Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้งานตัวควบคุมความเร็วมอเตอร์ร่วมกับระบบเครือข่าย

การใช้งานตัวควบคุมความเร็วมอเตอร์ร่วมกับระบบเครือข่าย

Published by charoenyongsamer, 2022-08-29 02:11:24

Description: การใช้งานตัวควบคุมความเร็วมอเตอร์ร่วมกับระบบเครือข่าย

Search

Read the Text Version

91 5.19) คลิกเคร่อื งมือเลอื ก Link คลิกลากตอเสน ขา OUT ของ ADDM ตอกับขา ADR ของ READ_VAR เพื่อเปนการตอการเชื่อมขอมูลจาก Address 2 ที่อา งอิงจากขา IN ของ ADDM ภาพที่ 4-65 การเชือ่ มตอ เสน ขา OUT-ADR ของ WRITE_VAR 5.20) ระบคุ า ตัวแปร ดา นอนิ พุตของ Function Block ช่ือ WRITE_VAR ดังนี้ 1.) Type of Objects to write : ‘%MW’ ขา OBJ 2.) Table to write in slave : %MW8500 ขาNUM , 10 ขา NB 3.) Exchange management table : %MW120:4 ขา GEST 4.) Table to Write objects : %MW10:10 ขา EMIS ภาพที่ 4-66 ระบคุ าตวั แปร ดา นอนิ พุตของ Function Block ชอ่ื WRITE_VAR

92 6.) ตรวจสอบและ Transfer Program To PLC 6.1) ทําการตรวจสอบโปรแกรมที่เขียนวามีขอผิดพลาดหรือไม โดยคลิกเมนู Build เลือก Analyze Project เพอ่ื ทาํ การตรวจโปรแกรมท้งั หมดท่ีไดท าํ การเขยี นไว ภาพที่ 4-67 การตรวจสอบ Analyze Project 6.2) เม่ือทําการ Analyze Project เรียบรอยจะมีขอความแจงเตือนอยูแถบ ดานลาง หากไมพบขอ ผิดพลาดใดๆ จะมีขอความ 0 Error(s) 0 Warning(s) และแถบ Analyzed สี เหลอื ง ใหส ามารถทาํ ขั้นตอนตอไปได ภาพที่ 4-68 ขอความแจง เตือนการ Analyze Project

93 6.3) หลงั จากทําการ Analyze Project ตรวจสอบไมพ บขอผิดพลาดใดๆ ใหทํา การ Rebuild All Project เพ่อื สรา ง Project โดยเลือกเมนู Build เลือก Rebuild All Project ภาพท่ี 4-69 การ Rebuild All Project 6.4) หลังจากการทํา Rebuild All Project ผานแถบ Analyzed สีเหลือง จะ เปลย่ี นเปน แถบ Build สเี ขยี ว ภาพที่ 4-70 ขอความแจงเตือนการ Rebuild All Project

94 6.5) เปลี่ยนโหมดการทํางานของโปรแกรมใหเช่ือมกับอุปกรณจริง โดยเลือกเมนู PLC คลกิ เลือก Standard Mode ภาพท่ี 4-71 การเปลย่ี นโหมด Standard Mode 6.6) คลิก OK เพือ่ ยืนยนั การเปลีย่ นโหมดเปน Standard Mode ภาพที่ 4-72 ยืนยนั การเปลยี่ นโหมด Standard Mode

95 6.7) เลือกรูปแบบการ Transfer Program โดยเลือกเมนู PLC คลิกเลือก Set Address… ภาพที่ 4-73 การเลอื กเมนู PLC- Set Address… 6.8) จะปรากฏหนาตา ง Set Address ท่ี PLC ปอนคา SYS ท่ี Media เลือก USB เพือ่ เลอื กรปู แบบ USB สําหรบั การ Transfer Program คลิก OK ภาพท่ี 4-74 การต้งั คา Set Address…

96 6.9) ทําการเช่ือมตอ กบั PLC โดยเลือกเมนู PLC เลือก Connect ภาพที่ 4-75 การเชื่อมตอกับ PLC ดวยคําสั่ง Connect 6.10) ทําการ Transfer Program โดยเลือกเมนู PLC เลือก Transfer Project to PLC เพ่ือทาํ การ Transfer Program ท่ีไดเขียนไวสง ไปยงั PLC ภาพท่ี 4-76 การ Transfer Project to PLC

97 6.11) คลิกเลือก PLC Run after Transfer เพื่อสั่งให PLC ทํางานหลังจาก Transfer Program เสร็จ คลิกปุม Transfer เพื่อทาํ การ Transfer Program er ภาพที่ 4-77 การยนื ยนั การ Transfer Project to PLC 6.12) คลกิ OK เพือ่ ยนื ยนั การสัง่ RUN ให PLC ทํางาน ภาพที่ 4-78 การยืนยนั การสง่ั RUN 6.13) หลังจากการสงั่ RUN วงจรควบคุมจากเขยี นโปรแกรมจากเปลี่ยนเปนเสนสี เขียวและ สีแดง และสังเกตดานลางจะปรากฏแถบ RUN สีเขยี ว แสดงวา PLC ทํางานแลว

98 ภาพที่ 4-79 แสดงการทํางานโหมด RUN การวิเคราะหรายการความสามารถ (Task Analysis) ข้นั ตอนที6่ เขยี นโปรแกรม PLC ควบคุมผา นเครือขาย Modbus 485 ความรู ทักษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การออกแบบโปรแกรม PLC ควบคมุ 1. ตงั้ คา และเขียนโปรแกรม PLC ได 2. การใชง านโปรแกรม Unity Pro 2. ตั้งคาและเขียนโปรแกรมสื่อสารผาน 3. หนาท่ีของคําส่ังในการเขียนโปรแกรม เครีอขาย Modbus 485 ได PLC 4. วิธีการตัง้ คา และเขยี นโปรแกรม PLC 5. วิธีการต้ังคาและเขียนโปรแกรมส่ือสาร ผานเครอี ขา ย Modbus 485 5. ขอ ควรระวัง ภาพที่ 4-80 ตารางการวเิ คราะหร ายการความสามารถขั้นตอนที่6 เขยี นโปรแกรม PLC ควบคมุ ผานเครอื ขา ย Modbus 485

99 4.3.7 ขน้ั ตอนที7่ ทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครอื ขา ย Modbus 485 การทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC จะดูความถูกตองของโปรแกรมทที่ ํางานตาม เง่ือนไขที่ไดกําหนดไวขางตน โดยจะสั่งการผานพอรต Modbus 485 ไปยังอินเวอรเตอร โดยมกี าร ทดสอบมีดงั นี้ 1.) การดคู าตวั แปรหรอื Data ตางๆใน PLC ทําไดโดย ที่หนาตาง Project Browser คลิกขวาที่ Animation Table เลือก New Animation Table แลว ปอ นชอ่ื คลกิ Ok ภาพท่ี 4-81 การเลือก New Animation Table 2.) จะปรากฏหนาของ Animation Table ที่สรางข้ึน ปอนชื่อตัวแปรท่ีตองการดูคาลง ในชอ ง Name ตามลําดับ ในการทดสอบคา ที่ตองการดูมีดงั น้ี %M0, %M1, %MW11, %MW12, %MW81, %MW82 ภาพที่ 4-82 การเลือก New Animation Table

100 3.) เมอ่ื โยกสวิทช %I0.2.0 และ %I0.2.2 อินเวอรเตอรทํางานมอเตอรหมุน Forward สายพานเคล่ือนไปทางขวา ท่ีความถ่ี 30Hz คา %MW11 , %MW81 เทากับ 15 และคา %MW12, %MW82 เทากบั 300 คาจะแสดงที่หนาจออินเวอรเ ตอร เทา กบั 30 Hz เคลือ่ นไปทางขวา F ภาพที่ 4-83 สายพานเคลือ่ นไปทางขวา ท่คี วามถ่ี 30Hz 4.) โยกสวิทช %I0.2.3 เพื่อเปลี่ยนความถ่ีเปน 40Hz คา %MW12, %MW82 เทากับ 400 คาจะแสดงทีห่ นา จออนิ เวอรเ ตอร เทากับ 40 Hz 5.) โยกสวิทช %I0.2.4 เพ่ือเปล่ียนความถี่เปน 50Hz คา %MW12,%MW82 เทา กับ 500คา จะแสดงท่หี นาจออนิ เวอรเตอร เทากบั 50 Hz ภาพท่ี 4-84 อนิ เวอรเ ตอรทาํ งานที่ 40Hz และ 50Hz หมุน Forward

101 6.) เมื่อโยกสวิทช %I0.2.1 และ %I0.2.2 อินเวอรเตอรทํางานมอเตอรหมนุ Reverse สายพานเคลอ่ื นไปทางซา ยที่ความถี่ 30Hz คา %MW11, %MW81 เทากับ 2063 และคา %MW12, %MW82 เทากบั 300 คาจะแสดงทห่ี นาจออนิ เวอรเตอร เทากบั 30 Hz เคลื่อนไปทางซาย ภาพที่ 4-85 สายพานเคลอ่ื นไปทางซา ย ที่ความถี่ 30Hz 7.) โยกสวิทช %I0.2.3 เพื่อเปลี่ยนความถีเ่ ปน 40Hz คา %MW12,%MW82 เทากับ 400 คาจะแสดงที่หนาจออินเวอรเตอร เทากับ 40 Hz 8.) โยกสวิทช %I0.2.4 เพื่อเปล่ียนความถ่ีเปน 50Hz คา %MW12,%MW82 เทา กับ 500 คาจะแสดงที่หนาจออนิ เวอรเตอร เทากบั 50 Hz ภาพท่ี 4-86 อินเวอรเ ตอรทาํ งานที่ 40Hz และ 50Hz หมุน Reverse

102 9.) โยกสวิทช %I0.2.5 อินเวอรเ ตอรจ ะหยดุ การทํางาน คา %MW11 เทา กับ 6 10.) หากทําการทดสอบแลวไมสามารถสั่งใหอินเวอรเตอรทํางาน ใหตรวจสอบการ สื่อสารระหวางพอรต Modbus 485 โดยสังเกตท่ี โมดูลCPU ของ PLC หลอดไฟ SER COM จะตอ ง กระพริบเร็วๆ แตถาหลอดไฟไมก ระพริบ ใหตรวจสอบสาย Link หรือ การต้ังคาพารามิเตอรของ อินเวอรเตอรอีกคร้ัง ตามข้ันตอน5 ภาพที่ 4-87 หลอดไฟ SER COM แสดงการสอ่ื สารของ Modbus 485 การวิเคราะหรายการความสามารถ (Task Analysis) ข้นั ตอนท7ี่ ทดสอบการทาํ งานของโปรแกรม PLC ควบคุมผา นเครือขาย Modbus 485 ความรู ทักษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การใชง านโปรแกรม Unity Pro 1. ทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC 2. วิ ธี ก า ร ท ด ส อ บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ควบคมุ ผานเครือขาย Modbus 485 ได โปรแกรม PLC 3. วิธีการต้ังคา และโหลดโปรแกรม PLC 4. ขอควรระวงั ภาพที่ 4-88 ตารางการวิเคราะหรายการความสามารถขน้ั ตอนที่7 ทดสอบการทาํ งานของ โปรแกรม PLC ควบคมุ ผา นเครอื ขา ย Modbus 485 4.3.8 ขัน้ ตอนที่ 8 บันทกึ ผลการทดสอบการควบคมุ ผานเครอื ขาย Modbus 485 การจากทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC ควบคุมอินเวอรเตอรผ าน Modbus 485 ใหน าํ คา ท่ผี า นการทดสอบมาบนั ทกึ ผลโดยคา ทีผ่ านการทดสอบมดี ังน้ี

103 1.) บันทึกขอมูลการทดสอบโปรแกรมควบคุมอินเวอรเตอรใหมอเตอรหมุนแบบ Forward ผา นการสอ่ื สาร Modbus 485 ภาพที่ 4-89 ตารางบันทึกขอมูลการทดสอบหมุน Forward ผา น Modbus 485 2.) บันทึกขอมูลการทดสอบโปรแกรมควบคุมอินเวอรเตอรใหมอเตอรหมุนแบบ Reverse ผานการสอื่ สาร Modbus 485 ภาพที่ 4-90 ตารางบันทึกขอมูลการทดสอบหมนุ Reverse ผาน Modbus 485

104 การวเิ คราะหร ายการความสามารถ (Task Analysis) ข้ันตอนที่ 8 บนั ทกึ ผลการทดสอบการควบคุมผา นเครอื ขา ย Modbus 485 ความรู ทักษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การใชงานโปรแกรม Unity Pro 1. บันทึกผลการทดสอบการควบคุมผาน 2 . วิ ธี ก า ร ท ด ส อ บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง เครอื ขา ย Modbus 485 ได โปรแกรม PLC 3. การใชงานตารางบันทึกขอมลู 5. ขอควรระวงั ภาพที่ 4-91 ตารางการวิเคราะหรายการความสามารถขั้นตอนที่ 8 บันทึกผลการทดสอบการควบคุม ผานเครือขาย Modbus 485 4.3.9 ขัน้ ตอนท9่ี ตง้ั คา พารามิเตอร EGX100MP การตง้ั คาพารามิเตอร EGX100MP เพื่อต้ังคา IP Address ของ EGX100MP และคาการ สือ่ สารใหอ ยูในวงเครอื ขา ยเดยี วกบั กบั PLC และอินเวอรเ ตอร โดยมกี ารตั้งคา ดังนี้ 1.) หลงั จากการจดั เตรียมอุปกรณพรอ มจายไฟใหกับ EGX100MP ใหเชื่อมตอสาย LAN ระหวาง คอมพิวเตอร และ EGX100MP LAN Cable RJ45 EGX100MP Computer Supply +24V ภาพที่ 4-92 เช่ือมตอคอมพิวเตอร และ EGX100MP

105 2.) การตั้งคาตางๆ ของ EGX100MP จะตองเขาไปตั้งคาใน Web page ของ EGX100MP โดยจะใชเริ่มตนจากโรงงาน เชน Default IP Address, Default Username, Default Passwordซ่งึ จะมี Name plate อยูขางตัว EGX100MP ภาพที่ 4-93 Name plate ของ EGX100MP 3.) เปด Browser ในการเขา Internet ใหปอนคา Default IP Address ของ EGX100MP คอื 169.254.0.10 ลงบนชอ ง Address Toolbar แลว กด Enter ภาพท่ี 4-94 การเขา Web page ของ EGX100MP

106 4.) จะปรากฏหนาตาง Web Page ของ EGX100MP ใหทําการปอน User Name และ Pass word จาก Name plate ที่อยูขา งตวั EGX100MP คอื Administrator และ Gateway ภาพท่ี 4-95 หนาตา ง Web page ของ EGX100MP 9.5 ทําการตั้งคา IP Address ใหอยูในวงเครือขาย PLC โดยจะให 3 หลักแรกของ IP Address เหมือน สวนหลักที่ 4 ขวาสุดจะตองไมซ ํ้ากับ IP Address ของ PLC ในที่น้ีกําหนดเปน IP Address : 192.168.0.20 Subnet : 255.255.255.128 Gateway : 192.169.0.20 ภาพท่ี 4-96 การตง้ั คา IP Address ของ EGX100MP

107 6.) ทาํ การต้ังคา Serial Port ของ EGX100MP ใหมีคาการสือ่ สารตรงกับคาการสื่อสาร ของอนิ เวอรเตอรที่ตงั้ คาไวกอนหนา ภาพที่ 4-97 การตงั้ คา Serial Port ของ EGX100MP 7.) ทําการบันทึกคาท่ีไดทําการเปลี่ยนแปลงคา ตางๆ จากการตั้งคา IP Address และ Serial Port ของ EGX100MP Mode: Master, Physical Interface: PS485 2-wire, Transmission Mode: Automatic, Baud Rate: 19200, Parity: Even, Response Timeout: 3 ภาพที่ 4-98 การ Save คา IP Address และ Serial Port ของ EGX100MP

108 การวิเคราะหรายการความสามารถ (Task Analysis) ขนั้ ตอนท่ี9 ตัง้ คา พารามิเตอร EGX100MP ความรู ทกั ษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การใชงานคอมพิวเตอรและการต้ังคา 1. ต้งั คาพารามเิ ตอร EGX100MP ได Network 2. การใชงาน EGX100MP 3. ขอ ควรระวงั ภาพที่ 4-99 ตารางการวิเคราะหร ายการความสามารถขนั้ ตอนท่9ี ตงั้ คา พารามิเตอร EGX100MP 4.3.10 ขั้นตอนท1ี่ 0 เขียนโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขาย Ethernet การเขียนโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขาย Ethernet จะมีการตั้งคาและเขียน โปรแกรมเหมือนกับขั้นตอนที่ 6 การเขียนโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขาย Modbus 485 ตางกันเพียงการต้ังคา Address ของบลอ็ ก ADDM ในหัวขอ 5.10 โดยการตั้งคา Address จะการ เช่ือมตอจาก IP Address ของ PLC ( Ethernet_1{192.168.0.10} ) แปลงเปน Serial Port เช่ือม กบั Modbus 485 ของอนิ เวอรเ ตอร (Address 2) มีรปู แบบดงั นี้ ‘Ethernet_1{192.168.0.10}.2’ ภาพที่ 4-100 การต้ังคา Address ของบล็อก ADDM ส่อื สารแบบ Ethernet

109 การวิเคราะหรายการความสามารถ (Task Analysis) ขั้นตอนที่10 เขียนโปรแกรม PLC ควบคมุ ผานเครือขา ย Ethernet ความรู ทักษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การออกแบบโปรแกรม PLC ควบคมุ 1. ตั้งคาและเขยี นโปรแกรม PLC ได 2. การใชง านโปรแกรม Unity Pro 2. ต้ังคาและเขียนโปรแกรมสื่อสารผาน 3. หนาที่ของคําส่ังในการเขียนโปรแกรม เครีอขา ย Ethernet ได PLC 4. วธิ ีการตง้ั คาและเขียนโปรแกรม PLC 5. วิธีการต้ังคาและเขียนโปรแกรมส่ือสาร ผา นเครอี ขาย Ethernet 5. ขอควรระวัง ภาพที่ 4-101 ตารางการวเิ คราะหรายการความสามารถข้ันตอนท่1ี 0 เขียนโปรแกรม PLC ควบคมุ ผา นเครอื ขา ย Ethernet 4.3.11 ข้นั ตอนท่1ี 1 ทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC ควบคมุ ผานเครอื ขา ย Ethernet การทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขาย Ethernet จะมีวิธีการ ทดสอบเหมือนกันกับข้ันตอนที่7 การทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขาย Modbus 485 ตางกันเพียง การเชื่อมตอ สายส่ือสารจากการใชสาย LAN เช่ือมตอจากPLCไปยัง อินเวอรเตอรผานพอรต Modbus 485 โดยตรง เปลี่ยนเปน การเชื่อมตอ พอรต Ethernet ของ PLC ผานชุด EGX100MP เพื่อแปลงเปลี่ยนสัญญาณเปนพอรต Serial ไปยังอินเวอรเตอรผานพอรต Modbus 485

110 ภาพที่ 4-102 การตอ อุปกรณส่อื สารแบบ Ethernet การวเิ คราะหร ายการความสามารถ (Task Analysis) ขัน้ ตอนที1่ 1 ทดสอบการทาํ งานของโปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขา ย Ethernet ความรู ทกั ษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การใชง านโปรแกรม Unity Pro 1. ทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC 2. วิ ธี ก า ร ท ด ส อ บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ควบคมุ ผา นเครอื ขาย Ethernet ได โปรแกรม PLC 3. วิธีการต้ังคา และโหลดโปรแกรม PLC 4. ขอ ควรระวงั ภาพที่ 4-103 ตารางการวเิ คราะหรายการความสามารถขั้นตอนท่ี11 ทดสอบการทํางานของ โปรแกรม PLC ควบคุมผานเครือขาย Ethernet

111 4.3.12 ขนั้ ตอนที่12 บันทกึ ผลการทดสอบ การจากทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC ควบคุมอินเวอรเตอรผาน Ethernet ใหน าํ คาท่ผี า นการทดสอบมาบันทึกผลโดยคาทผ่ี านการทดสอบมีดงั นี้ 1.) บันทกึ ขอมูลการทดสอบโปรแกรมควบคมุ อินเวอรเ ตอรใ หมอเตอรหมุนแบบ Forward ผานการส่ือสาร Ethernet ภาพที่ 4-104 ตารางบนั ทกึ ขอมลู การทดสอบหมุน Forward ผา น Ethernet 2.) บันทึกขอมูลการทดสอบโปรแกรมควบคุมอินเวอรเตอรใหมอเตอรหมุนแบบ Reverse ผานการสื่อสาร Ethernet ภาพที่ 4-105 ตารางบนั ทกึ ขอมลู การทดสอบหมนุ Reverse ผา น Ethernet

112 การวเิ คราะหร ายการความสามารถ (Task Analysis) ขัน้ ตอนท่ี 12 บันทึกผลการทดสอบการควบคุมผา นเครอื ขาย Ethernet ความรู ทักษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. การใชง านโปรแกรม Unity Pro 1. บันทึกผลการทดสอบการควบคุมผาน 2 . วิ ธี ก า ร ท ด ส อ บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง เครือขาย Modbus 485 ได โปรแกรม PLC 3. การใชงานตารางบนั ทกึ ขอ มลู 5. ขอควรระวงั ภาพที่ 4-106 ตารางการวิเคราะหร ายการความสามารถข้นั ตอนที่ 12 บันทกึ ผล การทดสอบการควบคุมผานเครอื ขา ย Ethernet 4.3.13 ข้ันตอนที1่ 3 จดั เก็บอุปกรณ หลังจากทาํ การติดต้ังเชือ่ มตออุปกรณต้ังคาพารามิเตอรของอุปกรณและทําการทดสอบ การเขียนโปรแกรมควบคุมอินเวอรเตอรผานการส่ือสารตางๆ เสร็จเรียบรอย ใหทําการปด คอมพิวเตอรและอุปกรณที่ตอกับแหลงจายไฟ ถอดสายเชื่อมตอตา งๆ ตรวจเช็คและเก็บเขาที่ให เปน ระเบยี บเรยี บรอย การวิเคราะหรายการความสามารถ (Task Analysis) ขั้นตอนท่ี13 จดั เก็บอปุ กรณ ความรู ทักษะ (KNOWLEDGE) (SKILL) 1. วธิ ีการจัดเกบ็ อุปกรณ 1. จดั เก็บอปุ กรณไ ด 2. ตาํ แหนงของอุปกรณ 3. ขอ ควรระวัง ภาพที่ 4-107 ตารางการวิเคราะหรายการความสามารถขัน้ ตอนท่ี13 จดั เก็บอุปกรณ

113 4.4 การวดั ผลความพงึ่ พอใจการใหบ ริการ การวัดผลประเมินความพ่ึงพอใจของผูรับบริการในปฏิบัติงานการใชงานตัวควบคุมความเร็ว มอเตอรรวมกับระบบเครือขาย มีการประเมินผลตามลักษณะงานการใหบริการ โดยใชแบบฟอรม เอกสารควบคมุ คณุ ภาพ ISO 9001:2015 ดังตอไปนี้ 4.4.1 แบบประเมินความพ่ึงพอใจของผูรับบริการวชิ าการ / Questionnaire การฝกอบรม การ บรรยายพิเศษ และการสัมมนา รหสั FR8/1-QP-TFII-11, FR8/2-QP-TFII-11, FR8/3-QP-TFII-11 โดยการใหบ รกิ ารจะตอ งไดรับความพึ่งพอใจของผรู ับบริการไมต าํ่ กวาเกณฑเฉล่ยี ระดับ 4.00 ภาพที่ 4-108 แบบประเมนิ ความพงึ่ พอใจการฝกอบรม รหัส FR8/1-QP-TFII-11

114 ภาพที่ 4-109 แบบประเมินความพึง่ พอใจการฝกอบรม รหัส FR8/2-QP-TFII-11 ภาพที่ 4-110 แบบประเมนิ ความพ่งึ พอใจการฝก อบรม รหัส FR8/3-QP-TFII-11

115 4.4.2 แบบประเมินผลสะทอนกลับการใหบริการวิชาการ รหัส FR4-QP-TFII-06 (การให คําปรึกษาแกป ญหา) โดยการใหบริการจะตองไดร ับความพึ่งพอใจของผูรับบริการไมตํ่ากวาเกณฑ เฉลี่ยระดับ 4.00 ภาพที่ 4-111 แบบประเมินสะทอ นกลบั การใหบ รกิ ารวชิ าการ รหสั FR4-QP-TFII-06

116 บทที่ 5 ปญ หาอปุ สรรค แนวทางแกไ ขพฒั นา 5 1.ปญหาอุปสรรคในการปฏิบัตงิ าน ในการใชงานตัวควบคุมความเร็วมอเตอรรวมกับระบบเครือขาย ปญหาท่ีพบสวนใหญค ือปญหา ดานเทคนิคการตั้งคาอุปกรณและเขียนโปรแกรมควบคุมผานการส่ือสารตางๆ เนื่องจากเปนการ ประยุกตใชงานการเชอื่ มตอ อุปกรณค วบคมุ หลายตวั เขา ดวยกันผานการส่ือสารขอมูลแบบตางๆ โดยมี ปญ หาและอปุ สรรคดงั ตอ ไปนี้ 5.1.1 การเชื่อมตอโปรแกรมPLC บางครง้ั ไมสามารถทาํ ได ขณะดาวนโหลดโปรแกรมไปยังตัว อปุ กรณ PLC จรงิ 5.1.2 การควบคุมส่ือสารขอมูลผานพอรต Modbus 485 ไมสามารถสั่งการควบคุมชุด อินเวอรเ ตอรได 5.1.3 การเช่ือมตอ กับชุด EGX 100MP เพ่ือต้ังคาพารามิเตอรผานพอรต Ethernet ไมสามารถ เชื่อมตอ ได 5.1.4 การควบคมุ ชดุ อนิ เวอรเ ตอร ผา นพอรต Ethernet ไมสามารถสง่ั การควบคมุ ได 5.2 แนวทางแกไขพัฒนา 5.2.1 หลังการทดสอบการทํางานของโปรแกรม PLC เรียบรอยแลวพรอมท่ีจะดาวนโหลด โปรแกรมไปยังตัวอุปกรณ PLC จริง ตองตรวจสอบโหมดการทํางานของโปรแกรม Unity Pro ใหอยู ในโหมด Standard Mode ทกุ ครง้ั กอ นท่จี ะทําการดาวนโ หลดโปรแกรมไปยงั ตัวอุปกรณ PLC จรงิ 5.2.2 การสอื่ สารขอมลู ผานพอรต Modbus 485 ใหตรวจสอบหมายเลข Modbus Address ของ PLC และ อินเวอรเตอร ตองไมซํ้ากัน สวนรายละเอียดการสื่อสารอ่ืนๆตองเหมือนกัน จึงจะ สามารถสื่อสารกันได พรอมตรวจสอบสายส่ือสารท่ีตอใชงานจะตองเปนตามมาตรฐานการตอสาย LAN 5.2.3 การตง้ั คาพารามิเตอรของชุด EGX 100MP ตองตั้งคา Network ของ คอมพิวเตอรและ ชดุ EGX 100MP ใหอ ยูในหมายเลขเครอื ขายเดยี วกัน แตตองไมซํา้ กนั จึงจะสามารถเชือ่ มตอกันได 5.2.4 หลังจากการทดสอบการทํางานของอินเวอรเตอรเรียบรอยแลว ตองเปลี่ยนพารามิเตอร รูปแบบการควบคุม ใหเปนแบบ Modbus โดยตรวจสอบท่ีพารามิเตอร Fr1 จะมคี าเปน nbd และมี การตัง้ คา สื่อสารตรงกนั กบั PLC และชดุ EGX 100MP โดยคา Modbus Address ตองไมซํ้ากัน จึง จะสามารถรบั คา และสง่ั การผา นพอรต Ethernet ได

117 เอกสารอา งอิง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลงั งาน. (2557). การประยกุ ตใชระบบควบคมุ อัตโนมัติโดย ใช PLC เพือ่ การประหยดั พลงั งาน. เอกสารเผยแพร [ออนไลน]. แหลง ท่มี า: http://e-lib.dede.go.th/mm-data/BibA11351.pdf. นริ ตุ ิ สวนศลิ ปพงศ .(2560). การใชง าน PLC เบื้องตน สํานักพิมพ .Grillman. ธีรเชษฐ สูรพันธุ และ ณฐพล ตันสังวรณ. (2563). การส่ือสารในงานอุตสาหกรรมดวยโปรโตคอล Modbus. เอกสารเผยแพร หนวยทรัพยากรดานการคํานวณและไซเบอร-กายภาพ (NCCPI). NECTEC. บรษิ ทั ชไนเดอร (ไทยแลนด) จาํ กัด. เอกสารการใชง านโปรแกรม Unity Pro. บรษิ ัทชไนเดอร (ไทยแลนด) จํากดั . คมู อื การใชง าน Altivar312. บรษิ ัทชไนเดอร (ไทยแลนด) จาํ กดั . คูมอื การใชงาน EGX100MP. ธนเจต สครรัมย.สํานักพิมพ ศสอ. มอเตอรไฟฟาและการควบคุม .(2558). บริษัท โซนิค ออโตเมชั่น จํากัด(2562) .การเรียนรูการใชงานพีแอลซีเบ้ืองตน. เอกสารเผยแพร [ออนไลน]. แหลงที่มา: https://sonicautomation.co.th/wp-content/uploads/01 /2020/การ ใชง าน-PLC-เบ้อื งตน .pdf.