Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Proceeding

Proceeding

Published by Wanna Sirimanapong, 2020-12-07 18:19:09

Description: ประชุมวิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๓ ของสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้ำไทย

Search

Read the Text Version



สมาคมสัตวแพทยส์ ตั ว์น้าไทย ณ ห้องประชุมชนั ๔ (หอ้ งทองฑีฆาย)ุ ส้านักงานสัตวแพทยสภา อ้าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๒

ค้ากลา่ วรายงาน พิธีเปิดการประชุมวิชาการและการประชมุ ใหญส่ ามัญประจ้าปี 2563 ของสมาคมสัตวแพทยส์ ัตว์น้าไทย ภายใตแ้ นวคิด “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries การเปลย่ี นแปลงทางวทิ ยาศาสตร์สัตวน์ ้าและการประมง” โดย รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. นนั ทรกิ า ชันซื่อ นายกสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย วันพุธที่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ เวลา ๙.๐๐ น. ณ หอ้ งประชมุ ชัน ๔ (หอ้ งทองฑฆี าย)ุ ส้านกั งานสตั วแพทยสภา อา้ เภอเมือง จังหวดั นนทบรุ ี กราบเรียนท่านรองอธิบดีกรมประมง ดร.วิชาญ องิ ศรีสว่าง สมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย มีความปิติอย่างยิ่งที่ท่านรองอธิบดีกรมประมงได้กรุณาให้เกียรติ มาเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจ้าปี ๒๕๖๓ ของสมาคม สัตว-แพทย์สัตว์น้าไทย และให้เกียรติปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “อนาคตอุตสาหกรรมสัตว์น้าไทยในยุค New Normal” นอกจากนียังให้เกียรติมาเป็นตัวแทนของกรมประมงในการเจรจาความร่วมมือระหว่าง กรมประมง และสมาคมสตั วแพทยส์ ตั ว์น้าไทยอกี ดว้ ย ๓

สมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย เป็นองค์กรวิชาชีพที่ด้าเนินการโดยไม่เก่ียวข้องกับผลประโยชน์ ทางดา้ นการคา้ หากแต่มคี วามตังใจในการสง่ เสรมิ และพฒั นาบคุ ลากรและกจิ กรรมเพ่ือร่วมกนั เสรมิ สร้าง ความยั่งยืนในการเลยี งสัตว์นา้ และการส่งเสริมสขุ ภาพของสัตว์น้า สมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย ได้ตระหนักถึงความส้าคัญและความก้าวหน้าทางวิชาการด้าน สุขภาพสัตว์น้าและวิทยาศาสตร์สัตว์น้า จึงได้วางแผนให้มีการประชุมวิชาการประจ้าปีขึนและจะจัดเปน็ ประจ้าทุกปีเพ่ือเป็นศูนย์กลางที่จะน้าความก้าวหน้าทางวิชาการเผยแพร่ให้แก่ทุกภาคส่วยท่ีเกี่ยวข้อ ตอ่ ไป การประชุมวิชาการในครังนี ก้าหนดขึนภายใต้แนวคิด “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries หรือ การเปล่ียนแปลงทางวิทยาศาสตร์สัตว์น้าและการประมง” มีเนือหาครอบคลุมทัง เรอื่ งสขุ ภาพของสตั วน์ า้ เศรษฐกิจ และสัตว์นา้ สวยงามที่เลียงไวเ้ ปน็ เพือ่ น ในการประชุมวิชาการในปีนี สมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความ เช่ียวชาญมาเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อต่าง ๆ ทังที่เกี่ยวกับสัตว์น้าเศรษฐกิจและสัตว์น้าสวยงามท่ี เลยี งไวเ้ ป็นเพื่อนจ้านวน 4 หวั ข้อ ในนามของสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย ขอขอบพระคุณคณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการ ประจ้าปี 2563 ของสมาคมสัตวแพทย์สัตว์นา้ ไทย และผ้ทู ่เี กยี่ วข้อทุกท่านทังภาครัฐและภาคเอกชน ทไี่ ด้ สนับสนนุ ให้การประชมุ วชิ าการในครังนีประสบความสา้ เร็จจนบรรลวุ ตั ถุประสงคท์ ตี่ งั ไว้ทุกประการ ในโอกาสนีขอกราบเรียนเชิญ ท่านรองอธิบดีกรมประมง ดร.วิชาญ อิงศรีสว่างเปิดการประชุม วิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจ้าปี ๒๕๖๓ ของสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย จากนันขอเชิญ ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “อนาคตอุตสาหกรรมสัตว์น้าไทยในยุค New Normal” และใคร่ขอเรียนเชิญ เป็นเกียรติมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้มีคุณูปการต่อวงการสัตวแพทย์สัตว์น้าไทยดีเด่นประจ้าปี ๒๕๖๓ ในลา้ ดับถัดไป ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ สัตวแพทยห์ ญงิ ดร. นันทริกา ชันซอื่ นายกสมาคมสัตวแพทย์สตั ว์น้าไทย ๔

ค้ากล่าวเปิดพิธีเปิดการประชุมวชิ าการและประชุมใหญ่สามัญประจ้าปี ๒๕๖๓ ของสมาคมสัตวแพทย์สัตวน์ ้าไทยภายใตแ้ นวคิด “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries เปดิ งานโดย ดร.วิชาญ อิงศรีสว่าง รองอธิบดกี รมประมง วนั พุธที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๖๓ ณ หอ้ งประชุมชัน ๔ (หอ้ งทองฑฆี าย)ุ ส้านกั งานสัตวแพทยสภา อ้าเภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี เรียนท่านนายกสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย ประธานจัดงาน และท่านผู้เข้าร่วมประชุมทุกทา่ น ครับ กระผม ดร.วิชาญ อิงศรีสว่าง รองอธิบดีกรมประมง เป็นตัวแทนของกรมประมง มีความยินดีเป็น อย่างยิ่งท่ีทางสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย ได้จัดให้มีการประชุมวิชาการ และการประชุมใหญ่สามัญ ประจ้าปีในรูปแบบที่ทันสมัยทังแบบ Onsite และ Online ในคราวเดียวกัน หรือที่ผู้จ้ดการประชุม เรยี กวา่ hybrid conference ซ่ึงเป็นการประชุมที่พร้อมนา้ เสนอความรแู้ ละข้อมลู ทางวิชาการทางด้าน สุขภาพสัตว์น้า ภายใต้แนวคิด “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries หรือการ เปลี่ยนแปลงทางวทิ ยาศาสตรส์ ัตวน์ ้าและการประมง” โดยในงานประชมุ ครังนีกระผมเองจะไดบ้ รรยาย ๕

พเิ ศษในหวั ขอ้ : อนาคตอตุ สาหกรรมสตั วน์ ้าไทยในยคุ New Normal และได้เป็นตวั แทนจากกรมประมง ในพิธีเจรจาความร่วมมือกับสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย นอกจากนีก็ยังมีการบรรยายอื่นๆ จาก วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ในหัวข้อที่จะเป็นประโยชน์เป็นอย่างสูงแก่วงวิชาการด้านสุขภาพสัตว์น้าและ วิทยาศาสตร์สตั ว์นา้ อกี หลายหัวข้อ ท้ า ย นี ใ น น า ม ข อ ง ก ร ม ป ร ะ ม ง ก ร ะ ผ ม รู้ สึ ก ข อ บ คุ ณ ส ม า ค ม สั ต ว แ พ ท ย์ สั ต ว์ น้ า ไ ท ย แ ล ะ คณะกรรมการจัดงานทุกท่าน มา ณ โอกาสนีท่ีได้ทุ่มเทกันอย่างเต็มความสามารถท่ีจะจัดงานนีขึนเพื่อ เป็นประโยชน์แก่วงวิชาการด้านการเลียงและสุขภาพสัตว์น้า กระผมขออ้านวยพรให้การจัดการประชมุ วิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจ้าปีของสมาคมสัตวแพทย์สัตตว์น้าไทยนครังนีจงประสบ ความส้าเร็จและน้ามาโยชน์มหาศาลให้แก่การเลียง การส่งเสริมสุขภาพสัตว์น้า และงานวิชาการด้าน สุขภาพสัตว์น้าสืบไป ขณะนีได้เวลาอันสมควรแล้ว กระผมขอเปิดการประชุมวิชาการและการประชุม ใหญส่ ามญั ประจ้าปี ๒๕๖๓ ของสมาคมสตั วแพทยส์ ตั ว์น้าไทย ณ บดั นี ดร.วชิ าญ อิงศรสี วา่ ง รองอธิบดกี รมประมง ๖

สารจากประธานคณะกรรมการจดั การประชมุ วิชาการและการประชุมใหญ่สามัญ ประจา้ ปี ๒๕๖๓ ของสมาคมสัตวแพทยส์ ัตว์น้าไทย ภายใต้แนวคิด “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries “การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์สัตวน์ า้ และการประมง” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร. ชาญณรงค์ รอดคา้ ประธานคณะกรรมการ วันพุธท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ณ หอ้ งประชุมชัน ๔ (หอ้ งทองฑฆี ายุ) ส้านกั งานสตั วแพทยสภา อ้าเภอเมือง จงั หวัดนนทบรุ ี การประชมุ วิชาการและการประชมุ ใหญ่สามัญประจ้าปี ๒๕๖๓ เปน็ กจิ กรรมประจ้าปขี องสมาคม สัตวแพทย์สัตว์น้าไทย ส้าหรับในปี ๒๕๖๓ นี ถือเป็นครังที่ ๑ ซ่ึงสมาชิกของสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้า ไทยทังสัตวแพทย์ นักวิชาการประมง นักวิชาการด้านสัตว์น้า และท่านอ่ืนๆ ที่มีความสนใจในงาน เกย่ี วกับสขุ ภาพสตั วน์ า้ และวทิ ยาศาสตร์สตั วน์ า้ จะไดพ้ บปะ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและข้อมลู ทางวชิ าการกัน อันจะเปน็ ประโยชน์อยา่ งย่งิ ในการพฒั นาสขุ ภาพสัตว์นา้ และการเลยี งสตั ว์น้าอยา่ งย่งั ยืน การประชุมวิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจ้าปีนี ได้จัดขึนในรูปแบบที่ทันสมัยที่เรียกว่า hybrid conference เปน็ การประชุมที่พรอ้ มนา้ เสนอความรู้และข้อมูลทางวิชาการทางด้านสุขภาพสัตว์ ๗

น้า ภายใต้แนวคิด “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries หรือการเปล่ียนแปลงทาง วิทยาศาสตร์สัตว์น้าและการประมง” ในงานประชุมครังนีถือเป็นความปิติเป็นอย่างยิ่งที่ทางสมาคมสัตว แพทยส์ ตั ว์น้าไทยไดร้ ับเกียรติจากท่านรองอธบิ ดกี รมประมง ดร.วชิ าญ องิ ศรสี วา่ ง มาปาฐกถาพิเศษใน หัวข้อ : อนาคตอุตสาหกรรมสัตว์น้าไทยในยุค New Normal และนอกจากนีท่านยังได้ให้เกียรติมาเป็น ตัวแทนจากกรมประมงในพิธีเจรจาความร่วมมือกับทางสมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย นอกจากนีการ ประชมุ ในครงั นกี ็ยังมกี ารบรรยายอ่ืนๆ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวฒุ ิ ในหวั ขอ้ ที่จะเป็นประโยชนเ์ ปน็ อยา่ งสูง แกว่ งวิชาการ อาธิ เช่น 1. EHP - ความเป็นมา และสถานการณใ์ นยุค 2020 2. ความจรงิ และความเชื่อ เรอ่ื งกลุม่ อาการขขี าวและเชืออีเอชพีในประเทศไทย การเฝ้าระวังและการควบคมุ ปอ้ งกันที่ถกู ต้อง 3. ปรสติ : ภยั คุกคามในการเลยี งสตั ว์นา้ 4. การจดั การเคสปลาทม่ี ปี ญั หาการทรงตัว นอกจากนีในงานครังนยี ังได้จดั ใหม้ พี ิธีมอบโล่ประกาศเกียรติแก่คุณผูม้ ีคณุ ปู การต่อวงการสตั วน์ ้า ไทยดีเด่นประจา้ ปี ๒๕๖๓ อกี ด้วย ในฐานะประธานคระกรรมการจัดงานประชุมวิชาการและการประชุมใหญส่ ามัญประจ้าปี๒๕๖๓ ในครังนี ขอกล่าวต้อนรับทุกท่านท่ีเข้ามาร่วมประชุม ขอขอบพระคุณผู้สนับสนุนทังภาครัฐและ ภาคเอกชน และขอขอบคุณคณะกรรมการด้าเนินการงานประชุม มา ณ โอกาสนี โดยหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่างาน ประชุมวิชาการในครังนี จะท้าให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านได้รับความรู้อย่างเต็มท่ี เพื่อเป็น ประโยชน์และมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาสุขภาพสตั ว์น้า และงานวิชาการด้านสุขภาพสัตวน์ ้าสืบไป ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. ชาญณรงค์ รอดค้า ประธานคณะกรรมการ ๘

รางวลั ผ้มู คี ุณูปการต่อวงการสตั วแทย์สัตว์น้าไทยดเี ด่น ประจ้าปี ๒๕๖๓ รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.จิรศักดิ์ ตังตรงไพโรจน์ รศ.น.สพ.ดร.จิรศักด์ิ ตังตรงไพโรจน์ ส้าเร็จการศึกษาจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วุฒิสัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๒) ปีพ.ศ. ๒๕๑๕ และส้าเร็จการศึกษา Doctorate 3eme Cycle (2523) Fish Pathology จาก Brittany University ประเทศฝร่ังเศส ท่าน เป็นสัตวแพทย์สัตว์น้าคนแรกของประเทศไทย และเป็นผู้ก่อตังศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้า คณะสัตว- แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทังเป็นอาจารย์อายุรศาสตร์สัตว์น้าคนแรกของประเทศไทย ท่านเป็นผู้บุกเบิกในการน้าวิชาความรู้ทางสัตวแพทยศาสตร์มาช่วยแก้ไขปัญหาการเลียงสัตว์น้า โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในสัตวน์ ้าเพ่ือการบรโิ ภค รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ตงั ตรงไพโรจน์ ได้คน้ พบสาเหตขุ องโรค อุบัติใหม่หลายโรค เช่น โรค Monodon baculovirus (MBV) โรคตายเดือน โรคขีขาว โรคตัวแดงดวง ขาว และโรค EHP ในกุ้งเลียง และยังเป็นผู้ที่อุทิศตนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรอย่างสม้่าเสมอตลอดมา จนถึงปัจจุบัน ท่านเป็นผู้ท่ีมีความมานะ อุตสาหะในการหาความรู้เพิ่มเติมให้ก้าวหน้าทันสมัยอยู่ ตลอดเวลา ท่านได้สั่งสอนลูกศิษย์ให้เป็นสัตวแพทย์ท่ีดี มีคุณธรรมด้วยความเมตตา และเผยแพร่ความรู้ ไปยังส่วนต่าง ๆ ของสังคมไปพร้อม ๆ กัน ท้าให้เป็นที่เคารพรักของทุกคนที่ได้สัมผัส จนได้รับการขนาน นามว่า “บิดาแห่งสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย” ถือเป็นแบบอย่างของสัตวแพทย์ที่เป็นทังครู หมอ พ่อแม่ ใหก้ บั คนรุ่นหลงั ได้อยา่ งสมบรู ณแ์ บบ สมาคมสัตวแพทย์สัตว์น้าไทย ของยกย่อง รศ.น.สพ.ดร. จิรศักด์ิ ตังตรงไพโรจน์ เป็น “ผู้มคี ุณูปการตอ่ วงการสตั วแทย์สตั วน์ า้ ไทยดีเด่น ประจา้ ปี ๒๕๖๓” เพือ่ เปน็ เกียรตสิ ืบไป ๙

๑๐

คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมสตั วแพทย์สตั ว์น้าไทย ประจ้าปี ๒๕๖๓ ๑. รศ.น.สพ.ดร.จริ ศกั ด์ิ ตังตรงไพโรจน์ ทปี่ รกึ ษากิตติมศกั ดิ์ ๒. รศ.สพ.ญ.ดร.นันทริกา ชันซ่อื นายกสมาคม ๓. อ.สพ.ญ.ดร.ฐนดิ า เหตระกูล อปุ นายก ๔. น.สพ.สายนั ต์ คงเพชร กรรมการ ๕. ผศ.สพ.ญ.ดร.วรรณา ศริ มิ านะพงษ์ กรรมการ ๖. รศ.น.สพ.ดร.วนิ สุรเชษฐพงษ์ เลขาธิการ ๗. สพ.ญ.นภสั สร ต่อเจริญ เหรญั ญิก ๘. ผศ.น.สพ.ดร.ชาญณรงค์ รอดค้า ประชาสัมพันธ์ ๙. ผศ.น.สพ.ดร.ส้าราญ บรรณจิรกุล ปฏิคม ๑๐.รศ.สพ.ญ.ดร.อรัญญา พลพรพิสฐิ นายทะเบยี น ๑๑.น.สพ.ปรชี า เอกธรรมสทุ ธิ์ จดั หารายได้และกิจกรรมพิเศษ คณะกรรมการจัดประชุมวชิ าการและการประชุมใหญ่สามัญ ประจา้ ปี ๒๕๖๓ รศ.สพญ.ดร.นนั ทริกา ชันซือ่ ท่ปี รกึ ษา ผศ.น.สพ.ดร. ชาญณรงค์ รอดคา้ ประธานคณะกรรมการ รศ.น.สพ.ดร.วิน สรุ เชษฐพงษ์ ประธานฝ่าย scientific program (สตั ว์น้าเพอ่ื การบริโภค) อ.สพ.ญ.ดร.ฐนิดา เหตระกลู ประธานฝ่าย scientific program (สตั ว์น้าสวยงาม) ผศ.สพ.ญ.ดร.วรรณา ศริ มิ านะพงษ์ ประธานฝ่ายวิชาการ อ.น.สพ.ณ พัทธ์ ปณั ฑุกัมพล ประธานฝา่ ยพิธีการและดา้ เนินการประชมุ สพ.ญ.นภัสสร ต่อเจรญิ ประธานฝ่ายเหรัญญกิ รศ.น.สพ.ดร.นพดล พิฬารตั น์ ประธานฝา่ ยสถานที่ น.สพ.ปรณิ ดา คา้ ชุ่ม ประธานฝา่ ยเลขานุการ ผศ.น.สพ.ดร.ส้าราญ บรรณจริ กลุ ประธานฝา่ ยปฏคิ ม รศ.สพ.ญ.ดร.อรัญญา พลพรพสิ ฐิ ประธานฝา่ ยทะเบียน น.สพ.สริ วชิ ญ์ ศรีศริ ิ ประธานฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ น.สพ.ปรชี า เอกธรรมสุทธ์ิ ประธานฝ่ายหารายได้และกิจกรรมพิเศษ ๑๑

ก้าหนดการประชุมวิชาการและการประชุมใหญ่สามัญประจ้าปี ๒๕๖๓ ของ สมาคมสตั วแพทย์สตั วน์ ้าไทย วันพุธท่ี ๙ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมชนั ๔ (หอ้ งทองฑีฆาย)ุ ส้านักงานสตั วแพทยสภา อ้าเภอเมือง จังหวัดนนทบรุ ี ๘.๓๐-๙.๐๐ น. ลงทะเบียนเข้ารว่ มงาน ๙.๐๐-๙.๔๕ น. พิธีเปิดการประชุมใหญ่สามัญประจ้าปี “Disruptive Era in Aquatic Sciences and Fisheries การเปลีย่ นแปลงทางวทิ ยาศาสตรส์ ตั วน์ ้าและการประมง” - กล่าวรายงานโดย รองศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร. นันทริกา ชันซื่อ นายกสมาคมสัตวแพทยส์ ตั วน์ า้ ไทย - กล่าวเปดิ งานโดยประธานพิธีเปดิ ดร.วิชาญ อิงศรีสว่าง รองอธิบดกี รมประมง การบรรยายพิเศษ: อนาคตอุตสาหกรรมสัตว์น้าไทยในยุค New Normal โดยดร.วชิ าญ อิงศรีสวา่ ง รองอธบิ ดกี รมประมง พิ ธี ม อ บ โ ล่ เ กี ย ร ติ คุ ณ ผู้ มี คุ ณู ป ก า ร ต่ อ ว ง ก า ร สั ต ว แ พ ท ย์ สั ต ว์ น้ า ไ ท ย ดี เ ด่ น ประจา้ ปี ๒๕๖๓ โดยดร.วชิ าญ องิ ศรสี ว่าง รองอธบิ ดกี รมประมง พธิ เี จรจาความรว่ มมือระหว่างกรมประมง และสมาคมสตั วแพทยส์ ัตว์นา้ ไทย โดยดร.วิชาญ อิงศรีสวา่ ง รองอธบิ ดกี รมประมง และ รศ.สพ.ญ.ดร.นันทรกิ า ชนั ซอื่ นายกสมาคมสัตวแพทยส์ ตั วน์ ้าไทย ๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. EHP - ความเปน็ มา และสถานการณใ์ นยุค 2020 โดย รศ.น.สพ.ดร.จริ ศกั ดิ์ ตงั ตรงไพโรจน์ ท่ีปรึกษาสมาคมสัตวแพทยส์ ัตว์นา้ ไทย ๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น. พกั รบั ประทานของวา่ ง ๑๒

๑๐.๔๕-๑๒.๐๐ น. ความจริง และความเชอื่ เรือ่ งกลุม่ อาการขีขาวและเชอื อเี อชพใี นประเทศไทย การเฝ้าระวังและการควบคุมปอ้ งกันท่ถี กู ตอ้ ง โดย น.สพ.ปราการ เจียระคงมัน่ รองกรรมการผูจ้ ัดการฝา่ ยวชิ าการผลติ ภณั ฑ์ บรษิ ทั แอ๊ดวานซ์ ฟาร์มา่ จ้ากัด เครอื เจรญิ โภคภัณฑ์ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. พักรับประทานมือเที่ยง ๑๓.๐๐-๑๓.๔๕ น. ปรสติ : ภยั คุกคามในการเลียงสัตวน์ ้า โดย ผศ.น.สพ.ดร.ส้าราญ บรรณจิรกุล คลินิกสัตว์น้า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยมี หานคร ๑๓.๔๕-๑๔.๓๐ น. การจดั การเคสปลาทมี่ ปี ัญหาการทรงตวั โดย น.สพ.นรภัทร โตวณะบุตร ศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้า คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น. พกั รบั ประทานของว่าง ๑๔.๔๕-๑๕.๓๐ น. ประชุมใหญส่ ามัญประจ้าปีสมาคมสตั วแพทยส์ ตั ว์นา้ ไทย เปดิ ประชมุ โดย รศ.สพ.ญ.ดร. นนั ทรกิ า ชนั ซื่อ นายกสมาคมสตั วแพทย์สตั ว์นา้ ไทย การประชุมสมาคม -แถลงผลประโยชนข์ องสมาชกิ สมาคม -ผลการด้าเนินงานและการเคล่ือนไหวบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ในปี ๒๕๖๓ -การเลอื กตงั นายกสมาคมสตั วแพทย์สัตวน์ า้ ไทย วาระปี ๒๕๖๔ -แผนการดา้ เนินงานและกิจกรรมในปี ๒๕๖๔ ๑๓

รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ตงั ตรงไพโรจน์ ต้าแหนง่ ประธานทป่ี รึกษาของศูนยว์ จิ ัยโรคสัตวน์ ้า คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลวกรณม์ หาวิทยาลยั สถานทเ่ี กิด อ้าเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดทางภาคกลางของประเทศ ไทย เป็นอู่ข้าวอู่น้า อาชีพในอดีตเป็นการท้าเกษตรกรรม ท้านา และการประมง รวมทัง การค้าขายทางน้า มีการคมนาคมทางน้าเป็นหลักในอดีต ปัจจุบันแหล่งน้าไม่มีการ บ้ารุงรักษาและพัฒนา ท้าให้มีผลกระทบอย่างมากต่อประชากรสัตว์น้าซึ่งใน อดีต อุดมไปด้วย กุ้ง หอย ปู ปลา ทัง ปลาผิวน้า เช่น ปลาเสือพ่นน้า ปลากระทุงเหว ปลากลางน้า เช่น ปลาตะเพียน ปลากะแหทอง ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลากด ปลาแก้มช้า ปลาสร้อย ปลาช่อน ปลาชะโด รวมทังปลาหน้าดิน เช่น ปลาไหล ปลาแขยง ปลาดุก ปลากะทิง ซง่ึ วิทยากรมคี วามคุน้ เคยกบั สตั ว์น้าต่าง ๆ เหล่านดี ี ประวัติการศึกษา ระดับประถม และมัธยมต้น โรงเรยี นราษฎร์ และโรงเรยี นผักไหส่ ทุ ธาประมุข ระดับมัธยมปลาย โรงเรียนวัดมกุฎกษัตริยาราม (๒๕๐๖-๒๕๐๗) โรงเรียนอ้านวยศิลปวิทยา พญาไท (๒๕๐๗- ๒๕๐๘) ระดบั อุดมศึกษา เตรยี มสตั วแพทย์ ( KU26 VET30) คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ (๒๕๐๘-๒๕๑๐) สตั วแพทยศาสตร์บัณฑิต (เกียรตนิ ยิ มอันดบั ๒) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย (๒๕๑๕) Diploma Etude Apofonde (DEA) 2520 Brittany University, Brest, France Doctorate 3eme Cycle (2523) Fish Pathology Brittany University, Brest, France ประวตั ิการทา้ งาน รับราชการทภี่ าควชิ าอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ตังแต่ปีพ.ศ.๒๕๑๗ จนเกษียณราชการปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ความชา้ นาญเฉพาะ อายุรศาสตร์สัตว์น้า ก่อก้าเนิดการเรียนรู้โรคของสัตว์น้าชนิดต่าง ๆ ในประเทศไทยให้กับนิสิต - นักศึกษา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมตลอดทังให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค การรักษา และ การปอ้ งกนั โรคของสัตวน์ า้ ชนดิ ต่าง ๆ ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการเพาะเลยี งสัตวน์ า้ ตงั รถพยาบาลเคลอื่ นทขี่ องสตั วน์ ้า ก่อตัง ศนู ยว์ ิจยั โรคสตั ว์นา้ ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๔

EHP – ความเป็นมา และสถานการณ์ในยคุ 2020 รศ.น.สพ.ดร.จิรศกั ด์ิ ตงั ตรงไพโรจน์ การเพาะเลียงสัตว์น้า เป็นอาชีพหลักที่ส้าคัญของการประมงไทย มีการเพาะเลียงสัตว์น้าชนิดต่าง ๆ ทังสัตว์ น้าจืด น้ากร่อย และนา้ เคม็ ท่วั ทุกภาคของประเทศไทย รวมทังสัตว์คร่งึ บกครงึ่ นา้ และสัตวเ์ ลอื ยคลาน การดา้ เนินการ เพาะเลียงสัตว์น้า อุปสรรคที่ส้าคัญยิ่งคือ การสูญเสียสัตว์น้าอันเนื่องมาจากโรค ทังโรคติดเชือ และไม่ติดเชือ ซ่ึงต้อง ดา้ เนินการแก้ไขใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการทางด้านการสัตวแพทยศาสตร์ และการเพาะเลียงสัตว์นา้ เชือก่อโรคท่ีส้าคัญของกุ้งทะเลที่เลียงในปัจจุบันนีโดยเฉพาะกุ้งขาวแวนนาไม คือเชือก่อโรคชนิด EHP (Enterocytozoon hepatopenaei) ซงึ่ เปน็ เชือในกลมุ่ ไมโครสปอริเดียน ทใี่ ห้ถกู จา้ แนกใหเ้ ป็นเชือราชนิดหน่ึง เนื่อง ดว้ ยไม่มีไมโทรคอนเดีย และต้องอาศยั พลงั งานจากเซลลจ์ ้าของบ้าน เชือ EHP เป็นเชือทต่ี อ้ งอาศัยอยใู่ นไซโตพลาสซึม ของเซลล์มนี วิ เคลยี ส และส่วนของสปอโรพลาสซมึ เปน็ ท่อขดไปมา มรี ูปรา่ งเป็นวงรี ขนาด 1-5 ไมครอน ผิวของสปอร์ มีสองชัน ชันนอกเป็นไคติน ส่วนชันในเป็นโปรตีน มีความสามารถคงทนในส่ิงแวดล้อมได้นานถึง 6 เดือน ในดินท่ีมี ความชืนสามารถตรวจพบเชือนีได้ในพาหะต่าง ๆ ท่ีอยู่ในน้า เช่น ปู เพรียง สัตว์หน้าดินชนิดต่าง ๆ ลูกกุ้ง กุ้งเคย ใช้ โพล่าทิวย่ืนออกจากสปอร์เพื่อยึดติดกับเซลล์ใหม่แล้วปล่อยสปอโรพลาสซึมเข้าเซลล์ใหม่อย่างรวดเร็ว มีการพัฒนา ของสปอร์ระยะต่าง ๆ จนเปน็ สปอร์ทไี่ ดร้ ะยะเตม็ วยั ใชเ้ วลาประมาณ 14-21 วนั การติดต่อ เชือนีสามารถติดต่อได้ทังแนวด่ิงจากแม่พันธ์ุท่ีมีเชือนีอยู่ และจากแนวราบโดยการกินกุ้งท่ีป่วย ด้วยกันเอง หรอื กนิ พาหะท่ีติดเชือนีอยู่ รวมตลอดทงั การตดิ ต่อทางผิวหนัง เมอ่ื กงุ้ ลอกคราบใหม่ ๆ โดยเฉพาะในระยะ วยั อ่อนช่วงโรงเพาะฟักกุ้งจะมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างของตวั เองบ่อยมาก น่าจะเปน็ ชอ่ งทางให้เชือ EHP เข้าทาง เซลล์ผิวหนังกุ้งได้ นอกจากนีทุกครังที่กุ้งถ่ายอุจจาระจะมีการดูดน้าเข้าทางช่องทวารซึ่งน่าจะเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ เชือ EHP ถกู ดูดเข้าไปทางนี ถา้ ในน้าทเี่ ลยี งกงุ้ มเี ชือนีในปรมิ าณทีห่ นาแนน่ พยาธิสภาพของกุ้งท่ีติดเชือนี เชือ EHP สามารถท้าให้เกิดการอักเสบและตายของทุกเนือเยื่อของกุ้งท่ีเชือนี เข้าไปอาศัยอยู่ ท้าให้เนือเยื่อหรืออวัยวะที่ติดเชือมากน้อยมีอาการรุนแรงต่าง ๆ กัน ซ่ึงน้าวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่จะ นิยมดูรอยโรคท่ีทางเดินอาหารกุ้ง โดยเฉพาะตับและตับอ่อน และล้าไส้กุ้ง โดยท้าให้เกิดการตายของเซลลต์ ับและตบั อ่อน รวมทังล้าไส้กุ้ง นอกจากนียังสามารถตรวจพบเชือ และรอยโรคของเชือ EHP ในอวัยวะต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กล้ามเนือ ก่อให้เกิดอาการกล้ามเนือขาวขุ่น ปมประสาทเกิดการตาย ส่งผลให้กุ้งเสียการทรงตัวจมตายก้นบ่อ เม็ด ๑๕

เลือดติดเชือ EHP ท้าให้เกิดภาวะเลือดจาง กุ้งตายจ้านวนมากอย่างรวดเร็ว และท่ีส้าคัญท้าให้เย่ือบุผนังล้าไส้กุ้ง (Peritrophic membrane; PM) เกดิ การตายมีสีขาว สัมพนั ธ์กับการเกดิ โรคขึขาวในกุ้ง ผลกระทบของเชือ EHP ต่อสุขภาพกุ้งและอุตสาหกรรมกุ้งของประเทศไทย สามารถตรวจพบเชือนีในกุ้งที่ ป่วยและตายดว้ ยโรค EMS (Early mortality syndrome) ตงั แตป่ ี พ.ศ. 2554 ตรวจพบเชือนีในกงุ้ ปว่ ยด้วยโรคขีขาว ในอวัยวะต่าง ๆ ของกุ้ง รวมทงั ในมูลกุ้ง และทสี่ ้าคัญที่เยื่อบผุ นังล้าไส้กุ้ง (PM) โดยการย้อมสี H&E และ Giemsa ซง่ึ แสดงใหเ้ ห็นวา่ EHP ทา้ ใหโ้ ปรตีนที่ PM เกิดการตาย เหน็ มลู กงุ้ เปน็ กอ้ นสขี าวจงึ เรยี กวา่ “โรคขึขาว” ซ่ึงส่งผลให้กุ้งที่ เลียงมีอัตราการรอดต้่า อัตราการแลกเนือสูง ต้นทุนการผลิตสูงขึน ก่อให้เกิดความเสียอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการ เลยี งกงุ้ ขาวแวนนาไมของไทย และนอกจากนยี งั มีรายงานการพบเชอื EHP ในกงุ้ กา้ มกามอีกด้วย การปอ้ งกนั ควบคุม และรักษาโรคท่ีเกิดจากเชอื EHP ในก้งุ ที่เลียงควรจะตอ้ งรีบดา้ เนินการอย่างเคร่งคัด และ ร่วมมือกันทุกฝ่าย โดยการคัดกรองพ่อแม่พันธุ์ท่ีปลอดเชือมาเพาะขยายพันธ์ุ ตรวจอุจจาระพ่อแม่พันธ์ุในบ่อเลียง ถ้า พบเชือ EHP ควรท้าลายพ่อแม่พันธ์ุทังหมด นอกจากนีควรตรวจลูกกุ้งระยะ โพลสราว่า ก่อนน้าไปเลียงลงบ่อดิน ในขณะเดียวกันบ่อเลียงกุ้งเนือก็ต้องก้าจัดสปอร์ของเชือ EHP ท่ีพืนบ่อโดยการปรับ pH ดินให้สูงถึง 12 ตากบ่อให้ แห้งสนิท น้าท่ีน้ามาใช้ควรท้าการฆ่าเชือด้วยด่างทับทิมท่ีความเข้มข้น 15 พีพีเอ็ม ในขณะเดียวกันควรบ้ารุงสุขภาพ กงุ้ ให้มปี รมิ าณเมด็ เลอื ดทีเ่ พยี งพอ เพอื่ ชว่ ยทา้ ลายเชอื EHP ทอ่ี ย่ใู นตัวกุ้ง หรอื เลือกใช้ยาทเี่ หมาะสมในกงุ้ กนิ เนือ เพื่อ ทา้ ลายโครงสรา้ งของท่อท่อี ยูใ่ นสอปอร์ซงึ่ จะช่วยใหล้ ดการตดิ เชือไปยงั เซลล์อื่น ๆ ต่อไป ด้วยคุณลักษณะของเชือ EHP ที่มีความทนทานต่อส่ิงแวดล้อมประกอบบ้าง เชือนีสามารถอาศัยอยู่ในพาหะ ได้หลายชนิด ทังในบ่อเลียง และในแหล่งน้าธรรมชาติท่ัวไป จึงท้าให้มีโอกาสที่เชือนีจะยังคงอยู่คู่กับการเลียงกุ้งของ ไทยตลอดไป รวมทังประเทศอ่ืน ๆ เช่น เวียดนาม อินเดีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย แต่อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ปี 2563 ผู้เลียงกุ้งมีความเข้าใจดีถึงผลกระทบของเชือ EHP ด้วยการเผยแพร่ความรู้จากนักวชิ าการทุกภาคสว่ น รวมถึง จากประสบการณ์การแก้ไขของผู้ประกอบการเอง และมีการเสนอแนะในกลุ่มต่าง ๆ ของผู้เลียงกุ้ง จึงน่าจะ เป็น ช่องทางท่ีดีในการลดปัญหาความรุนแรงจากเชือ EHP ต่อไป อันจะช่วยให้อุตสาหกรรมการเลียงกุ้งของไทยมี ความกา้ วหน้าและย่ังยนื ตลอดไป ค้าส้าคัญ : Enterocytozoon hepatopenaei EHP กงุ้ ขาวแวนนาไม ๑๖

นายสตั วแพทย์ ปราการ เจียระคงมัน่ ตา้ แหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การฝา่ ยวชิ าการผลิตภณั ฑ์สตั ว์นา้ หนว่ ยงานทีส่ งั กดั เครือเจริญโภคภณั ฑ์ / บริษทั แอ๊ดว้านซฟ์ ารม์ า่ จา้ กดั ประวตั ิการศึกษา สตั วแพทยศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั ิการท้างาน ๒๕๕๐ – ปัจจุบนั รองกรรมการผู้จัดการ เครือเจริญโภคภณั ฑ์ บริษัทแอ๊ดว้านซ์ฟาร์ม่า จ้ากัด ในสายงานด้านวชิ าการ ผลิตภัณฑ์ และเวชภณั ฑ์ ส้าหรับการเพาะเลยี งสตั ว์นา้ ท้าหน้าท่ี ใหค้ วามรูด้ า้ นวชิ าการ และการบรกิ ารชิ วาการทัง ด้าน Products Technical verification and Products Technical Dissemination ส้าหรบั ผลติ ภัณฑ์ ท่ีจ้าเป็นส้าหรับการเพาะเลียงสัตว์น้าส้าหรับลูกค้าและเกษตรผู้สนใจทังในประเทศไทย และ ใน ต่างประเทศ เช่น ประเทศ เวียตนาม ฟิลิปปินส์ อินเดีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย เนปาล บัง คลาเทศ ศรีลงั กา เปน็ ตน้ รองกรรมการผู้จัดการ เครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทแอ๊ดว้านซ์ฟาร์ม่า จ้ากัด ในนามตัวแทนผู้บรรยายความรู้ ด้านวิชาการ (Keynote technical speaker) และเทคโนโลยี การเพาะเลียงสัตว์น้า การบริหารจัดการ โรคสัตวน์ ้า การบรหิ ารจดั การน้า การบรหิ ารจัดการบ่อเลียง และ การบรหิ ารจดั การแบบ องคร์ วม และ สาขาอื่นๆ แก่ บริษัทเจิรญโภคภัณฑ์ อาหาร จ้ากัด มหาชน ในสาย งานธุรกิจสัตว์น้าครบวงจรเขต ประเทศไทย และ ส้าหรับลูกค้าและเกษตรผู้สนใจในประเทศไทย และส้าหรับลูกค้าและเกษตรผู้สนใจ ของบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ อาหารจ้ากัด มหาชนในต่างประเทศ เช่น ประเทศ เวียตนาม ฟิลิปปินส์ อนิ เดีย มาเลเซยี เนปาล บงั คลาเทศ ศรลี ังกา เป็นตน้ ๒๕๕๐ – ๒๕๖๐ รองกรรมการผู้จัดการ เครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทส่งเสริมการเพาะเลียงสัตว์น้า ในสายงานบริการวิชาการ ส้าหรับผิลตภัณฑ์ สัตว์น้าทัง อาหาร ลูกพันธ์ุ และเวชภัณฑ์ อุปกรณ์เคร่ืองมือ และ เทคโนโลยี ส้าหรับ ลูกค้าของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ใน ต่างประเทศ ซ่ึงดูแลรับผิดชอบส้าหรับลูกค้าในหลายประเทศ เช่น ประเทศ จนี เวยี ตนาม ฟิลปิ ปนิ ส์ อินเดีย มาเลเซยี อนิ โดนีเซีย ออสเตรเลีย เนปาล บงั คลาเทศ ศรีลังกา ซาอดุ ิ อาราเบยี อิหร่าน แทนซาเนยี ประเทศในแถบ แอฟรกิ า อ่ืนๆ รวมทัง ประเทศสหรฐั อเมรกิ า และ ประเทศในแถบลาตนิ อเมรกิ า เปน็ ตน้ ๒๕๕๓- ๒๐๖๐ รองกรรมการผู้จดั การ เครือเจริญโภคภณั ฑ์ บรษิ ทั สง่ เสริมการเพาะเลียงสตั ว์นา้ ในสายงานบรกิ ารวชิ าการและ การพัฒนา พนื ฐานวชิ าการแกพ่ นักงาน ลูกคา้ และ เกษตรผ้สู นใจทังในประเทศไทย และ ตา่ งประเทศ ๑๗

ท้าหน้าทีเ่ ป็น ผ้อู ้านวยการ ศูนษ์ การเรียนรูด้ ้านการเลียงปลา และเทคโนโลยีการเลียงปลา ( CPF Fish academy Thailand ) ทใ่ี ห้บริการความรดู้ ้านเลยี งปลา ส้าหรบั ลกู คา้ และ เกษตรผสู้ นใจทังในประเทศ ไทย และในตา่ งประเทศ เชน่ ประเทศ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ อินเดยี มาเลเซีย ออสเตรเลีย เนปาล บังคลาเทศ ศรี ลังกา ซาอุดิ อาราเบีย อหิ รา่ น แทนซาเนยี ประเทศในแถบ แอฟริกา อืน่ ๆ รองกรรมการผู้จัดการ สายงานบิรหารจัดการฟาร์ม ในด้านการพัฒนาพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้าจืด (Fresh water fish brood stock breeding center and genetic selection) และการผิลตลูกพันธุ์ปลาน้าจืด และ ปลารุ่นส้าหรับกิจการปลาครบ วงจร เขตประเทศไทย โดยมีฟาร์มในเครือบริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ้ากัด มหาชน ท่ีดูแล ครอบคลุม ใน ๖ พืนที่ ทั่ว ประเทศไทย เช่น ฟาร์มในจังหวัด ปทุมธานี พระนครศรอี ยุธยา นครสวรรค์ กาฬสินธ์ุ หนองคาย อุบลราชธานี ๒๕๕๓- ๒๕๕๘ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ เครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทส่งเสิรมการเพาะเลียงสัตว์น้า ในสายงานบริการวิชาการ และการพัฒนา พืนฐานวิชาการแก่พนักงาน ลูกค้า และ เกษตรผู้สนใจทังในประเทศ และ ต่างประเทศ ท้าหนา้ ทเ่ี ป็น รองผู้อา้ นวยการศนู ษ์ การเรยี นรดู้ ้านการเลยี งกุ้งและเทคโนโลยกี ารเลียงกุ้ง (CPF Shrimp academy Thailand) ที่ใหบ้ ริการความรู้ ด้านเลียงกุ้ง ส้าหรับลูกค้าและเกษตรผู้สนใจทังในประเทศไทย และในต่างประเทศ เช่น ประเทศจีน เวียตนาม ฟิลิปปินส์ อินเดีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย เนปาล บังคลาเทศ ศรีลังกา ซาอุดิ อาราเบีย อิหร่าน แทนซาเนีย ประเทศในแถบ แอฟริกา อื่นๆ รวมทั้ง ประเทศสหรัฐอเมิรกา และ ประเทศในแถบลาตนิ อเมริกา เป็นตน้ ผ้ชู ว่ ยกรรมการผู้จดั การ สายงานบรหิ ารจดั การฟารม์ ในด้านการเลยี งกงุ้ ของฟาร์มเลยี งกุ้งในเครอื บรษิ ัทเจรญิ โภคภณั ฑอ์ าหารจา้ กัด มหาชน ทจี่ ังหวัดระยอง ๒๕๓๖ - ๒๕๕๓ ผู้จัดการท่ัวไป เครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทแอ๊ดว้านซ์ฟาร์ม่า จ้ากัด ในสายงานด้าน การขาย และ วิชาการ ผลิตภัณฑ์และเวชภัณฑ์ ส้าหรับการเพาะเลียงสัตว์น้า ท้าหน้าที่ ให้ความรู้ด้านวิชาการ และการบริการ วิ ช า ก า ร ทั ง ด้ า น Products Technical verification and Products Technical Dissemination สา้ หรบั ผลิตภณั ฑท์ ี่จ้าเป็นสา้ หรบั การเพาะเลยี งสตั ว์นา้ สา้ หรับ ลูกค้าและเกษตรผ้สู นใจท่ัวประเทศไทย E-mail: [email protected], [email protected], [email protected] ๑๘

ความจริง และความเช่อื เร่ืองกลมุ่ อาการขขี าวและเชืออเี อชพีในประเทศไทย การเฝา้ ระวังและการควบคุมปอ้ งกันทถี่ กู ตอ้ ง น.สพ.ปราการ เจียระคงมน่ั การผลิตกุ้งของประทศไทยเอง มีผลผลิตกุ้งในภาพรวมช่วง ครึ่งปีแรก ของปี 2020 หรือช่วง วิกฤตโควิด – 19 ลดต้่าลง หรือค่อนข้างทรงตัว แม้ว่าประเทศไทยจะได้รับผลกระทบน้อยท่ีสุดโดยเฉพาะ การควบคุมการระบาด ของเชือไวรัสโคโรน่าโควิด – 19 ท่ีถือสามารถควบคุมได้ดีมากภายในประเทศ และมีภาพพจน์ท่ีดีของการควบคุมโรค รวมทังได้รับผลกระทบนอ้ ย ในด้านความเข้มงวดในการเคลื่อนย้ายพ่อแม่พันธ์ุ และปัญหาคุณภาพพ่อแม่พันธ์ุ ปัญหา การล็อคดาวน์ท่ีสันกว่า ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและ ปัญหาการขนส่งท่ีต้่ากว่า แต่เน่ืองจาก ประเทศไทยยัง ประสบปัญหาการเลียงกุ้งท่ียากล้าบากมากขึน ทังปัญหาโรคกุ้งท่ีรุมเรา้ อย่างมาก ปัญหาความเสียหายของกุ้งหลงั ลง เลียง ปัญหาการจัดการ ปัญหาคุณภาพน้า ปัญหาด้านสภาวะอากาศที่เปล่ียนแปลงและ ภัยแล้ง ปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ี เสื่อมโทรม รวมถึงปัญหาคุณภาพของผลผลิตที่ได้รับผลกระทบจากเชือโรคหลายๆชนิด ทัง เชือไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) เชือแบคทเี รีย อเี อ็มเอส (EMS or AHPND ) และ เชอื อเี อชพี (EHP) และ อาการขีขาว (WFS) เปน็ ตน้ ทที่ า้ ให้กุ้งมีคุณภาพไม่เป็นไปตามท่ีต้องการ ภายหลังการจับกุ้ง เช่น มีขนาดเล็ก ไม่ได้ไซส์ท่ีต้องการตามเป้าหมาย ผอม กรอบแกรบ โตช้า มีอาการขีขาว และ เกษตรกรมีผลประกอบการไม่ดี เพราะ FCR สูง และ ADG ต้่า เกษตรกรใน หลายๆพืนที่ ทมี่ กี ารปรับตัว ปรับระบบการเลียง หรือมกี ารหยดุ พักระบบ ตากบ่อทน่ี านเพียงพอ และ ทา้ ความเข้าใจ ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่สง่ ผลต่อคุณภาพการเลียงภายในฟารม์ และมคี วามเข้มงวด และ ใสใ่ จในรายละเอียดมาก ขึน ก็อาจจะสามารถท้าผลผลิต และ ผลการเลียงได้ดี แต่เกษตรกรในหลายๆพืนที่ ท่ียังไม่ปรับตัว หรือเปลี่ยนแปลง หรือติดตามข่าวสารใกล้ชิด หรืออยู่ในพืนที่ที่มีความเสี่ยง ท่ีอาจต้องพึ่งพาแหล่งน้าจากธรรมชาติร่วมกัน และ ความ หนาแนน่ ของฟาร์มเลียงสูง ส่ิงแวดล้อมเสอ่ื มโทรมมาก กย็ งั อาจได้รับผลกระทบจากสภาวะดงั กลา่ วอยู่ โรคติดเชือในกุ้งท่ีส้าคัญที่สร้างความเสียหาย ในประเทศไทย ในการตรวจเฝ้าระวังโรคกุ้งเชิงรับ ( Passive pathogens surveillance program 2019) เรียงตามล้าดับจากมากไปน้อย ในปี 2019 จากรายงานของหน่วยงาน ราชการในประเทศไทย คือ เชืออีเอชพี (EHP) = 59.27% เชือแบคทีเรียอีเอ็มเอส (EMS or AHPND) = 16.11% เชือไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) = 10.01% ในปี 2020 โรคติดเชือในกุ้งท่ีส้าคัญในประเทศไทย ในการตรวจเฝ้า ระวังโรคกุ้งเชิงรับ (Passive pathogens surveillance program 2020) เรียงตามล้าดับจากมากไปน้อย ในปี 2020 จากรายงานของตัวอย่างกุ้งท่ีส่งผ่านมายังห้องปฏิบัติการตรวจสอบโรคกุ้งของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ตังแต่เดือน ๑๙

มกราคม ถึง เดือน สงิ หาคม คือ เชืออีเอชพี (EHP – Enterocytozoon hepatopenaei) = 72.10% เชือแบคทีเรีย อีเอ็มเอส (EMS or AHPND) = 14.02% เชือไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) = 12.08% เชือไวรัสหัวเหลือง (YHV) = 1.80%* จะเหน็ ว่า โรคติดเชอื ในก้งุ ท่ีส้าคัญที่สรา้ งความเสยี หายกบั การเลียงกุ้งในประเทศไทย ในปี 2020 ยังเปน็ โรค ท่ีวนเวียนซ้าซ้อน กับโรคกุ้งในปี 2019 โดยเฉพาะโรคกุ้งที่เกิดจากโรคติดเชือไวรัสทังตัวแดงดวงขาว และ โรคหัว เหลือง ท่ีสร้างความเสียหายรุนแรงทุกๆปี ท่ีเกิดจากความอ่อนแอและล้มเหลวของของระบบไบโอซีเคียว (Biosecurity failure and weakness) และการมพี าหะมากในน้าในสงิ่ แวดล้อม จากการปล่อยน้าทอ่ี าจยงั มเี ชือออก สู่สิ่งแวดล้อม โดยปราศจากการบ้าบัดที่ถูกต้อง ท้าให้เชือและพาหะแพร่กระจายในสิ่งแวดล้อมสูง รวมถึงการถ่าย น้าในปริมาณสูงมาก ออกสู่สิ่งแวดล้อม ขณะท่ีระบบการเตรียมน้า เตรียมบ่อ ภายในฟาร์ม อาจยังไม่สามารถควบคมุ เชือไวรัสในน้า ในดิน และ พาหะในน้า และ ในสิ่งแวดล้อม ได้ดีเพียงพอ เป็นสาเหตุให้เชือไวรัสยังระบาดอยู่เป็น ประจ้าทุกปี ขึนอยู่กับสภาวะอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงด้วย และโรคกุ้งท่ีท้าให้เกิดอาการกุ้งโตช้า แตกไซส์ แคระแกรน (Emaciated shrimp) ทเ่ี กิดจากการติดเชือ อเี อชพี (EHP – Enterocytozoon hepatopenaei) และ กลมุ่ อาการขี ขาว (White feces syndrome phenomenon – WFS ) รวมถึงการติดเชือแบคทีเรียอีเอ็มเอส (EMS or AHPND) ก็ยังคงเป็นปัญหาหลักๆท่ีส้าคัญส้าหรับการเลียงกุ้งในประเทศไทยในปี 2021 (CPF Shrimp pathogens Surveillance program and Innovation & System Excellency Team Thailand 2020) กล่มุ อาการขีขาว (White feces syndrome phenomenon – WFS ) พบวา่ มีความสัมพนั ธก์ ับ หลายปัจจยั ร่วมกัน ทังปัจจัยจากการติดเชือ เช่น เชือโรค อีเอชพี และ แบคทีเรีย หลายๆชนิด รวมทัง เชือแบคทีเรียแบบใช้ ออกซิเจน (Aerobic bacteria) และ แบคทีเรียแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic bacteria) และ เชืออื่นๆ ซึ่งกลุ่ม อาการขีขาวมักมีความสัมพันธ์ กับปัจจัยส่ิงแวดล้อมท่ีเสื่อมโทรมลงด้วย (Environmental deterioration) เช่น การ คงค้างของสารอินทรยี ์ในน้า ในบอ่ และ ส่ิงแวดล้อมสงู ก้งุ ทม่ี ปี ญั หากลุ่มอาการขีขาว ซง่ึ เป็นลกั ษณะอาการภายนอก (External clinical sign) ที่แสดงออกจาก การพบเส้นขีกุ้งเป็นสีขาวลอยน้า หรือพบในยอ หรือท่ีขอบบ่อ ซ่ึงสันนิ ฐานว่า เกิดจากการลอกหลุดของเซลเยื่อบุวิลไล่ของตับ (Sloughing of hepatopancreas epithelium cell) ของ กุ้ง ซึ่งอาจจะเกิดได้จากหลากหลายสาเหตุ หรือ อาจเกิดร่วมกัน โดยพบว่า กุ้งมักจะอ่อนแอลงอย่างมาก กินอาหาร ลดลง และ มักพบว่ากุ้งมักจะมี ADG หรือมีอัตราการเจริญเติบโตต่อวันต่้า และ FCR หรืออัตราการแลกเนือสูงในกุ้ง กลุ่มท่ีมีอาการดังกล่าว ซ่ึงมักพบว่า กลุ่มอาการเจริญเติบโตช้า (Emaciated shrimp or stunt growth) เหล่านี มัก มีความสัมพันธ์กับการติดเชืออีเอชพี (EHP – Enterocytozoon hepatopenaei ) อยู่ในปริมาณ และ สัดส่วนที่สูง ซงึ่ เชืออีเอชพนี ี ซ่งึ เคยจดั อยใู่ นกลุ่มเชือไมโครสปอริเดียน แตป่ จั จบุ นั ถกู จดั ในกลุ่มเชือรา ทสี่ ามารถสรา้ งสปอร์ขนาด เล็ก จ้านวนมาก ภายหลังเข้าไปติดในตับกุ้ง และสปอร์เหล่านีมีความทนทานอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้ยาวนาน และมี ความสามารถในการติดต่อไปยังกงุ้ ได้ยาวนาน หลายเดอื น ถึง ปี และสปอรเ์ หลา่ นีสามารถปะปนอยู่ในน้า และคงค้าง ๒๐

ในบอ่ ตามพนื บอ่ ตามดินทพี่ ืนบ่อ ใตพ้ ลาสติกพีอี อุปกรณเ์ ครื่องมือ และ สิ่งแวดลอ้ มต่างๆ เชือ อีเอชพี มีรายงานว่า มีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของกุ้ง และ มักท้าให้เกิดอาการแคระแกรน กุ้งตัวน่ิม กรอบแกรบ แตกไซด์ และ โตช้า อ่อนแอ โดยกุ้งสามารถติดเชืออีเอชพี ได้ทุกขนาดอายุ ทุกช่วงอายุของกุ้ง เชือสามารถพบได้ในลูกกุ้งจากโรง เพาะฟักท่ีไม่สะอาดและไม่ได้มาตรฐาน และเกษตรกรสามารถตรวจสอบเชือในลูกกุ้งได้ด้วย เคร่ืองมือพีซีอาร์ เชือ สามารถพบไดใ้ นอาหารสดทีน่ า้ ไปให้พ่อแม่พันธ์ุ เชน่ มรี ายงานพบใน เพรยี ง และ ปลาหมึก หอย เป็นตน้ และ เชอื สามารถพบได้ในพาหะ และ เวคเตอร์ในน้าหลายชนิด เช่น หอย ตัวอ่อนหอย แพลงก์ตอนสัตว์ และ สัตว์หน้าดิน หลายๆชนิด รวมทงั ปลา โดยก้งุ ท่มี ีขนาดเล็กมกั พบมีความรนุ แรงของโรคสงู หากมีการติดเชอื ตงั แตย่ ังมีขนาดเลก็ ก้งุ ท่ีมีขนาดใหญ่ จะพบมีความรุนแรงของโรคลดน้อยลง ทังนีความรุนแรงของเชืออีเอชพี ขึนกับ ปริมาณ และ จ้านวน สปอร์ที่ติดในร่างกายและในตับกุ้ง และ ขึนกับระยะและขนาดของกุ้งที่ติดเชืออีเอชพีด้วย โดยกุ้งที่ติดเชืออีเอชพีใน ปริมาณต้่าๆ มักจะไม่ตาย แต่มีการเจริญเติบโตช้า กินอาหารลดลง กุ้งจะมีคุณภาพซากตา่้ ลง เช่น แคระแกรน ตัวนิม่ เปลือกไมแ่ ข็ง กรอบแกรบ แตกไซด์ โตชา้ การแพร่กระจายของเชืออีเอชพภี ายในบ่อ และ สิง่ แวดลอ้ ม สามารถเกิด ขีนได้ผ่านการกินสปอร์ (Oral route infection) ท่ีหลุดออกมากับขีกุ้งตัวท่ีมีการติดเชือ และสปอร์ล่องลอยปะปนใน นา้ และจับเกาะกับตะกอนที่แขวนลอยในน้า หรือการสมั ผัสกับสปอร์ในนา้ (Cohabitation) ซึ่งพบวา่ มีความสัมพันธ์ กับความหนาแน่นของกุ้งท่ีปล่อย และระยะเวลาในการปล่อยให้กุ้งสัมผัสกับสปอร์ว่ามีระยะเวลายาวนานแค่ไหน และ ยังพบว่า ปริมาณสปอร์มีความสัมพันธ์กับ ปริมาณตะกอน ปริมาณเลนสะสมในบ่อ และ การดูดเลน และ การ เปล่ยี นถ่ายน้า หากเกษตรกร มคี วามสามาถ ลดระยะเวลาการสัมผัสสปอร์ กับตัว กงุ้ และ ลดการเก็บกนิ สปอร์ของกุ้ง ใหล้ ดนอ้ ยลง โอกาสการตดิ เชืออีเอชพีกจ็ ะต้า่ ลง การปล่อยกงุ้ รุ่นท่ีผ่านการอนุบาลทีม่ ีขนาดใหญ่ขนึ แขง็ แรงขนึ และ สามารถมีการโตชดเชย (Compensatory growth) ได้ดี และรวดเร็ว และเหมาะสม ขณะท่ีการลดปริมาณสปอร์ใน น้า ในบ่อ และ ในสิ่งแวดล้อม มีความจ้าเป็นอย่างย่ิง โดยการลดปริมาณตะกอนในน้าให้ลดน้อยลง ท้าให้น้าใสขึน และ ควบคุมสารอินทรีย์ให้ต้่าลง พบว่ามีความส้าคัญในการควบคุมการแพร่กระจายของเชือ อีเอชพีได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพดี การตดิ เชืออีเอชพี อยา่ งรนุ แรง หรอื การมเี ชืออเี อชพี หรอื สปอรข์ องเชือแฝงตวั หลบซ่อน ในระบบ การเลียงจ้านวนมาก และถ้าหากมีการติดเชือฉวยโอกาสร่วมกับ เชือแบคทีเรียชนิดต่างๆ ( 2nd bacteria opportunistic infection) ทัง เชือแบคทีเรียวิบริโอ หลากหลายสายพันธ์ุ และ เชือแบคทีเรียแบบไม่ใช้ออกซิเจน อีกหลายๆชนิด หรือเชือแบคทีเรียก่อโรคกลุ่มอ่ืนๆ ก็มักพบว่าจะท้าให้เกิดกลุ่มอาการขีขาวท่ีมีอาการรุนแรง และ ชัดเจนมากขึน จะพบขีขาวลอยบนผิวน้ามากขึน หากปล่อยให้การติดเชือโรคทังสองชนิดลุกลามยาวนานขึน โดยการ จัดการท้าได้ยังไม่ดีพอหรือไม่ทันเวลา กุ้งมักมีอาการติดเชือโรคแบบเรือรังยาวนาน กุ้งจะกินอาหารลดลงอย่างมาก จะพบมที ะยอยตายจ้านวนมากขนึ อตั รารอดต้่าลง จนในที่สดุ อาจต้องตดั สินใจจับกงุ้ ซึ่งก็มกั พบวา่ กุ้งท่ีจบั มักมีสภาพ และคุณภาพกุ้งหลังจับที่ไม่ดี และเกษตรกรมักประสบปัญหาขาดทุน และต้นทุนการเลียงสูง เพราะอัตรารอด และ ๒๑

คุณภาพผลผลิตไม่ดี โดยเฉพาะหากการแก้ไขปัญหาไม่ทันการ โดยมุ่งเน้น การแก้ไขปัญหาจาก ปัจจัยใด ปัจจัยหน่ึง แต่เพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถ แก้ไขปัญหากลุ่มอาการขีขาว ท่ีมีปัญหามาจากปัจจัยหลายๆส่วนมาเก่ียวข้องกันได้ การจะควบคุมจัดการกลุ่มอาการขีขาวในกุ้ง จึงจ้าเป็นต้องเข้าใจ สาเหตุหลัก สาเหตุโน้มน้า และ ปัจจัยร่วม ที่ท้าให้ เกิดกลุ่มอาการดังกล่าวเสียก่อน และพยายามลดสาเหตุ สืบค้น ท้าความเข้าใจ และลดความเสี่ยง ปัจจัยเส่ียง และ โน้มนา้ เหลา่ นันให้ลดนอ้ ยลง จึงจะสามารถควบคุมและป้องกัน กลุ่มอาการขขี าวไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ กลุม่ อาการขขี าว ยังพบว่ามกั มคี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งชดั เจน กับ ปจั จยั ความเสือ่ มโทรมของ น้า และคุณภาพน้าในบ่อเลียง รวมถึงปัจจัยความเสื่อมโทรมของบ่อเลียงด้วย ทังเร่ือง แก๊สพิษ ท่ีเกิดขึนในน้า ทัง แอมโมเนีย ไนไตร์ท ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และแก๊สพิษอ่ืนๆ การบลูมของแพลงก์ตอน และ การตายของแพลงก์ตอน จา้ นวนมากโดยเฉพาะในชว่ งที่มอี ากาศเปลีย่ นแปลงหรอื สภาพอากาศแปรปรวน ปัญหาจะยิง่ เกิดรวดเร็ว และ รนุ แรง ขึน ท้าให้เกิดการเปล่ียนแปลงของสีน้า ความเข้มของน้า และความโปร่งแสงของน้า หากเกิดการดรอปของแพลงก์ ตอนอย่างรวดเร็วและเฉียบพลัน และเกิดการสะสมของตะกอน และ สารอินทรีย์ปริมาณสูง ในน้า เช่น เกิดขีแดด หรือ พบเศษซากแพลงก์ตอนลอยที่ผิวน้า และ ตกตะกอนไปสะสมท่ีพืนก้นบ่อ จนบางครังอาจก่อให้เกิดสภาพการ หมักหมม และ เกิดสภาวะไร้ออกซิเจนที่บริเวณพืนบ่อ หรือใกล้แนวพืนบ่อ หรือ แนวเลน หรือ หลุมกลางบ่อ ซ่ึง เกษตรกรสามารถตรวจสอบสภาวะความไร้ออกซิเจนได้ด้วยเคร่ืองมือวัด รีดอกโพเทนเชี่ยล (Oxidation reduction potential probe – ORP probe) ที่เคยถูกใชเ้ ปน็ เครื่องมือชวี ดั คุณภาพพนื บ่อท่ีเช่ือมโยงกับกลมุ่ อาการขขี าวได้เป็น อย่างดใี นอดีต การเกิดการสะสมของของเสีย ตะกอน และ สารอินทรยี ์จา้ นวนมากในบ่อ และในสิ่งแวดล้อม มกั จะ โนม้ นา้ ใหเ้ กดิ การเจริญเติบโตของเชือแบคทีเรียฉวยโอกาสหลากหลายชนิดขึนดว้ ย เพราะ เชือแบคทีเรียเหลา่ นี อาศยั สารอาหารในน้า ทัง คาร์บอน และ ไนโตรเจน ที่เกิดจากการสะสมของสารอินทรีย์จ้านวนมากเหล่านีเป็นอาหารใน การเจริญเติบโต ซ่ึงจะเห็นได้ชัดเจนว่า การเกิดปัญหาของกลุ่มอาการขีขาว มักจะเกิดขึนหลังลงกุ้งไปในระยะเวลา มากกวา่ 30 – 60 วนั ซ่ึงการสะสมของสารอินทรีย์คงค้าง ยังสง่ ผลตอ่ การบลมู ของแพลงก์ตอนจ้านวนมาก ทงั แพ ลงก์ตอนพืช และ แพลงก์ตอนสัตว์ ท้าให้สภาพ พีเอช และ ออกซิเจนท่ีละลายน้า และสมดุลของสารต่างๆในน้าเกิด การเปล่ียนแปลง พีเอชในบ่อจะแกว่งตัวสูงขึนในรอบวัน ซ่ึงจะส่งผลถึงการเปล่ียนแปลงของ ระดับ อัลคาไลน์ และ ระดบั แรธ่ าตใุ นนา้ ทสี่ า้ คัญดว้ ย เชน่ แคลเซียม และ แมกนีเซยี ม และ โปแตสเซยี ม เปน็ ตน้ และ ทา้ ใหเ้ กดิ สภาวะที่ท้า ให้กุ้งเครียด และ อ่อนแอ และ อ่อนไหวต่อการติดเชือโรคต่างๆได้ง่ายขึน หากพบมีเชือโรคเหล่านันปรากฎอยู่ในบ่อ ในปริมาณสูง การติดเชือมักแพร่กระจายและลุกลามอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะผ่านการกินของกุ้ง และ การสัมผัสกับ เชอื โรคเปน็ ระยะเวลายาวนาน ปัจจัยความเส่ือมโทรมของ บ่อ ยังเกิดได้จากการหมักหมมของของเสีย จากอาหารกุ้งที่กินไม่หมด หรือ อาหารท่ีเหลือในบ่อ คราบกุ้งที่ลอกคราบออกมาจ้านวนมากในแต่ละวัน ซากแพลงก์ตอนท่ีบลูมและตายในแต่ละวัน ๒๒

ซากกุ้งตายทสี่ ะสมท่ีพืนบ่อ ท่ีเกิดขนึ ในบ่อ และ ไม่สามารถบา้ บดั หรือจัดการเอาออกจากบอ่ เลียงไดท้ ันเวลา เพราะ ระบบการบ้าบัดโดยการดูดออกไม่มีประสิทธิภาพดีเพียงพอ หรือ เกิดจาการเตรียมพืนบ่อไม่ดี ตากบ่อไม่แห้ง หรือมี น้าซึม หรือ บ่อท่ีอยู่ต่้ากว่าระดับน้าทิง หรือการใช้บ่อซ้าอย่างรวดเร็วเพ่ือเร่งการลงกุ้งในรอบถัดไป โดยไม่มีเวลาได้ พกั บอ่ เพยี งพอ หรอื บา้ บัดพืนบ่อนานเพยี งพอ หรือ การปลอ่ ยก้งุ ความหนาแน่นสูงและการบริหารจัดการอาหารไม่ดี หรือขนาดบอ่ เลียงทใ่ี หญเ่ กินไป ทา้ ให้ควบคมุ การบริหารจัดการบ่อ และ น้า และ บรหิ ารจัดการอาหาร และ ของเสีย ท้าได้ไม่ดี ไม่ทันเวลา ซึ่งสารอินทรีย์ และ ของเสียเหล่านี มักพบเป็น แหล่งสะสมของเชือโรคแบคทีเรียตัวร้าย หลายๆชนิด (Pathogenic bacteria) และ สปอร์ของเชือ อีเอชพี จ้านวนมากด้วย หากกุ้งไปสัมผัส หรือเก็บกิน ตะกอน เหล่านี กม็ โี อกาสไดร้ บั เชือโรคเหล่านีเข้าไปได้ และมักทา้ ใหเ้ กิดกลุม่ อาการขีขาวรนุ แรงมากยง่ิ ขนึ ปจั จยั ความเสื่อมโทรมของ สง่ิ แวดล้อม และการมีสารอินทรยี ์ และเชือโรค ทัง เชอื แบคทเี รีย และ สปอรข์ อง เชือ อีเอชพี สะสมอยู่สูงในสิ่งแวดล้อม และแหล่งน้าธรรมชาติภายนอก ฟาร์มสูง ก็เป็นอีกสาเหตุหน่ึงท่ีท้าให้กลุ่ม อาการขีขาว มีความรุนแรง และมีความต่อเนื่องยาวนานขึน ซ่ึงอาจจะเกิดมาจาก การถ่ายน้าและดูดตะกอนของเสยี ทังของแข็ง และ ของเหลว และ น้าหลังการจับกุ้ง ที่มีสารอินทรีย์ และเชือโรคต่างๆจ้านวนมากท่ีมีขึนในระบบการ เลียงภายในฟาร์ม ออกสู่แหล่งน้าธรรมชาติ โดยปราศจากการบ้าบัดที่ถูกต้อง ก่อนทิงสู่ภายนอกและแหล่งน้า ธรรมชาติ ท้าให้เชือโรค และ สปอร์ของ เชืออีเอชพี สะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมในปริมาณที่สูงขึนในทุกๆปี ในเกือบทุก พืนที่ ที่มีความหนาแน่นของฟาร์มเลียงกุ้งสูง ซ่ึงจะพบได้ชัดเจนเม่ือมีการท้าการตรวจเฝ้าระวังโรคในสิ่งแวดล้อม การมีบ่อเก็บเลนที่มีขนาดใหญ่เพียงพอ (Sufficient sludge pond) และหลุมเก็บเลนกลางบ่อท่ีมีขนาดใหญ่ และ เหมาะสมกับขนาดบ่อ และ มีปั๊มดูดเลนที่มีขนาดเหมาะสม การมีระบบบ้าบัดน้า (Effluent treatment plant (ETP)) ท่ีมีขนาดและปริมาณเหมาะสม สามารถชว่ ยลดปัญหาผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมได้ดีมาก โดยการจัดโครงสร้าง ฟารม์ ใหด้ ี แบง่ สัดสว่ นบ่อเลยี ง บ่อทรตี นา้ บ่อพักนา้ บอ่ บ้าบัดนา้ และ บอ่ ทิงเลน ใหม้ คี วามเหมาะสม กบั ขนาดฟาร์ม ความหนาแน่น และ ผลผลิต และ ความสามารถในการเลียง (Carrying capacity) และ ค้านวนปริมาณน้าที่ต้องใช้ ในการเปลี่ยนถ่ายให้เหมาะสมในแต่ละวัน ในแต่ละรอบการเลียง และมีปริมาณเพียงพอ และ มีคุณภาพน้าท่ีดีตาม เป้าหมาย น้าท่ีน้าเข้ามาใช้ภายในฟาร์ม โดยจ้าเป็นต้องผ่านขบวนการจัดการการเตรียมน้าที่ดี และ เหมาะสม ทัง การตกตะกอน การฆ่าเชือโรคในนา้ การควบคุมปรมิ าณสปอร์ และ เชอื โรค การก้าจดั พาหะน้าโรคในน้าก่อนนามาใช้ และ การปรับแต่งคุณภาพน้าท่ีส้าคัญๆให้เหมาะสมกับการเลียง การพักน้าท่ีจะหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Recycled water) ใหเ้ กดิ การบ้าบัดตวั เองตามธรรมชาติเพ่ือบ้าบัดสารอนิ ทรียต์ กค้าง (Self-nitrification and retention time )โดย ต้องมีระยะเวลาการพักน้าท่ียาวนานเพียงพอ หรือผ่านระบบการบ้าบัดท่ีเหมาะสม ทังจากขบวนการบ้าบัดทาง ชีวภาพ ทางเคมี และ ทางกายภาพ เช่น การใช้บึงประดิษฐ์ (Wetland) การบ้าบัดน้าท่ีผ่านการเลียงกุ้ง ไปยังบ่อท่ีมี การเลยี งปลา ใหเ้ กิดการบ้าบัดตะกอน และ สารอินทรยี ์ ตามธรรมชาติ (Bio-filter) เปน็ ต้น และ การหมัน่ ตรวจสอบ ๒๓

คุณภาพน้า และเฝ้าระวังคุณภาพน้า และ คุณภาพแหล่งน้าธรรมชาติ และ เฝ้าระวังเชือโรคในน้า จากแหล่งน้า ธรรมชาติ อย่างต่อเน่ือง จนถึงกระทั่งการพิจารณา การหยุดพักบ่อ และ หยุดพักระบบการเลียง (Crop skipping or crop holiday) เพื่อตัดตอนเชือโรคในบางช่วง หรือบางโซน และ มีการหมุนเวียนการเลียงไปในแต่ละโซน ให้มีพืนท่ี ท่ีได้หยุดพักบา้ ง กเ็ ปน็ อกี แนวทางหนงึ่ ในการปอ้ งกนั ปญั หาที่ดี โรคติดเชือแบคทีเรียอีเอ็มเอส (EMS or AHPND) ท่ีเกิดจากสารพิษของเชือแบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไล ติคัส และ เชือแบคทีเรียอีกหลายๆตัว ท่มี กั เกิดขนึ ในชว่ งหนา้ ร้อน ความเค็มสูง โดยเฉพาะในปี 2020 ทมี่ อี ากาศร้อน จัด อุณหภูมิสูง มีสภาวะภัยแล้งรุนแรง และแห้งแล้งยาวนาน เนื่องจากปริมาณน้าในแหล่งน้า และ ปริมาณน้าฝน น้อยลง สารอินทรีย์ และ ตะกอนในน้าเข้มข้น ท้าให้ เชือแบคทีเรียวิบริโอ เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แพลงก์ตอน เจริญเตบิ โตเรว็ สารอินทรยี ์ท่ีสะสมสูง จะเป็นแหลง่ อาหารทด่ี ี ส้าหรับทงั เชอื แบคทีเรีย และ แพลงกต์ อน มีไบโอฟิมล์ เกิดขึนในบ่อมากและรวดเร็ว โดยเฉพาะหาก การจัดการของเสียและสารอินทรีย์ในน้ายังท้าได้ไม่ดี เพียงพอ เพราะ ขาดแคลนปริมาณน้า หรือเตรียมน้าท่ีดีได้ไม่ทันเวลา การปล่ียนแปลงคุณภาพน้าในบ่อเกิดขึนอย่างรวดเร็ว นอกจากนีผลกระทบของความเสื่อมโทรมของแหล่งน้า (Environmental deterioration and impact ) การใช้น้า รว่ มกัน การอย่ใู นพืนท่ีที่มีความหนาแน่นของฟาร์มเลีงกงุ้ สูง การทงิ น้าและเลนตะกอนท่ดี ูดออกจากบ่อ ลงสู่แหล่งน้า ธรรมชาติ โดยไม่มีระบบการจัดการเลนในบ่อเก็บเลน (Sludge pond) ก่อนทิง หรือการทิงน้าท่ีจบการเลียงกุ้ง หรือ น้าทีเ่ ปลยี่ นถา่ ยจากบอ่ เลียง (Effluents) โดยไมม่ ีระบบการจัดการน้าทงิ หรอื บ้าบดั นา้ ก่อนทงิ (Effluents treatment plant – ETP ) ซึ่งเปน็ สาเหตุใหเ้ ชือโรค และ สปอรข์ องเชือโรค และ พาหะนา้ โรค มีปรมิ าณสงู ในส่งิ แวดล้อม และ มี ปริมาณเพ่ิมสูงขนึ ทกุ ๆปี การเฝ้าระวังโรคกุ้งในทางระบาดวิทยา (Epidemiology surveillance program) คือกระบวนการตรวจสอบ จัดเก็บ วิเคราะห์ และแปลผลข้อมูล ทางห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบ คัดกรองโรคท่ีเกิดในกุ้ง และ เชือโรค ท่ี เป็นไปอย่างต่อเน่ืองและมีระบบการเก็บข้อมูลอย่างเปน็ ระบบ และมีฐานข้อมูลท่ีมากพอ ในการวิเคราะห์ผลทางสถติ ิ (Statistical analysis) รวมถึงการ น้าข้อมูลการเฝ้าระวังโรคท่ีวิเคราะห์ได้ไป รายงาน เผยแพร่และใช้ให้เกิด ประโยชน์ ในด้านการวางแผน การจัดท้ามาตรการป้องกันและควบคุมปัญหาการเกิดโรคกุ้ง รวมถึงการประเมินผล มาตรการการควบคมุ และปอ้ งกันโรคก้งุ (Preventive measure ) อยา่ งทันทว่ งที และมีประสทิ ธภิ าพสูง การเฝ้าระวังโรคกุ้งเชิงรับ (Passive pathogens surveillance program ) คือการตรวจเฝ้าระวังโรคกุ้ง ภายหลังการเกิดโรคกุ้งขึนแลว้ ในบอ่ จึงท้าการตรวจสอบว่ากุ้งเกิดการติดเชือโรคชนิดใด อย่างไร ในปริมาณมากน้อย เพียงไร และท้าการรายงานผลการเฝ้าระวังโรคเชิงรับเป็นปกติประจ้าตามระยะเวลาท่ีก้าหนด เช่น ตัวอย่าง การเฝ้า ระวังโรคกุ้งเชิงรับ ท่ีชัดเจน คือ การตรวจหาเชือไมโครสปอริเดียน อีเอชพี ในเนือเย่ือตับกุ้งในห้องปฏิบัติการท่ัวๆไป ๒๔

ซึ่งมีประโยชน์ในการพิสูจน์ทราบ และ วินิจฉัยโรคกุ้ง (Identification and diagnosis) ว่า กุ้งเกิดปัญหาในครังนันๆ มาจากเชือโรคชนิดใด และ จะตัดสินใจอย่างไร ในการจัดการ หรือควบคุมป้องกันโรคในครังนันๆ ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ซ่ึงหลายๆครัง การเฝ้าระวังโรคเชิงรับ อาจสายเกินไปส้าหรับการควบคุมและป้องกันโรคกุ้ง เพราะ บางครังเมื่อกุ้งเกิดการติดเชือโรคเหล่านันเข้าไปภายในร่างกายกุ้งแล้ว อาจไม่สามารถแก้ไขปัญหากุ้งในบ่อ นนั ๆได้ เพราะการแพรก่ ระจายเชือภายในตัวกุง้ หรือในบอ่ กุ้ง และ ภายในฟาร์มจะเกิดขึนอยา่ งรวดเรว็ อย่างไรก็ตาม การเฝา้ ระวงั โรคเชงิ รับในห้องปฏิบตั ิการ มีประโยชนใ์ นการตดั สินใจในการจับกงุ้ หรอื ปิดบอ่ กงุ้ เพื่อลดความสูญเสีย หรอื ป้องกันการลุกลาม ลดการแพร่กระจาย หรือลดความสูญเสยี ให้ลดนอ้ ยลงได้ การเฝ้าระวังโรคกุ้งเชิงรุก (Active pathogens surveillance program ) คือการตรวจสอบเฝ้าระวังโรคกุ้ง โดยมีตวามมงุ่ หมายในการคน้ หาเชือโรคทีแ่ อบแฝง ในระบบ หรือในสิง่ แวดล้อม ให้พบก่อนการเกดิ โรคกุ้งขนึ ในตัวกุ้ง หรือในบ่อ หรือภายในฟาร์ม ซ่ึงจุดมุ่งหมายในการตรวจสอบโรคในเชิงรุกเหล่านี เพ่ือ ตรวจสอบ ค้นหา และ คัด กรอง ว่าเชือโรคเหลา่ นัน อยู่ทไี่ หนในส่ิงแวดล้อม รอบๆระบบการเลียงกุ้งในจุดไหน และมกี ารกระจายตัวของเชือโรค อย่างไร ตัวอย่าง การเฝ้าระวังโรคกุ้งเชิงรุก เช่น การตรวจสอบหาการปนเป้ือนของเชืออีเอชพี หรือ สปอร์ของเชืออี เอชพี ในแหล่งน้าธรรมชาติ รอบๆฟาร์มเลียง หรือ การตรวจสอบการปนเป้ือนของเชืออีเอชพี หรือ สปอร์ของเชืออี เอชพี ในนา้ ในตะกอน ในดิน หรอื ใตพ้ ืนพีอี หรือ ใต้พอี สี โลป หรือในอุปกรณ์เคร่ืองมือ หรอื ภายในระบบไบโอซีเคียว ริตี ภายในฟาร์ม ท่ีใชง้ านมายาวนาน โดยการการเฝา้ ระวงั โรคก้งุ เชิงรกุ อาจสามารถทา้ การตรวจสอบการกระจายตัว ของเชอื โรคในทังระบบการเลียงกุ้ง แบบแยกสว่ นภายในแตล่ ะระบบการเลียง (Pathogens distribution dissecting analysis surveillance program within the culture process – PDDA ) เราก็สามารถตรวจสอบ และ ติดตาม เชือโรค ติดตามการกระจายตัว การแอบซ่อน ของเชือโรค และ สปอร์ของเชือโรค ไล่ มา ตังแต่ แหล่งน้าตาม ธรรมชาติรอบๆฟาร์ม ระบบบ่อพักน้า ภายในฟาร์ม ระบบการเตรียมน้า เตรียมบ่อ ภายในฟาร์มในแต่ละสเต็ปและ แตล่ ะรูปแบบทีม่ ภี ายในฟาร์ม เชน่ ระบบบอ่ ตกตะกอน ระบบบ่อทรตี นา้ 1 ระบบบอ่ ทรีตน้า 2 ระบบน้าพร้อมใช้งาน แยกเป็น ระบบน้าท่ีใช้ในระบบอนุบาลภายในฟาร์ม และ ระบบน้าท่ีใช้ในระบบการเลียงในบ่อ ระบบการอนุบาลลูก กุ้งภายในฟาร์ม ระบบอุปกรณ์เครื่องมือท่ีใช้ในการอนุบาล ระบบการเลียงในบ่อเลียง grow out ระบบเก็บน้าที่ใช้ ภายหลังการเปล่ียนถ่าย ระบบอุปกรณ์เครื่องมือท่ีใช้ในระบบบ่อ grow out ระบบน้าทิงและน้าท่ีถ่ายออก ระบบน้า ในคลองน้าหลังการเปล่ียนถ่าย ระบบการจัดเก็บเลนในบ่อเก็บเลน ระบบการหมุนเวียนนา้ ระบบเคร่ืองมืออุปกรณ์ ปั๊มน้าเครื่องสูบน้า ระบบไบโอซีเคียว ระบบการปนเปื้อนภายในคนงาน เหล่านีเป็นต้น ดังตัวอย่าง ไดอะแกรม ที่ แนบด้านล่าง แสดงตัวอย่าง เมื่อเราน้าข้อมูลการกระจายตัว และ ปริมาณของเชือ และ ความถ่ี และ เปอร์เซนต์ของ การตรวจพบเชือ มาใส่ในฐานข้อมูลท่ีเรามี เราจะได้กราฟการกระจายของเชือไมโครสปอริเดียน อีเอชพี ( EHP by PCR) ในน้า ดิน และตะกอน ที่กระจายตัวอยู่ในสิ่งแวดล้อม และ ภายในแต่ละส่วนของระบบการเลียงกุ้งของ ๒๕

เกษตรกร น้ามาคล่ีกระจายเพ่ือประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในแต่ละปีท่ีจัดท้าโดยห้องปฏิบัติการการตรวจสอบ โรคก้งุ และศนู ษค์ วามเป็นเลิศดา้ นนวตั กรรมการเลยี งกุ้งของเครือเจรญิ โภคภัณฑ์* ทเี่ ราสามารถน้าขอ้ มลู การเฝ้าระวัง โรคกุ้งเชิงรุกแบบแยกส่วน (Dissecting analysis )ภายใน ในสิ่งแวดล้อม และในแหล่งน้าธรรมชาติ และวิเคราะห์ ภายในในระบบการเลียงของเกษตรกรในสว่ นตา่ งๆ นา้ มาเพื่อพิจารณา วเิ คราะห์ การกระจายตัวของเชอื โรคในระบบ การเลียง (Pathogens distribution dissecting analysis – PDDA) ในจุดต่างๆ ภายในระบบของฟาร์มเลียง โดย ต้องอาศัยขบวนการท้างานในการวางแผนการเก็บตัวอย่างในการตรวจวิเคราะห์เฝ้าระวังโรคกุ้งเชิงรุก อย่างเป็นขัน เป็นตอน และเป็นระบบอย่างถูกตอ้ ง และ ถูกหลักการทางวิชาการ ในแต่ละฟาร์ม และ แต่ละพืนท่ีเป้าหมายท่ีจะเข้า ไปท้าการตรวจวิเคราะห์ และต้องอาศยั ฐานการเก็บข้อมูลทีม่ ีขนาดใหญ่ (Big data) ทีม่ ีการเก็บข้อมูลอยา่ งต่อเนื่อง เป็นระบบ สามารถเรียกดูข้อมูลในทุกมุมทุกมิติได้ เมื่อต้องการ และมีจ้านวนตัวอย่างมากพอทางสถิติ เพื่อใช้เป็น แนวทางการวางแผนควบคุมป้องกันโรค และตัดสินใจจัดการกับเชอื โรคได้อย่างถูกต้อง ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม และมี ประสิทธิภาพสูง ในเชิงการสกัดกัน และ ป้องกัน (Preventive measure) ก่อนท่ีเชือโรคเหล่านันจะเข้าสู่ตัวกุ้ง ซึ่ง ยากทจ่ี ะทา้ การแกไ้ ขดงั ทไ่ี ด้อธบิ ายไปแลว้ ขา้ งตน้ เกษตรกรในประเทศไทยควรจะต้องปรับตัวอย่างไรภายใต้สถานะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ในปัจจุบัน ทังจาก เร่ืองปัญหาโรคระบาด และวิกฤต โควิด – 19 ท่ีเกิดขึนในมนุษย์ และปัญหาโรคกุ้งที่รุมเร้าอย่างมาก ที่ส่งผลถึง คุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล ของผลผลิต และ ราคาก้งุ ทแ่ี กวง่ ตัวในปจั จุบัน เพราะปญั หา อุปสงค์ และ อุปทาน ท่ีเปล่ียนแปลง การวางแผนการผลิตท่ีดีและเหมาะสม การเลือกใช้พ่อแม่พันธ์ุ และ ลูกพันธุ์จากแหล่งที่มั่นใจ และ เช่ือถือได้ และ การเปล่ียนแปลงและปรับปรุงระบบการเลียงภายในฟาร์มอย่างจริงจัง ทังระบบการจัดการพืนบ่อ ระบบการจัดการน้า ระบบจัดการของเสีย ระบบการควบคุมป้องกันโรค ท่ีเหมาะสมกับฟาร์มตัวเอง รวมถึงการท้า ความเข้าใจ ต่อปญั หาสภาวะอากาศ และสิ่งแวดลอ้ มทเี่ สือ่ มโทรมไปทุกปี การควบคุมตน้ ทุนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพควร ทา้ อย่างไร การท้าตลาดควรท้าอยา่ งไร เปน็ ต้น ๒๖

*CPF Active pathogens surveillance program (Pathogen distribution dissecting analysis) (PDDA) in Thailand from CPF Shrimp pathogens Surveillance program and Innovation & System Excellency Team Thailand 2020. ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแบบองค์รวมเท่านัน (Knowledge and holistic approach) ท่ีจะท้าให้เรา สามารถอยู่ไดใ้ นสิ่งแวดล้อม สภาวะอากาศ และสภาวะตลาดท่ีเปลี่ยนแปลงไป ทังความร้คู วามเข้าใจ ดา้ นการจัดการ ทถ่ี กู ต้องในการเลียงกุง้ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ ทังเรอ่ื งตัวกุง้ น้า บ่อ และ ส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั กงุ้ ความร้คู วามเข้าใจ ด้านโรคกุ้งและการปอ้ งกันความเสยี หายจากโรคกุ้ง กลไกการเกิดโรค การตรวจสอบโรคอย่างต่อเน่ืองและสม่้าเสมอ (Monitoring program) และการควบคุมป้องกันโรคท่ีถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ฤดูกาลท่ีเปล่ียนแปลงและ ผลกระทบการใช้น้าร่วมกันในแต่ละพืนท่ี และในแต่ละฤดูกาลที่เราต้องพึงระวัง ด้านระบบและรูปแบบการเลียง ความหนาแน่น ท่ีเหมาะสมกับความสามารถในการผลิตของตัวเอง (Carrying capacity) ด้านส่ิงแวดล้อมที่ เปลย่ี นแปลงไปกับการรบั มือในการผลิต การหมั่นดูแลปรับปรุง ล้างทา้ ความสะอาด ระบบการเลยี งให้มคี วามสะอาด และปราศจากการปนเป้ือนเชือโรค และ สปอร์ของเชือโรคตลอดเวลา (Maintenance program) ในทุกภาคส่วน ของการเลียง ใหใ้ ช้งานได้ดแี ละมีประสิทธิภาพดีอยู่เสมอ ก็จะเป็นแนวทางหนึง่ ในการต่อสู้ และอยรู่ อดกับโรคต่างๆท่ี มอี ย่เู ปน็ จา้ นวนมาก รอบๆฟาร์มของเราได้ ๒๗

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพ่ือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเลียงและการผลิต และความร่วมไม้ ร่วมมือกัน ของเกษตรกรในพืนที่ ในกลุ่ม ชมรม สมาคม สมาพันธ์ และ ภายในประเทศ ในการช่วยกันรักษา สิ่งแวดล้อม การถ่ายทอดและแลกเปล่ียนข้อมูลข้อสารด้านการเลียงกุ้ง และ การตลาด ที่เป็นประโยชน์ระหว่างกัน การสรา้ งเครอื ขา่ ยเชอื่ มโยงเพอ่ื ให้ข้อมลู ข่าวสาร ทถ่ี ูกตอ้ ง รวมถงึ ความร่วมมือ ระหวา่ ง ภาครัฐ และ ภาคเอกชน และ เกษตรกร ในการฝ่าฟันปัญหาอุปสรรคทังหมดท่ีเกิดขึน ทังด้านประสิทธิภาพการผลิต ประสิทธิภาพทางการตลาด ประสิทธิภาพการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ มาตรฐานการผลิตที่เป็นที่ยอมรับสากล ความปลอดภัยทางอาหารและ ผลิตภัณฑ์กุ้งและอาหารทะเล ท่ีต้องช่วยกัน พัฒนาและโปรโมทผลิตภัณฑ์กุ้งไทย ทังการบริโภคภายในประเทศ (Domestic consumption market) และ การปรับภาพลักษณ์ของคุณภาพกุ้งไทย รวมทังผลักดันการส่งออกจาก ภาพพจนท์ ีด่ ีของประเทศไทยในหลายๆด้าน เชน่ การควบคมุ ปญั หาโควดิ – 19 ที่ประเทศไทยท้าได้ดี ท่ีสง่ ผลต่อความ เช่ือม่ันในการส่งออก และน้าเข้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้า และ ความมั่นใจในการบริโภค กุ้ง จากประเทศไทย เกษตรกรสามารถท้าความเข้าใจข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับตัวจากข้อสรปุ ในภาพหรือ Take home massage ท่แี นบมาให้ดูดา้ นลา่ งครบั ๒๘

๒๙

คา้ สา้ คัญ : อเี อม็ เอส (EMS or AHPND) และ เชือ อเี อชพี (EHP) และ อาการขีขาว (WFS) ๓๐

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.ส้าราญ บรรณจริ กลุ หน่วยงานท่สี งั กดั คลนิ ิกสตั ว์นา้ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีมหานคร ประวัตกิ ารศกึ ษา สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Dr.med.vet. มหาวทิ ยาลยั สตั วแพทย์แหง่ เมืองแฮนโนเวอร์ สหพันธรฐั เยอรมนั นี อนุมัติบตั รแสดงความรู้ความช้านาญในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ (อายุรศาสตร์) วทิ ยาลยั วิชาชพี การสัตวแพทยช์ า้ นาญการแห่งประเทศไทย สัตวแพทยสภา ประวัตกิ ารทา้ งาน อาจารย์ประจา้ คลนิ ิกสตั ว์นา้ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีมหานคร นายสัตวแพทย์ คลินิกสัตว์น้า โรงพยาบาลเพื่อการสอนด้านสัตว์ใหญ่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีมหานคร คณะกรรมการก้ากับมาตรฐานมาตรฐานการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยมี หานคร คณะท้างานการขนึ ทะเบยี นอาหารสัตว์ สา้ นักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข วิทยากรอบรมเรอื่ งการโรคและการจัดการสขุ ภาพสัตว์น้า กรมปศสุ ตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิทยากรอบรมเรื่องการโรคและการตรวจวินจิ ฉัยโรคสัตวน์ า้ สถาบนั สุขภาพสตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิทยากรหลกั สตู รการฝึกอบรมและเพิม่ พูนความรู้ของผู้ประกอบวิชาชพี การสตั วแพทย์ฯ สตั วแพทยสภา E-mail: [email protected] ๓๑

ปรสิต: ภยั คุกคามในการเลยี งสัตว์น้า ผศ.น.สพ.ดร.สา้ ราญ บรรณจริ กุล ปรสิตจัดเป็นสาเหตุส้าคัญที่ก่อความเสียหายต่อการเพาะเลียงสัตว์น้า การจัดการสุขภาพสัตว์น้าในส่วนของ การป้องกันโรคท่ีเกิดจากปรสิตช่วยลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึนเป็นอย่างดี โปรโตซัวท่ีจัดเป็นปรสิตท่ีมีความส้าคัญ เช่น Ichthyophthirius multifiliis, Trichodina sp. , Tetrahymena sp. , Hexamita sp. , Chilodonella sp., Epistylis sp., ส่วนปรสิตในกลุ่มเมตาซัวที่ส้าคัญ เช่น Dactylogyrus sp., Gyrodactylus sp., Argulus sp., Lernea sp., Capillaria sp., trematode และ cestode บริเวณท่ีปรสิตท้าความเสียหายสามารถตรวจพบได้ทัง ผิวหนังภายนอก ตลอดจนอวัยวะภายในของร่างกาย การตรวจวินิจฉัยปรสิตแต่ละชนิดจากการท้า fresh smear ให้ ผลได้ดี การจา้ แนกรายละเอียดทางโครงสร้างสามารถท้าได้ เช่นGiemsa staining, silver impregnation คา้ ส้าคญั : ปรสติ สตั วน์ ้า การตรวจวนิ จิ ฉัย ๓๒

นายสตั วแพทย์นรภัทร โตวณะบตุ ร หนว่ ยงานทส่ี งั กัด ศนู ยว์ จิ ัยโรคสตั วน์ ้า คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ประวัตกิ ารศกึ ษา สตั วแพทยศาสตรบ์ ัณฑิต คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล นสิ ติ ปรญิ ญาโท สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจดั การนวัตกรรม (สหสาขาวิชา) บณั ฑิตวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั Certificate in Rabbits and Rodents Online, Royal Veterinary College Certificate in Birds and Reptiles Online, Royal Veterinary College Certified Aquatic Veterinarian, World Aquatic Veterinary Medical Association E-mail: [email protected] ๓๓

การจดั การเคสปลาทีม่ ีปัญหาการทรงตวั น.สพ.นรภัทร โตวณะบุตร ปัญหาการทรงตัวที่ผิดปกติในปลาสวยงามสามารถพบได้ในปลาทุกชนิด สาเหตุของการทรงตัวท่ีผิดปกติไป อาจเก่ียวข้องหรือไม่เก่ียวข้องกับความผิดปกติของถุงลมก็ได้ ผู้บรรยายได้แบ่งภาวะความผิดปกติของการทรงตัว ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับถุงลม และ ความผิดปกติที่ไม่เก่ียวข้องกับถุงลม ประเด็นนีมี ความส้าคญั มาก เน่อื งจากหากปลาไดร้ บั การวินิจฉัยโรคหรือภาวะทีไ่ มถ่ ูกต้อง อาจน้าไปสู่การรกั ษาทไ่ี ม่ตรงจดุ และก่อ ผลเสียทังต่อสุขภาพปลาและเจ้าของได้ ทังนี ความผิดปกติของถุงลมเป็นหนึ่งในภาวะที่รักษาได้ยากในปลาสวยงาม และยังคงต้องมีการศึกษาและท้าความเขา้ ใจในอีกหลายประเดน็ แลกจา้ เปน็ ต้องมีการเปลย่ี นข้อมลู และประสบการณ์ ตลอดจนวางมาตรฐานในการรักษาเพื่อพฒั นาและเปน็ แนวทางในการใหก้ ารรักษาท่เี หมาะสมต่อไป คา้ ส้าคัญ: ปลาสวยงาม การทรงตัว ความผิดปกติ ถุงลม ๓๔

สนบั สนุน โดย ๓๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook