Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลอาชีพชั้นเรียนแปรรูปถั่วลิสง กศน.ตำบลปง

สรุปผลอาชีพชั้นเรียนแปรรูปถั่วลิสง กศน.ตำบลปง

Published by phirunkun, 2021-11-03 06:52:33

Description: สรุปผลอาชีพชั้นเรียนแปรรูปถั่วลิสง กศน.ตำบลปง

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาอาชีพ หลกั สูตรวิชา การแปรรปู ถ่วั ลิสง จำนวน 35 ช่วั โมง ระหวา่ งวนั ที่ 22 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันที่ 30 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2564 ณ กลุม่ แปรรปู ถัว่ ลสิ ง บา้ นหว้ ยสงิ ห์ หมู่ 1 ตำบลปง อำเภอปง จังหวดั พะเยา กศน.ตำบลปง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอปง สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั พะเยา

ก คำนำ การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแกป้ ัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ เศรษฐกิจชุมชน สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่ม่ันคง ม่ังค่ัง และมีงานทำอย่างย่ังยืน สำนักงาน กศน.จึงได้กำหนดหลักการในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำไว้ว่า ต้องเป็นการ ดำเนินงานท่ีมคี วามยดื หยนุ่ ด้านหลักสูตร ดังนัน้ การจดั ทำหลักสตู รอาชีพที่เกยี่ วข้องกับสาขาการความคดิ สร้างสรรค์ จงึ นับวา่ มคี วามสำคญั อยา่ งยิ่งการประกอบอาชีพในชมุ ชนถือว่ามีความสำคัญเปน็ อย่างมาก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปง โดย กศน.ตำบลปง ได้เห็นความสำคัญของ การพัฒนาทักษะอาชีพ จงึ ได้จัดทำหลักสูตร การแปรรปู ถ่ัวลิสง จำนวน 35 ช่ัวโมงข้ึน เพื่อเปน็ การสร้างอาชีพให้กับ ชุมชนและผู้ท่ีสนใจฝึกฝนอาชีพเพ่ือการมีงานทำในชุมชนได้นำความรู้ท่ีได้รับจากการอบรมไปเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชพี เพ่ือสรา้ งรายได้ให้กับตนเองและชุมชน ได้อย่างมน่ั คง กศน.ตำบลปง เมษายน 2564

สารบัญ ข คำนำ หนา้ สารบญั ก บทท่ี 1 บทนำ ข บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง 1 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การ 2 บทที่ 4 ผลทเี่ กิดข้นึ 11 บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ 12 ภาคผนวก 15

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญ การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศ ให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสรมิ ความเข้มแข็ง ให้แก่เศรษฐกิจชุมชน สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ ท่ีม่ันคง ม่ังคั่ง และมีงานทำอย่างยั่งยืน สำนักงาน กศน.จึงได้กำหนดหลักการในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำไว้ว่า ต้องเป็นการ ดำเนินงานท่ีมีความยืดหยุ่นดา้ นหลักสูตร ดังนน้ั การจัดทำหลกั สูตรอาชีพท่ีเกี่ยวขอ้ งกับสาขาการความคิดสร้างสรรค์ จงึ นับวา่ มคี วามสำคัญอยา่ งย่ิงการประกอบอาชีพในชุมชนถือวา่ มคี วามสำคญั เปน็ อยา่ งมาก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปง โดย กศน.ตำบลปง ได้เห็นความสำคัญของ การพัฒนาทักษะอาชีพ จึงได้จัดทำหลักสูตร การแปรรปู ถั่วลิสง จำนวน 35 ชั่วโมงขึ้น เพื่อเปน็ การสร้างอาชีพให้กับ ชุมชนและผู้ท่ีสนใจฝึกฝนอาชีพเพื่อการมีงานทำในชุมชนได้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชพี เพ่อื สรา้ งรายได้ให้กับตนเองและชุมชน ได้อยา่ งมั่นคง หลกั การของหลักสูตร 1. เป็นหลกั สูตรท่สี ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเรียนร้จู ากการลงมือปฏิบัติจริง 2. เป็นหลักสตู รทม่ี ีโครงสรา้ งยดื หยุน่ ท้ังด้านสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู้ จดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร หลักสตู รนใี้ ห้ความรู้และประสบการณ์เพื่อให้ผู้จบหลกั สตู รมีคณุ ลักษณะดังนี้ 1. เพือ่ มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะการแปรรปู ถวั่ ลสิ งได้ 2. เพ่ือสร้างอาชพี ให้กับชุมชน 1.2 จดุ มุ่งหมาย 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะการแปรรปู ถวั่ ลิสงได้ 2. มีความรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะการบรหิ ารจัดการในอาชีพการแปรรูปถว่ั ลิสงได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 1.3 ขอบเขตของโครงการ กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนกลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียนที่สนใจในอาชีพและต้องการอาชีพเสริม หลักสูตร การแปรรูปถ่ัวลิสง จำนวน 35 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 30 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564 ณ กลมุ่ แปรรูปถั่วลิสง บ้านหว้ ยสงิ ห์ หมู่ 1 ตำบลปง อำเภอปง จงั หวดั พะเยา

2 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง ถั่วลสิ ง ถัว่ ลิสง ช่ือสามญั Peanut, Groundnut, Earthnut, Goober, Pindar, Monkeynut ถ่ัวลสิ ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Arachis hypogaea L. จัดอยู่ในวงศถ์ วั่ (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE) และอยใู่ น วงศ์ย่อยถั่ว FABOIDEAE (PAPILIONOIDEAE หรือ PAPILIONACEAE)[1] ถ่วั ลิสง มชี ่ือท้องถ่นิ อ่นื ๆ วา่ ถัว่ คดุ (ประจวบคีรีขนั ธ)์ , ถั่วดนิ (ภาคเหนอื , ภาคอีสาน), ถ่วั ยิสง ถวั่ ยี่สง ถ่ัวลงิ (ภาค กลาง), ถั่วใตด้ นิ (ภาคใต้), เหลาะฮวยแซ (จนี -แตจ้ ๋วิ ), ถัว่ ยาสง (หนังสืออักขราภิธานศรับท์ของหมอปรดั เล) เป็นต้น ถ่วั ลิสงมีถิน่ ด้ังเดิมอยใู่ นเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้ ตง้ั แต่ลมุ่ นำ้ อเมซอนไปจนถงึ ประเทศบราซิล โดยถวั่ ลิสงในสกุล Arachis สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 19 ชนิด แต่สำหรับสายพันธ์ุทีป่ ลูกจะมีอยูเ่ พียงชนิดเดียวคอื Hypogaea ส่วนที่ เหลอื ทง้ั หมดจะเป็นสายพันธปุ์ ่า[1] การปลกู ถวั่ ลิสง มีอยู่ทว่ั ทุกภาคของประเทศไทย แต่จะมมี ากทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และใน สถานการณ์ปัจจุบันการผลิตถั่วลิสงน้นั ยังไมเ่ พยี งพอกับความต้องการใช้ในประเทศ จึงได้มกี ารนำเข้ามาจาก ต่างประเทศเพ่มิ มากขึน้ เรื่อย ๆ[4],[5] ลกั ษณะของถ่ัวลิสง • ต้นถ่ัวลสิ ง จดั เป็นพืชล้มลุก มลี ำต้นสงู ตัง้ แต่ 15-70 เซนติเมตร ซึ่งสว่ นต่าง ๆ ของตน้ ถ่ัวลิสงโดยท่ัวไปแลว้ จะมขี นเกดิ ข้นึ เชน่ ตามลำต้น กง่ิ ก้านใบ หใู บ ใบประดับ ริว้ ประดับ และกลีบรองดอก ยกเว้นเพยี งกลบี ดอกเทา่ นัน้ ที่จะไมม่ ขี น โดยลำตน้ ของถวั่ ลิสงจะมีอยู่ 2 ประเภท อยา่ งแรกคือ มีลำตน้ เป็นพุม่ ลำต้นตรง แตกก่ิงกา้ นสาขามาก และฝักออกเป็นกระจกุ ทีโ่ คน สว่ นอีกแบบเปน็ ลำตน้ แบบเลื้อยหรือก่ึงเลื้อย เจริญเติบโตตามแนวนอนทอดไปตามพน้ื ผวิ ดิน มีลักษณะเป็นพมุ่ เต้ยี ฝักจะกระจายตามข้อของลำต้น • รากถ่ัวลสิ ง มรี ากเป็นแบบระบบรากแกว้ รากอันแรกท่ีเจริญเรยี กว่า \"รากแก้ว\" ส่วนรากทแ่ี ตกออกมาจาก รากแก้วจะเรียกว่า \"รากแขนง\" รากท่ีแตกออกมาจากรากแขนงคือ \"รากขนออ่ น\" แต่มนี ้อยมาก บางสาย พนั ธอุ์ าจจะไม่มเี ลย และโดยท่ัวไปจะมีปมเกิดข้ึนบนรากแกว้ และรากแขนง ปมมีสีน้ำตาล ภายในปมมสี ีแดง เข้ม ซ่งึ ปมเหล่าน้เี กิดจากแบคทีเรียพวกไรโซเบียม เขา้ ไปอาศยั อยู่ภายในราก

3 • ใบถ่วั ลิสง ใบเกดิ สลบั กนั อยูบ่ นข้อลำต้นหลกั ในลักษณะคล้ายเกลยี ว ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ประกอบดว้ ยใบย่อย 2 คู่อยู่ตรงข้ามกนั ลักษณะของใบยอ่ ยเปน็ รปู ไข่กลับหรอื รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ใบมี ขนาดกวา้ งประมาณ 2-3 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร ขอบใบเรยี บ กา้ นใบรวมยาว ทโี่ คน ก้านใบรวมมีหูใบอยู่ 2 อัน มีขนาดใหญป่ ลายแหลม เหน็ ได้ชดั เจน ยาวประมาณ 2.5-3.5 เซนติเมตร สว่ น ก้านใบย่อยจะสั้นมาก ทโี่ คนไมม่ หี ใู บ

4 • ดอกถว่ั ลิสง ออกดอกเป็นชอ่ ในหนึ่งช่อประกอบไปด้วยดอกย่อย 3 ดอกขึน้ ไป และดอกจะเกดิ ตามมุมใบ ของลำตน้ หรือกง่ิ ส่วนมากเกิดบริเวณส่วนโคนของลำตน้ ในแตล่ ะช่อดอกจะบานไม่พร้อมกัน ดอกมสี ี เหลืองส้ม มีขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 0.9-1.4 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร ดอก เปน็ ดอกแบบสมบรู ณเ์ พศ กลบี ดอกมี 5 กลบี ดอกมีใบประดบั 2 กลบี มีรวิ้ ประดบั 4 กลีบ และดอกยังมี กลีบรองดอกสเี ขยี ว ส่วนก้านดอกจะส้นั มาก • ฝักถัว่ ลสิ ง ฝกั ของถ่ัวลิสงจะเกิดอยใู่ ตด้ นิ ลักษณะการเกดิ อาจจะแพรก่ ระจายหรือเกิดเป็นกระจุกกไ็ ด้ เปลอื กมลี ักษณะแข็งและเปราะ มลี ายเสน้ ชัด ฝักมีสีขาวนวลหรอื สีน้ำตาลออ่ น ๆ ในหน่ึงฝักจะมีเมล็ดอยู่ ประมาณ 1-6 เมล็ด[1]

5 • เมล็ดถ่วั ลิสง เมล็ดมเี ยอื่ หุม้ ต้ังแต่สขี าว สมี ว่ งแดง สีแดง และสนี ้ำตาลอ่อน ถดั จากเยอื่ หุ้มเมล็ดจะพบใบ เลยี้ งขนาดใหญ่และหนาจำนวน 2 อัน สรรพคุณของถ่ัวลสิ ง 1. ชว่ ยบำรุงรา่ งกาย ช่วยในการเจรญิ เตบิ โต (เมล็ด) 2. ช่วยบำรุงสมองและประสาทตา ชว่ ยเสริมสรา้ งความจำ และยงั มโี คลีนท่ชี ว่ ยควบคุมความจำอกี ด้วย (เมล็ด) 3. ช่วยใหค้ วามอบอนุ่ แกร่ า่ งกาย (เมล็ด) และช่วยใหค้ วามอบอุน่ แกผ่ วิ กาย (น้ำมันถั่วลิสง) 4. ชว่ ยลดความดนั โลหิตสงู (ใบ) โดยใชท้ ้ังกา้ นและใบสดหรือแห้ง (แหง้ ใช้ประมาณ 30 กรัม ถ้าสดใช้ประมาณ 40 กรมั ) นำมาตม้ กับนำ้ กิน (เมลด็ ) 5. ถ่ัวลิสงมีสารตา้ นเอนไซมโ์ ปรติเอส มีฤทธ์ิต่อต้านมะเร็ง และมีจเี นสเตอนิ ซ่ึงทำใหเ้ ส้นเลือดท่ีไปเลี้ยง เซลลม์ ะเรง็ ตบี ลง 6. ชว่ ยปอ้ งกันโรคหวั ใจ เน่อื งจากในถวั่ ลสิ งมสี ารที่ชว่ ยลดปรมิ าณของไขมันร้าย (LDL) จงึ ช่วยลดความเส่ยี ง ของภาวะไขมันอุดตันในเสน้ เลือดและภาวะหลอดเลอื ดแข็งตวั ซึ่งเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ โรคหัวใจ หาก รบั ประทานเป็นประจำจะช่วยลดโอกาสเสียชีวติ จากโรคหวั ไดถ้ ึงรอ้ ยละ 50 เมื่อเทยี บกับผู้ท่ไี ม่ได้ รับประทาน (เมล็ด) 7. กินถั่วลิสงอว้ นไหม ปกติแลว้ การรับประทานถั่วจะช่วยลดนำ้ หนักและความอว้ นครับ เพราะมีไขมันไม่อ่ิมตัว ซึ่งทำให้อิม่ ท้องนาน ทำใหร้ ับประทานอาหารไดน้ อ้ ยลง และยังชว่ ยยับยัง้ ไขมันเลวที่เปน็ ผลเสียตอ่ ร่างกาย ด้วยการรบั ประทานแบบดิบ ๆ หรือนำมาต้ม แต่ถา้ หากเป็นถ่ัวคัว่ ถั่วทอด ถั่วอบ อยา่ งนี้มันผ่านความร้อน และนำ้ มัน ทำให้ไขมนั ไม่อ่ิมตัวทม่ี ใี นถั่วลสิ งมันหายไป หากรับประทานมาก ๆ ก็ทำให้อ้วนได้ แต่ทัง้ น้ีถ้า หากรับประทานแต่พอประมาณกไ็ มอ่ ว้ นแนน่ อนครับ และมีคำแนะนำวา่ ไม่ควรรบั ประทานเกิน 1 กำมือ ถ่วั ลสิ งอดุ มไปด้วยไขมันไม่อม่ิ ตวั ซ่ึงเปน็ ตัวช่วยลดระดับความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และยังช่วยลด ความเส่ียงของการเกิดโรคหวั ใจอกี ด้วย (เมลด็ ) 8. ช่วยรักษาโรคเกล็ดเลอื ดต่ำ ด้วยการนำเปลือกถวั่ ลิสงประมาณ 10 กรมั ต้มกับน้ำดื่มทุกวัน (เมลด็ )[7] 9. ชว่ ยบำรงุ ไขมันในรา่ งกาย (เมล็ด) 10. ชว่ ยลดความเส่ียงของโรคเบาหวาน และเปน็ อาหารท่ีดีตอ่ ผู้ปว่ ยเบาหวาน เนื่องจากช่วยควบคมุ ระดับ น้ำตาลในเลือดและอินซูลนิ ได้ (เมลด็ ) 11. ช่วยบำรุงปอด ชว่ ยหลอ่ ลืน่ ปอด รกั ษาอาการไอแหง้ เรื้อรัง ด้วยการใช้เมลด็ แหง้ ประมาณ 60-100 กรัม นำมาบดชงหรอื ต้มกนิ (เมลด็ ) 12. ชว่ ยรักษาเยอ่ื ตาอกั เสบอย่างเฉยี บพลนั ชนดิ ท่ีตดิ ต่อได้ (ข้อมูลทางคลนิ กิ ) 13. ชว่ ยแกอ้ าการไอเรือ้ รงั และอาการคล่นื ไส้ (เมล็ด) 14. ชว่ ยรกั ษาอาการไอกรน ชอบนอนกรนในเด็ก ด้วยการใช้เมล็ดถว่ั นำมาต้มใส่น้ำตาลกรวดแลว้ รบั ประทาน (เมลด็ ) 15. ช่วยรกั ษาอาการนอนละเมออย่างผิดปกติ (ข้อมลู ทางคลินิก)

6 16. ชว่ ยระบายทอ้ ง (น้ำมันจากเมลด็ ) 17. ช่วยบำรุงกระเพาะ และในถวั่ ยงั อดุ มไปด้วยเส้นใยอาหารท่ีสามารถละลายน้ำได้ จงึ ชว่ ยในขบวนการทำ ความสะอาดร่างกายแบบเปน็ ธรรมชาติ(เมล็ด) 18. ชว่ ยสมานแผลในกระเพาะอาหาร (เมล็ด) 19. ช่วยรกั ษาโรคบดิ แบคทเี รียอย่างเฉียบพลนั 20. ช่วยรกั ษาพยาธิไส้เดือนที่อดุ ตันในลำไส้(ข้อมูลทางคลินิก) 21. ชว่ ยรกั ษาพยาธไิ สเ้ ดือนที่อดุ ตันในลำไส้ (ข้อมลู ทางคลินิก) 22. ช่วยหลอ่ ลืน่ ลำไส้ (น้ำมนั จากเมล็ด) 23. ถัว่ ลิสงต้มกับเกลือใช้รบั ประทานชว่ ยบรรเทาอาการโรคฝีในทอ้ งได้ (เมล็ด) 24. ช่วยรักษาโรคตบั อักเสบ เปน็ ดีซ่านอยา่ งเฉยี บพลัน (ขอ้ มลู ทางคลนิ ิก) 25. สรรพคณุ ถ่วั ลิสง เมลด็ ช่วยบำรงุ มา้ ม (เมล็ด) 26. ชว่ ยห้ามเลอื ด และรกั ษาอาการเลอื ดออกง่ายในโรคฮีโมฟีเลยี (Haemophilia) (ฤทธ์ทิ างเภสชั วทิ ยา) 27. ใบสดนำมาตำใช้พอกรกั ษาแผลฟกช้ำ แผลหกล้มจากการกระทบกระแทก และแผลมหี นองเรื้อรงั (ใบ) โดยใชท้ ้ังกา้ นและใบสดหรอื แหง้ (แหง้ ใช้ประมาณ 30 กรัม ถ้าสดใชป้ ระมาณ 40 กรัม) นำมาตม้ กบั นำ้ กิน หรือใช้ภายนอกนำมาตำแลว้ พอก 28. ชว่ ยแกอ้ าการปลายเทา้ เปน็ เหนบ็ ชา (เมล็ด)[3] ใหใ้ ชเ้ มล็ดทมี่ เี ยื่อประมาณ 100 กรัม ถั่วแดง 100 กรัม และ เปลือกของพุทราจีน 100 กรัม แลว้ นำทั้งหมดมาตม้ รับประทานหลายครง้ั ๆ

29. ชว่ ยบำรงุ ไขข้อ บำรุงเส้นเอน็ (เมล็ด) 7 30. นำ้ มันจากเมล็ดใช้ถทู าแก้อาการปวดตามข้อและอาการตามกล้ามเนื้อได้ (น้ำมนั จากเมลด็ ) 31. ใชฉ้ ดี เป็นยาสลบ (ขอ้ มูลทางคลินิก) 32. น้ำมนั จากถว่ั ลสิ งท่ีใชส้ ำหรบั เปน็ ยาฉีด มฤี ทธิ์ชว่ ยยับยั้งการเจริญเตบิ โตของเช้ือโรคบางชนิดได้เลก็ น้อย (ฤทธ์ิทางเภสชั วทิ ยา) 33. ช่วยบำรุงนำ้ นมสำหรบั สตรหี ลังคลอดบุตร (เมล็ด)[3] ด้วยการต้มถวั่ ลิสง 120 กรัมกับขาหมู 1 ขา กินแลว้ จะ ชว่ ยทำใหม้ ีนำ้ นมมากขึ้น 34. ถว่ั ลิสงอุดมไปด้วยแมกนีเซียม ซึง่ ช่วยรกั ษาสมดลุ ของฮอรโ์ มนเพศ ชว่ ยในการทำงานของเอนไซม์ตา่ ง ๆ ใน รา่ งกาย และช่วยใหก้ ลา้ มเน้อื คลายตวั 35. เยื่อหมุ้ เมล็ดของถั่วลิสงสามารถช่วยยับยงั้ การสลายตวั ของ Fibrin ได้ และชว่ ยกระตุ้นกระดกู ให้ผลติ เกล็ด เลอื ด เพิ่มสมรรถภาพในการหดตวั ของเส้นเลอื ดฝอย และชว่ ยในการหา้ มเลือด 36. จริง ๆ แลว้ สรรพคุณถว่ั ลิสงยังมมี ากกว่าน้ีครบั แต่ข้อมลู เหลา่ นนั้ ยงั ไม่มีแหลง่ อา้ งองิ ทีน่ า่ เช่อื ถอื เชน่ สรรพคุณแก้อาการนอนไมห่ ลับ ปวดศีรษะ ลดเสมหะ แก้ไสเ้ ลือ่ น ขบั ระดูขาวของสตรี ลดอาการบวมนำ้ จากไต เปน็ ตน้ ประโยชนข์ องถ่ัวลสิ ง 1. ถ่ัวลิสงเป็นพืชทม่ี ีคุณค่าทางโภชนาการสูง และเป็นแหล่งของโปรตีนและพลังงาน โดยมโี ปรตีนเทียบเท่ากับ ถ่ัวแดง ถั่วดำ และถั่วเขียว แต่น้อยกว่าถั่วเหลือง และยังมีกรดอะมิโนอีกหลายชนิดที่จำเป็นต่อร่างกาย ถ่ัวลิสงมีสารอาหารมากกว่า 30 ชนิด มีโปรตีนมากกว่าถ่ัวเปลือกแข็งชนิดอื่น ๆ ให้โซเดียมต่ำ มีไขมันไม่ อมิ่ ตวั น้อย และยังปราศจากคอเลสเตอรอลดว้ ย 2. ใชเ้ ป็นสว่ นประกอบในอาหารคาวหวานต่าง ๆ[2] เมนูถ่วั ลิสง เช่น แกงฮงั เล นำ้ พริกคั่ว ถวั่ ลิสงตม้ กระดูกหมู ถั่วลิสงน่ึงขา้ วเหนยี วยัดไสห้ มูสบั ไกส่ ามอย่าง เมยี่ งคำ ส้มตำไทย หรอื สารพัดน้ำจ้มิ เช่น นำ้ จม้ิ หมสู ะเต๊ะ น้ำจิม้ มันทอด นำ้ พริกเผาทรงเคร่ือง น้ำพริกถ่ัวปลานึ่ง หรอื ใช้เป็นเครื่องปรุงรสกว๋ ยเต๋ยี ว แหนม อาหาร จำพวกยำต่าง ๆ และยงั นำไปผสมกับขา้ วน่ึงทำเป็นข้าวต้มมดั ใส่ขา้ ววิตู ข้าวหลามขา้ วเม่า หรือทำเปน็ ไส้ ขนมชนิดตา่ ง ๆ เชน่ ขนมไส้เทยี น ถั่วลสิ งควั่ ถ่ัวลิสงทอด ถั่วลิสงตม้ ถั่วลิสงปน่ ถั่วลิสงบด ถว่ั ลสิ งชุบแปง้ ทอด ถ่วั ตัด ถ่วั ตบุ๊ ตั๊บ ถั่วกระจก ถว่ั ลิสงเคลือบรสต่าง ๆ ถั่วลสิ งทอดคลกุ เนย เนยถว่ั ลิสงแปง้ ถ่ัวลสิ ง ใช้ ผสมในลูกกวาด ช็อกโกแลต เป็นต้น 3. ถั่วลสิ งสามารถนำมาเพาะเป็นถว่ั งอกได้ เช่นเดยี วกบั ถั่วเขียว ถ่วั เหลือง ถั่วแดง ถวั่ ดำ และถ่นั ลันเตา แต่จะ ไม่เป็นที่นิยมมากนัก 4. น้ำมนั จากถั่วลิสงสามารถนำมาใช้แทนนำ้ มันมะกอกได้ 5. สำหรับถวั่ ลสิ งป่าทีเ่ ปน็ พชื ยนื ตน้ สามารถนำมาใช้เป็นพืชอาหารสตั ว์ได้ 6. ลำต้นและใบนำมาใชท้ ำป๋ยุ หรือใชเ้ ล้ยี งสัตวเ์ คย้ี วเอื้องได้ เช่น ววั แพะ แกะ เปน็ ตน้ สว่ นกากท่ีเหลือจากการ สกดั นำ้ มนั กส็ ามารถนำมาใชเ้ ป็นอาหารสตั ว์ไดด้ ี ส่วนเปลอื กฝกั ใช้ทำเปน็ ปยุ๋ หมกั ใช้เพาะเห็ด ทำเชื้อเพลงิ

8 ใชค้ ลุมดินปลูกตน้ ไม้ หรือใสใ่ นกระถางตน้ ไม้เพ่ือเป็นปยุ๋ และรักษาความชื้น หรอื นำมาใช้ผสมกบั กากน้ำตาล เพ่อื ใช้เปน็ อาหารวัว นอกจากน้ยี งั ใช้เป็นส่วนผสมในวสั ดุก่อสรา้ งโดยใช้ผสมในพลาสติก คอนกรีต แผน่ พน้ื ได้เช่นเดยี วกบั เศษไม้ได้อกี ดว้ ยและทำเป็นยาฆ่าแมลงได้อกี ดว้ ย 7. ถั่วลสิ งสามารถนำมาแปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรปู ต่าง ๆ ได้อยา่ งหลากหลาย 8. เนื่องจากถว่ั ลสิ งมนี ำ้ มันประมาณ 47% จงึ นิยมนำเมลด็ ของถั่วของลิสงไปใชใ้ นอตุ สาหกรรมสกัดน้ำมนั 9. ทำเปน็ นำ้ มันสำหรับทอดอาหาร มีคณุ สมบัติชว่ ยลดคอเลสเตอรอล และไม่ทำให้เส่ียงต่อการเกิดอนุมลู อสิ ระ แต่มีขอ้ เสยี คอื เปน็ น้ำมันที่เหม็นหนื ง่าย ใช้ทอดในความร้อนสูง ๆ ไมไ่ ด้ แตใ่ ช้ผัด ทอด ตม้ ทำนำ้ สลัด ไดต้ ามปกติ 10. นอกจากนย้ี งั ใชใ้ นอตุ สาหกรรมสบหู่ รอื แชมพู อุตสาหกรรมปน่ั ดา้ ย ใชท้ ำน้ำมนั หลอ่ ล่นื สำหรบั เคร่ืองจักร 11. ใช้เปน็ ตัวทำละลายของยาฉีดที่ใช้ฉดี เขา้ กล้ามเนื้อบางชนิด หรอื นำมาใชท้ ำปลาสเตอร์ ทำเป็นยาเตรียม พวก Liniments 12. ประโยชน์ของเนยถวั่ ลสิ ง ทีน่ า่ สนใจได้แก่ การนำมาทำเปน็ นำ้ มันหลอ่ ลน่ื แก้ปัญหาเร่ืองสนมิ ขน้ึ หรือ ชนิ้ ส่วนอะไหลต่ ิดขัด ใชส้ อดไส้เคลอื บเม็ดยาเพื่อใหส้ นุ ัขสามารถกนิ ยาไดง้ ่าย ๆ (เพราะเป็นอาหารโปรดของ มนั ) หรอื นำมาใช้แทนเนยท่ัวไปได้ หรือนำมาใช้ในการล่อหนู (เนยทวั่ ไปทำไม่ได้ แต่เนยถ่ัวลสิ งทำได)้ หรอื นำมาใช้ในการลอกฉลากกาว ดว้ ยการใชเ้ นยถวั่ ลิสงถใู ห้ทั่วฉลาก แล้วอกี ด้วยผ้า ฉลากกาวที่ตดิ แนน่ ก็จะ หลุดออกมาโดยงา่ ย หรอื นำมาชว่ ยดบั กล่ินคาวปลาตอนทอดปลา หรือนำมาใชท้ ำความสะอาดเฟอร์นเิ จอร์ หรือการนำมาใชใ้ นการกำจัดคราบกากของหมากฝรั่งให้ออกอยา่ งงา่ ยดาย และยังสามารถนำมาใช้แทนเจ ลโกนหนวดไดเ้ ป็นอย่างดี หากครมี โกนหนวดหมดโดยกะทันหนั คณุ คา่ ทางโภชนาการของถั่วลสิ ง ตอ่ 100 กรัม • พลงั งาน 570 กิโลแคลอรี • คารโ์ บไฮเดรต 21 กรมั • นำ้ 4.26 กรมั

9 • • • นำ้ ตาล 0 กรมั • เส้นใย 9 กรัม • ไขมนั 48 กรมั • ไขมันอิม่ ตัว 7 กรัม • ไขมันไม่อ่มิ ตวั เชงิ เดยี่ ว 24 กรัม • ไขมนั ไม่อมิ่ ตัวเชิงซ้อน 16 กรัม • โปรตีน 25 กรมั • วติ ามินบี 1 0.6 มิลลิกรมั 52% • วิตามินบี 3 12.9 มลิ ลิกรัม 86% • วติ ามินบี 6 1.8 มลิ ลิกรมั 36% • วติ ามินบี 9 246 ไมโครกรมั 62% • วิตามินซี 0 มลิ ลิกรัม • ธาตแุ คลเซยี ม 62 มลิ ลกิ รัม 6% • ธาตุเหล็ก 2 มลิ ลิกรมั 15% • ธาตแุ มกนเี ซยี ม 184 มิลลกิ รัม 52% • ธาตฟุ อสฟอรสั 336 มิลลิกรมั 48% • ธาตโุ พแทสเซยี ม 332 มลิ ลกิ รัม 7% • ธาตุสังกะสี 3.3 มิลลกิ รัม 35% รอ้ ยละของปรมิ าณแนะนำท่ีร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรบั ผู้ใหญ่ (ข้อมลู จาก : USDA Nutrient database)

โทษของถว่ั ลสิ ง 10 • • ถว่ั ลสิ งเปน็ อาหารกลมุ่ เส่ียงท่ีมกั ตรวจพบสารพิษซึ่งเกดิ จากเชื้อราชนดิ หนงึ่ ที่เรียกวา่ สารอะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) ซงึ่ เปน็ สารพิษรา้ ยแรงต่อสุขภาพของผูบ้ ริโภคโดยตรงอย่างเฉยี บพลัน (รวมไปถงึ สตั ว์เล้ยี งดว้ ย) หากไดร้ ับในปริมาณมากอาจเปน็ สาเหตุทำให้เกิดโรคมะเร็งทีต่ ับ หวั ใจ และสมองบวม อาจทำให้เกดิ อาการ ชัก หายใจลำบาก และตับถกู ทำลาย (ในประเทศไทยกำหนดให้สารชนิดนี้ไม่เกนิ 20 ppb) โดยสารพิษชนิด นีส้ ามารถปนเปื้อนมาตั้งแตใ่ นชว่ งการเพาะปลูก การเกบ็ เกี่ยว การตากแหง้ รวมไปถงึ การเกบ็ รกั ษาก่อนถึง มือผู้บรโิ ภค โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในช่วงฤดฝู น เชอ้ื ราชนิดนีจ้ ะเจรญิ เติบโตได้ดีมาก และการปนเปือ้ นของสาร กจ็ ะเริ่มตั้งแตใ่ นชว่ งการสร้างฝัก • สำหรับบางรายอาจมีอาการแพ้ถวั่ ลิสงได้ ถา้ หากไม่รนุ แรง กอ็ าจจะเป็นผ่นื คันตามตวั เป็นลมพษิ ซึง่ กรณีนี้ กนิ ยาแก้แพ้กช็ ว่ ยได้ รวมไปถึงอาจมีอาการอาเจียน ไอหอบ หายใจไมส่ ะดวก และมีอาการปวดทอ้ ง แต่ถา้ หากมีอาการแพข้ นั้ รนุ แรงอาจทำใหช้ อ็ กและเสยี ชีวิตไดเ้ ลย โดยคนไข้อาจมีอาการตาบวม ปากบวม แน่น หนา้ อก หายใจไม่ออก ความดนั ตก จนเกิดภาวะช็อกและหมดสติ ให้รบี ไปพบแพทยเ์ พ่ือรับการรักษา ในทันที ซ่ึงจากการสำรวจทั้งในและตา่ งประเทศพบวา่ ใน 1,000 คน อาจมีผแู้ พ้ถ่วั ลิสงประมาณ 2-14 คน และมผี เู้ สียชีวิตจากการแพ้ถวั่ ลิสงมากกว่า 100 คนต่อปี ซง่ึ สาเหตอุ าจเกิดจากภมู คิ ุ้มกนั ของบคุ คล แปรปรวน ทำใหไ้ มส่ ามารถรับโปรตีนจากถว่ั ลิสงท่ีเปน็ อาหารท่วั ไปของคนธรรมดาได้ จนเกิดการแพโ้ ปรตนี ในถ่วั ลสิ ง แต่การแพก้ ็ไม่จำเป็นวา่ จะต้องแพ้โปรตนี จากแหล่งอาหารอื่นดว้ ย เพราะอาหารแต่ละอย่างมี โครงสร้างไมเ่ หมือนกัน (รศ.พญ.พรรณทิพา ฉัตรชาตรี หนว่ ยโรคภูมิแพ้ ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ) • ผู้ที่มีอาการของโรคทเี่ กดิ จากความช้นื เย็น หรือเม่ืออากาศเยน็ และมคี วามชนื้ จะทำให้รา่ งกายเจ็บปว่ ยได้ ง่าย ทำใหเ้ ลือดไหลเวียนในร่างกายได้ไม่ดี หรือมีอาการปวดตามกลา้ มเน้ือ มีอาการปวดตงึ ตามข้อต่อ หาก มอี าการรนุ แรงหรือกำลงั ท้องเสีย ไมค่ วรรับประทานถวั่ ลิสงเดด็ ขาด • ถ่วั ลิสงมีสารพิวรนี (Purine) ในระดบั ปานกลาง ผปู้ ่วยโรคเกาตค์ วรรบั ประทานในปรมิ าณทจ่ี ำกัด เพราะ สารดังกล่าวอาจเปน็ ตัวกระตุ้นทำใหอ้ าการของข้ออักเสบกำเรบิ ขนึ้ ได้

คำแนะนำในการรบั ประทานถ่ัวลิสง • สารอะฟลาทอกซินในถั่วลิสงจะเจริญเติบโตได้ดีในที่ที่มีความช้ืน และสารพิษชนิดนี้ยังเป็นสารท่ีทนความ ร้อนได้สูงถึง 260-268 องศาเซลเซียสจึงจะสลายตัว แต่สารดังกล่าวยังสามารถเสื่อมสลายไปได้ด้วยการใช้ แสงอัลตร้าไวโอเลต แสงแดด และรังสีแกมมา รวมไปถึงในสภาพท่ีเป็นด่างและถูกทำลายได้ด้วยคลอรีน การหุงต้มด้วยวิธีธรรมดาจะไมส่ ามารถทำลายพษิ ดังกล่าวได้ ดังนั้นควรเกบ็ ไว้ในท่ีแห้งและเกบ็ ไว้ในภาชนะ ที่ปดิ ฝาได้สนิท • การสังเกตเชื้อราสามารถทำได้ในเบื้องต้นด้วยตาเปล่า ถ้าหากถ่ัวลิสงค่ัวป่นที่ซ้ือมามีสีเขียวอมเหลือง มีสี เขียวเข้ม หรือมีสีที่ผิดไปจากปกติ กไ็ ม่ควรนำมารับประทาน และไมค่ วรเก็บถั่วลสิ งไว้นานกวา่ 1 เดือนเพ่ือ ปอ้ งกันการเกดิ เช้ือรา • ทางที่ดีท่ีสุดก็คือการนำถั่วลิสงมาคั่วรับประทานเอง โดยเลือกกินเฉพาะถ่ัวที่ยังใหม่ ๆ หรือถั่วท่ีไม่มีสีคล้ำ และไม่เหลือง และควรหลกี เลี่ยงการรบั ประทานถั่วลสิ งและถั่วลสิ งป่นทม่ี สี ีเหลอื งคล้ำหรือมีสีดำ หรอื มกี ล่ิน เหมน็ หรือกลน่ิ อบั • การบรโิ ภคถว่ั เพื่อการลดนำ้ หนกั ในระยะยาว ควรรบั ประทานแตพ่ อดีและจำกดั การรับประทานถ่ัวเปลือก แข็งเพยี งวนั ละประมาณ 30 กรัมตอ่ วัน

11 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนินการ 3.1 กลุ่มเปา้ หมาย เชิงปริมาณ ประชาชนท่วั ไปในพื้นท่ตี ำบลปง จำนวน 15 คน เชงิ คุณภาพ ผเู้ ข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในทำการแปรรปู ถ่ัวลิสง เพ่ิมช่องทางในการประกอบอาชีพให้ สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม มีเจตคติท่ีดีในการ ประกอบอาชีพ สามารถนำความรู้ที่ได้ประยุกต์ใช้เป็นแนวทางพัฒนาเป็นอาชีพเพ่ิมรายได้ให้กับตนเองแล ะ ครอบครัวได้ 3.2 ขัน้ ตอนดำเนนิ การ 3.2.1.ขน้ั วางแผน(Plan) - สำรวจกลมุ่ เปา้ หมาย ความตอ้ งการอาชพี ของประชาชน - วิเคราะหข์ ้อมลู 3.2.2.ขัน้ ดำเนนิ การ(Do) -ลงทะเบียน -จัดฝกึ อบรมโดยทีมงานวิทยากร ตามหลักสูตร/โปรแกรมกำหนดไว้ 3.2.3.ข้ันตรวจสอบ(Check) -นเิ ทศตดิ ตามผล -สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน 3.2.4.ขน้ั ปรบั ปรงุ แก้ไข(Action) -นำผลการสรุปมาปรบั ปรงุ แก้ไข 3.3 เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินคร้ังน้ี คือแบบสอบถามความพึงพอใจหลังจากเสร็จส้ินหลักสูตรและแบบ ตดิ ตามโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน วิชา การแปรรปู ถั่วลิสง 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู - ข้อมลู จากใบลงทะเบยี นผเู้ ขา้ รว่ มวิชาชีพ หลกั สตู ร การแปรรูปถว่ั ลสิ ง - ขอ้ มูลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยการแจกใหผ้ ้เู ข้ารว่ มหลกั สตู รจำนวน 15 ชุด 3.5 การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผปู้ ระเมนิ ได้ใช้วิธการวิเคราะหข์ ้อมลู ในเชงิ ปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ ในเชงิ ปริมาณใชส้ ถติ พิ รรณนา ในการ วเิ คราะห์ข้อมูล และใชโ้ ปรแกรมทางคอมพวิ เตอร์ในการประมวลผลขอ้ มลู

12 บทท่ี 4 ผลท่เี กิดขึน้ ในการจดั ทำหลักสตู รวชิ าชีพ มวี ัตถุประสงค์ คือ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะการแปรรปู ถ่วั ลสิ งได้ 2. มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และทักษะการบริหารจัดการในอาชีพการแปรรูปถ่ัวลิสงได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ข้อมลู ที่จะนำมาประกอบการประเมนิ มาจากผลที่ไดจ้ ากการวิเคราะหแ์ บบสอบถามดงั น้ี ขอ้ มลู ท่วั ไป ตารางท่ี 1 จำนวนร้อยละของเพศ ผู้เข้าร่วมหลักสตู ร รายการ จำนวน ร้อยละ เพศ 3 20.00 ชาย 12 80.00 หญิง แผนภมู แิ สดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 2 จำนวนร้อยละของอายขุ องผูเ้ ข้าร่วมหลักสูตร 13 รายการ จำนวน รอ้ ยละ ช่วงอายุ 0.00 6.67 ต่ำกวา่ 15 ปี 0 66.66 26.67 15 – 39 ปี 1 40 – 59 ปี 10 60 ปีขน้ึ ไป 4 แผนภมู แิ สดงอายขุ องผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางท่ี 3 ร้อยละของระดบั การศกึ ษาของผู้เขา้ รว่ มหลกั สตู ร รายการ จำนวน ร้อยละ ระดบั การศกึ ษา 1 6.67 ตำ่ กวา่ ป.4 10 66.66 ประถมศึกษา 1 6.67 ม.ตน้ 3 20.00 ม.ปลาย 0 0.00 อ่ืนๆ................. แผนภมู แิ สดงระดับการศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถาม

14 ตารางที่ 4 จำนวนรอ้ ยละของความพึงพอใจตอ่ หลักสูตรของผู้ตอบแบบสอบถาม ประเด็นวดั ความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ท่ีสุด(5) (4) กลาง(3) (2) ที่สุด(1) 1. เนอ้ื หาของหลกั สูตรตรงกับความ จำนวนคน 6 9 - - - ต้องการ คดิ เป็นร้อยละ 40.00 60.00 - - - 2. เนอ้ื หาเพียงพอตอ่ ความต้องการ จำนวนคน 7 8 - - - คิดเป็นรอ้ ยละ 46.67 53.33 - - - 3. เนอ้ื หาปัจจุบันทันสมยั จำนวนคน 5 91 - - คดิ เป็นร้อยละ 26.67 60.00 6.67 - - 4. เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการ จำนวนคน 4 10 1 - - พัฒนาคณุ ภาพชีวติ คิดเป็นร้อยละ 26.67 66.66 6.67 - - 5. การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม จำนวนคน 6 81 - - คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.00 53.33 6.67 - - 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับ จำนวนคน 4 92 - - วัตถุประสงค์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.67 60.00 13.33 - - 7. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา จำนวนคน 5 82 - - - - คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.67 53.33 13.33 - - - - 8. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับ จำนวนคน 6 81 - - กลุ่มเป้าหมาย คิดเป็นรอ้ ยละ 40.00 53.33 6.67 - - 9. วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับ จำนวนคน 4 92 - - - - วัตถุประสงค์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.67 60.00 13.33 - - 10. วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่อง จำนวนคน 4 8 - - - ทถ่ี ่ายทอด คิดเป็นรอ้ ยละ 26.67 53.33 - - - - - 11. วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ่ือ จำนวนคน 6 8 - - - เหมาะสม คดิ เป็นร้อยละ 40.00 53.33 - - - 12. วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและ จำนวนคน 6 9 - - - - - ซกั ถาม คิดเป็นร้อยละ 40.00 60.00 - - - 13. สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และส่งิ อำนวย จำนวนคน 7 8 - - - ความสะดวก คิดเป็นรอ้ ยละ 46.67 53.33 - 14. การสอื่ สาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้ จำนวนคน 5 91 เกิดการเรยี นรู้ คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 60.00 6.67 15. การบรกิ าร การช่วยเหลอื และการ จำนวนคน 7 8 - แกป้ ญั หา คิดเป็นร้อยละ 46.67 53.33 -

15 บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ ในการจัดทำหลักสตู รวิชาชพี มีวัตถปุ ระสงค์ คอื 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะการแปรรูปถ่วั ลสิ งได้ 2. มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะการบรหิ ารจัดการในอาชีพการแปรรปู ถั่วลิสงได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ สรุป ลักษณะท่วั ไปของกลุ่มเป้าหมาย พบวา่ เปน็ เพศชาย ร้อยละ 20.00 หญงิ 80.00 มอี ายุต้ังแต่ 30 ปี ขึน้ ไป ร้อยละ 100 ระดบั การศึกษาส่วนใหญ่จบในระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเป็น ร้อยละ 100 ผลทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ความพงึ พอใจจากแบบสอบถามดังน้ี 1. เนือ้ หาตรงตามความต้องการ อยใู่ นระดับมาก รอ้ ยละ 60.00 2. เนอื้ หาเพยี งพอต่อความต้องการ อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 53.33 3. เน้ือหาปจั จุบนั ทนั สมัย อยู่ในระดบั มาก รอ้ ยละ 60.00 4. เนื้อหามีประโยชนต์ ่อการนำไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 66.66 5. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม อยใู่ นระดับมาก ร้อยละ 53.33 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ อยู่ในระดบั มาก ร้อยละ 60.00 7. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อยใู่ นระดับมาก ร้อยละ 53.33 8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย อยู่ในระดับมาก รอ้ ยละ 53.33 9. วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ อยูใ่ นระดบั มาก ร้อยละ 60.00 10. วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องท่ีถา่ ยทอด อยใู่ นระดับมาก รอ้ ยละ 53.33 11. วิทยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม อยู่ในระดบั มาก ร้อยละ 53.33 12. วิทยากรเปิดโอกาสให้มสี ่วนรว่ มและซกั ถาม อยู่ในระดับมาก รอ้ ยละ 60.00 13. สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และส่งิ อำนวยความสะดวก อยู่ในระดบั มาก ร้อยละ 53.33 14. การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ อยใู่ นระดบั มาก ร้อยละ 60.00 15. การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา อยใู่ นระดับมาก ร้อยละ 53.33 สรปุ ความพึงพอใจของวธิ ีการจดั กจิ กรรมและใหค้ วามรอู้ ยูใ่ นระดับมากและมากท่ีสุด ร้อยละ 92.44 อภปิ รายผล ผรู้ ่วมเขา้ หลกั สตู รมีความรู้ ความเข้าใจมีความพึงพอใจในหลกั สูตรสามารถนำความร้ทู กั ษะที่ได้ สามารถ นำไปใช้ประกอบอาชพี และทำเป็นอาชพี เสริมได้ จุดเดน่ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมีความสนใจเกี่ยวกับการแปรรูปถ่ัวลิสง สว่ นใหญต่ ้องการใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ตอ้ งการพฒั นาตนเอง และทำให้มอี าชีพเสริม ข้อเสนอแนะ -

ภาคผนวก

แบบประเมินความพึงพอใจ หลกั สูตร การแปรรูปถัว่ ลสิ ง จำนวน 35 ชั่วโมง ระหวา่ งวนั ที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันท่ี 30 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564 สถานที่จัด ณ กลมุ่ แปรรูปถ่วั ลิสง บา้ นหว้ ยสงิ ห์ หมู่ 1 ตำบลปง อำเภอปง จังหวัดพะเยา ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผู้ประเมนิ ความพึงพอใจ เพศ  ชาย  หญิง อาย.ุ ...............ปี วุฒกิ ารศกึ ษา...................... อาชพี เกษตรกร คำช้แี จง 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครื่องหมาย ✓ ในช่องวา่ งระดับความพึงพอใจตามความคิดเหน็ ของทา่ น ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเน้อื หา ท่สี ุด กลาง ที่สุด 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ 2 เน้ือหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปจั จบุ นั ทนั สมยั 4 เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 9 วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรอ่ื งท่ถี ่ายทอด 11 วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่งิ อำนวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ........................................................................................................................................................................ ............... .......................................................................................................................................................................................



คณะผู้จดั ทำ ที่ปรกึ ษา 1. นายรัฐวัฒ นธุ รรม ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอปง 2. นายปฐมพงษ์ สมเชอ้ื ครูผู้ช่วย คณะทำงาน 1. นายพิรุณ กุลชวาล ครู กศน.ตำบล 2. นางจรรยา ยงิ่ บญุ มา ครูผสู้ อนคนพกิ าร 3. นางสาวสายใจ สุขประสาร ครูอาสาสมัครฯ ผู้รวบรวม/เรียบเรียง ครู กศน.ตำบล นายพริ ุณ กลุ ชวาล ผู้วเิ คราะหข์ ้อมลู จากแบบประเมนิ ครู กศน.ตำบล นายพิรุณ กลุ ชวาล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook