Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนชั้นม.5

แผนชั้นม.5

Published by roongnapa.klin, 2020-07-21 03:27:29

Description: แผนชั้นม.5

Search

Read the Text Version

-๑- แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกนั การทุจริต” ระดบั มธั ยมศกึ ษาชั้นปที ่ี 5 ชุดหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศึกษา (Anti - Corruption Education) สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ร่วมกบั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2561

-๒- ก คานา ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สรา้ งสงั คมทีไ่ ม่ทนต่อการทุจริต อันมีกลยุทธ์ว่าด้วยเร่ืองของการปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้มีระบบและ กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพ่ือต้านทุจริต ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเคร่ืองมือต้านทุจริต เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพ่ือต่อต้านการทุจริต คณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทา หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ข้ึน เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และ รวบรวมข้อมูล กาหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทาหลักสูตร ยกร่างและจัดทาเนื้อหาหลักสูตรหรือชุดการ เรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ พิจารณาให้ความเห็นเพิ่มเติม กาหนดแผนหรือแนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ ในหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง และดาเนินการอ่ืนๆ ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย คณะอนุกรรมการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริตได้ร่วมกันสร้างหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ประกอบด้วย ๕ หลักสูตร ดังนี้ ๑. หลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกันการทุจรติ ) ๒. หลกั สูตรอุดมศกึ ษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและตารวจ ๔. หลักสูตรสร้าง วิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต และ ๕. หลักสูตรโค้ชเพ่ือการรู้คิดต้านทุจริต หลักสูตร ดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการนาไปทดลองใช้ เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ สาหรับการใช้ในกลุ่มเป้าหมายต่อไป นอกจากนี้ คณะอนุกรรมการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริตยังได้คัดเลือกส่ือการเรียนรู้ จากแหล่งต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อประกอบการเรียนการสอน ตอ่ ไป สานักงาน ป.ป.ช. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education จะสร้าง ความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะให้แก่ผู้เรยี นหรือผู้ผ่านการอบรมในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และพลเมือง กับความรับผิดชอบต่อสังคม เพ่ือร่วมกันป้องกันหรือต่อต้านการทุจริต มิให้มีการทุจริตเกิดข้ึนในสังคมไทย ร่วมสรา้ งสังคมไทยที่ไม่ทนตอ่ การทุจรติ ตอ่ ไป พลตารวจเอก (วชั รพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. 14 มนี าคม ๒๕๖๑

-๓- สารบญั หน้า โครงสร้างรายวชิ า 1 หน่วยท่ี 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม 2 หนว่ ยที่ 2 ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต 50 หนว่ ยท่ี 3 STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจริต 83 หนว่ ยท่ี 4 พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม 139 ภาคผนวก 193 คาส่ังแต่งตง้ั คณะอนุกรรมการจดั ทาหลักสูตรหรอื ชุดการเรียนรแู้ ละ 194 สอื่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกันการทจุ รติ สานักงาน ป.ป.ช. รายชื่อคณะทางานจดั ทาหลกั สตู รหรอื ชุดการเรยี นรูแ้ ละสื่อประกอบการเรียนรู้ 197 ดา้ นการป้องกันการทจุ รติ กลุ่มการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน รายชอ่ื คณะบรรณาธิการกิจหลักสตู รหรือชุดการเรียนรูแ้ ละสื่อประกอบการเรยี นรู้ 200 ดา้ นการป้องกนั การทจุ รติ กลุ่มการศึกษาขน้ั พื้นฐาน รายชื่อคณะผู้ประสานงานการจัดทาหลักสตู รหรือชุดการเรียนรูแ้ ละสื่อประกอบการเรียนรู้ 201 ด้านการป้องกันการทจุ ริต กลุ่มการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สานักงาน ป.ป.ช.

-๔- โครงสรา้ งรายวิชา ระดับมัธยมศกึ ษาชน้ั ปีที่ 5 ลาดบั หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง รวมช่ัวโมง 1. การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ - การคดิ แยกแยะ 10 - ระบบคดิ ฐาน 10 กบั ฐาน 2 ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม - การขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตน 7 และผลประโยชน์ส่วนรวม (สงั คม 8 2. ความละอายและความไม่ทนตอ่ การ ประเทศชาติ โลก) 15 ทุจรติ - ผลประโยชน์ทบั ซ้อน (สังคม ประเทศชาติ โลก) 40 ห3. STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการ - รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน ทุจริต (สังคม ประเทศชาติ โลก) - การทาการบา้ น/การทาเวร/การทา 4. พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบต่อสังคม ความสะอาด - การสอบและการเลอื กตั้ง - การแต่งกาย - การเข้าแถว - กิจกรรมนักเรียน (ชมุ ชน) - ความพอเพียง - ความโปรง่ ใส - ความตน่ื รแู้ ละความรู้ - ต่อต้านทุจรติ - มุง่ ไปข้างหน้า - ความเอื้ออาทร - การเคารพสิทธหิ น้าทต่ี ่อตนเองและ ผอู้ ื่น - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม - แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองทีด่ ี - ความเป็นพลเมืองของประเทศ - ความเป็นพลเมืองของโลก * สัมมนา เสวนา รวม

-๒- หนว่ ยที่ ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชน์สว่ นรวม

-๓- แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชื่อหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่อื ง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๒.๒ นักเรยี นสามารถการคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ผลประโยชน์ส่วนตนหรือผลประโยชนส์ ว่ นตน ๒) ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร - ฟัง - เขียน ๒) ความสามารถในการคดิ - คิดวิเคราะห์ ๓.๓ คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ / คา่ นิยม ๑) ใฝ่เรยี นรู้ ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ ๑) ชั่วโมงที่ ๑ ๑. ครูทบทวนความรู้เกีย่ วกับความหมายของผลประโยชนส์ ว่ นตนและสว่ นผลประโยชนส์ ว่ นรวม โดยให้นกั เรยี นเขียนลงในกระดาษ เอ ๔ ทีค่ รแู จกใหค้ นละ ๑ แผ่น ๒. สุม่ นักเรยี น ๒ – ๔ คนให้นาเสนอความหมายของผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ท่ีตนเองเขียนแล้วให้ทุกคนในช้ันร่วมกันแสดงความคิดเห็นที่เพื่อนเขียนความหมายมานั้นถูก หรอื ไม่ เพราะเหตุใด ๓. การแบ่งนกั เรียนเป็นกลมุ่ ๆ ละ เท่าๆ กัน จานวน ๔ กลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศึกษา ใบความรู้ เรือ่ ง ความหมายของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมและตรวจสอบคาตอบที่นักเรียนเขียนกับใบ ความรู้ว่าถกู ตอ้ งหรอื ไม่ ถ้าไมถ่ ูกตอ้ งใหป้ รับแก้ให้ถูกตอ้ ง แลว้ ส่งให้ครูตรวจ ๔. นักเรียนและครูร่วมกันสรปุ ความหมายของ คาว่า ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม ดงั น้ี ผลประโยชน์สว่ นตนหรอื ผลประโยชนส์ ว่ นตน หมายถึง การที่บุคคลทั่วไปในสถานะเอกชนหรือ เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้ทากิจกรรมหรือได้กระทาการต่างๆ เพ่ือประโยชน์ส่วนตน ครอบครัว ญาติ เพ่ือนหรือของ

-๔- กล่มุ ในสังคมทมี่ ีความสัมพันธก์ ันในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ การประกอบอาชีพ การทาธุรกิจ การค้า การลงทุน เพื่อ หาประโยชนใ์ นทางการเงนิ หรือในทางทรพั ย์สินต่างๆ เปน็ ต้น ผลประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การที่บุคคลใดๆ ในสถานะท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ(ผู้ดารง ตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐ) ได้กระทา การใดๆ ตามหน้าท่ีหรือได้ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเป็นการดาเนินการในอีกส่วนหน่ึงที่แยกออกมาจากการดาเนินการ ตามหนา้ ทใ่ี นสถานะของเอกชน การกระทาการใดๆ ตามหน้าท่ีหรือการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐจึงมี วตั ถุประสงค์หรอื เป้าหมาย เพือ่ ประโยชนข์ องส่วนรวม หรือการรกั ษาประโยชนส์ ว่ นรวมท่ีเปน็ ประโยชน์ของรัฐ การทาหน้าท่ขี องเจา้ หน้าท่ีของรัฐจึงมีความเก่ียวเน่ืองเช่ือมโยงกับอานาจหน้าที่ตามกฎหมายและจะมีรูปแบบ ของความสัมพันธ์หรือมีการกระทาในลักษณะต่างๆ กันท่ีเหมือนหรือคล้ายกับการกระทาของบุคคลในสถานะ เอกชน เพยี งแตก่ ารกระทาในสถานะทเ่ี ปน็ เจา้ หนา้ ที่ของรัฐกับการกระทาในสถานะเอกชน จะมีความแตกต่าง กันท่ีวัตถุประสงค์ ๒) ช่ัวโมงที่ ๒ ๑. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ เร่ือง ตัวอย่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม แล้วร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม ความแตกต่างระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม ดงั ใบงานท่ี ๑ ๒. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมากลุ่มละ ๑ คน ร่วมกันนาเสนอผลการอภิปรายความแตกต่าง ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๓. ให้แต่ละกลุ่มทาใบงานท่ี ๒ เรื่อง การคิดแยกแยะระหว่างผลผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม โดยไปคน้ คว้าจากหอ้ งสมุดหรือค้นคว้าทาง Internet ๔. นาผลการจดั ทาใบงานท่ี ๒ มานาเสนอหน้าชั้นเรียน และนาไปติดที่ป้ายนิเทศในชั้นเรียนให้ นกั เรยี นทกุ คนไปแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และสรปุ ความรู้ทไี่ ดล้ งในสมุดงานของนกั เรยี นแตล่ ะคน ๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) ใบความรู้ เรอื่ ง ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ใบงานท่ี ๑ การอภิปรายเรื่องความแตกต่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๓) ใบงานที่ ๒ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ๔) ห้องสมดุ / Internet ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมิน ๑) ตรวจผลงานการเขยี นความหมายของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ตรวจผลงานใบงานท่ี ๒ เรือ่ งการคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม ๓) สังเกตพฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรขู้ องนักเรยี น ๕.๒ เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน ๑) แบบให้คะแนนการตรวจผลงานการเขียนความหมายของผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒) แบบใหค้ ะแนนการตรวจใบงานท่ี ๒ เรอ่ื งการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม

-๕- ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน ๑) นกั เรยี นผ่านการประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไปในแตล่ ะกิจกรรม ๒) นักเรียนผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมระดับดี ข้นึ ไป ๖. บนั ทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ลงชอื่ ................................................ ครูผู้สอน (.................................................)

-๖- 7. ภาคผนวก ใบความรู้ เรอ่ื ง ผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ผลประโยชนส์ ว่ นตนหรือผลประโยชน์ส่วนตน หมายถึง การที่บุคคลทั่วไปในสถานะเอกชนหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ทากิจกรรมหรือได้กระทาการต่างๆ เพ่ือประโยชน์ส่วนตน ครอบครัว ญาติ เพื่อนหรือของ กลมุ่ ในสงั คมทม่ี ีความสมั พนั ธ์กันในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกอบอาชีพ การทาธุรกิจ การค้า การลงทุน เพื่อ หาประโยชน์ในทางการเงนิ หรือในทางทรพั ยส์ ินต่างๆ เป็นตน้ ผลประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การที่บุคคลใดๆ ในสถานะท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ(ผู้ดารง ตาแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานของรัฐ) ได้กระทา การใดๆ ตามหน้าที่หรือได้ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเป็นการดาเนินการในอีกส่วนหน่ึงที่แยกออกมาจากการดาเนินการ ตามหนา้ ทใ่ี นสถานะของเอกชน การกระทาการใดๆ ตามหน้าที่หรือการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐจึงมี วตั ถุประสงคห์ รือเป้าหมาย เพื่อประโยชนข์ องส่วนรวม หรือการรักษาประโยชน์สว่ นรวมท่ีเป็นประโยชน์ของรัฐ การทาหน้าท่ีของเจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐจึงมีความเกี่ยวเน่ืองเชื่อมโยงกับอานาจหน้าท่ีตามกฎหมายและจะมีรูปแบบ ของความสัมพันธ์หรือมีการกระทาในลักษณะต่างๆ กันท่ีเหมือนหรือคล้ายกับการกระทาของบุคคลในสถานะ เอกชน เพยี งแตก่ ารกระทาในสถานะท่ีเปน็ เจ้าหน้าท่ีของรัฐกับการกระทาในสถานะเอกชน จะมีความแตกต่าง กันทวี่ ตั ถปุ ระสงค์ ตวั อย่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เร่ือง ผลประโยชนส์ ่วนตน ผลประโยชน์ส่วนรวม ๑. การรับผลประโยชนต์ ่างๆ ๑. จา้ งเพอื่ นทาเวรให้ ๑. ไม่จา้ งเพื่อนใหท้ าเวรให้ ๒. จ้างเพื่อนทาการบา้ นให้ ๒. ไม่จา้ งเพื่อนใหท้ าการบ้านให้ ๓. ชวนเพอ่ื นไปทะเลาะกบั คู่อริแลว้ ๓. ไมบ่ งั คับเพอื่ นให้ทาในสง่ิ ที่ไม่ จงึ จะรบั เข้ากล่มุ (บงั คบั เพ่ือนให้ ถูกตอ้ ง ทาในสิ่งท่ไี ม่ถกู ต้อง) ๔. ไม่หาเสียงเลือกต้ังกรรมการ ๔. หาเสียงเลือกต้งั กรรมการนกั เรียน นกั เรยี นโดยสญั ญาวา่ จะแจก โดยสัญญาวา่ จะแจกสงิ่ ของ สงิ่ ของ ๒. การทาธรุ กิจกบั ตวั เอง ๑. นาของมาขายเพื่อนในห้องเรยี น ๑. ไมน่ าของมาขายเพื่อนใน หอ้ งเรียน ๓. การทางานหลังจากออก ๑. ใช้อทิ ธิพล เปน็ หวั หน้าหอ้ ง/พอ่ แม่ ๑. ไม่ใช้อิทธิพล เป็นหัวหนา้ หอ้ ง/ ตาแหนง่ สาธารณะหรือ เปน็ ผ้มู ีอิทธพิ ล/ขม่ ขู่เพ่ือน พอ่ แม่เป็นผมู้ ีอิทธิพล/ข่มขเู่ พื่อน หลังเกษียณ Post-Employment ๔. การทางานพิเศษ ๑. เลน่ การพนัน ๑. ไม่เล่นการพนัน Outside Employment ๒. คา้ และเสพส่ิงเสพตดิ ใหโ้ ทษ ๒. ไมค่ ้าและเสพสิ่งเสพติดให้โทษ or Moonlighting

-๗- เรือ่ ง ผลประโยชนส์ ่วนตน ผลประโยชน์ส่วนรวม ๕. การร้ขู ้อมลู ภายใน ๑. รคู้ ะแนนสอบของเพื่อนแล้วนามา ๑. รคู้ ะแนนสอบของเพือ่ นแล้วนามา Inside Information บอกต่อ ก่อนได้รับอนุญาต บอกตอ่ เกบ็ ไว้เป็นความลับ ๖. การใชบ้ ุคลากรหรอื ๒. ร้ปู ญั หาที่เพื่อนไม่อยากใหใ้ ครรู้ ๒. รู้ปัญหาท่ีเพอื่ นไม่อยากให้ใครรู้ ทรพั ย์สนิ ของหน่วยงานเพ่อื แลว้ นามาบอกต่อ แล้วเก็บเปน็ ความลบั ประโยชนส์ ่วนตน Using Employer, Property for ๑. ใช้โทรศัพท์เคล่อื นที่ชาร์ตไฟ ๑. ไม่ใช้อิทธิพล เป็นหัวหนา้ หอ้ ง/ Private advantages โรงเรียน พอ่ แม่เปน็ ผู้มีอทิ ธิพล/ขม่ ขเู่ พื่อน ๒. เปดิ พัดลมเป่าเฉพาะตนเอง ๓. ลา้ งจานชามกอ่ น โดยใช้น้ามาก ๒. ไมเ่ ปิดพดั ลมเป่าเฉพาะตนเอง ๓. ไมล่ า้ งจานชามก่อน โดยใชน้ ้า เหลอื ไวน้ ้อย มาก ๔. แซงควิ ผู้อ่นื ๕. เอาสี หนังสือของโรงเรยี นเป็นของ เหลือไว้น้อย ๔. ไมแ่ ซงคิวผ้อู ่ืน ตนเอง ๕. ไมเ่ อาสี หนังสอื ของโรงเรียนเปน็ ๖. เลน่ ฟุตบอลไม่แบง่ กลมุ่ อ่ืน/น้องๆ ของ เลน่ บา้ ง ตนเอง ๗. นาอปุ กรณ์การเรียนส่วนกลาง ๖. เล่นฟตุ บอลแบง่ กลุ่มอ่นื /น้องๆ (ของห้อง) ไปใชท้ ี่บา้ น เลน่ บา้ ง ๘. ขีดเขยี นฝาผนงั เชน่ หอ้ งนา้ ๗. ไม่นาอปุ กรณก์ ารเรยี นสว่ นกลาง ห้องเรยี น (ของห้อง) ไปใช้ที่บ้าน ๘. ไม่ขีดเขยี นฝาผนัง เชน่ หอ้ งนา้ ๗. การนาโครงการ ๑. กรรมการนกั เรยี นเขยี นโครงการ สาธารณะ ลงในเขตเลือกต้ัง พัฒนาห้องนา้ เฉพาะชน้ั ท่ีกลุ่ม ห้องเรียน เพื่อประโยชน์ทางการเมือง ตนเองอยู่ Pork - Barreling ๑. กรรมการนกั เรียนเขยี นโครงการ ๒. จดั สรรเงนิ ให้ระดับชัน้ พฒั นาหอ้ งนา้ ไมเ่ ฉพาะช้ันที่กลุม่ ตนเองมากกวา่ ชัน้ อืน่ ตนเองอยู่ ๓. แผ่อาณาเขตท่นี ่งั ของตนเอง ๒. จดั สรรเงนิ ใหร้ ะดับชัน้ ใหม้ ากกวา่ คนอนื่ ตนเองเท่าเทยี มชั้นอนื่ ๔. ให้ของขวญั ครูเพ่ือให้ครูรัก ๓. ไม่แผอ่ าณาเขตท่ีน่ังของตนเอง ให้มากกว่าคนอื่น ๔. ไม่ให้ของขวญั ครูเพ่อื ใหค้ รูรัก

-๘- ใบงานที่ ๑ เร่อื ง การอภิปราย เรอื่ ง ความแตกตา่ งของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม คาชี้แจง ๑. ให้ทุกคนในกลุ่มศกึ ษาใบความรเู้ รื่อง ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. ทุกคนในกลุ่มร่วมกันอภิปราย เก่ียวกับความแตกต่างของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ตามประเดน็ ต่อไปน้ี ๒.๑ ความหมายของผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมแตกตา่ งกันอยา่ งไร ๒.๒ นักเรยี นเคยปฏิบัติตน ตามตวั อยา่ งในเรอื่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในเรื่อง ใด และสงิ่ ท่ปี ฏบิ ตั ิถกู ต้องหรอื ไม่เพราะเหตใุ ด ๓. ส่งตวั แทนกลุ่มละ ๑ คน นาเสนอผลการอภิปรายหนา้ ชนั้ เรยี นกลมุ่ ละไมเ่ กนิ ๕ นาที

-๙- ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง การอภปิ ราย เรอื่ ง ความแตกต่างของผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม คาชแี้ จง ๑. ใหน้ กั เรยี นทุกคนในกลุ่มช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับการกระทาท่ีเป็นเร่ืองของผลประโยชนส์ ว่ นตน และ ผลประโยชน์สว่ นรวม มากลุ่มละ ๑๐ เร่อื ง ๒. สง่ ตวั แทนนาเสนอกลุ่มละ ๑ คน ๓. นาเสนองานทน่ี าไปตดิ ท่ีป้ายนิเทศในชนั้ เรียน ผลประโยชน์สว่ นตน ผลประโยชน์ส่วนรวม (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน) (คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน) ๑. ๑. ๒. ๒. ๓. ๓. ๔. ๔. ๕. ๕. ๖. ๖. ๗. ๗. ๘. ๘. ๙. ๙. ๑๐. ๑๐. หมายเหตุ ๑. คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน ๒. ตอบถูกได้ข้อละ ๑ คะแนน ตอบผิดได้ ๐ คะแนน ๓. นกั เรยี นตอ้ งได้ คะแนน ๑๖ คะแนน (ร้อยละ ๘๐) ขึน้ ไปถือว่าผ่าน

- ๑๐ - แบบสังเกตพฤติกรรม ใฝเ่ รยี นรู้ คาช้แี จง : ใหค้ รสู ังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับคะแนน แสวงหาข้อมูล มีการจดบนั ทกึ สรุปความรูไ้ ด้ รวม สรปุ จากแหล่ง ความรอู้ ยา่ ง อยา่ งมเี หตผุ ล คะแนน ลาดับท่ี ชือ่ -สกลุ การเรียนรตู้ า่ งๆ เป็นระบบ ๓ ๒ ๑ ๙ ผ มผ ๓๒๑๓๒๑ ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมนิ (...................................................) ............../.................../................ ระดับคุณภาพ เกณฑ์การตดั สิน ดีเยยี่ ม ไดค้ ะแนน ๗-๙ คะแนน ดี ได้คะแนน ๕-๖ คะแนน ผา่ น ไดค้ ะแนน ๓-๔ คะแนน ไมผ่ ่าน ได้คะแนน ๑-๒ คะแนน หมายเหตุ นักเรยี นผ่านระดับ ดี ขึ้นไปถือว่าผ่าน

- ๑๑ - แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงาน เร่อื ง การเขยี นความหมายของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ๑. ความหมายของ ๕ หมายถงึ บอกความหมายได้ถูกต้องครบถว้ นตรงประเด็น ผลประโยชน์ส่วนตน ๔ หมายถึง บอกความหมายได้ถูกต้องครบทุกประเด็น แต่มีบางประเด็นต้องเพิ่มเติม เล็กน้อย ๓ หมายถงึ บอกความหมายได้ถูกตอ้ งแตไ่ มค่ รบทกุ ประเด็น ๒ หมายถึง บอกความหมายได้ถูกตอ้ งเล็กนอ้ ย และตรงประเดน็ ๑ หมายถงึ บอกความหมายไดแ้ ตไ่ ม่ตรงประเดน็ ๒. ความหมายของ ๕ หมายถึง บอกความหมายได้ถกู ต้องครบถ้วนตรงประเดน็ ผลประโยชน์ส่วนรวม ๔ หมายถึง บอกความหมายได้ถูกต้องครบทุกประเด็น แต่มีบางประเด็นต้องเพ่ิมเติม เล็กน้อย ๓ หมายถึง บอกความหมายไดถ้ กู ต้องแตไ่ มค่ รบทกุ ประเด็น ๒ หมายถึง บอกความหมายไดถ้ ูกตอ้ งเล็กนอ้ ย และตรงประเดน็ ๑ หมายถงึ บอกความหมายไดแ้ ต่ไม่ตรงประเด็น

- ๑๒ - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๑ ชือ่ หนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนละผลประโยชน์ส่วนรวม ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๕ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรือ่ ง ระบบคิดฐาน๑๐ กบั ฐาน ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๑.๒ การแยกระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตวั และผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับระบบคดิ ฐาน๑๐ กับฐาน๒ ๒.๒ นกั เรียนสามารถคดิ แยกแยะเกีย่ วกับระบบคดิ ฐาน๑๐ กับฐาน๒ ได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ระบบเลขฐาน ๑๐ ๒) ระบบเลขฐาน ๒ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ ) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร - ฟงั พดู เขียน ๒) ความสามารถในการคดิ - คดิ วเิ คราะห์ ๓.๓ คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ / คา่ นยิ ม ๑) ใฝเ่ รียนรู้ ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ ๑) ช่ัวโมงที่ ๑ ๑. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ืองระบบคิดฐาน ๑๐ และฐาน ๒ จานวน ๑๐ ข้อ เม่อื นกั เรียนทาเสรจ็ แล้วใหส้ ่งครูเพือ่ ตรวจให้คะแนน (แตค่ รูยงั ไม่ตอ้ งเฉลยคาตอบ) ๒. แบง่ นกั เรยี นเป็นกล่มุ จานวน ๔ กลุม่ ๆละเทา่ ๆกนั ใหต้ ัวแทนกลมุ่ มารับใบความรู้ เร่ืองฐาน ๑๐ กับฐาน ๒ ไปศึกษาเก่ียวกับความหมายและตวั อย่างการคิดฐาน ๑๐ กบั ฐาน ๒ ๓. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สรุปความร้จู ากการศึกษาเกย่ี วกับการคิดระบบฐาน ๑๐ กับฐาน ๒ โดยจัดทาเป็น แผนผังความคดิ ๔.แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอแผนผังความคิดแล้วนาไปติดไว้ท่ีป้ายนิเทศในโรงเรียน เป็นการ เผยแพร่ความรแู้ กน่ กั เรยี นคนอื่นๆ ๒) ชว่ั โมงที่ ๒ ๑. ใหน้ ักเรยี นแต่กลมุ่ ศึกษากรณตี ัวอย่างท่ีกาหนดให้แล้วรว่ มกนั อภิปรายตามประเดน็ ต่อไปน้ี ๑.๑ การการะทาของเจ้าหน้าท่เี ปน็ การกระทาตามความคดิ ระบบฐาน ๑๐ กบั หรอื ฐาน ๒ ๑.๒ ถา้ เจา้ หนา้ ทกี่ ระทาตามระบบคิดฐาน ๑๐ กบั ฐาน ๒ ๑.๓ ถ้าเจา้ หน้าทมี่ คี วามคดิ ระบบฐาน๒ จะต้องทาอย่างไร

- ๑๓ - ๒. แตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนนาเสนอ ตามกรณตี วั อย่างที่ไดร้ บั ดังนี้ ๒.๑ กลมุ่ ที่ ๑ เรื่องการรบั ผลประโยชน์ นายสุจริต ขา้ ราชการชนั้ ผใู้ หญ่ ได้เดนิ ทางไปปฏิบัติข้าราชการในพ้ืนท่ีจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ง ในวันดังกล่าว นายรวย นายก อบต. ได้มอบงาช้างจานวนหนึ่งคู่ให้แก่ นายสุจริต เพื่อเป็นของท่ีระลึก นาย สุจริตได้มอบงาช้างดังกล่าวให้หน่วยงานต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่าพร้อมท้ังดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบ และกฎหมาย แต่ต่อมา นายสุจริต พิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงเร่งให้หน่วยงานต้น สงั กดั คนื งาช้างใหแ้ ก่นายรวย ๒.๒ กล่มุ ที่ ๒ ทาธุรกิจกับตนเองหรือเปน็ คู่สญั ญา นติ ิกร ฝ่ายกฎหมายและเรง่ รดั ภาษีอากรคา้ ง สานักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค หารายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชน ได้อาศัยโอกาสที่ตนปฏิบัติหน้าท่ี เร่งรัด ภาษีอากรค้างผู้ประกอบการรายหน่ึงหาผลประโยชน์ให้แก่ตัวเองด้วยการขา ยประกันชีวิตให้แก่หุ้นส่วน ผู้จัดการของผู้ประกอบการดังกล่าว รวมท้ังพนักงานของผู้ประกอบการน้ันอีกหลายคน ในขณะตนกาลัง ดาเนินการเร่งรดั ภาษีอากรค้างอยู่ ๒.๓ กลุ่มที่ ๓ เร่ืองการทางานหลังออกจากตาแหนง่ หนา้ ท่ีสาธารณะ อดีตผู้อานวยการโรงพยาบาลแห่งหน่ึง เพ่ิงเกษียณอายุราชการไปทางานเป็นที่ปรึกษา ในบริษัทผลิตหรือขายยา โดยใช้อิทธิพลจากที่เคยดารงตาแหน่งในโรงพยาบาลดังกล่าว ให้โรงพยาบาลซ้ือยา จากบรษิ ทั ท่ีตนเองเป็นทป่ี รึกษาอยู่ พฤตกิ ารณ์เช่นนี้มีมูลความผิดท้ังทางวินัยและทางอาญาฐานเป็นเจ้าหน้าท่ี ของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ท่ีอาจทาให้ผู้อ่ืนเชื่อว่าตนมีตาแหน่งโดยหน้าที่ ทั้งท่ี ตนไมไ่ ด้ตาแหน่งหรือหนา้ ที่น้ัน ๒.๔ กลมุ่ ที่ ๔ เรอ่ื งการใช้ทรัพย์สินของทางราชการ คณบดคี ณะแพทย์ศาสตร์ใช้อานาจหน้าท่ีโดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าท่ีนาเก้าอี้ พร้อมผ้าคลุมเก้าอ้ี เครื่องใช้วิดีโอ เครื่องเล่นวีดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ นาไปใช้ในงานมงคลสมรสของ บุตรสาวรวมทงั้ รถยนต์ รถตู้ส่วนกลาง เพอื่ ใชร้ บั สง่ เจ้าหน้าที่เข้าร่วมพิธี แลว้ ขนย้ายอุปกรณ์ท้ังที่บ้านและที่พัก งานฉลองมงคลสมรสที่โรงแรม ๓. ครอู ธบิ ายกรณตี ัวอยา่ งแต่ละเรือ่ งพรอ้ มทั้งสรุป(ตามเอกสาร) ๔. นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปเกีย่ วกับการคดิ ฐาน ๑๐ และฐาน ๒ ดงั น้ี “การปฏิบัติงานแบบใช้ระบบคิดฐานสิบ (Analog)” คือ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐยังมีระบบ การคิดที่ยังแยกเร่ืองตาแหน่งหน้าที่กับเร่ืองส่วนตัวออกจากกันไม่ได้ นาประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวมมาปะปนกันไปหมด แยกแยะไม่ออกว่าส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนตนสิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนรวม นา บุคลากรหรอื ทรัพย์สินของราชการมาใชเ้ พือ่ ประโยชนส์ ่วนตน เบียดบงั ราชการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน เครือ ญาติ หรือพวกพ้อง เหนือกว่าประโยชน์ของส่วนรวมหรือของหน่วยงาน จะคอยแสวงหาผลประโยชน์จาก ตาแหน่งหน้าท่ีราชการ กรณีเกิดการขัดแย้งระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จะยึดประโยชน์ ส่วนตนเปน็ หลัก “การปฏิบัติงานแบบใช้ระบบคิดฐานสอง (Digital)” คือ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐมีระบบการ คิดท่ีสามารถเรียกเลือกตาแหน่งหน้าท่ีกับเร่ืองส่วนบุคคลออกจากการได้อย่างชัดเจนว่าส่ิงไหนถูกสิ่งใดผิด ส่ิง ไหนทาได้สิ่งไหนทาไม่ได้ ส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนตนสิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนรวม ไม่นามาปะปนกัน ไม่นา บุคลากรหรือทรัพย์สินของราชการมาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนไม่เบียดบังราชการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เครอื ญาติ หรือพวกพอ้ ง ไม่แสวงหราประโยชนจ์ ากตาแหน่งหน้าท่ีราชการ ไม่รับทรัพย์สินหรือประโยชน์ใดอื่น

- ๑๔ - จากการปฏิบัติหน้าที่ กรณีการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ก็จะยึดประโยชน์ สว่ นรวมเป็นหลัก ๕. นักเรียนทาแบบทดสอบเก่ียวกบั การคิดฐาน ๑๐ กบั ฐาน ๒ จานวน ๑๐ ข้อ ๖. ครูตรวจแบบทดสอบพร้อมท้งั เฉลยแบบทดสอบ ๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) แบบทดสอบ ก่อน-หลังเรียน เร่ืองระบบการคิดฐาน ๑๐ และฐาน ๒ ๒) ใบความรู้ การคดิ ฐาน ๑๐ และฐาน ๒ ๓) เฉลยกรณีตวั อย่าง ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ ๑) ทดสอบก่อนเรยี น - หลังเรยี น ๒) ตรวจแผนผังความคิด สรุปความรู้ เรอ่ื ง การคดิ ฐาน ๑๐ กบั ฐาน ๒ ๒) สงั เกตพฤติกรรมใฝเ่ รยี นรู้ ๕.๒ เครื่องมือทใี่ ช้ในการประเมิน ๑) แบบทดสอบจานวน ๑๐ ข้อ ๒) แบบประเมินแผนผังความคิด ๓) แบบสงั เกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน ๑) นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ๒) นักเรียนผ่านการประเมนิ พฤติกรรมระดับดี ข้นึ ไป ๖. บันทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ........................... ....................................................................................................... ................................................. ............................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................................................................ ลงชื่อ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)

- ๑๕ - 7. ภาคผนวก ใบความรู้ เรือ่ ง ระบบคดิ ฐานสบิ และระบบคิดฐานสอง ๑. ระบบคิดฐานสิบ (Analog) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสิบ (Analog)” เปน็ ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีตัวเลขหลายตัว และอาจ หมายถึงโอกาสที่จะเลือกได้หลายทาง เกิดความที่หลากหลายซับซ้อน หากนามาเปรียบเทียบการปฏิบัติงาน ของเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั จะทาให้เจา้ หน้าท่ีของรัฐคิดเยอะ ต้องใช้ดุลยพินิตเยอะ อาจจะนาประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชน์สว่ นรวมมาปะปนกันได้ แยกประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมออกจากกนั ไมไ่ ด้ “การปฏิบัติงานแบบใช้ระบบคิดฐานสิบ (Analog)” คือ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐยังมีระบบการคิดท่ี ยังแยกเรื่องตาแหน่งหน้าที่กับเร่ืองส่วนตัวออกจากกันไม่ได้ นาประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมา ปะปนกันไปหมด แยกแยะไม่ออกว่าส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนตนสิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนรวม นาบุคลากรหรือ ทรัพย์สินของราชการมาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน เบียดบังราชการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน เครือญาติ หรือ พวกพอ้ ง เหนือกวา่ ประโยชน์ของส่วนรวมหรอื ของหน่วยงาน จะคอยแสวงหาผลประโยชน์จากตาแหน่งหน้าที่ ราชการ กรณีเกดิ การขดั แย้งระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม จะยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก ๒. ระบบคดิ ฐานสอง (Digital) ความหมาย “ฐานสอง (Digital)”เป็นระบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่สามารถเลือกได้เพียง ๒ ทางเท่าน้ัน คอื ๐ (ศูนย์) กับ ๑ (หนงึ่ ) และอาจหมายถงึ โอกาสทีเ่ ลือกได้เพียง ๒ ทาง เช่น ใช่ กับ ไม่ใช่, จริง กับ เท็จ, ทา ได้ กบั ทาไม่ได้, ประโยชน์ส่วนตน กับ ประโยชน์ส่วนรวม เป็นต้น จึงเหมาะกับการนามาเปรียบเทียบกับการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องสมารถแยกเร่ืองตาแหน่งหน้าที่เรื่องส่วนตัวออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด และไม่กระทาการท่ีเปน็ การขดั แข้งระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม “การปฏิบัติงานแบบใช้ระบบคิดฐานสอง (Digital)”คือ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐมีระบบการคิดท่ี สามารถเรียกเลือกตาแหน่งหน้าที่กับเรื่องส่วนบุคคลออกจากการได้อย่างชัดเจนว่าส่ิงไหนถูกส่ิงใดผิด ส่ิงไหน ทาได้ส่ิงไหนทาไม่ได้ สิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนตนส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนรวม ไม่นามาปะปนกัน ไม่นา บุคลากรหรือทรัพย์สินของราชการมาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนไม่เบียดบังราชการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เครือญาติ หรอื พวกพอ้ ง ไมแ่ สวงหราประโยชนจ์ ากตาแหน่งหน้าท่ีราชการ ไม่รับทรัพย์สินหรือประโยชน์ใดอื่น จากการปฏิบัติหน้าที่ กรณีการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ก็จะยึดประโยชน์ ส่วนรวมเป็นหลกั

- ๑๖ - ตวั อย่างผลการพัฒนาโรงเรยี นสุจริต “ระบบคดิ ฐานสอง” นักเรียน การขัดกนั ระหว่าง ระบบคดิ ฐาน ๑๐ ระบบคิดฐาน ๒ ประโยชน์สว่ นตนและ (Analog) (Digital) ประโยชน์ส่วนรวม ๑.จา้ งให้เพือ่ นทาเวรให้ ทาการบ้านให้ (จา้ งให้ทา) ๑.ไมจ่ า้ งใหเ้ พ่อื นทาเวรให้ ทาการบ้าน ๑.การรบั ผลประโยชน์ ๒.บังคบั ให้เพอ่ื นใหท้ าในส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง เชน่ ชวน ให้ (ไม่จ้างให้ทา) ตา่ งๆ Accepting Benefits เพือ่ นไปทะเลาะกบั คู่อรจิ งึ จะรบั เขา้ กลมุ่ ๒.ไมบ่ ังคับใหเ้ พ่ือนให้ทาในสิง่ ท่ไี ม่ ๓.หาเสยี งเลอื กตง้ั กรรการ โดยสญั ญาว่าจะแจก ถกู ตอ้ ง เช่น ชวนเพือ่ นไปทะเลาะกับ สิ่งของ คูอ่ ริจงึ จะรับเขา้ กลมุ่ ๓.ไม่หาเสียงเลอื กตั้งกรรการ โดย ๒.การทาธุรกจิ กับตนเอง ๑.นาของมาขายเพ่ือนในห้องเรียน สัญญาวา่ จะแจกสิง่ ของ (Self - Dealing) ๑.นาของมาขายเพ่อื นในห้องเรยี น หรอื เปน็ คูส่ ญั ญา (Contracts) การขัดกันระหว่าง ระบบคิด ฐาน ๑๐ ระบบคดิ ฐาน ๒ ประโยชนส์ ว่ นตนและ (Analog) (Digital) ประโยชนส์ ว่ นรวม ๑.ใชอ้ ิทธิพลเป็นหัวหน้าห้อง/พอ่ แมเ่ ปน็ ผมู้ ีอิทธิพล/ ๑.ไม่จ้างใหเ้ พ่อื นทาเวรให้ ทาการบา้ น ๓.การทางานหลงั จาก ขม่ ขูเ่ พอื่ น ให้ (ไม่จ้างใหท้ า) ออกจาก ตาแหน่งสาธารณะหรือ หลังเกษียณ Post Employment ๔.การทางานพิเศษ ๑.เลน่ การพนนั ๑.ไม่เล่นการพนัน ๒.ค้าและเสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ๒.ไมค่ า้ และเสพยาเสพติดใหโ้ ทษ Outside Employment to ๑.รคู้ ะแนนสอบของเพือ่ นแล้วนามาบอกต่อ กอ่ น ๑.รคู้ ะแนนสอบของเพอื่ แตเ่ กบ็ เปน็ Moonlighting ไดร้ ับอนญุ าต ความลับ ๒.รปู้ ญั หาทีเ่ พื่อนไมอ่ ยากให้ใครรู้ แล้วนามาบอกต่อ ๒.รปู้ ัญหาทเ่ี พ่ือนไมอ่ ยากใหใ้ ครรู้ แลว้ ๕.การรขู้ อ้ มลู ภายใน เก็บเป็นความลบั ๑.ไม่ใชโ้ ทรศัพท์เคล่อื นทชี่ าร์ตท่ี Inside โรงเรียน Information ๒.ไม่เปิดพดั ลมเป่าเฉพาะตนเอง ๖.การใช้บคุ คลากรหรือ ๑.ใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทีช่ ารต์ ที่โรงเรียน ทรัพยส์ นิ ของหน่วยงาน ๒.เปดิ พัดลมเปา่ เฉพาะตนเอง เพอ่ื ประโยชนส์ ่วน ๓.ลา้ งจานชามก่อน โดยใช้นา้ มากเหลอื นอ้ ย

- ๑๗ - บคุ คล Using ๔.แซงควิ ผ้อู ื่น ๓.ล้างจานชามก่อน โดยใช้น้ามากเหลือ ๕.เอาสี หนังสอื ของโรงเรยี นเปน็ ของตนเอง น้อย Employer, ๖.เลน่ ฟุตบอลไม่แบ่งกลมุ่ อืน่ /นอ้ งๆเล่นบา้ ง ๔.ไม่แซงควิ ผู้อ่นื Property for ๗.นาอปุ กรณก์ ารเรียนส่วนกลาง(ของหอ้ ง) ไปใช้ที่ ๕.ไม่เอาสี หนงั สอื ของโรงเรียนเปน็ ของ บา้ น ตนเอง Private ๘.ขดี เขียนฝาผนัง เชน่ ห้องนา้ ห้องเรยี น ๖.ไมเ่ ลน่ ฟตุ บอลไมแ่ บง่ กลมุ่ อื่น/นอ้ งๆ advantagez เล่นบ้าง ๗.ไม่นาอุปกรณ์การเรียนสว่ นกลาง(ของ หอ้ ง) ไปใชท้ บ่ี ้าน ๘.ไมข่ ีดเขยี นฝาผนัง เชน่ หอ้ งนา้ ห้องเรยี น การขดั กนั ระหวา่ ง ระบบคดิ ฐาน ๑๐ ระบบคิดฐาน ๒ (Digital) ประโยชนส์ ่วนตนและ (Analog) ๑.กรรมการนักเรยี นเขียนโครงการพัฒนา ประโยชน์ส่วนรวม หอ้ งน้าไม่เฉพาะช้ันทีก่ ลมุ่ ตวั เองอยู่ ๒.จัดสรรเงินในระดับชน้ั ตัวเองเทา่ เทยี มชนั้ ๗.การนาโครงการ ๑.กรรมการนักเรยี นเขยี นโครงการพฒั นาห้องน้า อนื่ ๓.ไม่แผ่อาณาเขตทีน่ ง่ั ของตนเองมากกวา่ สาธารณะ ลงในเขตเลอื ง เฉพาะชั้นท่กี ลุม่ ตวั เองอยู่ คนอืน่ ๔.ไม่กีดกนั ไม่ให้เพื่อนเขา้ กลมุ่ ต้ัง เพ่ือประโยชน์ทาง ๒.จัดสรรเงนิ ในระดบั ชนั้ ตัวเองมากกวา่ ชนั้ อ่นื ๕. ไม่ให้ของขวญั ครูเพือ่ ใหค้ รรู ัก การเมอื ง ๓.แผ่อาณาเขตทนี่ ง่ั ของตนเองมากกวา่ คนอน่ื Pork-Barreling ๔.กดี กนั ไม่ให้เพื่อนเขา้ กลมุ่ ๕. ให้ของขวัญครเู พอ่ื ใหค้ รรู ัก

- ๑๘ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ใฝ่เรียนรู้ คาชแี้ จง : ใหค้ รสู งั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ระดับคะแนน แสวงหาข้อมูล มีการจดบันทกึ สรุปความรู้ได้ รวม สรปุ จากแหล่ง ความรู้อยา่ ง อย่างมเี หตผุ ล คะแนน ลาดับท่ี ช่อื -สกลุ การเรยี นรตู้ า่ งๆ เปน็ ระบบ ๓ ๒ ๑ ๙ ผ มผ ๓๒๑๓๒๑ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ (...................................................) ............../.................../................ ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การตดั สิน ดเี ย่ียม ไดค้ ะแนน ๗-๙ คะแนน ดี ไดค้ ะแนน ๕-๖ คะแนน ผ่าน ได้คะแนน ๓-๔ คะแนน ไม่ผา่ น ได้คะแนน ๑-๒ คะแนน

- ๑๙ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน เรอ่ื ง ระบบการคดิ ฐาน ๑๐ และ ฐาน ๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ คาช้ีแจง : ๑. แบบทดสอบมีท้ังหมด ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ๒. ใหน้ ักเรยี นเขียนคาตอบทตี่ รงกบั ความคิดของนักเรยี นมากที่สดุ ๑. นกั เรียนไม่ชอบคบกบั เพือ่ นที่เป็นคนซ่ือสัตย์ เพราะจะทาให้ตนเองถูกจากดั ด้วยกรอบของระเบยี บ ตลอดเวลาทาให้ขาดความเป็นอิสระในการใชช้ วี ิต นักเรียนเหน็ ดว้ ยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๒. นกั เรียนมคี วามเชื่อว่า “การขบั รถแม้จะผิดจราจรบ้าง แต่หากทาให้ประหยัดเวลาและถึงท่ีหมายก่อนใครก็ ถือว่าดที ่ีสุดแลว้ ” นกั เรยี นเห็นดว้ ยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๓. คาถามคุณธรรมสาหรับนักเรยี น หมายความว่าผ้ใู ดกระทาดตี ้องได้รับความดีตอบแทน แต่ถ้าหากกระทา ความชว่ั ควรได้รับความเหน็ ใจสงสาร เพราะเขาอาจจะทาไปเพราะความจาเปน็ บางอย่างเพ่ือความอยรู่ อดของ ชวี ติ นักเรยี นเหน็ ด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ........................................................................................................................................................................ ๔. นักเรยี นจะยกย่องบุคคลท่ีทาบุญทาทานด้วยจานวนเงินมากๆโดยไม่ต้องสนใจวา่ เขาทามาหากนิ อะไร ได้มา ดว้ ยวิธีทีถ่ กู ต้องสจุ รติ หรือไม่ นักเรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๕. เด็กชายต๋องหนอี อกจากบ้านโดยขจี่ ักรยานยนต์เพอ่ื เดนิ ทางเข้ากรงุ เทพฯ ระหวา่ งทางเจอด่านตรวจ เด็กชาย ตอ๋ งกลัวจะโดนตารวจจบั จงึ โกหกวา่ เดินทางมาตามหาพ่ีชายเนอื่ งจากพ่อเสียชวี ติ นกั เรยี นเห็นดว้ ยกบั การ กระทาของเดก็ ชายต๋องหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ........................................................................................................................................................................

- ๒๐ - ๖. นกั เรียนไดแ้ อบนาโทรศพั ท์มาใช้ท่ีโรงเรียน เน่ืองจากมีความจาเปน็ ต้องตดิ ต่อกับผู้ปกครองแตบ่ ังเอญิ โทรศพั ท์แบตเตอร่ีหมด ในช่วงพกั กลางวนั จึงขึน้ มาบนอาคารเรยี นเพื่อชารจ์ แบตเตอร่โี ทรศัพท์ เพราะกลวั ว่า จะไม่สามารถตดิ ต่อกบั ผปู้ กครองได้ นักเรยี นคดิ ว่าเปน็ การกระทาทถ่ี ูกต้องหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๗. ครูสมหมายมกั ใชเ้ วลาว่างจากช่ัวโมงสอนทาธรุ กจิ ขายตรงผา่ นโปรแกรมไลนใ์ นคอมพิวเตอรข์ องโรงเรยี น เพอื่ เปน็ การหารายได้เสริม เน่ืองจากลูกกาลังเขา้ เรยี นต่อในมหาวทิ ยาลยั ตอ้ งใช้เงนิ จานวนมาก นักเรียนคดิ ว่า ครสู มหมายทาถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๘. เดก็ ชายสมบัติมาโรงเรยี นพร้อมกบั คุณพ่อโดยรถยนต์ที่มีตราของคณะแพทย์ศาสตร์มารับ-ส่งท่ปี ระตู ทางเขา้ โรงเรียนทุกวนั นักเรียนคิดว่าการกระทาดังกล่าวสมควรหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๙. คนขบั รถโรงเรียนเปน็ คนขยัน จะลา้ งรถของผู้อานวยการโรงเรียนเปน็ ประจา โดยใช้น้าในโรงเรียนนักเรียน คดิ วา่ คนขบั รถโรงเรยี นทาถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................................................................. ........................................... ๑๐. สมชายเปน็ บตุ รของครูสายสมร ตอนเย็นหลังเลิกเรียนสมชายต้องไปน่ังรอคุณครูสายสมรในห้องพักครู โดยน่ังเลน่ คอมพวิ เตอรแ์ ละเปิดเครือ่ งปรบั อากาศ นักเรียนคดิ วา่ สมชายทาถูกต้องหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ......................................................................................... ...............................................................................

- ๒๑ - แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น เรอ่ื ง “ระบบการคิดฐาน ๑๐ และฐาน ๒” ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ คาชีแ้ จง : ๑. แบบทดสอบมที ั้งหมด ๑๐ ขอ้ ข้อละ ๑ คะแนน ๒. ใหน้ ักเรยี นเขยี นคาตอบท่ตี รงกับความคิดของนักเรียนมากทส่ี ุด ๑. นักเรียนไม่ชอบคบกับเพ่ือนท่ีเป็นคนซื่อสัตย์ เพราะจะทาให้ตนเองถูกจากัดด้วยกรอบของระเบียบ ตลอดเวลาทาใหข้ าดความเป็นอสิ ระในการใชช้ วี ิต นักเรยี นเห็นด้วยหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ไม่เห็นด้วย เพราะความซื่อสัตย์เป็นลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีพึงมี อีกทั้งปฏิบัติตามกรอบของระเบียบ กฎหมาย ซงึ่ เปน็ กติกาในการปฏิบตั ิต่อกนั ในสังคม เพอ่ื ใหเ้ กิดความสงบเรียบรอ้ ยในบ้านเมือง ๒. นักเรียนมคี วามเชื่อวา่ “การขับรถแม้จะผิดจราจรบ้าง แต่หากทาให้ประหยัดเวลาและถึงที่หมายก่อนใครก็ ถอื ว่าดีท่ีสุดแล้ว” นกั เรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ไม่เห็นด้วย เพราะกฎจราจรเป็นกฎหมายเพื่อป้องกันอุบัติเหตุและสร้างความปลอดภัยบนถนน การขับ รถผิดกฎจราจรทาให้เกิดอุบัติเหตุกับบุคคลอ่ืนได้ เป็นการทา ที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ สว่ นรวม ๓. คาถามคุณธรรมสาหรับนักเรียน หมายความว่าผู้ใดกระทาดีต้องได้รับความดีตอบแทน แต่ถ้าหากกระทา ความชัว่ ควรได้รับความเหน็ ใจสงสาร เพราะเขาอาจจะทาไปเพราะความจาเป็นบางอย่างเพ่ือความอยู่รอดของ ชวี ิต นกั เรียนดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ๑. เห็นด้วยกับ “คุณธรรมสาหรับนักเรียน” เพราะผู้ใดกระทาดีต้องได้รับความดีตอบแทน แม้อาจ ไม่ได้รับผลตอบแทนอย่างฉับพลัน หรือเป็นรูปธรรม แต่อย่างน้อยก็ภูมิใจในตนเองท่ีได้กระทาความดีแม้ไม่มี ใครรเู้ ห็นหรือได้การชน่ื ชม ๒. ไม่เห็นด้วย กลับคากล่าวท่ีว่าการกระทาช่ัวควรได้รับความเห็นใจสงสาร เพราะความจาเป็น บางอย่างเพื่อความอยู่รอดของชีวิต เนื่องจากการกระทาชั่วกับการทาเพราะความจาเป็นต้องแยกออกจากกัน หากต้องตัดสินใจทาสิ่งใดในเร่ืองที่จาเป็นหรือความอยู่รอดของชีวิตหรือเรื่องอ่ืนใดก็ตาม ต้องยึดหลักความ ถกู ต้องเปน็ ท่ีตั้ง ไมท่ าใหผ้ อู้ ่นื ได้รบั ความเดือดรอ้ น ๔.นกั เรยี นจะยกยอ่ งบคุ คลท่ีทาบุญทาทานดว้ ยจานวนเงินมากๆโดยไม่ต้องสนใจว่าเขาทามาหากินอะไร ได้มา ดว้ ยวธิ ีท่ีถกู ตอ้ งสุจรติ หรอื ไม่ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ไม่เห็นด้วย เพราะการทาบุญทาทานไม่ข้ึนอยู่กับจานวนเงินท่ีบริจาค หากนาเงินหรือทรัพย์สินท่ีได้จาก การทุจริต มาสร้างประโยชน์ในสังคมไม่ควรได้รับการยกย่อง ในทางกลับกันหากทาบุญทาทานด้วยเงินเพียง เล็กน้อยแต่หากมาดว้ ยความถูกตอ้ งซ่อื สัตย์สุจรติ ควรไดร้ ับการยกยอ่ ง

- ๒๒ - ๕. เด็กชายต๋องหนีออกจากบ้านโดยขี่จักรยานยนต์เพื่อเดินทางเข้ากรุงเทพฯ ระหว่างทางเจอด่านตรวจ เดก็ ชายต๋องกลัวจะโดนตารวจจับจึงโกหกวา่ เดินทางมาตามหาพี่ชายเน่ืองจากพอ่ เสยี ชวี ติ นกั เรียนด้วยกับการ กระทาของเด็กชายต๋องหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ่ ห็นดว้ ย เพราะตามกฎหมายกาหนดใหผ้ ทู้ ข่ี ับขร่ี ถจกั รยานยนต์บนท้องถนนได้น้ัน ต้องมีใบอนุญาตขับ ข่ีรถจักรยานยนต์ โดยเด็กชายต๋องได้ฝ่าฝืนข้อบังคับของกฎหมายซ่ึงอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุต่อตนเองและผู้ สัญจรไปมา เป็นการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนเป็นหลักและการโกหกเพื่อให้ตนพ้นจากความรับผิด เป็นการ แสดงออกถงึ การไมซ่ อื่ สตั ย์สจุ รติ ไม่มคี วามรบั ผดิ ชอบในส่งิ ท่ีตนเองกระทาลงไป ๖. นักเรียนได้แอบนาโทรศัพท์มาใช้ที่โรงเรียน เนื่องจากมีความจาเป็นต้องติดต่อกับผู้ปกครองแต่บังเอิญ โทรศัพท์แบตเตอรี่หมด ในช่วงพักกลางวันจึงขึ้นมาบนอาคารเรียนเพ่ือชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์ เพราะกลัวว่า จะไมส่ ามารถติดตอ่ กบั ผู้ปกครองได้ นักเรยี นคดิ ว่าเป็นการกระทาที่ถูกตอ้ งหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ไม่ถูกต้อง เนื่องจากการกระทาดังกล่าวเป็นการเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนทาให้โรงเรียนต้องมีภาระ ค่าใช้จ่ายเพ่ิมมากขึ้นจากการนาโทรศัพท์ส่วนตัวมาชาร์จแบตเตอรี่ท่ีโรงเรียนหากมีความจาเป็นในการ ตดิ ตอ่ ส่ือสารกบั ผู้ปกครองอย่างยง่ิ อาจใช้โทรศัพท์สาธารณะ เลยยมื โทรศัพทเ์ พ่อื น ครใู นการตดิ ตอ่ เปน็ ต้น ๗.ครูสมหมายมักใช้เวลาว่างจากช่ัวโมงสอนทาธุรกิจขายตรงผ่านโปรแกรมไลน์ในคอมพิวเตอร์ของโรงเรียน เพื่อเป็นการหารายไดเ้ สริม เน่อื งจากลกู กาลังเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยต้องใช้เงินจานวนมาก นักเรียนคิดว่า ครสู มหมายทาถูกตอ้ งหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ทาไม่ถูกต้อง เพราะเป็นการนาทรัพย์สินของโรงเรียนมาใช้ประโยชน์ส่วนตนไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ สัญญาณอินเตอร์เน็ต ซึ่งทางานด้วยกระแสไฟฟ้าของโรงเรียน ทาให้โรงเรียนมีภาระค่าใช้จ่ายสูงข้ึน และเป็น การเบียดบงั เวลาราชการ เน่ืองจากยังอยู่ในเวลาปฏิบัติหน้าท่ีราชการ จึงควรท่ีจะเอาเวลาว่างจากชั่วโมงสอน ในการพฒั นาการศึกษาหลักสูตรการเรยี นการสอนหรอื ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม ๘. เด็กชายสมบัติมาโรงเรียนพร้อมกับคุณพ่อโดยรถยนต์ท่ีมีตราของคณะแพทย์ศาสตร์มารับ-ส่งที่ประตู ทางเขา้ โรงเรียนทกุ วัน นกั เรียนคิดวา่ การกระทาดังกล่าวสมควรหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ไม่สมควร เพราะเป็นการนาทรัพย์สินทางราชการมาใช้ประโยชน์ส่วนตัว ซ่ึงการใช้รถยนต์ของทาง ราชการตอ้ งใชใ้ นกิจการของหน่วยงานและตอ้ งเป็นงานราชการเท่าน้นั และมีความผิดตามกฎหมาย ๙. คนขับรถโรงเรยี นเป็นคนขยัน จะลา้ งรถของผู้อานวยการโรงเรียนเป็นประจา โดยใช้น้าในโรงเรียนนักเรียน คดิ วา่ คนขบั รถโรงเรียนทาถกู ต้องหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นการดาน้าประปาของโรงเรียนซึ่งเป็นทรัพย์สินของโรงเรียนมาล้างรถยนต์ของ ผู้อานวยการโรงเรียนซึ่งเป็นทรัพย์สินส่วนตัวเป็นการนาทรัพย์สินทางราชการมาใช้ประโยชน์ส่วนตน ทาให้ โรงเรียนตอ้ งจ่ายค่านา้ ประปาเพ่มิ ข้นึ

- ๒๓ - ๑๐. สมชายเปน็ บุตรของครูสายสมร ตอนเยน็ หลังเลกิ เรียนสมชายต้องไปนง่ั รอคณุ ครสู ายสมรในห้องพกั ครู โดยนง่ั เลน่ คอมพวิ เตอร์และเปดิ เครอื่ งปรับอากาศ นักเรียนคิดว่าสมชายทาถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ไม่ถูกต้อง เพราะคอมพิวเตอร์และเครื่องปรับอากาศเป็นทรัพย์สินของโรงเรียนต้องใช้ในงานราชการ เทา่ นั้น การทค่ี ุณครูสายสมรให้สมชายน่ังเล่นคอมพิวเตอร์และเปิดเคร่ืองปรับอากาศในห้องพักครู ระหว่างรอ คุณครูสายสมร เป็นการใช้ทรัพย์ของทางราชการเพ่ือประโยชน์ส่วนตัว ทาให้โรงเรียนต้องมีภาระค่าใช้จ่าย เพมิ่ ข้ึน

- ๒๔ - เฉลยกรณีศึกษา ๑. การรับผลประโยชนต์ ่างๆ ๑.๑ นายสุจริต ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ได้เดินทางไปปฏิบัติข้าราชการในพ้ืนที่จังหวัดบุรีรัมย์ ซ่ึงในวันดังกล่าว นายรวย นายก อบต. ได้มอบงาชา้ งจานวนหนงึ่ คใู่ ห้แก่ นายสจุ ริต เพือ่ เปน็ ของท่ีระลึก นายสุจริตได้มอบงาช้าง ดังกล่าวให้หน่วยงานต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่าพร้อมท้ังดาเนินการให้ถูกต้องตามระเบียบและกฎหมาย แต่ ต่อมา นายสุจริต พิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่สมควรรับงาช้างดังกล่าวไว้ จึงเร่งให้หน่วยงานต้นสังกัดคืนงาช้าง ให้แกน่ ายรวย ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๓ ประกอบประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เร่ือง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๗ ประกอบข้อ ๕ (๒) ได้กาหนดว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้ใดได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจาก บุคคลท่ีไม่ใช่ญาติซึ่งมีมูลค่าเกินกว่าสามพันบาท แล้วประสงค์จะ รับทรัพย์สินนั้นไว้เป็นสิทธิของตน จะต้องแจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับทรัพย์สินน้ันต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้มีอานาจแต่งตั้งถอดถอนหรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธาน วุฒิสภาหรือประธานสภาท้องถ่ินแล้วแต่กรณีในทันทีท่ีสามารถกระทาได้ เสื้อ ให้วินิจฉัยว่ามีเหตุผลความ จาเป็น ความเหมาะสม และสมควรทีจ่ ะใหเ้ จ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้นั รบั ทรัพย์สนิ นนั้ ไว้เป็นสทิ ธิของตนเองหรอื ไม่ เมื่อข้อเท็จจริงในเร่ืองนี้ปรากฏว่า เม่ือนายสุจริต ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ได้รับงาช้างแล้ว ได้ส่งให้ หน่วยงานต้นสังกัดตรวจสอบคุณภาพพร้อมทั้งดาเนินการให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและกฎหมาย แต่ต่อมา นายสุจริตพิจารณาเห็นว่าไม่สมควรรับงานชั้นดังกล่าวไว้ จึงส่งคืนให้นายรวยไป โดยใช้ระยะเวลาในการ ตรวจสอบระเบียบแนวทางปฏิบัตแิ ละขอ้ มลู ท่เี ก่ียวข้องกับความรอบคอบ และส่งคืนงาช้าง แกนายรวยภายใน ๓ วัน จากข้อเทจ็ จรงิ จรงิ ฟงั ไดว้ า่ นายสจุ รติ ไมไ่ ด้มเี จตนาหรือมีความประสงค์ท่ีจะรับงาช้างน้ันไว้เป็นสิทธิ์ของ ตนแตอ่ ยา่ งใด ๑.๒ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐรับของขวัญจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เพ่ือช่วยให้บริษัทเอกชนรายนั้น ชนะ การประมลู รับงานโครงการขนาดใหญข่ องรัฐ ๑.๓ การท่ีบริษัทแห่งหนึ่งได้ของขวัญเป็นทองคามูลค่ามากกว่า ๑๐ บาทแก่เจ้า หน้าท่ีในปีที่ผ่านมาและปี เจ้าหน้าที่เร่งรัดคืนภาษีให้บริษัทน้ันเป็นกรณีพิเศษ โดยลัดคิวให้ก่อนบริษัทอ่ืนๆ เพราะคาดว่าจะได้รับ ของขวัญอกี

- ๒๕ - ๑.๔ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชนหรือรัฐวิสาหกิจและได้รับความ บันเทิงในรูปแบบต่างๆ จากบริษัทเหล่านั้น ซ่ึงมีผลต่อ การให้คาวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะที่เป็นธรรมหรือ เป็นไปในลกั ษณะน้ีเพอ่ื ประโยชน์ ต่อบริษทั ผ้ใู ห้น้ันๆ ๑.๕ เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับชุดไม้กอล์ฟจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เม่ือต้องทางานที่เก่ียวข้องกับ เอกชนแหง่ น้นั กช็ ่วยเหลือใหบ้ รษิ ัทน้ันได้รับสัมปทาน เนือ่ งจากรสู้ กึ วา่ ควรตอบแทนทเ่ี คยได้รับของขวัญมา ๒. การทาธรุ กิจกับตนเองหรอื ทา คู่สญั ญา ๒.๑ นิตกิ ร ฝา่ ยกฎหมายและเร่งรัดภาษอี ากรคา้ ง สานกั งานสรรพากรจงั หวดั ในส่วนภูมิภาคหารายได้ พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชน โดยอาศัยโอกาสที่ตนปฏิบัติหน้าที่ เร่งรัดภาษี อากรทางผู้ประกอบการรายหนึ่งหาประโยชน์ให้แก่ตนเองด้วยการขายประกันชีวิตให้แก่หุ้นส่วนผู้จัดการของ ผู้ประกอบการดังกล่าว รวมทั้งพนักงานของผู้ประกอบการอีกหลายคน ในขณะที่ตนกาลังดาเนินการเร่งรัด ภาษอี ากรค้าง พฤติการณ์ของเจา้ หน้าท่ีดังกล่าวเป็นการอาศัยตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงมาตรา ๘๓ (๓) ประกอบมาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรอื นพ.ศ. ๒๕๕๑ ๒.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างทาสัญญาให้หน่วยงานต้นสังกัดซ้ือคอมพิวเตอร์ สานกั งานจากบรษิ ทั ของครอบครัวของตนเอง หรอื บรษิ ัทท่ีตนเองมหี นุ้ ส่วนอยู่ ๒.๓ ผบู้ ริหารหน่วยงานทาสญั ญาเชา่ รถไปสัมมนาและดงู านกบั บริษัท ซึง่ เป็นของเจ้าหน้าที่หรือบริษัท ทีผ่ ้บู รหิ ารมีห้นุ สว่ นอยู่ ๒.๔ การท่ีผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษา หรือเป็นผู้ทาบัญชีให้กับบริษัทท่ีถูกต้อง ตรวจสอบ ๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซื้อท่ีดินย่านถนนรัชดาภิเษกใกล้กับศูนย์วัฒนธรรมแห่ง แห่ง ประเทศไทย จากกองทุนเพ่ือการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการกากับดูแลของธนาคารแห่ง ประเทศไทย กระทรวงการคลัง โดยอดตี นายกรัฐมนตรี ซ่ึงในขณะนั้นดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในฐานะเจ้า พนักงานมีหน้าที่ดูแลกิจการกองทุน ได้ลงนามยินยอมในฐานะคู่สมรสให้ภรรยาประมูลซ้ือที่ดินและทาสัญญา ซ้อื ขายทด่ี ิน ส่งผลให้เป็นคสู่ ญั ญาหรอื มสี ่วนไดส้ ่วนเสียในสัญญาซ้ือที่ดินโฉนดแปลงดังกล่าว อันเป็นการขัดกัน ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมายมีความผิดตามพระราชบัญญัติ ประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ. ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐ (๑)

- ๒๖ - ๓. การทางานหลังจากออกจากตาแหนง่ ไดท้ ่สี าธารณะหรอื หลัง ๓.๑ อดีตผู้อานวยการโรงพยาบาลแห่งหนเึ่งกษเพยี ิ่งณเกษียณอายุราชการไปทางานเป็นท่ีปรึกษาในบริษัท ผลิตหรอื ขายยา โดยใชอ้ ิทธพิ ลจากท่ีเคยดารงตาแหน่งในโรงพยาบาลดังกล่าว ให้โรงพยาบาลซื้อยาจากบริษัท ที่ตนเองเป็นท่ีปรึกษาอยู่ พฤติการณ์เช่นนี้มีมูลความผิดท้ังทางวินัยและทางอาญาฐานเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน้ การปฏบิ ัติอย่างใดในพฤติการณ์ท่ีอาจทาให้ผู้อ่ืนเชื่อว่าตนมีตาแหน่งโดยหน้าที่ ทั้งที่ตนไม่ได้ ตาแหน่งหรือหน้าที่น้ัน เพ่ือแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเองหรือผู้อื่นตาม พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ. ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒๓ ๓.๒ การท่ีผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการไปทางาน บริษทั ผลิตหรือขายยา ๓.๓ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานท่ีเกษียณแล้วใช้อิทธิพลที่เคยดารงตาแหน่งใน หน่วยงานรัฐ รับเป็นท่ีปรึกษาให้บริษัทเอกชนท่ีตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอ้างว่าจะได้รับติดต่อกับกับ หนว่ ยงานรัฐไดอ้ ย่างราบร่นื ๓.๔ การว่าจ้างเจ้าหน้าที่ผู้เกษียณมาทางานในตาแหน่งเดิมที่หน่วยงานเดิมโดยไม่คุ้มค่ากับภารกิจที่ ไดร้ ับมอบหมาย ๔. การใช้ทรพั ย์สินของราชการเพือ่ ประโยชน์ส่วนตน ๔.๑ คณบดคี ณะแพทยศ์ าสตรใ์ ชอ้ านาจหน้าทโ่ี ดยทุจรติ ด้วยการสง่ั ใหเ้ จา้ หน้าท่ีนาเก้าอี้พร้อมผ้าคลุม เก้าอี้ เครือ่ งใชว้ ดิ โี อ เครือ่ งเลน่ วีดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ นาไปใชใ้ นงานมงคลสมรสของบุตรสาวรวมทั้ง รถยนต์ รถตูส้ ่วนกลาง เพอื่ ใช้รับส่งเจา้ หนา้ ทเี่ ข้ารว่ มพิธี แลว้ ขนยา้ ยอุปกรณ์ท้ังท่ีบ้านและท่ีพักงานฉลองมงคล สมรสทโ่ี รงแรม ซงึ่ ลว้ นเป็นทรพั ยส์ ินของทางราชการการกระทาของจาเลยนบั เป็นการใช้อานาจโดยทุจริต เพ่ือ ประโยชนส์ ่วนตนอันเปน็ การเสยี หายแก่รฐั คณะกรรมการ ป.ป.ช ได้ช้ีมูลความผดิ วนิ ัยและอาญาตอ่ มาเร่ืองเข้า สกู่ ระบวนการในช้ันศาล ศาลพเิ คราะหพ์ ยานหลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระทาของจาเลยเป็นการทุจริตต่อ ตาแหน่งหนา้ ทฐี่ านเปน็ เจ้า พนักงานมหี น้าท่ีซือ้ ทาจัดการหรือรกั ษาทรัพยใ์ ดใดซ่ึงอานาจตาแหน่งโดยทุจริตอัน เป็นการเสียหายแก่รัฐ และเปน็ เจา้ พนักงานปฏบิ ัติหน้าที่โดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ โดยพิพากษาให้จาคุก ๕ ปีและปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท คาให้การรับสารภาพ เป็นประโยชน์แก่การ พจิ ารณาคดลี ดโทษใหก้ งึ่ หน่ึงคงจาคุกจาเลยไว้ ๒ ปี ๖ เดอื นและปรบั ๑๐,๐๐๐ บาท ๔.๒ การทเ่ี จ้าหนา้ ทขี่ องรัฐผมู้ ีหนา้ ท่ีขบั รถยนต์ส่วนราชการ นาน้ามัน ในรถยนต์ไปขายและนาเงินมา ไว้ใช้จ่ายส่วนตัวทาให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพ่ือซื้อน้ามันรถมากกว่าที่ควรจะได้เป็นพฤติกรรม ดังกลา่ วถือเปน็ การทุจริต เบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวม เพื่อประโยชน์ของส่วนตนเองและมีความผิดฐาน ลักทรพั ย์ ๔.๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีรัฐผู้มีอานาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือเบิกจ่ายค่าน้ามันเชื้อเพลิงนารถยนต์ของ สว่ นราชการไปใช้ในกจิ ธุระสว่ นตัว

- ๒๗ - แผนผังความคิด มีความถูกต้อง การใชภ้ าษา การลาดับเนื้อหา ความเรียบรอ้ ย การคดิ วิเคราะห์ รวม ที่ กลุ่มที่ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑๔ ๓๒ ๑ ๔๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒๐ คะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชือ่ ...................................................ผู้สังเกต (...................................................) ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ๔ คะแนน เทา่ กบั ดมี าก ๑๖-๒๐ คะแนน เท่ากบั ดมี าก ๓ คะแนน เท่ากับ ดี ๑๑-๑๕ คะแนน เทา่ กบั ดี ๒ คะแนน เท่ากับ พอใช้ ๖-๑๐ คะแนน เทา่ กบั พอใช้ ๑ คะแนน เทา่ กับ ปรับปรงุ ๑-๕ คะแนน เท่ากบั ปรับปรงุ

- ๒๘ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ใฝ่เรยี นรู้ คาชีแ้ จง : ใหค้ รสู งั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี น แลว้ ขดี  ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดบั คะแนน แสวงหาข้อมูล มกี ารจดบนั ทึก สรปุ ความรู้ได้ รวม สรปุ จากแหล่ง ความรอู้ ย่าง อยา่ งมเี หตุผล คะแนน ลาดับที่ ช่อื -สกลุ การเรียนรู้ต่างๆ เป็นระบบ ๓ ๒ ๑ ๙ ผ มผ ๓๒๑๓๒๑ ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน (...................................................) ............../.................../................ ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารตดั สนิ ดีเยย่ี ม ไดค้ ะแนน ๗-๙ คะแนน ดี ไดค้ ะแนน ๕-๖ คะแนน ผา่ น ได้คะแนน ๓-๔ คะแนน ไมผ่ า่ น ได้คะแนน ๑-๒ คะแนน

- ๒๙ - แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่อง การขดั กันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม(ประเทศชาติ) เวลา 3 ชว่ั โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม (ประเทศชาติ) ได้ ๒.๒ นักเรยี นสามารถบอกความแตกต่างการขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม (ประเทศชาติ) ได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) หมายถึง การท่ี เจ้าหน้าท่ีของรัฐกระทาการใด ๆ ตามอานาจหน้าที่เพ่ือประโยชน์ส่วนรวม แต่กลับเข้าไปมีส่วนได้เสียกับ กิจกรรม หรอื การดาเนินการที่เออื้ ผลประโยชน์ใหก้ ับตนเองหรือพวกพ้อง ทาให้การใช้อานาจหน้าท่ีเป็นไปโดย ไมส่ จุ ริตก่อให้เกิดผลเสยี ต่อภาครัฐ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร - ฟัง - เขยี น ๒) ความสามารถในการคดิ - คิดวเิ คราะห์ ๓.๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / ค่านิยม ๑) มงุ่ ม่ันในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรียนรู้ ๑) ช่วั โมงที่ ๑ ๑) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสนทนาความหมายเรอ่ื งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาต)ิ ทเี่ รยี นชั่วโมงที่ผ่านมา ๒) ครใู ห้นักเรียนชมสื่อวดี ีทัศนจ์ ากYouTube https://www.youtube.com/watch?v=2vg7Mi4Uh4I ๓) ครถู ามนักเรยี นเก่ียวกบั ส่ือที่รับชม ซ่ึงมีเนื้อหา “ผู้ท่ีทาหน้าเพ่ือประเทศชาติ เช่น นักการเมือง เจา้ หน้าท่ขี องรฐั กลับคดิ และทาเพ่ือตนเอง การทาผดิ ประเภทนีเ้ รยี กว่าอะไร” การกระทาลักษณะนี้เรียกวา่ ... ๔) ครูถามนักเรียนว่า “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและและประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาต)ิ เกิดจากสาเหตอุ ะไร”

- ๓๐ - ๕) ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปราย จากการรับชมสื่อวีดีทัศน์ ตามประเด็น ต่อไปนี้ ที่ครูมอบให้ “การกระทาใดที่เข้าข่ายการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาต)ิ ” ๖) ครูสรปุ ผลการอภิปรายให้นักเรียนเข้าใจ การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม (ประเทศชาติ) เป็นพฤติกรรมท่ีอยู่ระหว่างจริยธรรมกับการทุจริตที่จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตน และกระทบต่อผลประโยชน์ส่วนรวม(ประเทศชาติ) พฤติกรรมบางประเภทมีบัญญัติตามกฎหมายมีบทลงโทษ ชดั เจน แต่บางประเภทยงั ไมไ่ ดบ้ ัญญตั ติ ามกฎหมาย ๒) ชวั่ โมงที่ ๒ ๗) ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและและประโยชน์ ส่วนรวม(ประเทศชาติ) ๘) ครูให้นักเรียนหาสาเหตุของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและและประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) จากใบงาน เรอื่ ง การขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและและประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาต)ิ ๙) ผูส้ อนและผู้เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและและประโยชน์ สว่ นรวม(ประเทศชาติ) การขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและและประโยชน์ส่วนรวม(ประเทศชาติ) เป็นพฤติกรรมท่ีอยู่ ระหว่างจริยธรรมกับการทุจริตท่ีจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตนและกระทบต่อผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) ซ่ึงพฤติกรรมบางประเภทมีบัญญัติทาง กฎหมายมีบทลงโทษชัดเจน แต่บางประเภทยังไม่ได้ บัญญัติตามกฎหมาย ดังนั้นจาเป็นอย่างย่ิงที่คนทุกวัย ทุกระดับในสังคมต้องจัดการระบบการคิดให้สามารถ แยะแยะได้อย่างชัดเจน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) สร้างสังคม สุจริต ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันลดพ้ืนท่ีสีเทาท่ีเกิดจากการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวมประเทศชาติอาจนาไปสู่การทุจริตคอรัปชั่นอย่างมหาศาลก่อให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงที่ไม่อาจ ประเมนิ ค่าได้ตอ่ ประเทศชาตใิ นอนาคต ๔.๒ สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) ส่ือวีดิทศั น์จากYouTube https://www.youtube.com/watch?v=2vg7Mi4Uh4I ๒) ใบความรู้ เรอื่ ง การขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและและประโยชน์ส่วนรวม(ประเทศชาติ) ๓) ใบงาน เรื่อง การขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและและประโยชนส์ ่วนรวม(ประเทศชาติ) ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) ตรวจผลงานการทาใบงาน เร่ือง การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและและประโยชนส์ ว่ นรวม (ประเทศชาติ) ๒ ) สังเกตพฤตกิ รรมมุง่ มัน่ ในการทางานของนักเรยี น ๕.๒ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมิน ๑) แบบประเมินใบงาน เรื่อง การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและและประโยชนส์ ว่ นรวม (ประเทศชาต)ิ ๒) แบบให้คะแนนการตรวจผลงาน เรอ่ื ง การขัดกันระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมมงุ่ ม่ันในการทางาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ

- ๓๑ - ๑) นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ๒) นกั เรยี นผ่านการประเมินพฤติกรรมระดับดี ข้ึนไป ๖. บนั ทึกหลงั สอน .......................................................................................................... .............................................. ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ลงชอื่ ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)

- ๓๒ - 7. ภาคผนวก ใบความรู้ เร่อื ง การขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและและประโยชนส์ ่วนรวม (ประเทศชาต)ิ การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) หมายถึง การท่ี เจ้าหน้าท่ีของรัฐกระทาการใด ๆ ตามอานาจหน้าที่เพ่ือประโยชน์ส่วนรวม แต่กลับเข้าไปมีส่วนได้เสียกับ กจิ กรรม หรอื การดาเนินการท่ีเอือ้ ผลประโยชนใ์ หก้ ับตนเองหรือพวกพ้อง ทาให้การใช้อานาจหน้าที่เป็นไปโดย ไม่สุจริตก่อให้เกิดผลเสียต่อภาครัฐ จริยธรรมเป็นกรอบใหญ่ทางสังคมท่ีเป็นพื้นฐานของแนวคิดเกี่ยวกับการ ขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมและการทุจริต การกระทาใดที่ผิดต่อกฎหมายการขัดกัน ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมและการทุจริต ย่อมเป็นความผิดต่อจริยธรรมด้วย แต่ตรงกัน ข้ามการกระทาใดท่ีฝ่าฝืนจริยธรรมอาจไม่เป็นความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนกับ ประโยชนส์ ว่ นรวมและการทจุ ริต เชน่ การมพี ฤตกิ รรมสว่ นตัวท่ีไมเ่ หมาะสม การมพี ฤติกรรมชสู้ าว เปน็ ต้น รปู แบบของการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม ๑) การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting benefits) เช่น การรับของขวัญจากบริษัทธุรกิจ บริษัท ขายยาหรืออปุ กรณก์ ารแพทยส์ นบั สนุนคา่ เดินทางใหผ้ ูบ้ ริหารและเจ้าหน้าท่ีไปประชุมเรื่องอาหารและยาที่ต่างประเทศ หรือ หนว่ ยงานราชการรบั เงินบริจาคสร้างสานักงานจากธุรกิจท่ีเป็นลูกค้าของหน่วยงาน หรือแม้กระท่ังในการใช้งบประมาณของ รฐั เพอื่ จดั ซือ้ จดั จ้างแลว้ เจ้าหน้าที่ได้รบั ของแถม หรือประโยชนอ์ ่นื ตอบแทน เปน็ ต้น ๒) การทาธุรกิจกับตนเอง (Self - dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) หมายถึง สถานการณท์ ี่ผ้ดู ารงตาแหน่งสาธารณะ มสี ว่ นไดเ้ สียในสญั ญาทที่ ากับหน่วยงานทีต่ นสังกัด ตัวอย่างเช่น การใช้ ตาแหน่งหน้าที่ทาให้หน่วยงานทาสัญญา ซื้อสินค้าจากบริษัทของตนเอง หรือจ้างบริษัทของตนเป็นท่ีปรึกษา หรือซื้อที่ดินของตนเองในการจัดสร้างสานักงาน สถานการณ์เช่นนี้เกิดบทบาทที่ขัดแย้ง เช่น เป็นท้ังผู้ซื้อและ ผู้ขายในเวลาเดยี วกนั ๓) การทางานหลงั จากออกจากตาแหน่งหน้าที่สาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post -employment) หมายถึงการที่บคุ คลลาออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปทางานในบริษทั เอกชนทด่ี าเนนิ ธรุ กิจประเภทเดียวกัน เชน่ ผบู้ รหิ ารหรือเจ้าหนา้ ท่ขี ององคก์ ารอาหารและยา ลาออกจากงานราชการและไปทางานในบริษัทผลิตหรือ ขายยา หรือผูบ้ ริหารกระทรวงคมนาคมหลงั เกษยี ณออกไปทางานเป็นผบู้ รหิ ารของบรษิ ัทธุรกิจส่อื สาร ๔) การทางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบนี้มีได้ หลายลกั ษณะ เช่น ผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะตง้ั บรษิ ัทดาเนนิ ธุรกจิ ท่เี ป็นการแข่งขนั กับหนว่ ยงานหรือองค์การ สาธารณะท่ตี นสังกัด หรือการรบั จ้างเป็นท่ีปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตาแหน่งในราชการสร้างความน่าเชื่อถือ ว่าโครงการของผู้ว่าจ้างจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณาจากหน่วยงานที่ท่ีปรึกษาสังกัดอยู่ หรือในกรณีท่ี เป็นผู้ตรวจสอบบัญชีของกรมสรรพากร ก็รับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษาหรือเป็นผู้ทาบัญชีให้กับบริษัทที่ต้องถูก ตรวจสอบ ๕) การรู้ข้อมูลภายใน (Inside information) หมายถึง สถานการณ์ที่ผู้ดารงตาแหน่ง สาธารณะใช้ประโยชน์จากการรู้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนเอง เช่น ทราบว่ามีการตัดถนนผ่านบริเวณ ใด ก็จะเข้าไปซื้อท่ดี ินนน้ั ในนามของภรรยา หรอื ทราบวา่ จะมีการซื้อขายทด่ี นิ เพื่อทาโครงการของรัฐก็จะเข้าไป ซ้อื ทดี่ ินนัน้ เพอื่ เกง็ กาไรและขายใหก้ ับรัฐในราคาทสี่ ูงข้นึ ๖) การใช้ทรัพย์สินของราชการเพื่อประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage)เช่น การนาเคร่ืองใช้สานักงานต่างๆ กลับไปใช้ท่ีบ้าน การนารถยนต์ราชการไป ใช้ในงานส่วนตัว

- ๓๓ - ๗) การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพ่ือประโยชน์ทางการเมือง (Pork - barreling)เช่น การท่ีรัฐมนตรีอนุมัติโครงการไปลงพ้ืนท่ีหรือบ้านเกิดของตนเอง หรือการใช้งบประมาณ สาธารณะเพื่อหาเสยี ง ๘) การใช้ตาแหน่งหน้าท่ีแสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) “ระบบอุปถัมภ์พิเศษ” เช่น การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใช้อิทธิพลหรือใช้อานาจหน้าท่ีทาให้หน่วยงานของตนเข้าทา สัญญากับบรษิ ทั ของพี่นอ้ งของตน ๙) การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น (influence) เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง เช่น เจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ตาแหน่งหน้าท่ีข่มขู่ผู้ใต้บังคับ บญั ชาให้หยดุ ทาการตรวจสอบบรษิ ทั ของเครอื ญาติของตน ดังนั้นจาเป็นอย่างย่ิงท่ีคนทุกวัย ทุกระดับในสังคมต้องจัดการระบบการคิดให้สามารถแยะ แยะได้อย่างชัดเจน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) สร้างสังคมสุจริต ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันลดพื้นท่ีสีเทาที่เกิดจากการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ประเทศชาติอาจนาไปสู่การทุจริตคอรัปช่ันอย่างมหาศาลก่อให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงท่ีไม่อาจประเมินค่าได้ ต่อประเทศชาติในอนาคต

- ๓๔ - ใบงาน เร่ือง การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและและประโยชน์สว่ นรวม(ประเทศชาต)ิ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. จงบอกความหมายของการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม (ประเทศชาติ) ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................ ............................................................................... ............................................................................................................................. ........................................ ........................................................................................... .......................................................................... ๒. การขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและและประโยชน์ส่วนรวม(ประเทศชาติ) เกิดจากสาเหตุอะไร ............................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................. .......................... ๓. รูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม มีก่ีรูปแบบ อะไรบ้าง (ความรู้ ความจา) ทาไมบุคคลบางคนจึงมีพฤติกรรม การกระทาท่ีขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม ............................................................................................................................. .......................................... ................................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................ ......................................................................... .. ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................................................................ .............................. ๔. จงยกตัวอย่างการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ท่ีก่อให้เกิดผลเสียหาย รา้ ยแรงตอ่ ประเทศชาติ มา ๒ รปู แบบ ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ......................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. .....................................................................

- ๓๕ - ใบงาน (เฉลย) เรอ่ื ง การขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและและประโยชนส์ ว่ นรวม(ประเทศชาติ) คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. จงบอกความหมายของการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม (ประเทศชาติ) การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (ประเทศชาติ) หมายถึง การท่ี เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการใด ๆ ตามอานาจหน้าท่ีเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม แต่กลับเข้าไปมีส่วนได้เสียกับ กิจกรรม หรอื การดาเนนิ การท่ีเออ้ื ผลประโยชน์ให้กับตนเองหรอื พวกพ้อง ทาให้การใช้อานาจหน้าท่ีเป็นไปโดย ไม่สุจริตก่อให้เกิดผลเสียต่อภาครัฐ จริยธรรมเป็นกรอบใหญ่ทางสังคมท่ีเป็นพ้ืนฐานของแนวคิดเกี่ยวกับการ ขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมและการทุจริต การกระทาใดท่ีผิดต่อกฎหมายการขัดกัน ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมและการทุจริต ย่อมเป็นความผิดต่อจริยธรรมด้วย แต่ตรงกัน ข้ามการกระทาใดที่ฝ่าฝืนจริยธรรมอาจไม่เป็นความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนกับ ประโยชนส์ ว่ นรวมและการทุจริต เชน่ การมีพฤติกรรมสว่ นตวั ที่ไม่เหมาะสม การมีพฤตกิ รรมชู้สาว เป็นตน้ ๒. การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและและประโยชนส์ ว่ นรวม (ประเทศชาติ) เกิดจากสาเหตุอะไร เกดิ จากการคิดท่ีไม่สามารถแยกแยะเรอ่ื งประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมออกจากกันได้ทาให้ กลายเปน็ ปัญหาใหญข่ องการทุจรติ คอรัปชั่น ๓. รูปแบบของการขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม มีกรี่ ูปแบบ ๑) การรบั ผลประโยชนต์ ่าง ๆ (Accepting benefits) ๒) การทาธรุ กิจกบั ตนเอง (Self - dealing) หรอื เป็นคู่สญั ญา (Contracts) ๓) การทางานหลงั จากออกจากตาแหนง่ หนา้ ท่สี าธารณะหรอื หลังเกษียณ (Post -employment) ๔) การทางานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting) ๕) การรขู้ ้อมลู ภายใน (Inside information) ๖) การใชท้ รพั ย์สนิ ของราชการเพอ่ื ประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage) ๗) การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้งั เพือ่ ประโยชน์ทางการเมือง (Pork - barreling) ๘) การใชต้ าแหนง่ หน้าทแี่ สวงหาประโยชนแ์ ก่เครือญาติหรอื พวกพ้อง (Nepotism) ๙) การใชอ้ ทิ ธิพลเขา้ ไปมผี ลต่อการตดั สินใจของเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐ หรอื หนว่ ยงานของรฐั อนื่ (Influence) ๔. จงยกตวั อยา่ งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม มา ๒ รปู แบบ ขึ้นอยกู่ บั ดลุ พินิจของครูผู้สอน

- ๓๖ - แบบให้คะแนนการตรวจผลงาน เร่อื ง การขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและและประโยชน์ส่วนรวม(ประเทศชาต)ิ คาช้ีแจง : ครใู หค้ ะแนนการตรวจผลงานนกั เรยี น แล้วขีด  ลงในช่องทต่ี รงกับระดบั คะแนน ลาดบั รายการประเมนิ รวม ท่ี ชื่อ-สกลุ รปู แบบผลงาน ภาษา เนื้อหา เวลา ๑๖ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผปู้ ระเมิน (..................................................) ............../.................../................ เกณฑ์การตัดสนิ คะแนน ๑๔-๑๖ คะแนน หมายถงึ ดีเย่ยี ม คะแนน ๑๐-๑๓ คะแนน หมายถึง ดี คะแนน ๕-๙ คะแนน หมายถงึ ผ่าน คะแนน ๑-๔ คะแนน หมายถงึ ไมผ่ า่ น

- ๓๗ - รายละเอยี ดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบให้คะแนนการตรวจผลงาน เร่อื ง จรยิ ธรรมกับการทุจรติ ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน ประเมนิ ๑. รปู แบบผลงาน ๔๓ ๒ ๑ - มีขนาดเหมาะสม - มีสีสันสวยงาม ๒. ภาษา - รูปแบบผลงาน - รูปแบบผลงาน - มสี สี นั สวยงาม สมั พันธก์ ับเน้ือหา สมั พันธ์กับเนื้อหา ๓. เน้อื หา ถกู ต้องตามท่ี แปลกใหม่ - มกี ารใช้ภาษา - มีการเวน้ วรรค อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๔. เวลา กาหนด - มีขนาดเหมาะสม โดยไม่ฉีกคา - มีการใชภ้ าษา - รายละเอยี ด - รูปแบบแปลกใหม่ - มีสีสันสวยงาม อยา่ งสรา้ งสรรค์ ครอบคลุม - เน้ือหาสอดคล้อง น่าสนใจ สัมพนั ธก์ บั เน้ือหา - เนื้อหาเปน็ ไป ตามที่กาหนด - มขี นาดเหมาะสม - รายละเอยี ด ครอบคลุม - มีสสี ันสวยงาม - เนื้อหาสอดคล้อง สัมพนั ธก์ ับเนื้อหา - มีการใชภ้ าษา - สะกดคาถูกต้อง อย่างถูกต้อง - มกี ารเว้นวรรค - สะกดคาถูกต้อง โดยไมฉ่ ีกคา - มีการเวน้ วรรค - มีการใชภ้ าษา โดยไม่ฉีกคา อยา่ งสรา้ งสรรค์ - มกี ารใชภ้ าษา อย่างสรา้ งสรรค์ - เนื้อหาถกู ต้อง - เนื้อหาตรงตาม - เน้อื หาตรงตาม หวั ขอ้ เรือ่ ง หวั ขอ้ เรอื่ ง - เนอื้ หาเปน็ ไป - เนอ้ื หาเปน็ ไป ตามทกี่ าหนด ตามท่ีกาหนด - รายละเอียด - รายละเอยี ด ครอบคลุม ครอบคลุม - เนือ้ หาสอดคล้อง - เนอื้ หาสอดคล้อง - ส่งช้ินงานภายใน - ส่งชน้ิ งานช้ากว่า เวลาท่ีกาหนด กาหนด ๑ วัน

- ๓๘ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม มุ่งมั่นในการทางาน คาช้แี จง : ให้ครสู งั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี น แลว้ ขดี  ลงในช่องท่ีตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ ชื่อ-สกลุ มคี วามต้ังใจและ มีความอดทนและ รวม สรปุ พยายามในการทางาน ไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรค คะแนน ผ มผ เพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๖ ๓๒๑ ๓๒๑ ลงชือ่ ...................................................ผ้ปู ระเมนิ (...................................................) ............../.................../................ ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารตัดสนิ ดเี ย่ยี ม ไดค้ ะแนน ๖ คะแนน ดี ได้คะแนน ๔-๕ คะแนน ผา่ น ได้คะแนน ๒-๓ คะแนน ไมผ่ า่ น ไดค้ ะแนน ๐-๑ คะแนน

- ๓๙ - แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เรอื่ ง ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น เวลา 3 ช่วั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรยี นอธบิ ายความหมายของผลประโยชน์ทบั ซอ้ นได้ ๒.๒ นักเรยี นสามารถอธิบายรูปแบบของการทจุ รติ ได้ ๒.๓ นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางการปอ้ งกันผลประโยชน์ทบั ซอ้ นได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ผลประโยชน์ทับซ้อน หมายถึง สถานการณ์ที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐมีผลประโยชน์ส่วนตนอยู่และมีการใช้ อิทธิพลตามอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบเพ่ือให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตัวโดยก่อให้เกิดผลเสียต่อ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม “การทุจรติ ” เปน็ ภัยร้ายแรงสาคญั ท่ที าลายความม่ันคงของชาติ ก่อให้เกิดผลเสียต่อความเป็นอยู่ของ คนในสังคม ต่อระบบเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ โดยมีสาเหตุที่สาคัญของการทุจริต คือ พฤติกรรม หรือลกั ษณะสว่ นบุคคล โดยเฉพาะความโลภ และระบบทางสังคมที่เอื้อต่อการเกิดทุจริต ซึ่งการทุจริต โดย อาศัยอานาจหน้าท่ีเป็นผลประโยชน์กับซ่อนรูปแบบหน่ึง ท้ังน้ีเพราะเป็นการทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมท่ีมผี ลตอ่ การปฏิบัตหิ นา้ ทภ่ี าครัฐ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร - ฟงั - เขียน ๒) ความสามารถในการคิด - คดิ วิเคราะห์ ๓.๓ คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ / คา่ นิยม ๑) ใฝ่เรยี นรู้ ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ ๑) ชั่วโมงท่ี ๑ ๑. ครชู แี้ จงจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ และแบง่ นกั เรยี นเปน็ ๔ กลมุ่ กล่มุ ละเทา่ ๆกัน ๒. ให้นักเรียนชมส่ือวิดีโอเร่ือง รู้ทันการโกง ตอนทุจริตทาลายชาติ ซึ่งเป็นเน้ือหาเก่ียวกับ ความหมายและรปู แบบการทจุ ริต ๓. ครูซกั ถามนกั เรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกันตอบคาถาม เก่ียวกับการชมวิดีโอ เร่ืองรู้ทันการโกง ตอน ทจุ ริตทาลายชาติ ตามประเดน็ ต่อไปน้ี ๓.๑ เรือ่ งทีช่ มเปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกับอะไร

- ๔๐ - ๓.๒ การกระทาของตัวละครในเรอ่ื งเปน็ ส่ิงทถี่ กู ต้องหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ๓.๓ ถา้ มคี นทุจริตมากๆ จะเกิดผลเสียอย่างไรต่อประเทศชาติ ๓.๔ นกั เรยี นจะมีแนวทางการแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ อย่างไร ๔. ส่มุ นกั เรยี น ๒-๓กลมุ่ ให้ออกมานาเสนอ การตอบคาถามตามประเด็นทค่ี รูกาหนด ๕. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั สรุปรปู แบบการทุจริตโดยจดั ทาเปน็ แผนผงั ความคดิ ๒) ชวั่ โมงที่ ๒ ๑. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ เร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อน และสรุปความรู้ที่ได้จาก การศึกษาเป็นผงั มโนทัศน์ ตามประเด็นต่อไปนี้ ๑.๑ ความหมายของผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๑.๒ ประเภทของผลประโยชนท์ ับซอ้ น ๑.๓ รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ๑.๔ หลกั การจดั การผลประโยชน์ทับซอ้ น ๑.๕ แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน โดยให้เขียนสรุปลงในกระดาษ flip chart ออกแบบตกแต่งให้สวยงาม แล้วส่งตัวแทนนาเสนอและนาไปติดท่ีบอร์ดของโรงเรียนหรือป้ายนิเทศของ โรงเรียน ๒. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับเรือ่ งท่ีนาเสนอ ดงั น้ี ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น หมายถึง สถานการณ์ทเี่ จ้าหน้าที่ของรัฐ มีผลประโยชน์ส่วนตนอยู่และมี การใช้อิทธิพลตามอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบเพ่ือให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตัว โดยก่อให้เกิดผลเสียต่ อ ประโยชน์สว่ นรวม ผลประโยชนท์ ับซ้อนมี ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑) ผลประโยชน์ทับซ้อนท่เี กิดขน้ึ จรงิ ๒) ผลประโยชน์ทับซ้อนทเี่ ห็น ๓) ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทเ่ี ป็นไปได้ รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนมีหลายรูปแบบ เช่น การหาประโยชน์ให้ตนเอง การรับ ผลประโยชน์จากการที่ดารงตาแหน่งหน้าที่ การใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพ่ือประโยชน์ส่วนตน การใช้ ข้อมลู ลบั ของทางราชการเพ่ือแสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองและพวกพ้อง เป็นต้น หลกั การจดั การผลประโยชน์ทับซอ้ นมี ๔ หลัก ไดแ้ ก่ ๑) ปกป้องประโยชน์สาธารณะ ๒) สนับสนนุ ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ ๓) สง่ เสริมความรบั ผดิ ชอบสว่ นบุคคล ๔) สรา้ งวัฒนธรรมองค์กร แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น ไม่รับและไม่ให้ของขวัญ รวมท้ังผลประโยชน์ อน่ื ๆแก่เจา้ หน้าทขี่ องรฐั ไม่นาผลประโยชนส์ ว่ นรวมไปตอบแทนบุญคณุ สว่ นตัว ๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ ๑) สื่อวีดิโอ เรือ่ งร้ทู นั การโกง ตอนทจุ ริตทาลายชาติ ๒) ใบความรู้ เรอ่ื ง ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ๓) กระดาษ flip chart ๔) บอร์ด หรอื ปา้ ยนเิ ทศ

- ๔๑ - ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธีการประเมิน ๑) ตรวจผงั ความคิด เรื่องรทู้ ันการโกง ตอนทจุ ริตทาลายชาติ ๒) ตรวจผังมโนทศั น์ เรอ่ื ง ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมใฝ่เรียนรู้ ๕.๒ เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบให้คะแนนการตรวจผงั ความคดิ ๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมใฝ่เรียนรู้ ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน ๑) นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ๒) นกั เรียนผ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมระดบั ดีขนึ้ ไป ๖. บันทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ลงชือ่ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)

- ๔๒ - 7. ภาคผนวก ใบความรู้ เรือ่ ง ผลประโยชน์ทับซ้อน “ผลประโยชนท์ บั ซ้อน” หมายถงึ สถานการณท์ ่เี จา้ หน้าทขี่ องรัฐมีผลประโยชน์ส่วนตนอยู่และมีการใช้ อิทธิพลตามอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบเพ่ือให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตัว โดยก่อให้เกิดผลเสียต่อ ผลประโยชนส์ ่วนรวม ผลประโยชนท์ บั ซ้อนมีหลากหลายรูปแบบ ไมจ่ ากัดอยูใ่ นรูปของตัวเงินหรือทรัพย์สินก็ได้ อาทิ การแต่งตั้งพรรคพวกเข้าไปดารงตาแหน่ง ในองค์กรต่างๆ ทั้งในหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และบริษัท จากัดหรือการท่ีบุคคลผู้มีอานาจหน้าท่ีตัดสินใจให้ญาติพี่น้องหรือบริษัทที่ตนมีส่วนได้ส่วนเสียได้รับสัมปทาน หรือผลประโยชน์ จากทางราชการโดยมชิ อบ ฯลฯ แนวความคิดพน้ื ฐาน : ประโยชนส์ าธารณะ -รฐั โดยองค์กรของรัฐเป็นผู้ดแู ลรักษาประโยชนส์ ่วนรวมหรือประโยชนส์ าธารณะ -แต่ในกรณที ีป่ ระโยชน์ส่วนตวั ของเอกชนไม่สอดคล้องกบั ประโยชน์สาธารณะจะต้องใหป้ ระโยชน์ สาธารณะอยเู่ หนอื ประโยชน์ส่วนตัวของเอกชน นยิ ามศพั ทแ์ ละแนวคดิ สาคัญ ผลประโยชน์ส่วนตน (Private Interest) ผลประโยชน์ คือ ส่งิ ใดๆ ทมี่ ีผลตอ่ บคุ คล/กลุ่ม ไม่วา่ ในทางบวกหรือลบ “ผลประโยชน์ส่วนตน” ไม่ได้ ครอบคลุมเพียงผลประโยชนด์ า้ นการงานหรือธรุ กจิ ของเจ้าหน้าที่ แตร่ วมถึงคนท่ีติดต่อสัมพันธ์ด้วย เช่น เพ่ือน ญาตคิ แู่ ข่ง ศตั รูเมือ่ ใดเจ้าหน้าที่ประสงค์จะใหค้ นเหลา่ น้ีไดห้ รือเสียประโยชน์ เมอื่ นั้นกถ็ ือวา่ มีเรอ่ื งผลประโยชน์ สว่ นตนมาเก่ียวขอ้ ง ผลประโยชน์ส่วนตน มี ๒ ประเภท คือ ท่ีเกี่ยวกับเงิน (pecuniary) และที่ไม่เกี่ยวกับเงิน (non- pecuniary) ผลประโยชน์สว่ นตนที่เกี่ยวกับเงิน ไม่ไดเ้ กีย่ วกบั การไดม้ าซึง่ เงนิ ทองเท่านั้น แต่ยังเก่ียวกับการเพ่ิมพูน ประโยชน์หรือปกป้องการสูญเสียของสิ่งท่ีมีอยู่แล้วเช่น ท่ีดิน หุ้น ตาแหน่งในบริษัท รับงานจากหน่วยงาน รวมถึงการได้มาซ่ึงผลประโยชน์อ่ืนๆ ท่ีไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน เช่นสัมปทาน ส่วนลด ของขวัญ หรือของที่แสดง นาใจไมตรี อนื่ ๆ ผลประโยชน์ทีไ่ ม่เกี่ยวกับเงิน เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ครอบครัว หรือกิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรมอืน่ ๆ เชน่ สถาบนั การศึกษา สมาคม ลัทธิ แนวคิดมักอยู่ในรูปความลาเอียง/อคติ/เลือกท่ีรักมักที่ชัง และมีขอ้ สังเกตว่าแม้แตค่ วามเชือ่ ความคิดเหน็ สว่ นตัวกจ็ ัดอยู่ในประเภทน้ี

- ๔๓ -  หน้าที่สาธารณะ (Public Duty) หน้าที่สาธารณะของผู้ที่ทางานให้ภาครัฐคือ การให้ ความสาคัญอันดับต้นแก่ประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) คนเหล่าน้ีไม่จากัดเฉพาะ เจ้าหน้าท่ีของรัฐท้ังระดับท้องถิ่นละระดับประเทศเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงคนอ่ืนๆ ท่ีทางานให้ ภาครัฐ เช่น ที่ปรกึ ษา อาสาสมัคร  ผลประโยชน์สาธารณะ คือ ประโยชน์ของชุมชนโดยรวมไม่ใช่ผลรวมของผลประโยชน์ของ ปัจเจกบุคคล และไม่ใช่ผลประโยชน์ของกลุ่มคน การระบุผลประโยชน์สาธารณะไม่ใช่เรื่อง งา่ ย แต่ในเบอื้ งต้นเจ้าหนา้ ท่ภี าครฐั สามารถให้ความสาคัญอนั ดับตน้ แก่ส่ิงน้โี ดย - ทางานตามหน้าท่อี ยา่ งเต็มท่แี ละมีประสิทธิภาพ - ทางานตามหน้าที่ตามกรอบและมาตรฐานทางจริยธรรม - ระบุผลประโยชน์ทบั ซ้อนท่ตี นเองมีหรอื อาจจะมีและจัดการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ - ให้ความสาคญั อันดับตน้ แก่ผลประโยชน์สาธารณะมีความคาดหวังว่าเจ้าหน้าท่ีต้องจากัดขอบเขต ท่ีประโยชนส์ ว่ นตนจะมามผี ลต่อความเปน็ กลางในการทาหนา้ ท่ี - หลกี เลยี่ งการตดั สินใจหรือการทาหน้าทีท่ ่ีมีผลประโยชน์ทบั ซอ้ น - หลีกเลย่ี งการกระทา/กจิ กรรมสว่ นตนทอี่ าจทาให้คนเห็นวา่ ได้ประโยชนจ์ ากข้อมูลภายใน - หลีกเลยี่ งการใชต้ าแหน่งหน้าที่หรือทรัพยากรของหนว่ ยงานเพื่อประโยชนส์ ่วนตน - ป้องกนั ข้อความหาว่าไดร้ ับผลประโยชนท์ ่ไี ม่สมควรจากการใช้อานาจหน้าที่ - ไม่ใช้ประโยชน์จากตาแหน่งหรือข้อมูลภายในท่ีได้ขณะอยู่ในตาแหน่ง ขณะท่ีไปหาตาแหน่งงาน ใหม่  ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interests) องค์กรสากล คือ Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) นิยามว่า เป็นความทับซ้อน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์สาธารณะ ท่ีมีผลต่อการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจ้าหน้าทภี่ าครฐั ดงั นี้ ความสมั พันธ์ระหวา่ งเจ้าหน้าท่ีของรัฐกับรัฐ สถานะของเจา้ หน้าที่ของรฐั นัน้ มีความสมั พนั ธ์กับ ๒ สถานะ สถานะหนึ่ง คือ เจ้าหน้าที่ของรฐั ท่ีปฏบิ ัตงิ านตามอานาจหนา้ ทซ่ี ่งึ เป็นบุคคลท่ที างานใหก้ บั รฐั หรอื เปน็ ตวั แทนของรัฐ กับอีกสถานะหนง่ึ คือ เจ้าหน้าท่ขี องรัฐซ่ึงเปน็ เอกชนคนหนึ่ง

- ๔๔ - ประเภทของผลประโยชนท์ ับซอ้ น ๑. ผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเกิดข้ึนจริง (Actual) มีความทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ สาธารณะ เกิดขึ้น ๒. ผลประโยชน์ทับซ้อนที่เห็น (Perceived & Apparent) เป็นผลประโยชน์ทับซ้อนที่คนเห็นว่ามีแต่ จริงๆ อาจไม่มีก็ได้ถ้าจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนประเภทนี้อย่างขาดประสิทธิภาพก็อาจนามาซึ่งผลเสียไม่น้อยกว่า การจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนที่เกิดข้ึนจริง ข้อน้ีแสดงว่าเจ้าหน้าที่ไม่เพียงแต่จะต้องประพฤติตนอย่างมี จริยธรรมเท่าน้นั แต่ตอ้ งทาใหค้ นอ่นื ๆ รับรแู้ ละเหน็ ดว้ ยวา่ ไมไ่ ด้รบั ประโยชน์เชน่ น้ันจริง ๓. ผลประโยชน์ทับซ้อนที่เป็นไปได้ (Potential) ผลประโยชน์ส่วนตนท่ีมีในปัจจุบัน อาจจะทับซ้อน กับ ผลประโยชน์สาธารณะได้ในอนาคตสาหรับหน้าท่ีทับซ้อน (Conflict of Duty) หรือผลประโยชน์เบียดซ้อนกัน (Competing Interests) มี ๒ ประเภท ๑) เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าท่ีมีบทบาทหน้าที่มากกว่าหน่ึง เช่น เป็นเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานและเป็น คณะกรรมการด้านระเบียบวินัยประจาหน่วยงานด้วย ปัญหาจะเกิดเมื่อไม่สามารถแยกแยะบทบาทหน้าที่ท้ัง สองออกจากกันได้อาจทาให้ทางานไม่มีประสิทธิภาพหรือแม้กระท่ังเกิดความผิดพลาดหรือผิดกฎหมาย ปกติ หน่วยงานมักมีกลไกป้องกันปัญหาน้ีโดยแยกแยะบทบาทหน้าที่ต่างๆ ให้ชัดเจน แต่ก็ยังมีปัญหาได้โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในหน่วยงานที่มีกาลังคนน้อยหรือมีเจ้าหน้าท่ีบางคนเท่านั้นท่ีสามารถทางานบางอย่างที่คนอื่นๆ ทา ไม่ได้ ซึ่งคนส่วนใหญไ่ ม่ค่อยห่วงปัญหาน้ีกนั เพราะดเู หมือนไมม่ ีเร่ืองผลประโยชน์สว่ นตนมาเกีย่ วข้อง ๒) เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าท่ีมีบทบาทหน้าท่ีมากกว่าหน่ึงบทบาท และการทาบทบาทหน้าท่ีใน หน่วยงานหนง่ึ นัน้ ทาใหไ้ ด้ขอ้ มูลภายในบางอย่างที่อาจนามาใช้เป็นประโยชน์แก่การทาบทบาทหน้าท่ีให้แก่อีก หน่วยงานหนึ่งได้ผลเสียคือ ถ้านาข้อมูลมาใช้ก็อาจเกิดการประพฤติมิชอบ หรือความลาเอียง/อคติต่อคนบาง กลุม่ ควรถอื ว่าหน้าที่ทับซ้อนเป็นปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนด้วยเพราะว่ามีหลักการจัดการแบบเดียวกัน น่ัน คือ การตัดสินใจทาหน้าที่ต้องเป็นกลางและกลไกการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถนามาจัดการกับ หนา้ ท่ที ับซอ้ นได้

- ๔๕ - ตวั อยา่ งรปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ นท่ีพบบ่อยในสังคม  การหาประโยชนใ์ ห้ตนเอง  การรบั ผลประโยชน์จากการที่ดารงตาแหน่งหน้าท่ี  การใชท้ รัพยส์ ินของราชการเพ่อื ประโยชน์ส่วนตน  การใช้ข้อมูลลับของทางราชการ เพือ่ แสวงหาประโยชน์แก่ตนเองและพวกพ้อง  การรบั งานนอกแลว้ สง่ ผลตอ่ ความเสยี หายของหนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ  การทางานหลังจากออกจากตาแหน่งและเอ้ือประโยชน์ตอ่ บริษัท  การให้ของขวญั ของกานลั เพ่ือหวังความก้าวหนา้  การชว่ ยญาตมิ ิตรให้ได้งานอยา่ งไม่เปน็ ธรรมในหน่วยงานท่ีตนมีอานาจ  การซื้อขายตาแหน่งการจ่ายผลประโยชน์ท้ังท่ีเป็นตัวเงินและประโยชน์รูปแบบอื่น เพื่อให้ได้มาซึ่งการ เลอื่ นระดบั ตาแหนง่ หรอื ความดคี วามชอบพเิ ศษ  ผ้ตู รวจสอบบญั ชภี าครัฐรบั งานพิเศษเป็นทีป่ รึกษาหรอื เปน็ ผูท้ าบญั ชใี ห้กับบริษัททต่ี อ้ งถกู ตรวจสอบ  เจ้าหน้าที่ของรัฐอาศัยตาแหน่งหน้าที่ทางราชการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการเพ่ือให้บริษัทเอกชนท่ี ว่าจ้างนัน้ เกิดความนา่ เช่ือถือกวา่ บริษทั คู่แข่ง  ขา้ ราชการครทู ่ีสอนไมเ่ ตม็ ท่ีในเวลาราชการและตอ้ งการให้นักเรยี นไปเรยี นพิเศษกับตนนอกเวลาราชการ  เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้านจึงบอกให้ ญาติพี่น้องไปซื้อท่ีดินบริเวณ โครงการ ดังกล่าวน้นั เพอื่ ขายใหก้ ับราชการในราคาท่ีสงู ข้นึ  เจ้าหน้าท่กี ระทรวงคมนาคมทราบมาตรฐาน (SPEC) วัสดอุ ุปกรณท์ ี่จะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วให้ข้อมูลกบั บริษทั เอกชนท่ตี นรจู้ กั เพ่อื ให้ได้เปรียบในการประมูล  การทน่ี กั การเมืองในจังหวัดขอเพิ่มงบประมาณเพื่อนาโครงการตัดถนน สร้างสะพานลงในจังหวัด โดยใช้ ชื่อหรือนามสกลุ ของตนเป็นช่ือของสะพาน  การทีร่ ัฐมนตรอี นมุ ัตโิ ครงการไปลงในพืน้ ทีห่ รอื ในบา้ นเกิดของตนเอง  การใช้งบสาธารณะในการหาเสยี ง

- ๔๖ - หลกั การจดั การผลประโยชน์ทบั ซ้อน ๑. ปกป้องประโยชน์สาธารณะ : การปฏิบัติหน้าที่ไม่ให้ผลประโยชน์ส่วนตัวมาแทรกซ้อน รวมถึง ความเหน็ หรอื ทศั นคติส่วนบุคคล มีความเป็นกลาง ไม่อคติ ลาเอยี ง ๒. สนับสนุนความโปร่งใสและความพร้อมรับผิด : เปิดโอกาสให้ตรวจสอบ หรือการเปิดเผย ผลประโยชน์ ส่วนตวั หรอื ความสมั พันธ์ทอ่ี าจมีผลต่อการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ๓. ส่งเสริมความรับผิดชอบส่วนบุคคลและปฏิบัติเป็นแบบอย่าง : การปฏิบัติตนท่ียึดหลักคุณธรรม และความเป็นมืออาชีพของเจ้าหน้าที่ในการหลีกเล่ียงผลประโยชน์ทับซ้อนโด ยเฉพาะผู้บริหารต้องเป็น แบบอยา่ ง ๔. สรา้ งวฒั นธรรมองค์กร : สรา้ งสภาพแวดลอ้ มสนบั สนนุ การหลกี เลี่ยงประโยชน์ทับซอ้ น และสร้าง วฒั นธรรมแหง่ ความซื่อสัตย์ จดุ เส่ยี งของผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น การปฏิสัมพันธ์กับภาคเอกชน การทาสัญญาจัดซ้ือจัดจ้าง การ ตรวจตราเพอ่ื ควบคมุ คณุ ภาพมาตรฐานของการทางานหรืออุปกรณ์ การอนุมัติ/อนุญาต การออกใบอนุญาตให้ ประกอบวิชาชีพ การกระจายงบประมาณ การปรบั การลงโทษ การให้เงนิ หรอื ส่ิงของช่วยเหลือ ผู้เดือดร้อนการ ตดั สนิ ขอ้ พิพาท การรบั ของขวญั ของกานลั จากผ้ทู ่มี าตดิ ต่ออนั เกี่ยวข้องในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี

- ๔๗ - แผนผงั ความคดิ ที่ กล่มุ ที่ มีความถูกต้อง การใชภ้ าษา การลาดบั เนอ้ื หา ความเรยี บร้อย การคิดวเิ คราะห์ รวม ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑๔ ๓๒ ๑ ๔๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒๐ คะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมิน (...................................................) ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ๔ คะแนน เท่ากับ ดีมาก ๑๖-๒๐ คะแนน เท่ากับ ดีมาก ๓ คะแนน เทา่ กบั ดี ๑๑-๑๕ คะแนน เท่ากบั ดี ๒ คะแนน เท่ากบั พอใช้ ๖-๑๐ คะแนน เทา่ กบั พอใช้ ๑ คะแนน เทา่ กับ ปรบั ปรุง ๑-๕ คะแนน เท่ากับ ปรบั ปรงุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook