Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 PPT

หน่วยที่ 1 PPT

Published by เพลาพิลาส พนมเทพ, 2020-09-24 06:03:38

Description: หน่วยที่ 1 PPT

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 1 การส่อื สารข้อมลู 20204 – 2005 ช่ือวชิ า : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เบ้อื งตน้

หน่วยที่ 1 การส่อื สารขอ้ มูล 20204 – 2005 ชื่อวชิ า : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธบิ ายความหมายของการสื่อสารข้อมลู ได้ 2. อธบิ ายองคป์ ระกอบข้ันพ้ืนฐานของระบบ 3. บอกลักษณะการส่อื สารขอ้ มลู ได้ 4. บรรยายวิธีการสง่ ข้อมูลได้ 5. อภปิ รายถึงการสง่ สัญญาณข้อมลู ได้ 6. จาํ แนกชนดิ ของสัญญาณข้อมลู ได้ 7. เปรียบเทยี บทศิ ทางการสือ่ สารขอ้ มลู แต่ละ

หนว่ ยท่ี 1 การสือ่ สารขอ้ มูล 20204 – 2005 ชอื่ วชิ า : เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 1.ความหมายของการสอ่ื สารข้อมลู การส่ือสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรอื คอมพวิ เตอรเ์ ป็นตวั กลางในการสง่ ข้อมูล เพื่อให้ผสู้ ง่ และผู้รบั เกิดความเขา้ ใจซึ่งกันและกนั

หนว่ ยที่ 1 การส่อื สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชอ่ื วชิ า : เครือข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 2. วธิ กี ารสง่ ขอ้ มลู วธิ กี ารสง่ ขอ้ มูล จะแปลงข้อมลู เป็นสัญญาณหรอื รหัสก่อนแล้วจึงส่งไปยงั ผู้รบั และ เมอื่ ถงึ ปลายทางหรือผรู้ ับกจ็ ะตอ้ งมกี ารแปลงสัญญาณน้ันกลบั มาให้อยู่ในรูปท่ีมนุษย์สามารถ เข้าใจได้ใน ระหวา่ งการสง่ อาจจะมีอุปสรรคท่ีเกดิ ข้ึนคอื สิ่งรบกวน (Noise)

หนว่ ยท่ี 1 การส่ือสารขอ้ มูล 20204 – 2005 ช่ือวิชา : เครือข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ 3. องค์ประกอบขน้ั พ้นื ฐานของระบบส่อื สาร 1. ผ้สู ง่ ขา่ วสารหรอื แหลง่ กาํ เนิดข่าวสาร (Sender) อาจจะเปน็ สัญญาณตา่ ง ๆ เช่น สญั ญาณภาพ ขอ้ มลู และเสยี ง เปน็ ตน้

หนว่ ยที่ 1 การส่ือสารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชื่อวิชา : เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เบ้อื งตน้ 3. องค์ประกอบขนั้ พน้ื ฐานของระบบส่อื สาร 2. ผู้รบั ขา่ วสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (Receiver) ซงึ่ จะรับรู้จากสง ที่ผ้สู ง่ ข่าวสารหรอื แหลง่ กาํ เนดิ ข่าวสารสง่ ผ่านมาให้ ตราบใดที่การตดิ ตอ่ ส่อื สารบรรลวุ ัตถุ ประสงค์ ผรู้ ับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารจะได้รับขา่ วสารนัน้ ๆ

หน่วยท่ี 1 การส่อื สารขอ้ มูล 20204 – 2005 ชอ่ื วชิ า : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ 3. องคป์ ระกอบขัน้ พนื้ ฐานของระบบสื่อสาร 3. ช่องสัญญาณ (Channel) ในทีน่ ี้อาจจะหมายถึงสอื่ กลางหรือตวั กลางที่ ขา่ วสาร เดนิ ทางผ่าน อาจจะเปน็ อากาศ สายนาํ สัญญาณตา่ ง ๆ หรอื แม้กระทั่ง ของเหลวเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เบอื้ งตน้

หนว่ ยที่ 1 การส่ือสารขอ้ มูล 20204 – 2005 ชอื่ วชิ า : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 3. องค์ประกอบขั้นพืน้ ฐานของระบบส่อื สาร 4. การเขา้ รหสั (Encoding) เปน็ การชว่ ยให้ผู้สง่ ขา่ วสารและผ้รู บั ขา่ วสารมี ความเข้าใจ ตรงกนั ในการสือ่ ความหมาย

หน่วยท่ี 1 การสอ่ื สารขอ้ มูล 20204 – 2005 ชือ่ วชิ า : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เบ้อื งตน้ 3. องคป์ ระกอบขน้ั พน้ื ฐานของระบบสื่อสาร 5. การถอดรหัส (Decoding) หมายถงึ การเข้ารหสั และการถอดรหสั เป็น การที่ผูร้ บั ขา่ วสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้การแปลงสัญญาณจาก สัญญาณใดเป็น กลับไปอยู่ในรปู ข่าวสารทสี่ ง่ มาจากผู้สง่ ขา่ วสารสญั ญาณใด โดยมคี วามเขา้ ใจหรือรหสั ตรงกนั

หนว่ ยที่ 1 การส่ือสารขอ้ มูล 20204 – 2005 ช่ือวชิ า : เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 3. องค์ประกอบขั้นพน้ื ฐานของระบบส่ือสาร 6. สัญญาณรบกวน (Noise) เป็นส่ิงสัญญาณ ดจิ ทิ ัลเป็นอนาล็อกการ ถอดรหสั เปน็ การแปลงสัญญาณ ทม่ี ีอยใู่ นธรรมชาตมิ กั จะลดทอนหรอื รบกวน อนาล็อกเป็นสญั ญาณดจิ ิทัล ระบบ อาจจะเกิดข้นึ ไดท้ ้ังทางด้านผูส้ ง่ ข่าวสาร ผู้รบั ขา่ วสาร และชอ่ งสัญญาณ

หนว่ ยที่ 1 การส่ือสารขอ้ มูล 20204 – 2005 ชื่อวชิ า : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 4. ทศิ ทางการส่ือสารข้อมลู ทิศทางการสอื่ สารขอ้ มูลแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื 1. แบบซมิ เพลก็ ซ์ (Simplex) เป็นการติดตอ่ ทางเดยี ว เม่อื อุปกรณห์ นง่ึ สง่ ขอ้ มูล อปุ กรณอ์ กี ชดุ จะต้องเปน็ ฝา่ ยรับขอ้ มลู เสมอ ตัวอยา่ งการใช้งาน เชน่ ในระบบสนามบิน คอมพวิ เตอร์ แมจ่ ะทาํ หน้าทีต่ ิดตามเวลาขึ้นและลงของเครือ่ งบนิ และส่งผลไปให้มอนเิ ตอร์ที่ วางอยูห่ ลาย ๆ จดุ ให้ผโู้ ดยสารไดท้ ราบขา่ วสาร

หนว่ ยท่ี 1 การสอ่ื สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชือ่ วิชา : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 4. ทิศทางการส่อื สารขอ้ มูล ทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบง่ ได้เปน็ 3 ประเภท คอื 2. แบบฮาล์ฟดเู พลก็ ซ์ (Half Duplex) เป็นการตดิ ตอ่ ถงึ สองทาง เป็นการเปลี่ยน เส้นทาง ในการสง่ ข้อมูลไดแ้ ตค่ นละเวลา คอื ขอ้ มลู จะไหลไปในทศิ ทางเดยี ว ณ เวลาใดๆ ตัวอย่างการใช้งาน

หนว่ ยที่ 1 การส่อื สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ช่ือวชิ า : เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เบ้อื งตน้ 4. ทิศทางการส่อื สารข้อมลู ทิศทางการสอื่ สารขอ้ มลู แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื แบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full Duplex) เปน็ การติดตอ่ สองทาง คือ เปน็ ผ้รู บั ขอ้ มูล และผู้สง่ ข้อมูล ในเวลาเดยี วกนั ได้ ตัวอย่างการใชง้ าน เช่น การติดตอ่ ระหวา่ งเทอรม์ ินลั กบั คอมพิวเตอรแ์ มบ่ าง ชนดิ ที่ไมต่ อ้ งใชเ้ วลารอสามารถโต้ตอบได้ทันที หรือการพูดคยุ ทางโทรศพั ท์

หน่วยท่ี 1 การส่ือสารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชือ่ วชิ า : เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เบ้อื งตน้ 5. การสง่ สญั ญาณข้อมูล การส่งสญั ญาณขอ้ มูลเปน็ การสง่ ข่าวสารหรือส่งข้อมูลจากเครื่องผู้ส่งหรือผูส้ ง่ ผ่านทาง สื่อหรอื ตัวกลางไปยังเครื่องผ้รู บั หรอื ผ้รู ับ ขอ้ มูลหรอื ขา่ วสารท่สี ่งไปอาจจะอยู่ในรปู ของ สัญญาณเสยี ง สญั ญาณคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ หรือแสง

หน่วยที่ 1 การสอื่ สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชือ่ วิชา : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 6. ชนิดของสัญญาณข้อมูล สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ลักษณะ คอื 1. สญั ญาณอนาล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบตอ่ เนื่อง มีลักษณะเป็น คล่ืนไซน์ (Sine wave) โดยแต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกัน ทุก ๆ ค่าที่เปล่ียนแปลงไปของระดับสัญญาณจะมี ความหมายการส่งสัญญาณแบบอนาล็อก จะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากค่าทุก ค่าถูกนาํ มาใชง้ าน เช่น สัญญาณเสยี งในสายโทรศัพท์

หนว่ ยท่ี 1 การสื่อสารขอ้ มลู 20204 – 2005 ช่ือวิชา : เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 6. ชนิดของสัญญาณข้อมลู สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 2. สญั ญาณดิจทิ ลั (Digital Signal) เปน็ สัญญาณทม่ี ีขนาดเปล่ียนแปลงเปน็ ค่าของเลขลง ตัว โดยระบบเลขที่มีสญั ลักษณ์ ปกตมิ กั แทนด้วยระดบั แรงดนั ทแ่ี สดงสถานะเปน็ “0” และเพียง 2 ตวั คอื 0 (ศนู ย์) “1” เป็นการส่งสัญญาณขอ้ มลู ทมี่ ีแต่เปดิ / ปดิ หรอื เปน็ กบั 1 (หน่ึง) เลขไบนารี (Binary)

หนว่ ยที่ 1 การสื่อสารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชื่อวชิ า : เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ 7.ลักษณะการสือ่ สารข้อมูล (Data Transmission) ลกั ษณะของการส่ือสารข้อมลู มี 2 รปู แบบ คือ - การสื่อสารแบบอนุกรม (Serial Data Transmission) - การสอ่ื สารแบบขนาน (Parallel Data Transmission)

หน่วยท่ี 1 การสอ่ื สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ช่ือวชิ า : เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ 1. การสื่อสารข้อมลู แบบอนุกรม (Serial Data Transmission) เป็นการส่งข้อมลู คร้งั ละ 1 บิต เนอ่ื งจากการสื่อสารแบบ ไปบนสัญญาณจนครบจํานวนข้อมูลท่ีมีอยู่ สามารถอนุกรมมกี าร ส่งข้อมลู ได้ นําไปใช้กับสื่อนําข้อมลู ที่มีเพียง 1 ช่องสัญญาณได้คร้ังละ 1 บิตเท่าน้ัน การส่งข้อมูล สื่อนําข้อมูลที่มี 1 ช่องสัญญาณน้ีจะมรี าคาถูกกว่าประเภทนี้จึงช้ากว่าการส่งข้อมูล ส่ือนําข้อมลู ที่ มีหลายช่องสญั ญาณ การส่งขอ้ มูลแบบครั้งละหลายบติ อนกุ รมแบง่ เป็น 2 ประเภท คือ

หนว่ ยท่ี 1 การสือ่ สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชือ่ วชิ า : เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ อนุกรมแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ - การสง่ ข้อมลู แบบอะซิงโครนสั (Asynchronous Data Transmission) เป็น วิธกี ารสง่ ขอ้ มูลไปบนสอื่ นาํ ข้อมลู โดยส่งเปน็ ชดุ ๆ ไมม่ ีจังหวะการสง่ - การสง่ ข้อมลู แบบซิงโครนสั (Synchronous Data Transmission) เปน็ การสง่ ขอ้ มลู ไปบนสอ่ื นําข้อมลู ท่มี ลี ักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลท่ตี อ่ เนอ่ื งกันอยา่ งเป็นจงั หวะ

หน่วยที่ 1 การส่อื สารขอ้ มลู 20204 – 2005 ชื่อวชิ า : เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ 2. การสื่อสารข้อมูลแบบขนาน (Parallel Data Transmission) เป็นการส่งข้อมลู คร้ังละ หลายบิตขนานกันไปบนส่ือนําข้อมูลท่ีมีหลายช่องสัญญาณ วิธีน้ีเป็นวิธีการส่งข้อมูลที่ เร็วกว่า การสง่ ข้อมูลแบบอนกุ รม จากรปู เปน็ การแสดงการส่ือสารข้อมูลระหวา่ งอุปกรณ์ 2 ตัว ที่มกี ารส่ง ขอ้ มูลแบบขนาน โดยส่งขอ้ มูลครง้ั ละ 8 บติ พรอ้ มกนั สง่ ขอ้ มูลครงั้ ละ8 บติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook