเซลล์ และหน้ าที่แน่ นอน ทางพันธุกรรม 8

โครงสร้างและองค์ ประกอบของเซลล์ เซลล์ประกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. ผนั งเซลล์ (Cell membrane) 2. ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) 3. นิ วเคลียส (Nucleus) Cell membrane ผนั งเซลล์ • อยู่รอบนอกเซลล์ • ทำให้เซลล์คงรูปร่างได้ • มีความหนาประมาณ 75-100 A° • โปรตีน 62% ไขมัน 35% และโพลีเเซคคาไรด์ 3% Cytoplasm ไซโตพลาสซึม = โปรโตพาสซึมภายในเซลล์นอก นิ วเคลียส มีลักษณะเหลวใสคล้ายวุ้น ภายใน ไซโตพลาสซึมประกอบด้วย 1. อนิ นทรียสาร • น้ำ 70-80% • ส่วนเกลือแร่ต่างๆ K,Mg,Po,HCO,Na,Cl (ทำหน้ าที่ช่วยในการควบคุมหรือเร่งปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์) Cytoplasm 1. Endoplasmic reticulum 2. Ribosome ชื่อย่อ : ER 3. Golgi complex 4. Mitochondria แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ 5. Lysosome • Rough ER • Smooth ER 9

Nucleus ควบคุมการแสดงลักษณะทางพันธุกรรม การแบ่งตัว ของเซลล์และควบคุมการสร้างโปรตีน เยื้อหุ้มนิ วเคลียส (Nucleus membrane) มี 2 ชั้นเชื่อมติดกันเป็นช่วงๆ **ทำให้มีการแลกเปลี่ยน สารระหว่างนิ วเคลียสกับ ไซโตพลาสซึม** นิ วคลีโอลัส (Nucleolus) เป็นเส้ นใยโมเลกุลของ DNA ขดตัวเป็นก้อน **ทำหน้ าที่สังเคราะห์ RNA โดย DNA** เส้ นใยโครมาติน (Chromatin) เส้นใย DNA ที่จับอยู่กับ โปรตีน ซึ่งในระยะที่เซลล์ แบ่งตัว **DNA กับโปรตีน จะรวมกันแน่ น เห็นเป็น แท่งโครโมโซม 10

Tissue เป็นกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างและทำหน้ าที่เหมือนกันรวมตัวกัน •เนื้ อเยื่อบุผิว Epithelial tissues •เนื้ อเยื่อเกี่ยวพัน connective tissues •เนื้ อเยื่อกล้ามเนื้ อ muscle tissues •เนื้ อเยื่อประสาท Nervous tissues Epithelial tissues Connective tissues หน้ าที่ของเนื้ อเยื่อบุผิว พบได้ทั่วร่างกายทำหน้ าที่ยึด เหนี่ ยวหรือพยุงอวัยวะให้คงรูป ทำหน้ าที่ป้องกันไม่ให้เชื้อโรค เข้าสู่ ร่างกายและป้องกันการ เนื้ อเยื่อเกี่ยวพันแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ระเหยของน้ำออกสู่ ร่างกาย ได้แก่ #เนื้ อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์ ทำหน้ าที่เกี่ยวกับการดูดซึม #กระดูกอ่อน #กระดูกแข็ง สร้างสารคัดหลั่ง #เลือด Muscle tissues แบ่งเป็น 3 ชนิ ด 1. กล้ามเนื้ อเรียบ => พบในอวัยวะ ภายในของร่างกาย เส้นเลือด นอกอำนาจจิตใจควบคุมโดย ระบบประสาทอัตโนมัติ 2. กล้ามเนื้ อลาย => เป็นกล้ามเนื้ อ ขนาดใหญ่อยู่ติดกับกระดูก 3. กล้ามเนื้ อหัวใจ => พบที่ผนั ง หัวใจ นอกอำนาจจิตใจ ควบคุม โดยระบบประสาทอัตโนมัติ 11

Nervous tissue **ทำหน้ าทีรับส่งกระแสประสาท** เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์ประกอบด้วย => ตัวเซลล์ อยู่ในชั้นสีเทาของระบบ ประสาทไขสั นหลัง => แขนงประสาท แบ่งเป็น • เดรไดรต์ แขนงสั้น รับกระแส • แอกซอน แขนงยาว ส่งออกกระแส SKIN แบ่งเป็น 3 ชั้น ดังนี้ Epidermis Dermis Hypodermis ชั้นที่ 1 Epidermis หนังกำพร้า ชั้นที่ 2 Dermis หนังแท้ เป็นเยื่อบุผิวชนิ ด stratified ประกอบไปด้วย Connective tissues squamous keratinized ระบบเส้นเลือด เส้นประสาท ต่อมไขมัน และต่อมเหงื่อ ส่วนของหนั งแท้ที่แทรก epithelium ชั้นนี้ ไม่มีหลอดเลือด จึงได้รับอาหารจากชั้นที่อยู่ลึกกว่า ระหว่างหนั งกำพร้า = Dermal เป็นที่อยู่ของ collagen เเละ elastin ชั้นที่ 3 Hypodermis ประกอบไปด้วย เนื้ อเยื่อเกี่ยวพันที่อยู่กันอย่าง หลวมๆ และไขมัน **ทำหน้ าที่ 12 สะสมไขมันอยู่ใต้ผิวหนั ง และเก็บสะสมพลังงานความร้อนภายในร่างกาย

=> ผม/ขน • Hair shaft ปกปิดไม่ให้สกปรกเข้าสู่ผิวหนั ง • Hair root รากขนเป็นที่ยึดเกาะของขน • Hair follicle รูขุมขน เป็นที่อยู่ของขน ช่วย ปกป้องส่ วนชั้นในของขน • Hair follicle receptor ทำหน้ าที่รับสัมผัส ทำให้เกิดขนลุก • Arrector pili muscle เป็นกล้ามเนื้ อเรียบ เมื่อ หดตัวจะทำให้เกิดขนลุก => ต่อมไขมัน ( Sabaceous glands) พบอยู่ร่วมกับ hair follicle ทั่ว ร่างกาย มีหน้ า ที่เคลือบผิวหนั งเเละเส้นผม ทำให้มีความขุ่มชื้น => ต่อมเหงื่อ (Sweat glands) • Eccrine sweat gland พบตามร่างกาย **มีหน้ าที่หลั่ง เหงื่อเพื่อระบาย ความร้อนของจาก Body ใน การรักษาสมดุล ความร้อน => เล็บ (Nails) • Nail plate คือ แผ่นเล็บ ประกอบด้วยเซลล์ที่ตายแล้ว เล็บ จะยาวและงอกใหม่ตลอดเวลา • Nail matrix เป็นเซลล์เยื่อบุ ที่อยู่ใต้ lanula ทำหน้ าที่เป็นตัว สร้างแผ่นเล็บ • Nail bed คือ เนื้ อเยื่อที่อยู่ใต้ nail plate เเละยึดติดแน่ นกับ nail plate 13

UNIT 3 reproductive system เพศหญิง 14

Female reproductive system แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก 2. อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน อวัยวะสื บพันธุ์ภายนอก สามารถมองมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ 1. หัวเหน่ า (Mons pubis) ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆตั้งอยู่หน้ ากระดูก หัวเหน่ าใต้ท้องน้ อย 2. แคมใหญ่ (Labia majora) เป็นกลีบเนื้ อนูน ข้างละกลีบต่อจากหัวเหน่ า ปกคลุมด้วย ผิวหนั งมีขน 3. แคมเล็ก (Labia minora) อยู่ด้านในของแคมใหญ่ผิวอ่อนนุ่ ม ไม่มีขน 4. คลิตอริส (Clitoris) เป็นติ่งเล็กๆ คล้ายก้านพลู เป็นจุดไวต่อความรู้สึกมาก เทียบ ได้กับองคชาตของผู้ชาย 5.เวสติบูล (Vestibule) เป็นเนื้ อระหว่าง Labia minora ทั้งสองข้างปกคลุมด้วย Mucous membrane 6. เยื่อพรหมจารี (Hymen) เป็นเยื่อบางๆรอบปากเปิดของช่อง คลอดมีรูตรงกลางเพื่อให้ประจำเดือนผ่าน 15

อวัยวะสื บพันธุ์ภายใน 1.ช่องคลอด (Vagina) เป็นท่อยาวจากปากช่อวคลอดถึงปากมดลูก **มีหน้ า ที่เป็นทางผ่านของประจำเดือนออกสู่ภายนอก เป็น ทางผ่านอสุจิเข้าไปภายใน 2.มดลูก (Uterus) =>รูปร่างคล้ายผลชมพู่ =>ยาวประมาณ 6-8 ซม. กว้าง 4 ซม. หนา 2 ซม. =>ติดกับช่องคลอด **มีหน้ าที่ทำให้เกิดระดูและเป็นที่อยู่ของเด็กในครรภ์ 3.ปีกมดลูกหรือท่อนำไข่ (Uterine tube) =>มีอยู่ 2 ข้าง ขวา-ซ้าย =>ยาวประมาณ 6-7 ซม. =>มีกล้ามเนื้ อบับรัดตัวภายในหลอดช่วยโบกพัดไข่ 4.รังไข่ (Ovary) คล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์ ยาว 2-3 ซม. หนา 1 ซม. อยู่ 2 ข้างซ้ายขวา ยึดติดกับตัวมดลูก 16

ต่อมน้ำนม เป็นส่วนหนึ่ งของอวัยวะสืบพันธุ์ ตั้งอยู่ด้านบนและด้านหน้ าทรวงอก • เต้านมแต่ละข้างประกอบด้วย lobules ประมาณ 15-20 อัน • lobules จะมีเซลล์เล็กๆ เรียกว่า Acini • น้ำนมจะเกิดจาก Acini แล้วมารวมกันเป็นท่อที่ lobules 17

UNIT 4 ENDOCRINE SYSTEM 18

ENDOCRINE SYSTEM เป็นระบบที่ทำหน้ าที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอลิ ซึมต่างๆในร่างกาย ควบคุมปฏิกิริยาเคมี ภายในเซลล์ หรือการขนส่งสารบางอย่าง ผ่านเข้าออกทางเยื่อหุ้มเซลล์ ฮอร์ ฮอร์โมนเฉพาะที่ (Local Hormone) โมน จะ มีผลเฉพาะที่มากกว่า เช่น อะซีตีล โค แบ่ง ลีน ปล่อยออกมาจากปฃายประสาท parasympathetic secretin ที่ปล่อย เป็น ออกมาจากผนั งของลำไส้เล็กส่วนดูโอ 2 ดีนั มเป็นต้น ชนิ ด ฮอร์โมนทั่วไป (General Hormone) สร้างโดยต่อมไร้ท่อแล้วถูกนำไปใน กระแสเลือด เพื่อไปมีผลต่อสรีรวิทยา ต่อเนื้ อเยื่อที่อยู่ไกลออกไป และมี ฮอร์โมนทั่วไป 2-3 อย่าง ที่มีผลทั่ว ร่างกาย ต่อมไร้ท่อที่สำคัญมีดังนี้ 1. ต่อมใต้สมอง pituitary gland 2. ต่อมไทรอยด์ thyroid gland 3. ต่อมพาราไทรอยด์ parathyroid gland 4. ต่อมหมวกไต adrenal gland 5. ตับอ่อน islet cells of the pancreas 6. ต่อมเพศ gonads 7. ต่อมไพเนี ยล pineal body 8. ต่อมไทมัส thymus gland 19

ต่อมใต้สมอง ต่อมใต้สมองเป็นต่อมขนาดเล็กที่มีขนาด 1 เซนติเมตรน้ำหนั ก 0.8 กรัมอยู่ที่ฐานของสมองบน sella turcica ต่อมใต้สมอง แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1.ต่อมใต้สมองส่วนหน้ า มีเซลล์ที่สำคัญอยู่ 3 ชนิ ด คือ 1.Chromophobes 2.Acidophils 3.Basophils 2.ต่อมใต้สมองส่ วนหลัง ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ Pituicytes เป็นส่วน ใหญ่ ไม่ได้ทำหน้ าที่หลั่งฮอร์โมน Pituitrin ทำ หน้ าที่ในการควบคุมระดับความสมดุลของน้ำ ในร่างกาย 20

เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย น้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 25 g. มี อยู่เป็นคู่ ประกอบด้วยกลีบขวาและ ซ้าย อยู่ตรงหน้าหลอดลมคอ (Trachea) ฮอร์โมนที่หลั่งออกมา จากต่อมธัยรอยด์มากที่สุด (T3) 21

เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุด ในร่างกาย อยู่เป้นคู่ ประกอบด้วยกลีบซ้ายและ ขวา บริเวณต่ำกว่ากล่องเสี ยง คืออยู่ด้านข้างและด้านหน้ า ของหลอดคอ ไทรอยด์ทั้ง สองก้อนเชื่อมต่อกันที่ด้าน หน้ า เรียกวว่า Isthmus 22

ต่อมหมวกไต Adrenal cortex แบ่งออกเป็น 3 ชั้น 1. Zona glumerulosa หลั่งฮอร์โมนกลุ่ม mineralocorticoid : aldosterone 2. Zona fasiculata หลั่งฮอร์โมนกลุ่ม Glucocorticoid:cortisol, cortocosterone 3.Zona reticularis หลั่งฮอร์โมนชนิ ด androgen, estrogen – ต่อมหมวกไตตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง จึงเรียกว่าต่อมหมวกไต แต่ละต่อมประกอบด้วย เนื้ อเยื่อ 2 ชั้นคือ – ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนั ลคอร์เทกซ์ ( adrenal cortex ) ประกอบด้วยเนื้ อเยื่อที่แตกต่าง 3 ชนิ ด – ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนั ลเมดัลลา ( adrenal medulla ) ซึ่งทั้งสองส่ วนจะผลิตฮอร์โมนพวกสารสเตอรอยด์ ที่ทำหน้ าที่ต่างกัน – การสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกต้อง อาศัยฮอร์โมน ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ า มากระตุ้น 23

เป็นกลุ่มของเซลล์ ที่อยู่ในเนื้ อของตับ อ่อน ตั้งอยู่หลังช่องท้อง หลังกระเพาะอาหารทอด ขวางลำตัว ส่วนหัวต่อ จากดูโฮดีนั ม ตับอ่อนจะมีเซลล์อยู่ 2 ประเภท คือ 1. เซลล์ที่ทำหน้ าที่สร้างน้ำย้อย เพื่อใช้ในการย่อย อาหาร น้ำย่อยที่ตับสร้างขึ้นเรียก \" Pancreatic juice 2. เซลล์ที่ทำหน้ าที่สร้างฮอร์โมน เซลล์พวกนี้ จะ อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า \"Islets of langgerhan 24

เพศชาย เพศหญิง ต่อมเพศของผู้ชาย ผู้หญิงต่อมเพศคือ ได้แก่ลูกอัณฑะซึ่งมี รังไข่ สองต่อมมีรูปร่างรูป ไข่มีผิวหนั งปกคลุม หรือถุงอัณฑะ Testosterone กระตุ้นทำให้อวัยวะ Progesterone สร้าง สื บพันธุ์เพศชายทั้ง จาก corpus luteum ภายนอกและภายใน กระตุ้นการเจริญของ เจริญเติบโตเต็มที่ เยื่อบุชั้นในของมดลูก องคชาติขยายใหญ่ เพื่อเตรียมพร้อมใน และยาวขึ้น ให้เด็ก การฝังตัวของไข่ที่ ชายเข้าสู่วัยหนุ่ ม ปฏิสนธิแล้ว ยับยั้งการ แสดงลักษณะเพศ ตกไข่ ( ยับยั้งไม่ให้ต่อม ชายให้เด่นชัดขึ้น ใต้สมองหลั่ง FSH มาก ระตุ้นให้ฟอลลิเคิลใน รังไข่เจริญ ) กระตุ้นให้ ต่อมน้ำนมเจริญมาก Estrogen กระตุ้นให้อวัยวะ ขึ้น ( ผู้หญิงจะรู้สึกว่า สื บพันธุ์เพศหญิงทั้ง คัดที่เต้านมๆจะขยาย ภายนอกและภายในเจริญ ใหญ่ขึ้น ) เติบโตเต็มที่ ให้เด็กหญิง เข้าสู่ วัยสาวแสดงลักษณะ เพศหญิงให้เด่นชัดขึ้น นอกจากนั้ นยังมีผลทั้งทาง ด้านจิตใจ 25

เขปป็อขนนงเอจเดตจเง็น่ทกอรTสิถเมาญhึมลง็iเเอเอrกลหอตี็d่ย็งจาูกย่มสยะๆว่vุตทเวี่แสe่5จอีนแnหแ-รม้ลt7ิบดงญrนะีนไป้iงคขใีcปึ่้นนlอจeยะๆ ต่ อ ม ไ ท มั ส thymus gland การแบ่งเซลล์และ มีลักษณะเป็นพู มีตำแหน่ ง พัฒนาการของ ลิมโฟ อยู่ระหว่างกระดูกอกกับ ไซต์ชนิ ดที อาศัย หลอดเลือดใหญ่ของหัวใจ ฮอร์โมนไทโมซิน ( มีหน้ าที่ สร้างเซลล์เม็ด thymosin ) ซึ่งสร้างจาก เซลล์บางส่ วนของต่อม เลือดขาวลิมโฟไซต์ ชนิ ด ที ไทมัส ดังนั้ นไทโมซินจึง หรือ เซลล์ ที เป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย 26

Unit 5 SKELETON SYSTEM 27

SKELETON ร ะ บ บ โ ค ร ง ก ร ะ ดู ก โครงสร้างของกระดูก 1. กระดูกแข็ง • ไขกระดูก • กระดูกพรุน 2. กระดูกอ่อน • กระดูกทึบ • เยื่ิอหุ้มภายใน 3. ข้อต่อและเอ็น • เยื่อหุ้มภายนอก การกำเนิดของกระดูก Intramembranous ossification กำเนิดจาก Membrane ex. กระดูกของกะโหลกศีรษะ Intracartilagenous ossification เกิดขึ้นใน Cartilage ส่วนมากกระดูกร่างกายเกิดขึ้นจากวิธีนี้ long bone flat bone จำนวนกระดูก short bone irregular bone แรกเกิดจะมีประมาณ 270 ชิ้น ผู้ใหญ่ที่เจริญเต็บที่จะมี 206 ชิ้น 28

ค้ำจุนและรองรับอวัยวะต่างๆในร่างกาย เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็น ช่วยทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะที่สำคัญจากกระแทกภายนอก กระดูกที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานของร่างกาย กระดูกที่ประกอบเป็นแขนและขา กระดูกที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานของร่างกาย 80 ชิ้น กระดูกกะโหลกศีรษะ frontal bone 1 parietal bones 2 occipital bone 1 temporal bones 2 sphenoid bone 1 ethmoid bone 1 29

กระดูกประกอบใบหน้า 14 ชิ้น Nasal bones 2 Vomer bone 1 Inferior conchae 2 lacrimal bones 2 Zygomaticbones 2 palatine bones 2 maxilla bones 2 mandible bone 1 กระดูกที่อยู่ภายในของหูส่วนกลาง 6ชิ้น Malleus 2 incus 2 stepes 2 กระดูกโคนลิ้น 1 ชิ้น Hyoid bone 1 30

กระดูกหลังตัว 26 ชิ้น 1.กระดูกหลังส่วนคอ cervical มี 7 ชิ้น 2.กระดูกสันหลังส่วนนอก Thoracic มี 12 ชิ้น 3.กระดูกสันหลังส่วนเอว lumbar 5 ชิ้น 4. กระเบนเหน็บ sacrum 1 ชิ้น 5.ก้นกบตอนปลาย coccyx 1 ชิ้น 31

กระดูกหลังตัว 26 ชิ้น แบ่งเป็น 3 ส่วน manubrium body xiphoid process กระดูกซี่โครง 24 ชิ้น แท้ 7 คู่ ไม่แท้ 5 คู่ กระดูกที่ประกอบเป็นแขนและขา กระดูกขา 64 ชิ้น กระดูกสะบัก 2 กระดูกไหปลาร้า 2 กระดูกต้นแขน 2 กระดูกปลายแขนอันใน 2 กระดูกไปแขนอันอก 2 กระดูกข้อมือ 16 กระดูกฝ่ามือ 10 กระดูกนิ้วมือ 28 32

กระดูกขา 64 ชิ้น กระดูกเชิงกราน 2 กระดูกสะบ้า 2 กระดูกหน้าแข้ง 2 กระดูกน่อง 2 กระดูกข้อเท้า 14 กระดูกฝ่าเท้า 10 กระดูกนิ้วเท้า 28 กระดูกเชิงกราน เป็นกระดูกกระเบนใหญ่มี 2 ข้างแต่ละข้าง ประกอบด้วยกระดูก 3 ชิ้น จบหน่ วย 33

unit 6 muscular system 34

muscular system กล้ามเนื้อ (Muscle) เป็นเนื้อเยื่อที่หดตัวได้ในร่างกาย เปลี่ยนแปลงมาจากเมโซ เดิร์ม (mesoderm) ของชั้นเนื้อเยื่อในตัวอ่อน และเป็นระบบหนึ่งของร่างกายที่ สำคัญต่อการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ กล้ามเนื้อโครงร่าง (skeletal muscle) กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) หน้าที่สำคัญของกล้ามเนื้อ 1. คงรูปร่างท่าทางของร่างกาย (Maintain Body Posture) 2.ยึดข้อต่อไว้ด้วยกัน (Stabilize Joints) 3.ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหว (Provide Movement) โดยการเปลี่ยนพลังงาน ที่ได้จากสารอาหารมาเป็นพลังงาน กล(Mechanical Energy) หรือ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนไหว 4. รักษาระดับอุณหภูมิของ ร่างกาย(Maintain Body Temperature) โดยผลิตความร้อนออกมาตามที่ ร่างกายต้องการ 35

ประเภทของกล้ามเนื้อ 1.กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) พบได้ที่อวัยวะภายในของร่างกาย เป็นกล้ามเนื้อที่ทำงานอยู่ตลอด กล้ามเนื้อแบบนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า กล้ามเนื้อนอกอำนาจจิตใจ (Involuntary Muscle) ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อชนิดนี้ได้ สมองและร่างกายขจะสั่งให้กล้ามเนื้อเรียบทำงานด้วยตัวของมันเอง 2.กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) กล้ามเนื้อที่ประกอบขึ้นเป็นหัวใจมีชื่อ เรียกว่ากล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อชนิดนี้ เป็นกล้ามเนื้อนอกอำนาจจิตใจเหมือน กับกล้าม เนื้อเรียบ ทำให้เกิดการเต้น ของหัวใจ (Heart Beat) อยู่ตลอดเวลา 36

3.กล้ามเนื้อลาย (Skeletal Muscle) กล้ามเนื้อลายเป็นกล้ามเนื้อภายใต้อำนาจจิตใจ (Voluntary Muscle) ชนิดเดียวในร่างกาย กล้ามเนื้อลายเป็นกล้ามเนื้อที่สามารถควบคุมการ เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อชนิดนี้ได้ กล้ามเนื้อในส่วนต่างๆของร่างกาย 1.กล้ามเนื้ อใบหน้ า Frontalis อยู่ที่หน้ าผาก Nasalis อยู่ที่จมูก Corrugator อยู่บริเวณคิ้ว – เหนื อคิ้ว Orbiculalisocculi อยู่รอบดวงตา Zygomaticus major เกาะอยู่บริเวณโหนกแก้ม – ปากบน Orbicularis oris อยู่บริเวณรอบปาก ยื่น ทำปากจู๋ Risorius อยู่ถัดออกมาทางด้านข้างของปาก 37

2 กล้ามเนื้ อคอ 1.Sternomastoidหรือ Sternocleidomastoideus 2.Splenius capitis 3.Semispinaliscapitis 3.กล้ามเนื้ อส่วนลำตัว 3.1. กล้ามเนื้ อส่วนลำตัวด้านหน้ า กล้ามเนื้ อส่วนลำตัวด้านหน้ า Pectoralis minor Pectoralis major Rectus abdominis Oblique externus Serratus anterior https://anatomyfivelife.wordpress.com 3.2. กล้ามเนื้ อส่วนลำตัวด้านหลังใน ส่ วนลำตัวด้านหลัง Trapezius Latissimusdorsi https://anatomyfivelife.wordpress.com https://anatomyfivelife.wordpress.com 4. กล้ามเนื้ อส่วนหัวไหล่และแขน Deltoid Supraspinatus Infraspinatus Teres minor และ Teres major Subscapularis 38

ต่อ (4) https://anatomyfivelife.wordpress.com กล้ามเนื้ อแขนส่วนต้น กล้ามเนื้ อส่วนมือและนิ้ ว Biceps brachii Thenar eminence Brachialis Hypothenar eminence Coracobrachialis Dorsal interosseus Triceps brachii Abductor pollicis กล้ามเนื้ อส่วนปลายแขน Brachioradialis Flexor carpi radialis Palmaris longus Flexor carpi ulnaris Extensor carpi radialislongus Extensor digitorum 5.กล้ามเนื้ อส่วนสะโพกและขา 1.กล้ามเนื้ อส่วนสะโพกและก้นกบ 1.1 Gluteus maximus 1.2 Tensor fasciae latae 2.กล้ามเนื้ อส่วนโคนขา https://anatomyfivelife.wordpress.com 2.1 Biceps femoris 2.2 Rectus femoris 2.3 Satorius 3.กล้ามเนื้ อส่วนปลายขา 3.1 Tibialisanticus 3.2 Gastrocnemius 3.3 Soleus 39

กล้ามเนื้ อส่วนเท้า Flexor hallucislongus Extensor digitorumbrevis Adductor hallucis Flexor digitorumbrevis https://anatomyfivelife.wordpress.com จบหน่ วย 40

41

Digestive system ช่องปาก (Mouth, Oral cavity) ด้านหน้าและด้านข้าง : เป็นส่วนของแก้มซึ่งเป็นแผ่นกล้ามเนื้อของหน้า คลุม ด้านนอกด้วยผิวหนัง ด้านในบุด้วย Stratified squamous non-keratinizing epithelium ส่วนด้านหน้าของแก้มจะสิ้นสุด โดยกลายเป็นริมฝีปากบน(upper lib) และ ริมฝีบากล่าง (lower lib) ด้านบน : เป็นเพดานแข็ง (Hard palate) ทางด้านหน้า และเพดานอ่อน (Soft palate) ทางด้านหลัง Sphincter 6 ที่ภายในระบบย่อยอาหาร Upper esophageal sphincter Lower esophageal sphincter Pyloric sphincter Sphincter Of oddi Internal anal sphincter External anal sphincter 42

ลิ้น (Tongue) ฟัน(Teeth) ผิวด้านบนและด้านข้าง ลักษณะของฟัน แบ่งออกเป็น 4 ของลิ้นจะมีตุ่มนูนเล้กๆ ชนิด เรียกว่า papillae เป็นปุ่ม 1.ฟันตัด (Incisors) ขากรรไกรละ 4 รับรส ซี่ ใช้สำหรับตัดและฉีกอาหาร แบ่งออกเป็น 4 แบบ 2.ฟันเขี้ยว (Canines) ขากรรไกรละ ดังนี้ 4 ซี่ ปลายฟันมียอดแหลม ใช้ สำหรับตัดและฉีกอาหาร filiform papilla กระจายทั่วไป ไม่มีต่อมรับรส 3.ฟันกรามน้อย (Premolar) ขา Fungiform papilla คล้ายดอก กรรไกรละ 4 ซี่ สำหรับตัดอาหาร เห็ด 2/3 ด้านหน้าลิ้น และบดอาหาร Circumvallate papilla มี ประมาณ 10-12 อัน อยู่ 1/3 ด้าน 4.ฟันกรามใหญ่ (Molar) ขา หลังลิ้น เรียงตัวกันเป็นรูปตัว V กรรไกรละ 6 ซี่ ฟันกรามบนมี 3 หน้า sulcus terminalis ราก ฟันกรามล่างมี 2 ราก ใช้บด Foliate papilla เป็นสันนูนเล็กๆ อาหาร ทางด้านข้างของลิ้น ส่วนใหญ่ พบในสัตว์เคี้ยวเอื้อง 43

หลอดอาหาร(Esophagus) มหกายวิภาคของหลอดอาหาร : เป็นท่อกลวงต่อระหว่างคอหอยกับกระ เพราะอาหาร ยาว 25 cm แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ 1.Cervical portion ข้างบนติดกับส่วนปลายของ Laryngopharynx และบริเวณ Epiglottis วางอยู่ด้านหลังของ Epiglottis มี upper esophageal sphincter 2.Thoracic portion อยู่ใน posterior mediastinum อยู่หลังหลอดลม (Trachea สิ้นสุดที่รอยต่อกับกระเพาะอาหาร ที่บริเวณกะบังลม(Diaphragm) ตรงระดับ กระดูกสันหลังอกข้อที่ 10 (T10) โดยจะผ่านเข้าไปในรูกะบังลม) 44

3.Abdominal portion ใต้กะบังลม ยาวประมาณ 3 cm มี lower esophageal sphincter ช่วยป้องกันการ reflux ของ กรดและอาหารจากกระเพาะอาหาร จุลกายวิภาคของหลอดอาหาร ผนังของหลอดอาหารแบ่งออกเป็น 4 ชั้น ชั้น Mucosa มีเยื่อบุชนิด Stratified squamous epithelium ชั้น submucosa เป็นชั้นของ connective tissue พบหลอดเลือด , หลอดน้ำเหลือง และเส้นประสาท ชั้น Muscula กระเพาะอาหาร (Stomach) ขอบเขต : ด้านบนติดกับ esophagus ด้านล่างติดกับ small intestine ส่วน duodenum มี ลักษณะเป็นรูปตัว J วางอยู่บริเวณ ลิ้นปี่ ค่อนมาทางด้านใต้ชายโครง ด้านซ้ายของช่องท้อง 45

กระเพาะอาหาร (Stomach) Serosa Muscularis Submucosa mucosa https://anatomyfivelife.wordpress.com 46

ตับ (Liver) ตับแบ่งออกเป็น 4 กลีบ ตามลักษณะที่ เห็นภายนอก คือ Right lobe อยู่ทางด้านขวาของ Falciform ligament Left lobe อยู่ทางด้านซ้ายของ Falciform ligament Caudate lobe อยู่ด้านล่าง อยู่ระหว่าง Inferior vena cava และ Left lobe Quadrate lobe อยู่ด้านล่าง อยู่ระหว่าง Gall bladder และ Round ligament ระบบทางเดินน้ำดีประกอบด้วย common ถุงน้ำดี (Gall bladder) hepatic duct เป็นท่อนำน้ำดีออกจากตับ ผ่านทาง left, right hepatic duct และ ชั้นในสุดเป็น Mucosa membrane cystic duct ซึ่งเป็นทางผ่านของน้ำดีเข้า ชั้นกลางเป็น Muscle และ Fibrous และออกจากถุงน้ำดี ถุงน้ำดีจะทำหน้าที่ tissue เกี่ยวกับการสะสมน้ำดีไว้ชั่วคราวเพื่อ ชั้นนอกสุดเป็น serous membrane ปล่อยลงสู่ลำไส้เล็กเมื่อมีการย่อยอาหาร ซึ่งมาจาก peritoneum โดยผ่านทาง common bile duct 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook