Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้

แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้

Published by SPM42 Policy and Plan, 2020-06-10 23:43:57

Description: แนวทางการดำเนินงานโครงการสนับสนุนค่าใช้

Search

Read the Text Version

แนวทางการบริหารจดั การงบประมาณ รายการคา่ จดั การเรยี นการสอน (เงินอดุ หนุนค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน) ก. หลกั การ เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน หมายถึง เงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน คา่ จดั การเรยี นการสอน (คา่ อาหารนกั เรยี นประจ�ำ พักนอน) ที่จัดสรรให้โรงเรียน เพื่อใช้จ่ายเป็นค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน ส�ำหรับโรงเรียน ที่ด�ำเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียนที่อยู่ในถ่ินทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไม่สามารถ เดนิ ทางไป-กลับได้ โดยโรงเรียนได้ด�ำเนนิ การก�ำกับ ดแู ล และจดั ระบบแบบเตม็ เวลา ข. นยิ าม ๑. โรงเรียนที่จัดการศึกษาส�ำหรับนักเรียนประจ�ำพักนอน หมายถึง โรงเรียนปกติท่ีจัด การศกึ ษาใหแ้ กน่ ักเรยี นทม่ี ที อ่ี ยใู่ นถน่ิ ทรุ กนั ดาร ห่างไกล เดนิ ทางไมส่ ะดวก ไมส่ ามารถเดนิ ทางไป-กลบั ได้และเป็นโรงเรียนที่ส�ำนักเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอนุญาตและประกาศให้เป็นโรงเรียนที่มีนักเรียน ประจ�ำพักนอน ๒. ที่พักนอนในโรงเรียน หมายถึง ที่พักส�ำหรับนักเรียนประจ�ำพักนอนท่ีโรงเรียนจัดให้ ประกอบดว้ ย บา้ นพกั ครู ทพี่ กั นกั เรยี น และสงิ่ ปลกู สรา้ งอน่ื ทโี่ รงเรยี นสรา้ งขนึ้ โดยเงนิ งบประมาณ หรือเงินบริจาค ส�ำหรบั ให้นักเรียนพกั นอนในพื้นที่โรงเรยี น ๓. ถ่ินทุรกันดาร หา่ งไกล หมายถึง พื้นทซี่ ่งึ อยหู่ า่ งไกลชุมชน มีสภาพภูมิประเทศกันดาร เปน็ ภเู ขา ทะเล เกาะ หรือแมน่ ำ้� ก้นั การคมนาคมไม่สะดวก หรอื ระยะทางห่างไกลจากโรงเรียน ๔. เขตพื้นท่ีบริการ หมายถึง เขตพ้ืนท่ีบริการของโรงเรียนตามประกาศการรับนักเรียน ของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ๕. พน้ื ทโ่ี รงเรียน หมายถงึ ขนาดของทีด่ ินท่ีเป็นทต่ี ั้งของโรงเรยี น ทด่ี นิ ท่โี รงเรยี นมสี ทิ ธ์ิ ครอบครอง หรือใช้ประโยชนใ์ นการจัดการศกึ ษาจากทีด่ นิ น้นั ๖. นกั เรียนประจ�ำพกั นอน หมายถงึ นกั เรียนในเขตบรกิ ารตามประกาศเขตพ้นื ท่บี รกิ าร ของโรงเรียน ที่มีที่อยู่ห่างไกลท่ีไม่สามารถเดินทางไป-กลับได้ มาเรียนและพักนอนในท่ีพักนอน ทโ่ี รงเรียนจัดใหเ้ ปน็ ประจ�ำ โดยโรงเรียนจัดให้แบบเต็มระบบเวลา ค. เกณฑก์ ารจดั สรร ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานมหี ลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (ค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน) ให้กับนักเรียนในโรงเรียน ประจ�ำพักนอน ตามหนังสือกรมบัญชกี ลาง ท่ี กค ๐๔๐๖.๔/๑๑๒๙๗ ลงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๙ 42 แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตงั้ แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

อนุมัติให้เบิกจ่ายค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอนตามท่ีขอท�ำความตกลงไว้ในอัตราที่เพ่ิมข้ึน จากมือ้ ละ ๑๓ บาท/คน เปน็ มือ้ ละ ๒๐ บาท/คน วันละ ๒ มอื้ จ�ำนวน ๒๐๐ วนั /ปีการศกึ ษา โดยจดั สรรให้ ดงั นี้ ๑. จัดสรรให้นักเรียนระดับประถมศกึ ษา (ระดบั ชั้น ป.๑ - ป.๖) คนละ ๘,๐๐๐ บาท/ปกี ารศึกษา (ภาคเรยี นละ ๔,๐๐๐ บาท/คน) ๒. จดั สรรใหน้ กั เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ระดับชั้น ม.๑ - ม.๓ ) คนละ ๘,๐๐๐ บาท/ปกี ารศกึ ษา (ภาคเรยี นละ ๔,๐๐๐ บาท/คน) ยกเวน้ ๑. นกั เรยี นในโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั โรงเรยี นประชามงคล จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน และอิสลามวิทยาลัย แหง่ ประเทศไทย ๒. นกั เรยี นในโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ โรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ และศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ในสงั กดั ส�ำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ ๓. นกั เรยี นในโรงเรยี นทไี่ ดด้ �ำเนนิ การจดั ทพี่ กั นอนในโรงเรยี นและไดเ้ รยี กเกบ็ เงนิ คา่ อาหาร นกั เรยี นประจ�ำพกั นอนทกุ คนแลว้ กรณที ไ่ี ดเ้ รยี กเกบ็ เงนิ ไมค่ รบทกุ คน สามารถจดั สรรใหไ้ ดเ้ ฉพาะ จ�ำนวนนกั เรยี นส่วนที่เหลอื และต้องเป็นนกั เรยี นทเ่ี ป็นไปตามหลกั เกณฑท์ กี่ �ำหนด ๔. นักเรียนในโครงการตา่ ง ๆ เช่น โครงการหอ้ งเรยี นกีฬา โครงการสานฝันชายแดนใต้ โครงการโรงเรียนพกั นอนในพ้นื ที่ ๓ จงั หวดั ชายแดนใต้ ๖๔ โรง ใน ๓๗ อ�ำเภอ ง. การใชจ้ า่ ยงบประมาณ โรงเรยี นมแี นวทางในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ในการจดั หาอาหารใหแ้ กน่ กั เรยี นประจ�ำพกั นอน ดงั นี้ ๑. จดั ซอื้ วัตถุดิบประกอบอาหาร เชน่ ข้าวสาร อาหารแหง้ อาหารสด เครอื่ งปรุงส�ำหรบั ประกอบอาหารเอง เปน็ ตน้ ๒. จ้างเหมาท�ำอาหาร ๓. จ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียน โดยโรงเรียนแต่งต้ังคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ คน จา่ ยเงินสดให้นักเรียน ท้งั น้ี ต้องมใี บส�ำคัญรับเงนิ เปน็ หลกั ฐาน ทั้งน้ี การด�ำเนินการตามข้อ ๑-๒ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ตามหนงั สือ ดว่ นทส่ี ุด ท่ี กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว ๑๑๖ ลงวันท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๒ เรื่อง แนวทางปฏบิ ัติในการจัดซื้อวัตถดุ ิบเพ่ือใชใ้ นการประกอบอาหาร การจา้ งบคุ คลเพอ่ื ประกอบอาหารหรอื การจา้ งเหมาประกอบอาหาร (ปรงุ ส�ำเรจ็ ) ) และกฎกระทรวง ที่เกีย่ วข้อง 43แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตง้ั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แผนภูมิแสดงขั้นตอนการด�ำเนนิ งาน โรงเรียน ๑. แต่งต้ังผูร้ บั ผดิ ชอบ และคณะกรรมการด�ำ เนนิ การ ๒. ส�ำ รวจ และจัดท�ำ ข้อมูล นร.ประจำ�พกั นอน ตามหลกั เกณฑข์ อง สพฐ. - ข้อมลู รายช่อื นร.ประจ�ำ พักนอน - ข้อมูลสถานทีพ่ กั นอน - การบรหิ ารจดั การ นร.ประจ�ำ พกั นอน ๓. เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๔. รายงาน สพท. เพอื่ ขออนุญาตเปน็ ร.ร.ประจ�ำ พักนอนทกุ ปีการศึกษา ๕. เมอ่ื ไดร้ บั อนญุ าตและประกาศจาก สพท. แล้ว ให้ ร.ร.ตรวจสอบ คัดกรอง และรายงานขอ้ มูลจ�ำ นวนนกั เรียนพักนอนให้ สพท. ๖. ตรวจสอบและบริหารงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรรใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ในการใชจ้ า่ ยเงนิ ๗. รายงานรายชอ่ื นร.ประจ�ำ พกั นอนท่ไี ดร้ ับจัดสรรลงเว็บไซต์ เมื่อ ร.ร.ไดร้ ับแจง้ โอนเงนิ ประจ�ำ งวด ๘. กรณี นร.ประจำ�พกั นอนเพ่ิมจากที่รายงาน ใหร้ ายงานรายชอ่ื เพิม่ ในภาคเรียนถดั ไป ๙. กำ�กับ ติดตาม ดแู ลการดำ�เนินงาน นร.ประจำ�พกั นอน ส�ำนกั งานเขต ๑. รวบรวม ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู การขออนุญาตเป็น ร.ร.ประจำ�พักนอน พื้นทก่ี ารศึกษา ๒. แตง่ ต้ังคณะกรรมการพิจารณา ๓. อนุญาตและจดั ท�ำ ประกาศเปน็ ร.ร.ประจ�ำ พกั นอนของ สพท. ส�ำนักงาน คณะกรรมการ ๔. แจง้ ประกาศให้ ร.ร.ทราบ และบนั ทกึ ขอ้ มลู รายชอ่ื นร.ประจ�ำ พกั นอน เพอื่ ขอรบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน การจัดสรรและจดั พมิ พ์สรปุ จำ�นวน นร.รายคนของ ร.ร.จดั สง่ สพฐ. ๕. แจง้ จดั สรร และใหโ้ รงเรียนยืนยนั ขอ้ มูล นร.ทีไ่ ดร้ ับจดั สรรในเว็บไซต์ ๖. ตรวจสอบรายชือ่ นร.ท่ีไดร้ ับจัดสรร หากไมเ่ ปน็ ไปตามที่จัดสรร สพฐ. จะดำ�เนนิ การปรับเพม่ิ -ลด ในภาคเรียนถดั ไป ๗. กำ�กับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดำ�เนินงาน ๑. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล นร.ประจำ� พักนอนของเขตพ้ืนที่การศกึ ษา ๒. พิจารณาจดั สรรงบประมาณเงนิ อุดหนุนค่าอาหาร นร.ประจำ�พักนอน ให้แก่ เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาท่มี ีโรงเรียนท่ีด�ำ เนนิ การจัดทพี่ ักให้แกน่ ักเรยี น ๓. ก�ำ กับ ตดิ ตาม ตรวจสอบผลการด�ำ เนินงาน ๔. สง่ เสริม สนับสนุนใหม้ ีงานวจิ ยั เพื่อนำ�ผลงานวจิ ยั มาใชป้ ระโยชน ์ 44 แนวทางการด�ำ เนินงานตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษา ตงั้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แนวทางการบริหารจดั การงบประมาณ งบเงินอดุ หนนุ เงินอุดหนุนท่วั ไป ส�ำหรับโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์/โรงเรยี นการศกึ ษาพิเศษ/ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ก. หลกั การ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์ และโรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ ไดร้ ับจดั สรรงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ งบเงนิ อดุ หนนุ เงนิ อดุ หนนุ ทวั่ ไป จากโครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าล จนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน จ�ำนวน ๕ รายการ ประกอบด้วย รายการค่าจัดการเรียนการสอน คา่ หนงั สอื เรยี น คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น คา่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น และคา่ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ส�ำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษได้รับจัดสรรงบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จากโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จ�ำนวน ๔ รายการ ประกอบดว้ ย รายการ คา่ หนงั สอื เรยี น คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น คา่ เครอื่ งแบบนกั เรยี น และคา่ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น และจากผลผลติ เดก็ พกิ ารไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและการพฒั นาสมรรถภาพ กจิ กรรมการพฒั นา สมรรถภาพเดก็ พกิ ารโดยศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ รายการคา่ อาหารนกั เรยี นประจ�ำ คา่ อาหารนกั เรยี น ไป-กลบั และปัจจัยพน้ื ฐานส�ำหรับนักเรยี นประจ�ำ ข. แนวทางการใช้งบประมาณงบเงินอดุ หนุน เงินอุดหนุนทว่ั ไป ๑. เมื่อสถานศึกษาได้รับแจ้งบัญชีจัดสรรงบประมาณจากส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ให้โรงเรียนตรวจสอบบัญชีจัดสรร ตามท่รี ะบุไว้ในบญั ชีจดั สรรกับเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณท่ีส่งมาพร้อมบัญชจี ัดสรร ๒. เม่ือสถานศึกษาได้รับแจ้งการตัดโอนเงินงบประมาณ จากส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยส�ำนักการคลังและสินทรัพย์ ให้สถานศึกษาจัดท�ำแผนการใช้จ่าย งบประมาณเพอื่ สง่ ค�ำขอเบกิ เงนิ อดุ หนนุ เขา้ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารของโรงเรยี น พรอ้ มจดั ท�ำทะเบยี น คมุ เงินอดุ หนนุ แยกตามรายการท่ีได้รบั จดั สรร ๓. ให้สถานศึกษาจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับภารกิจ ของสถานศึกษาตามนโยนบายและจุดเน้นของส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๔. น�ำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจ�ำปขี องสถานศกึ ษา เพอื่ ใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน เห็นชอบ 45แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษา ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๕. ให้สถานศึกษาใช้จ่ายงบประมาณตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันที่ ๗ กนั ยายน ๒๕๔๘ เรอ่ื ง การเบกิ จ่ายเงินงบประมาณงบเงนิ อดุ หนนุ (ใช้จ่ายเงินภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่และยังไม่สิ้นสุดโครงการให้รีบด�ำเนินการ ให้เสร็จสน้ิ อย่างชา้ ภายในปีงบประมาณถัดไป) ๖. สถานศึกษาใช้จ่ายเงินไม่หมดตามระยะเวลาข้อ ๕ เงินที่เหลือต้องส่งคืนคลัง เป็นรายไดแ้ ผน่ ดนิ ๗. ดอกเบ้ียท่ีเกิดจากเงนิ ฝากธนาคารสถานศกึ ษาตอ้ งน�ำสง่ คืนคลังเป็นรายไดแ้ ผ่นดนิ ๘. บันทึกการรับ-จ่ายเงิน ตามระบบควบคุมการเบิกจ่ายเงินเชื่อมโยงกับการปฏิบัติงาน ในระบบ GFMIS ๙. การใช้จ่ายเงินต้องเกิดประโยชน์ต่อนักเรียนเป็นล�ำดับแรก และใช้จ่ายให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานก�ำหนด ๑๐. หลกั ฐานการใช้จ่ายเงนิ สถานศกึ ษาเกบ็ ไวเ้ พ่อื ใหต้ รวจสอบได้ ค. ลักษณะการใช้งบประมาณ ๑. งบประมาณเงนิ อุดหนุน เงินอดุ หนุนท่ัวไป การสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๑.๑ ค่าจัดการเรียนการสอน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เก่ียวข้อง โดยให้ใช้ในลกั ษณะ ๓ ประเภทงบรายจ่าย ดงั น้ี ๑.๑.๑ งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน เป็นค่าจ้าง ชัว่ คราว เชน่ ค่าจา้ งครอู ตั ราจา้ งรายเดอื น พนกั งานขับรถ นักการภารโรง ฯลฯ ๑.๑.๒ งบด�ำเนนิ งาน หมายถงึ รายจา่ ยทก่ี �ำหนดใหจ้ า่ ยเพอ่ื การบรหิ ารงานประจ�ำ ไดแ้ ก่ รายจา่ ยทีจ่ า่ ยในลกั ษณะ - ค่าตอบแทน เชน่ คา่ ตอบแทนวิทยากร คา่ ตอบแทนวิทยากรวชิ าชีพ- ทอ้ งถน่ิ ฯลฯ - ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบ้ียเล้ียง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าจ้างซ่อมแซม คา่ จ้างเหมาบรกิ าร คา่ พาหนะพานักเรยี นไปทัศนศึกษาแหล่งเรยี นรู้ ฯลฯ - คา่ วสั ดุ เชน่ คา่ วสั ดกุ ารศกึ ษา คา่ เครอ่ื งเขยี น แปรงลบกระดาน กระทะ ค่าวสั ดุเวชภณั ฑ์ ค่าซอ่ มแซมบ�ำรงุ รักษาทรัพย์สนิ ฯลฯ - ค่าสาธารณูปโภค เช่น คา่ น�ำ้ คา่ ไฟฟา้ คา่ โทรศัพท์ ฯลฯ 46 แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษา ต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๑.๑.๓ งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่ก�ำหนดให้จ่ายเพ่ือการลงทุน ได้แก่ รายจา่ ยทจ่ี ่ายในลักษณะ - ค่าครุภัณฑ์ เช่น เคร่ืองถ่ายเอกสาร เครอื่ งค�ำนวณ เครอื่ งดูดฝุ่น ฯลฯ - ค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุง สง่ิ ก่อสร้างซึ่งท�ำให้ที่ดนิ สงิ่ กอ่ สรา้ ง มีมูลคา่ เพิ่มขนึ้ ฯลฯ ท้ังนี้ กรณีงบลงทุนและงบด�ำเนินงาน สามารถด�ำเนินการได้เพ่ิมเติม ตามหนังสอื ส�ำนักงบประมาณ ดังน้ี - หนังสือ ดว่ นทสี่ ุด ท่ี นร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลงวนั ที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘ เรอ่ื ง หลกั การจ�ำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ - หนังสือ ที่ นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๓ เรื่อง การปรับปรุงการจ�ำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ - หนังสอื ด่วนทสี่ ดุ ท่ี นร ๐๗๐๔/ว ๖๘ ลงวนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘ เร่ือง การปรบั ปรุงหลักการจ�ำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ - หนังสือ ท่ี นร ๒๗๐๔/ว ๓๗ ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๙ เรอ่ื ง แนวทางการพจิ ารณาสง่ิ ของทจี่ ดั เปน็ วสั ดแุ ละครภุ ณั ฑต์ ามหลกั การจ�ำแนกประเภทรายจา่ ย ตามงบประมาณ - หลักการจ�ำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ แก้ไขปรับปรุง ตามหนังสือส�ำนักงบประมาณ ที่ นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ และหนังสือส�ำนักงบประมาณ ด่วนท่ีสุด ท่ี นร ๐๗๐๔/ว ๖๘ ท่ีมา : http://www.bb.go.th ๑.๒ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และค่ากิจกรรม พัฒนาคุณภาพผ้เู รียน ใหป้ ฏบิ ัตติ ามระเบยี บของทางราชการที่เกี่ยวข้อง และปฏิบตั ติ ามแนวทาง การด�ำเนินงานการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาตัง้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ผลผลิตเด็กพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ การพัฒนาสมรรถภาพ กจิ กรรมการพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการโดยศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ๒.๑ เงินอุดหนุนคา่ อาหารนักเรยี นประจ�ำ ๒.๒ เงินอดุ หนนุ คา่ อาหารนกั เรียนไป-กลับ ๒.๓ เงนิ อดุ หนุนปัจจัยพ้ืนฐานส�ำหรบั นักเรียนประจ�ำ ทั้ง ข้อ ๒.๑ ข้อ ๒.๒ และขอ้ ๒.๓ ใหป้ ฏบิ ตั ิตามระเบียบของทางราชการท่เี กย่ี วขอ้ ง และใช้ตามวัตถุประสงค์ของรายการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนทส่ี ุด ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๔๘ เร่อื ง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุนและหนงั สอื กรมบญั ชีกลาง ท่ี กค ๐๔๐๒.๕/๐๓๓๒๗๓ ลงวนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เรอ่ื ง ขอหารือเก่ียวกับการใช้เงินเหลอื จา่ ยงบเงนิ อุดหนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนุนทั่วไป) 47แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตงั้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐ ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ เรอ่ื ง หลักเกณฑก์ ารเบิกจา่ ยค่าใช้จ่ายในการจัดกจิ กรรมเพ่ือเสริมสร้างความรใู้ ห้กบั นกั เรยี น เรยี น ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ผู้อ�ำนวยการศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษท่เี ปน็ หน่วยเบกิ และผอู้ �ำนวยการโรงเรียนที่เป็นหน่วยเบกิ อา้ งถงึ ๑. หนงั สือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๔๘ ๒. หนงั สือส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/๒๒๗๙ ลงวนั ที่ ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๔๘ ส่ิงท่สี ง่ มาด้วย หลักเกณฑก์ ารเบกิ จ่ายคา่ ใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรมเพื่อเสรมิ สร้างความร้ใู หก้ บั นกั เรียน ด้วยงบเงินอดุ หนนุ ส�ำหรับหน่วยงานในสงั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๑ ข้อ ๒.๑ กระทรวงการคลังก�ำหนดให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ ก�ำหนดระเบียบภายในควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีขอตั้ง งบประมาณ และตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๒ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้แจ้งหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติการใชจ้ ่ายงบประมาณงบเงินอุดหนุน เพ่ือให้หน่วยงานในสังกัดถือปฏิบตั ิให้เป็นแนวทางเดียวกนั ความละเอยี ดแจง้ แลว้ น้นั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน พิจารณาแล้ว เน่ืองจากปัจจุบันโรงเรียนได้ก�ำหนดแผน ในการจัดกิจกรรมเพอื่ เสริมสร้างความรเู้ พมิ่ เตมิ ให้กับนักเรียน เช่น การจดั กจิ กรรมเข้าคา่ ยทางวิชาการ กิจกรรม เขา้ คา่ ยคณุ ธรรม/ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด การพานกั เรยี นไปทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรู้ ทง้ั ในและนอกโรงเรยี น รวมทั้งการพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมหรือร่วมแข่งขันทางการศึกษากับโรงเรียนอ่ืน/หน่วยงานอ่ืน โดยใช้จ่าย จากงบเงนิ อดุ หนนุ ทโ่ี รงเรยี นไดร้ บั ซง่ึ ในการเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยตา่ ง ๆ โรงเรยี นบางแหง่ ยงั ไมช่ ดั เจนวา่ รายการใด สามารถ เบิกจา่ ยไดแ้ ละรายการใดไม่สมควรเบิกจ่าย ดงั นน้ั เพือ่ ใหก้ ารใชจ้ า่ ยงบเงนิ อดุ หนนุ ตามหนงั สอื ทอ่ี า้ งถึง ๒ และ แนวทางการด�ำเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียนส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับนักเรียนเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จงึ ก�ำหนดหลกั เกณฑก์ ารเบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรม เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรใู้ หก้ บั นกั เรยี นดว้ ยงบเงนิ อดุ หนนุ รายละเอยี ดตามส่งิ ทส่ี ่งมาด้วย ทงั้ น้ี การพิจารณาเบิกจ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยใหค้ �ำนงึ ถงึ ความจ�ำเปน็ เหมาะสม ประหยดั ภายในวงเงินทอ่ี ยูใ่ นความรบั ผิดชอบ และต้องไมเ่ ปน็ เหตใุ นการเรียกเก็บเงินจากผูป้ กครองเพิม่ เตมิ ดว้ ย จึงเรยี นมาเพื่อทราบและพจิ ารณาแจง้ ใหเ้ จ้าหน้าทท่ี ่เี ก่ยี วข้องรวมท้งั โรงเรียนในสงั กัดทราบ เพ่อื ถือปฏบิ ตั ิต่อไป ขอแสดงความนบั ถอื (นายชนิ ภัทร ภูมริ ตั น) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ส�ำนักการคลงั และสินทรพั ย์ โทร. ๐-๒๒๘๐-๒๘๖๐, ๐-๒๒๘๘-๕๖๓๒, ๐-๒๒๘๘-๕๖๓๓ โทรสาร ๐-๒๒๖๒-๘๕๑๑-๒, ๐-๒๖๒๘-๘๙๘๘ 48 แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ต้ังแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ที่ กค ๐๔๐๒.๕/๐๓๓๒๗๓ กรมบัญชีกลาง ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ เร่ือง ขอหารอื เกย่ี วกับการใชเ้ งนิ เหลือจา่ ยงบเงินอุดหนนุ ประเภทเงินอุดหนนุ ทวั่ ไป เรียน เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน อา้ งถงึ ๑. หนงั สอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๗/๓๑๗๖ ลงวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ๒. หนงั สอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๗/๑๖๔๓ ลงวนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ ตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๑ และ ๒ แจ้งว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้รับจัดสรร งบประมาณงบเงนิ อดุ หนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทวั่ ไป รายการเงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหารนกั เรยี นประจ�ำ นกั เรยี นไป - กลบั และเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานส�ำหรับนักเรียนประจ�ำ ให้กับศูนย์การศึกษาพิเศษและได้จัดท�ำแผนการใช้จ่าย งบประมาณเพอ่ื เบกิ จา่ ยเงนิ จากระบบ GFMIS เขา้ ฝากบญั ชเี งนิ อดุ หนนุ ประเภทออมทรพั ยข์ องศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เมอ่ื สน้ิ ปงี บประมาณ พบวา่ มเี งนิ คงเหลอื ในบญั ชดี งั กลา่ ว ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จงึ ขอหารอื วา่ ศูนย์การศึกษาพิเศษสามารถน�ำเงินงบประมาณท่ีคงเหลือในบัญชีดังกล่าวไปช�ำระหน้ีค่าสาธารณูปโภคได้หรือไม่ อย่างไร ความละเอียดแจ้งแล้ว นัน้ กรมบัญชกี ลางพิจารณาแล้ว ขอเรียนดงั น้ี ๑. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๔๘ เร่ือง การเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณงบเงนิ อุดหนุน กรณเี ปน็ การเบิกจ่ายใหส้ ่วนราชการเปน็ ผู้ด�ำเนนิ การ ขอ้ ๒.๖ ก�ำหนดให้ การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการท่ีเบิกไปแล้วให้จ่ายภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่ และยงั ไมส่ น้ิ สดุ โครงการใหร้ บี ด�ำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สน้ิ อยา่ งชา้ ภายในปงี บประมาณถดั ไป กรณสี น้ิ สดุ หรอื ยบุ เลกิ โครงการแลว้ ปรากฏวา่ มีเงนิ คงเหลอื อยใู่ นบัญชีเงินฝากธนาคารให้น�ำสง่ คลงั เป็นรายได้แผน่ ดิน ๒. กรณีตามข้อหารือ เม่ือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้ด�ำเนินการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป รายการเงินอุดหนุนค่าอาหาร นกั เรยี นประจ�ำ นกั เรยี นไป-กลบั และเงนิ อดุ หนนุ ปจั จยั พน้ื ฐานส�ำหรบั นกั เรยี นประจ�ำ จนเสรจ็ สนิ้ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคแ์ ลว้ หากมีเงินเหลือจ่ายจะต้องน�ำเงินท่ีเหลือส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ตามหลักเกณฑ์ในหนังสือกระทรวงการคลัง ขอ้ ๑ ไมส่ ามารถน�ำเงนิ ทเี่ หลือจา่ ยไปช�ำระหนี้ค่าสาธารณปู โภคได้ จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ขอแสดงความนับถอื (นางสาวอรนุช ไวนุสิทธิ)์ ท่ปี รึกษาดา้ นพฒั นาระบบการเงินการคลงั ปฏิบตั ิราชการแทน อธบิ ดกี รมบัญชกี ลาง 49แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา ตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แนวทางการบรหิ ารจัดการงบประมาณ คา่ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น หลกั เกณฑก์ ารเบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรมเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรใู้ หก้ บั นกั เรยี น เพือ่ ให้การเบิกจา่ ยค่าใชจ้ า่ ยในการจัดกิจกรรมเพื่อเสรมิ สรา้ งความรู้ให้กบั นักเรยี น ไดแ้ ก่ การพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมวิชาการ กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด หรือ ทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกโรงเรียน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยใชจ้ า่ ยจากงบเงนิ อดุ หนนุ ทโ่ี รงเรยี นไดร้ บั ใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จงึ ก�ำหนดหลกั เกณฑ์ การเบกิ จา่ ยค่าใชจ้ า่ ยในการจัดกิจกรรมเพอื่ เสริมสร้างความรใู้ หก้ บั นักเรียน ดังนี้ ๑. การวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ ต้องให้ภาคี ๔ ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผแู้ ทนชมุ ชน และผแู้ ทนนกั เรยี น) และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานมสี ว่ นรว่ มและพจิ ารณา ๒. การพจิ ารณาสถานทสี่ �ำหรบั การจดั กจิ กรรมรวมทงั้ การพกั แรม ใหเ้ ลอื กใชบ้ รกิ ารสถานที่ ของสว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานอน่ื ของรฐั เปน็ ล�ำดบั แรก กรณจี �ำเปน็ ตอ้ งจดั กจิ กรรม ในสถานทขี่ องเอกชนใหอ้ ยใู่ นดลุ พนิ จิ ของผอู้ �ำนวยการโรงเรยี น โดยค�ำนงึ ถงึ ความจ�ำเปน็ เหมาะสม ประหยัด และวงเงนิ ที่อยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบ ส�ำหรบั ค่าใชจ้ ่ายในการจัดกิจกรรม/การแข่งขัน แบง่ เปน็ ๒ กรณี กรณที ี่ ๑ โรงเรยี นเปน็ หนว่ ยงานผจู้ ดั กจิ กรรม/การแขง่ ขนั ใหเ้ บกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยไดเ้ ทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ ดงั น้ี ๑. คา่ ใช้จา่ ยเก่ยี วกบั การใช้และแตกตา่ งสถานทจ่ี ดั กจิ กรรม ๒. ค่าวสั ดุตา่ ง ๆ ส�ำหรบั การจัดกจิ กรรม ๓. ค่าถ่ายเอกสาร คา่ พมิ พเ์ อกสารและสิ่งพิมพ์ ๔. คา่ หนังสือส�ำหรบั การจดั กิจกรรม ๕. คา่ เชา่ อปุ กรณส์ �ำหรบั การจดั กจิ กรรม ๖. คา่ อาหารวา่ งและเคร่อื งดมื่ ไม่เกนิ มอื้ ละ ๕๐ บาทตอ่ คน ๗. คา่ เขา้ ชมสถานทแ่ี หล่งเรียนรู้ ๘. ค่าสาธารณปู โภค 50 แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษา ต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๙. คา่ สมนาคณุ วิทยากร ๙.๑ หลักเกณฑก์ ารจ่ายค่าสมนาคุณวทิ ยากร ๑) กรณีเป็นการบรรยายให้ความรู้กับนักเรียน ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร ไดไ้ ม่เกนิ ๑ คน ๒) กรณีเป็นการแบง่ กลมุ่ ท�ำ กจิ กรรม ซ่ึงไดก้ �ำ หนดไวใ้ นโครงการหรอื หลกั สูตร การจัดกิจกรรม และจำ�เป็นต้องมีวิทยากรประจำ�กลุ่ม ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน กล่มุ ละ ๒ คน ๓) การนบั ชวั่ โมงการบรรยายหรอื ท�ำ กจิ กรรมใหน้ บั ตามเวลาทก่ี �ำ หนดในตาราง การจดั กิจกรรม โดยแตล่ ะชั่วโมงต้องก�ำ หนดเวลาไมน่ ้อยกวา่ สบิ ห้านาที กรณีก�ำ หนดเวลาไม่เกนิ ๕๐ นาที แต่ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๕ นาที ให้จา่ ยคา่ สมนาคุณวทิ ยากรได้ก่ึงหนึง่ ๙.๒ อัตราค่าสมนาคณุ วิทยากร ๑) วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ ให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน ชว่ั โมงละ ๖๐๐ บาท ๒) วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน ชั่วโมงละ ๑,๒๐๐ บาท ทัง้ นี้ ใหใ้ ช้แบบใบส�ำคญั รบั เงินส�ำหรบั วทิ ยากร เอกสารหมายเลข ๑ (หนา้ ๕๔) ๑๐. คา่ อาหารส�ำหรบั การจดั กจิ กรรมมอ้ื ละไมเ่ กนิ ๘๐ บาท หรอื กรณจี �ำเปน็ ตอ้ งจดั กจิ กรรม ในสถานท่ขี องเอกชนใหเ้ บกิ จา่ ยได้เท่าท่จี ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ มอื้ ละ ๑๕๐ บาท ๑๑. กรณที ไี่ มส่ ามารถจดั อาหารใหก้ บั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดท้ กุ มอ้ื หรอื จดั อาหารใหเ้ พยี งบางมอ้ื ให้เบกิ คา่ ใช้จา่ ย ดังนี้ ๑๑.๑ ส�ำหรบั ครูให้เบกิ จ่ายคา่ เบ้ยี เลีย้ งเหมาจา่ ย ๑๑.๑.๑ โดยค�ำนวณเวลาตง้ั แตเ่ วลาทเี่ ดนิ ทางออกจากสถานทอี่ ยู่ หรอื สถานที่ ปฏิบัติราชการตามปกติจนกลับถึงสถานท่ีอยู่หรือสถานท่ีปฏิบัติราชการปกติ แล้วแต่กรณี (นบั เวลา ๒๔ ชั่วโมง = ๑ วนั ส่วนท่ีเกิน ๒๔ ช่ัวโมง หากนับไดเ้ กนิ ๑๒ ช่วั โมง ใหน้ บั เพิม่ อีก ๑ วนั ) ๑๑.๑.๒ น�ำจ�ำนวนวันท้ังหมด (ตามข้อ ๑) คูณกับอัตราค่าเบี้ยเล้ียง เหมาจ่ายตามสทิ ธิ ๑๑.๑.๓ นับจ�ำนวนมอ้ื อาหารทจ่ี ัดให้ตลอดการจดั กิจกรรม ๑๑.๑.๔ ค�ำนวณค่าอาหารทั้งหมดโดยให้คิดค่าอาหารมื้อละ ๑ ใน ๓ ของอัตราคา่ เบ้ยี เลีย้ งเหมาจา่ ยทีไ่ ดร้ บั ๑๑.๑.๕ น�ำจ�ำนวนเงนิ คา่ เบย้ี เลยี้ งเหมาจา่ ยทค่ี �ำนวณไดต้ าม(ขอ้ ๑.๑๑) หกั ดว้ ย จ�ำนวนเงนิ คา่ อาหารที่ค�ำนวณไดต้ าม (ขอ้ ๓.๑.๑๑.๔) ส่วนท่เี หลือเป็นค่าเบยี้ เลีย้ งทจี่ ะได้รบั 51แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๑๑.๒ ส�ำหรบั นักเรยี นให้เบิกจา่ ยเปน็ คา่ อาหารในลักษณะเหมาจา่ ยในอัตราดังน้ี ที่ การจดั อาหารต่อวนั เบิกค่าอาหารในลักษณะเหมาจ่าย ๑ จัดอาหาร ๒ มอ้ื คนละไม่เกิน ๘๐ บาทตอ่ วัน ๒ จดั อาหาร ๑ ม้อื คนละไม่เกนิ ๑๖๐ บาทตอ่ วนั ๓ ไม่จัดอาหารทงั้ ๓ ม้ือ คนละไมเ่ กิน ๒๔๐ บาทตอ่ วัน โดยใชแ้ บบใบส�ำคญั รบั เงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรมส�ำหรบั นกั เรยี น เอกสารหมายเลข ๒ (หน้า ๕๕) เปน็ หลกั ฐานการจ่าย ๑๒. คา่ เชา่ ทพี่ กั ตามทห่ี นว่ ยงานใหบ้ รกิ ารทพี่ กั เรยี กเกบ็ หรอื กรณจี �ำเปน็ ตอ้ งพกั ในสถานที่ ของเอกชน ใหเ้ บิกจ่ายไดเ้ ท่าที่จา่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กินอตั ราทีก่ �ำหนด ดงั น้ี ค่าเชา่ ห้องพกั คู่ ไม่เกนิ คนละ ๖๐๐ บาทต่อวัน ค่าเช่าพกั พักเดีย่ ว ไมเ่ กนิ คนละ ๑,๒๐๐ บาทตอ่ วัน ๑๓. ค่าจ้างเหมาพาหนะรับ-ส่งครูและนักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ขนส่งอุปกรณ์ที่ใช้ ในการจดั กิจกรรม ๑๔. คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การใชบ้ รกิ ารสขุ าใหเ้ บกิ ไดต้ ามอตั ราทห่ี นว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารเรยี กเกบ็ ๑๕. คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การใชบ้ รกิ ารพยาบาลใหเ้ บกิ ไดต้ ามอตั ราทหี่ นว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารเรยี กเกบ็ ๑๖. ค่าใช้จา่ ยในการจัดประกวดหรือแขง่ ขนั ๑๖.๑ คา่ ตอบแทนกรรมการตดั สิน ๑๖.๑.๑ กรรมการที่เป็นบุคลากรของรัฐเบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกิน คนละ ๖๐๐ บาทตอ่ วนั ๑๖.๑.๒ กรรมการท่ีมิได้เป็นบุคลากรของรัฐเบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกิน คนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวนั ๑๖.๑.๓ ค่าโล่หรือถ้วยรางวัลหรือของรางวัลที่มอบให้ผู้ชนะการประกวด หรอื แขง่ ขนั เพอื่ เป็นการประกาศเกยี รตคิ ุณช้นิ ละไม่เกิน ๑,๕๐๐ บาท ๑๗. คา่ ใชจ้ ่ายอ่ืนทีจ่ �ำเปน็ ส�ำหรบั การจัดกจิ กรรม 52 แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

กรณีที่ ๒ โรงเรียนพานักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ร่วมการแข่งขันกับโรงเรียนอ่ืน หรอื หน่วยงานอนื่ ซ่งึ เป็นผจู้ ดั กจิ กรรม/การแขง่ ขันให้เบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายไดด้ ังนี้ ๑. ส�ำหรบั ครู ๑.๑ กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน มีการจัด อาหาร ท่พี ัก และพาหนะใหแ้ ล้ว ใหง้ ดเบิกค่าใชจ้ ่ายดังกล่าว ๑.๒ กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอ่ืนซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน ไม่จัดอาหาร ที่พัก พาหนะท้ังหมดหรือจัดให้บางส่วน ให้เบิกค่าใช้จ่ายท้ังหมดหรือส่วนท่ีขาดส�ำหรับครู ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทกี่ �ำหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎกี าคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ ยกเวน้ ๑) ค่าเช่าท่ีพักให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทต่อวัน ส�ำหรับ ค่าเช่าหอ้ งพกั คู่ และไม่เกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวัน ส�ำหรับค่าเช่าหอ้ งพักเดีย่ ว ๒) คา่ เบีย้ เล้ียงเดินทางใหค้ �ำนวณเชน่ เดยี วกนั กบั กรณีท่ี ๑ ข้อ ๑๑.๑ ๒. ส�ำหรบั นกั เรยี น ๒.๑ กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอ่ืนซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน มีการจัด อาหาร ที่พัก และพาหนะใหแ้ ล้ว ให้งดเบิกค่าใชจ้ า่ ยดงั กลา่ ว ๒.๒ กรณโี รงเรยี นอน่ื หรอื หนว่ ยงานอน่ื ซงึ่ เปน็ ผจู้ ดั กจิ กรรม/การแขง่ ขนั ไมจ่ ดั อาหาร ทพ่ี กั พาหนะทง้ั หมดหรอื จดั ใหบ้ างสว่ น ใหเ้ บกิ คา่ ใชจ้ า่ ยทงั้ หมดหรอื สว่ นทขี่ าดใหก้ บั นกั เรยี น ดงั น้ี ๑) คา่ อาหารในลักษณะเหมาจา่ ย ตามข้อ ๑๑.๒ (ส่วนของนักเรยี น) ๒) คา่ เชา่ ท่พี ักเหมาจา่ ยไม่เกินคนละ ๕๐๐ บาทต่อวนั ๓) ค่าพาหนะให้เบิกจ่ายได้ตามสิทธิของข้าราชการต�ำแหน่งประเภทท่ัวไป ระดบั ปฏิบัตงิ าน (เทียบเทา่ ระดบั ๑-๔) ๔) ใชแ้ บบใบส�ำคัญรบั เงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กิจกรรมส�ำหรับนักเรยี น เอกสาร หมายเลข ๒ (หน้า ๕๕) เป็นหลกั ฐานการจ่าย ๓. ค่าใช้จ่ายอ่ืนทจ่ี �ำเปน็ ส�ำหรบั การพานกั เรียนไปร่วมกจิ กรรม/ร่วมการแข่งขัน หมายเหต ุ การพิจารณาเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้ค�ำนึงถึงความจ�ำเป็น เหมาะสม ประหยัด ภายในวงเงินท่ีอยู่ในความรับผิดชอบเท่าน้ัน และต้องไม่เป็นเหตุในการเรียกเก็บเงิน จากผูป้ กครองเพมิ่ เตมิ ดว้ ย 53แนวทางการด�ำ เนินงานตามโครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา ตง้ั แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ใบส�ำคัญรบั เงินส�ำหรบั วทิ ยากร เอกสารหมายเลข ๑ ชอื่ สว่ นราชการผจู้ ดั กจิ กรรม.............................................................................................................. โครงการ/หลกั สตู ร/กจิ กรรม............................................................................................................. วันท่ี.......เดอื น...............พ.ศ. ..................... ขา้ พเจา้ ....................................................................อยบู่ า้ นเลขท.ี่ ..................................... ต�ำบล/แขวง...................................อ�ำเภอ/เขต....................................จงั หวดั .................................... ไดร้ บั เงนิ จาก..................................................................................ดงั รายการตอ่ ไปนี้ รายการ จ�ำนวนเงนิ จ�ำนวนเงนิ (.........................................................................................................) (ตัวอกั ษร) ลงช่ือ..............................................................ผ้รู บั เงิน (.............................................................) ลงช่อื ..............................................................ผู้จา่ ยเงนิ (.............................................................) 54 แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ตง้ั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

เอกสารหมายเลข ๒ แบบใบส�ำคญั รับเงนิ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั กิจกรรมส�ำหรบั นักเรียน ชอื่ สว่ นราชการผจู้ ดั กจิ กรรม......................................โครงการ/หลกั สตู ร/กจิ กรรม......................... วนั ท.ี่ .........เดอื น...........................พ.ศ. .............ถงึ วนั ท.่ี ..........เดอื น..........................พ.ศ. ................ จ�ำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทง้ั สนิ้ ..................คน ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดร้ บั เงนิ จากโรงเรยี น..................... สังกดั สพป. ............................................./สพม. ......................................ปรากฏรายละเอียดดังน้ี ล�ำดบั ชอื่ -สกุล ทอ่ี ยู่ คา่ คา่ เช่า คา่ รวมเป็น วัน ท่ี อาหาร ทพ่ี กั พาหนะ เงนิ เดอื น ปี ลายมอื ช่ือ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ที่รบั เงนิ รวมเป็นเงินทั้งสน้ิ ลงชอ่ื .................................................................ผู้จ่ายเงิน (.............................................................) ต�ำแหน่ง.............................................................. 55แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แนวทางด�ำเนนิ การเลือกซ้ือหนงั สอื เสรมิ ประสบการณส์ �ำหรับเดก็ ปฐมวยั ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ก. หลกั การ รัฐบาลก�ำหนดนโยบายด้านการศึกษาให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยจัดงบประมาณส�ำหรับหนังสือเสริมประสบการณ์ อุปกรณ์การเรียน เคร่ืองแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซ่ึงในแต่ละรายการ มรี ายละเอยี ดทเี่ กย่ี วกบั การศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดงั นี้ หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ส�ำหรบั เดก็ ปฐมวัย ๒๐๐ บาท/ปี อปุ กรณ์การเรยี น ๑๐๐ บาท/ภาคเรียน (เช่น สีเทียน ดินน้ำ� มันไร้สารพิษ กรรไกร ฯลฯ) เครอื่ งแบบนักเรียน (๒ ชดุ /ปี) ๓๐๐ บาท/ปี กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒๑๕ บาท/ภาคเรยี น (กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ/กิจกรรมคุณธรรม/การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร ICT) ข. หนังสอื เสริมประสบการณ์ส�ำหรับเดก็ ปฐมวัย หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ก�ำหนดหลักการจัดประสบการณส์ �ำหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุ ๓ - ๕ ปี เพอื่ พฒั นาเดก็ โดยองคร์ วม อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในรปู แบบบรู ณาการ ไมส่ อนเปน็ รายวชิ า ยดึ หลกั การบรู ณาการทวี่ า่ หนง่ึ แนวคดิ เดก็ สามารถเรยี นรไู้ ดห้ ลายกจิ กรรม หนง่ึ กจิ กรรม เดก็ สามารถเรยี นรไู้ ดห้ ลายทกั ษะ หลายประสบการณส์ �ำคญั การทเี่ ดก็ มโี อกาสไดเ้ ลอื กอา่ นหนงั สอื บอ่ ย ๆ จะท�ำใหเ้ ดก็ คนุ้ เคยกบั การใชห้ นงั สอื และคนุ้ เคยกบั ตวั หนงั สอื สงิ่ ส�ำคญั ทคี่ วรตระหนกั คอื หากเด็กมีประสบการณท์ ด่ี แี ละมคี วามสุขในการใชห้ นงั สือ จะเป็นสว่ นส�ำคัญทชี่ ่วยปลูกฝงั ใหเ้ ดก็ มนี สิ ยั รกั การอา่ นไดอ้ ยา่ งดยี งิ่ ในอนาคต หนงั สอื เสรมิ ประสบการณส์ �ำหรบั เดก็ อนบุ าลมจี ดุ มงุ่ หมาย เพ่ือสนองความต้องการของเด็ก เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการเรียนรู้ด้านภาษา ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเจตคตใิ หเ้ ด็กเกดิ นิสัยรักการอา่ น 56 แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ค. คุณสมบัตหิ นงั สือเสริมประสบการณ์ส�ำหรบั เดก็ ปฐมวัยสิง่ ที่ควรค�ำนึงถึง ๑. ความสอดคล้องกบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๑.๑ สอดคล้องกับจุดหมายของการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๑.๒ สอดคลอ้ งกับหลักการจดั ประสบการณก์ ารศึกษาปฐมวยั ๑.๓ เหมาะสมกับวัย ความสนใจ ความสามารถและพฒั นาการของเด็กปฐมวยั ๑.๔ เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม บริบทสงั คมและวัฒนธรรมของท้องถ่ิน อายุ ๓-๔ ปี เด็กวยั นี้มคี วามอยากรอู้ ยากเหน็ ในส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตัว พดู ไดม้ ากข้นึ สนใจในความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งบคุ คล รถู้ งึ ความแตกตา่ งระหวา่ งเพศหญงิ และเพศชาย ควรตอบสนองความอยากรอู้ ยากเหน็ ของเดก็ เดก็ สามารถเลา่ เร่ืองทีต่ นประสบมาให้ผู้อื่นฟงั เข้าใจ ถามอะไร ทไี่ หน และเด็กสามารถ วาดวงกลมไดต้ ามแบบ อายุ ๔-๕ ปี เดก็ วยั นเ้ี ปน็ วยั ทอ่ี ยากรอู้ ยากเหน็ ตอ้ งการทจ่ี ะรวู้ า่ สง่ิ นน้ั สงิ่ นม้ี าจากไหนท�ำไมจงึ เปน็ เชน่ นี้ ท�ำไมจงึ เปน็ อยา่ งนนั้ อยา่ งนี้ สงิ่ นคี้ วามเปน็ มาอยา่ งไร วยั นเ้ี รม่ิ จะเขา้ ใจขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งความจรงิ และเรื่องสมมติ นิทานท่ีเหมาะส�ำหรับเด็กวัยนี้ควรจะเป็นเร่ืองสั้นเข้าใจง่าย มีตัวละครตัวเอก เพียงตัวเดียว และตัวละครร่วมอีก ๒-๓ ตัว เร่ืองท่ีส่งเสริมจินตนาการและอิงความจริงอยู่บ้าง เด็กสามารถเลา่ เร่ือง นทิ าน และออกเสียงได้ถกู ตอ้ ง อายุ ๕-๖ ปี เดก็ วยั นเี้ รม่ิ สนใจโลกของความเปน็ จรงิ รจู้ กั สง่ิ แวดลอ้ มทห่ี า่ งตวั มากขนึ้ เรมิ่ เขา้ ใจวา่ ตวั เอง เปน็ ส่วนหนึ่งของส่งิ แวดล้อม ไมใ่ ชเ่ ป็นศนู ย์กลางของทกุ ส่ิงทกุ อย่างเช่นแต่ก่อน เนื้อหาของเร่อื ง ควรสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาดว้ ยจะเปน็ เรอ่ื งจรงิ ในปจั จบุ นั หรอื เปน็ เรอื่ งประเภทวรี บรุ ษุ ทง้ั หลายก็ได้ ๒. คุณลักษณะของหนงั สือ ๒.๑ รปู เล่ม ๑) ปกมคี วามสวยงามนา่ สนใจ ๒) ขนาดรูปเล่มเหมาะสมกบั วัยของเดก็ ๓) ขนาดของตัวอักษรเหมาะสมกับวัยของเดก็ ๔) จำ�นวนหนา้ และจำ�นวนค�ำ ศัพท์เหมาะสมกับวยั ของเดก็ ๒.๒ สีสบายตาและไม่ใชส้ สี ะท้อนแสง 57แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษา ต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๒.๓ ภาพประกอบ มีภาพชัดเจนเหมาะสมกับวัยเด็ก ออกแบบรูปภาพน่าสนใจให้เร่ืองราวต่อเน่ือง ต้องไม่เป็นภาพที่ทำ�ให้เด็กเกิดความหวาดกลัว และมีช่องว่างพักสายตา ขนาดเหมาะสม กบั วัยของเดก็ ๒.๔ กระดาษ ควรเป็นกระดาษชนิดดี เชน่ กระดาษปอนด์ กระดาษอารต์ ฯลฯ ๒.๕ ภาษา ภาษาท่ีใช้ควรมีความถูกต้อง สละสลวย ช่วยให้เกิดจินตนาการและเหมาะสม กบั วัยของเด็ก ๒.๖ เนือ้ หา เนื้อเร่ืองไม่ยากเกินไป ไม่สลับซบั ซ้อน ไมข่ ดั แย้งกับค่านิยมคุณธรรม ๓. ประเภทของหนงั สือทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั วัยของเดก็ ปฐมวัย ประเภทของหนังสือท่ีเหมาะสมกับเด็กปฐมวัยควรมีความหลากหลาย มีเหตุการณ์ ทีค่ าดเดาไดม้ ีลกั ษณะเป็นค�ำกลอน ค�ำคล้องจองเป็นจังหวะ มีรปู แบบซ้�ำ ภาพสวยงาม เชน่ ๓.๑ หนงั สือนทิ าน เชน่ นิทานพน้ื บา้ น นทิ านชาดก เทพนิยาย นทิ านอสี ป ทั้งทเี่ ป็น รอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง ๓.๒ หนังสือภาพ เช่น หนงั สอื ภาพประกอบ/หนงั สือภาพสามมติ ิ ๓.๓ สารานกุ รมภาพส�ำหรับเด็กปฐมวัย ๓.๔ หนังสือท่แี สดงวธิ ีการท�ำหรอื ประดิษฐ์สิง่ ต่าง ๆ ๓.๕ นิตยสารส�ำหรบั เดก็ ๓.๖ หนงั สือเสรมิ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ส�ำหรบั เด็กปฐมวยั ๓.๗ หนังสือทมี่ ีเสยี งประกอบ หนงั สอื พลาสติก หนงั สอื ผา้ หนงั สือที่ผลติ จากวัสดุอ่นื ทไี่ มเ่ ปน็ อนั ตราย หนงั สอื รปู ทรงขนาดผวิ สมั ผสั ทแ่ี ตกตา่ งกนั ท�ำใหเ้ กดิ การเปรยี บเทยี บจดั หมวดหมู่ ฯลฯ 58 แนวทางการด�ำ เนินงานตามโครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา ตง้ั แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ง. แนวทางการเลอื กหนังสอื เสริมประสบการณ์ส�ำหรบั เด็กปฐมวัย การคัดเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเดก็ ปฐมวยั สถานศกึ ษาด�ำเนินการตามขั้นตอน คือ ครูผู้สอนเป็นผู้เลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย เสนอให้คณะกรรมการ วิชาการ คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนกรรมการนักเรียน) ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกหนังสือ เสรมิ ประสบการณส์ �ำหรบั เด็กปฐมวยั ดังน้ี ๑. คดั เลอื กจากประเภทหนงั สอื เสรมิ ประสบการณส์ �ำหรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี ณุ สมบตั สิ ง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็ ตามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคใ์ นหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และคุณสมบัตหิ นังสือเสรมิ ประสบการณ์ส�ำหรับเดก็ ปฐมวัยทเ่ี สนอแนะขา้ งต้นและ/หรือ ๒. เลอื กจากตวั อยา่ งรายชอื่ หนงั สอื เสรมิ ประสบการณส์ �ำหรบั เดก็ ปฐมวยั ทผ่ี า่ นการประกวด/ การคดั เลอื กจากหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน หมายเหตุ รายละเอยี ดสามารถ Download จากเวบ็ ไซตข์ องส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐาน การศกึ ษา ท่ี (http://academic.obec.go.th) และเวบ็ ไซตฐ์ านขอ้ มลู บญั ชกี �ำหนดสอ่ื การเรยี นรฯู้ (http://academic.obec.go.th/textbook/web) จ. ข้อเสนอแนะ ๑. ควรเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ที่หลากหลายในด้านประเภทผู้แต่ง ผู้วาดภาพ ประกอบและเน้ือหาการเรียนรู้ เพราะจะช่วยให้เด็กมีโอกาสอ่านหนังสือเสริมประสบการณ์ ท่ีหลากหลายและเกดิ การเรียนร้ไู ดม้ ากท่สี ดุ ๒. จ�ำนวนหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ควรเพียงพอกับจ�ำนวนเดก็ 59แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษา ต้งั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ขน้ั ตอนการจดั ซอ้ื หนงั สอื เรียน ศกึ ษาแนวทางการด�ำ เนนิ งาน โครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน แตง่ ต้งั ๑. คณะกรรมการวชิ าการ ๒. คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย ๓. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครูผ้สู อนคัดเลอื กรายการหนงั สือรายวิชาพน้ื ฐานจากเวบ็ ไซต์ http://academic.obec.go.th/textbook/web โดยเลอื กจากบัญชี ๑.๑ และ ๑.๒ ซอื้ ใหค้ รบทุกช้นั ทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ และครบทุกคน เสนอรายชือ่ หนังสือผา่ นความเห็นชอบคณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย ฝา่ ยพสั ดุพจิ ารณาวิธีการจัดซ้ือ โดยพิจารณา จากงบประมาณการจดั ซ้ือ วธิ เี ฉพาะเจาะจง มาตรา ๕๖ (๒) (ข) วธิ ีคดั เลือก มาตรา ๕๖ (๑) (ง) ๑. คณะกรรมการ วงเงนิ ไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท วงเงินเกนิ ๕๐ ซือ้ โดยวิธคี ดั เลือก ๒. คณะกรรมการ ขอใบเสนอราคาจากผู้ขายโดยตรง รายงานขอซอ้ื พร้อมแต่งตัง้ ตรวจรบั คณะกรรมการ ๒ ชุด และ ประมาณ ๓ วันทำ�การ ประมาณ ๒ วนั ทำ�การ รายงานขอซ้อื พร้อมแตง่ ตงั้ คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ คณะกรรมการจัดซื้อโดยวธิ คี ดั เลือก จัดทำ�หนังสอื เชิญผขู้ ายอยา่ งน้อย ๓ ราย และจดั ทำ�ใบส่งั ซ้ือ โดยมีคณุ สมบัติตรงตามเงือ่ นไขทห่ี นว่ ยงานกำ�หนด จากผ้ขู ายที่เสนอราคา (โดยตรวจสอบคณุ สมบัตผิ ้ขู าย) ประมาณ ๒ วนั ทำ�การ ประมาณ ๓-๕ วันท�ำ การ ผขู้ ายจดั ส่งหนงั สอื เรยี น คณะกรรมการจดั ซื้อโดยวิธคี ัดเลือก พจิ ารณาคดั เลือกผู้เสนอราคาเฉพาะราย ทคี่ ณะกรรมการฯ ได้มหี นงั สอื เชิญชวนเทา่ นั้น 60 แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษา ตัง้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ขั้นตอนการจัดซ้ือหนงั สือเรียน (ตอ่ ) คณะกรรมการจดั ซ้ือโดยวิธีคดั เลือก พิจารณาคดั เลอื กผเู้ สนอราคาเฉพาะราย ทค่ี ณะกรรมการฯ ไดม้ ีหนังสอื เชิญชวนเทา่ นนั้ ประมาณ ๑-๒ วันทำ�การ ทำ�รายงานการจดั ซ้ือหนงั สือจากผ้ขู ายที่พิจารณาคัดเลือกได้ ประมาณ ๑-๒ วนั ท�ำ การ ทำ�หนงั สือเชญิ ผขู้ ายมาลงนาม ในสัญญาซือ้ ขาย (ผู้ขายเตรยี มหลกั ประกันสัญญา ๕% มาด้วย) ประมาณ ๗ วนั ท�ำ การ ผู้ขายจดั ส่งหนงั สอื กรณีสง่ หนงั สอื ตรงตามกำ�หนด กรณที ่สี ่งหนังสอื เรียนเกินก�ำ หนด คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ โรงเรียนแจ้งสงวนสทิ ธิการปรบั ด�ำ เนินการตรวจรับหนงั สือเรยี น ใหผ้ ู้ขายทราบ (แจ้งอตั ราการปรบั ) โรงเรยี นเบิกจา่ ยเงนิ วันทผี่ ูข้ ายสง่ หนังสอื ครบ คำ�นวณค่าปรับ คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ และแจ้งจ�ำ นวน ด�ำ เนนิ การตรวจรบั หนงั สอื เรยี น คา่ ปรับใหผ้ ขู้ าย โรงเรียนเบกิ จ่ายเงนิ โดยหกั ค่าปรบั ทราบ 61แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษา ต้งั แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ตารางแสดงการลดคา่ ใช้จ่ายของผปู้ กครอง/นกั เรียน 62 ต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ก. รายการพ้นื ฐาน ๕ รายการ ส�ำหรับโรงเรยี นปกติ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) รวม ๒ ภาคเรยี น ช้ัน ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รายหัว อปุ กรณ์ กิจกรรมพัฒนา รวม รายหวั หนงั สือ อปุ กรณ์ เคร่อื งแบบ กิจกรรมพัฒนา การเรียน คุณภาพผเู้ รยี น เรียน การเรยี น นกั เรยี น คณุ ภาพผู้เรียน ก่อนประถมศกึ ษา อ.๑ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๘๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ อ.๒ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๘๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ อ.๓ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๘๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ ประถมศกึ ษา ป.๑ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๒๕ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๗๐ ๓,๗๕๕ ป.๒ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๑๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๖๔ ๓,๗๔๙ ป.๓ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๖๗ ๓,๗๕๒ ป.๔ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๗๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๔๑๘ ๓,๘๐๓ ป.๕ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๘๐๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๕๕๑ ๓,๙๓๖ ป.๖ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๕๖๓ ๓,๙๔๘

ก. รายการพน้ื ฐาน ๕ รายการ ส�ำหรบั โรงเรยี นปกติ (ตอ่ ) ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๒ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) รวม รวม ๒ ภาคเรยี น ชัน้ ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รายหัว อุปกรณ์ กิจกรรมพัฒนา รวม รายหวั หนงั สือ อุปกรณ์ เคร่อื งแบบ กิจกรรมพัฒนา การเรยี น คณุ ภาพผ้เู รียน เรียน การเรียน นกั เรยี น คุณภาพผเู้ รียน มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ม.๑ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๗๕๐ ๗๖๔ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๖๑๔ ๖,๐๑๔ ๘๗๗ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๗๒๗ ๖,๑๒๗ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๗๕๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๗๙๙ ๖,๑๙๙ แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ม.๓ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๗๕๐ ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 63๒๕๖๓ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ๑,๙๐๐ ๑,๓๑๘ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๔๒๓ ๕,๗๔๑ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๓๖๘ ๖,๙๗๓ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ๑,๙๐๐ ๑,๑๐๙ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๒๑๔ ๖,๘๑๙ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ๑,๙๐๐

แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ข. จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ ๑. จัดโดยครอบครวั 64 ต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) รวม รวม ๒ ภาคเรียน ชน้ั ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รายหัว อปุ กรณ์ กจิ กรรมพัฒนา รวม รายหัว หนังสือ อปุ กรณ์ เครื่องแบบ กิจกรรมพัฒนา การเรียน คณุ ภาพผเู้ รียน เรยี น การเรยี น นกั เรียน คณุ ภาพผู้เรียน อ.๑ - อ.๓ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๕๙๖ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๔,๔๑๑ ๘,๓๒๒ ป.๑ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๒๕ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๑๐๑ ๙,๒๑๗ ป.๒ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๑๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๐๙๕ ๙,๒๑๑ ป.๓ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๐๙๘ ๙,๒๑๔ ป.๔ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๗๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๑๔๙ ๙,๒๖๕ ป.๕ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๘๐๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๒๘๒ ๙,๓๙๘ ป.๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๒๙๔ ๙,๔๑๐ ม.๑ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๗๖๔ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๐๐๒ ๑๒,๗๙๐ ม.๒ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๘๗๗ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๑๑๕ ๑๒,๙๐๓ ม.๓ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๑๘๗ ๑๒,๙๗๕ ม.๔ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,๓๑๘ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๘๒๖ ๑๓,๘๓๔ ม.๕ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๗๗๑ ๑๓,๗๗๙ ม.๖ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,๑๐๙ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๖๑๗ ๑๓,๖๒๕

๒. จัดโดยสถานประกอบการ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) รวม ๒ ภาคเรยี น ช้นั ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รายหัว อปุ กรณ์ กิจกรรมพัฒนา รวม รายหัว หนังสอื อปุ กรณ์ เครือ่ งแบบ กิจกรรมพัฒนา การเรียน คุณภาพผู้เรียน เรยี น การเรยี น นกั เรยี น คุณภาพผเู้ รียน ปวช.๑ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘ ๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ปวช.๒ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘ ๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ปวช.๓ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘ ๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 65๒๕๖๓

แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ค. เงนิ ปัจจัยพืน้ ฐานนักเรียนยากจน ส�ำ หรบั โรงเรียนปกติ 66 ต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) รวม ๒ ภาคเรียน ช้ัน ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม รายหัว อุปกรณ์ กิจกรรมพฒั นา รวม รายหัว หนงั สือ อุปกรณ์ เคร่ืองแบบ กิจกรรมพฒั นา การเรยี น คณุ ภาพผเู้ รยี น เรยี น การเรียน นักเรียน คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดบั ประถมศกึ ษา จัดให้กบั นักเรยี นทผ่ี ่านเกณฑก์ ารคัดกรอง (รายไดเ้ ฉลยี่ ครวั เรอื นไมเ่ กิน ๓,๐๐๐ บาท และเกณฑส์ ถานะครัวเรอื น) คนละ ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี ป.๑ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ป.๒ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ป.๓ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ป.๔ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๓,๐๐๐ ป.๕ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๓,๐๐๐ ๓,๐๐๐ ป.๖ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จดั ให้กบั นักเรยี นที่ผา่ นเกณฑ์การคัดกรอง (รายไดเ้ ฉลย่ี ครัวเรือนไมเ่ กิน ๓,๐๐๐ บาท และเกณฑ์สถานะครวั เรือน) คนละ ๓,๐๐๐บาท/คน/ปี ม.๑ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ม.๒ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ม.๓ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐

ง. โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ๑) นักเรียนประจำ� ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ชัน้ พื้นฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม พื้นฐาน สมทบ หนังสอื อุปกรณ์ เคร่อื ง กิจกรรม รวม (ประจ�ำ) การ พัฒนา (ประจ�ำ) เรยี น การเรียน แบบ พัฒนา ๒ ภาคเรยี น เรียน คณุ ภาพ รวม (รวม/ชดุ ) นักเรยี น คณุ ภาพ รวม ผเู้ รียน ผเู้ รยี น แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา อ.๑-อ.๓ ๘๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑๕,๖๑๕ ๘๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑๖,๑๑๕ ๓๑,๗๓๐ ป.๑ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๒๕ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๒๐ ๓๒,๖๕๕ ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 67๒๕๖๓ ป.๒ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๑๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๑๔ ๓๒,๖๔๙ ป.๓ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๑๗ ๓๒,๖๕๒ ป.๔ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๗๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๖๘ ๓๒,๗๐๓ ป.๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๘๐๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๐๑ ๓๒,๘๓๖ ป.๖ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๑๓ ๓๒,๘๔๘ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๗๖๔ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๗,๙๖๔ ๓๔,๗๕๑ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๘๗๗ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๐๗๗ ๓๔,๘๒๗ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๑๔๙ ๓๔,๘๙๙ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๓๑๘ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๗๗๓ ๓๕,๗๒๘ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๗๑๘ ๓๕,๖๗๓ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๑๐๙ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๕๖๔ ๓๕,๕๑๙

แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ๒) นักเรยี นไป-กลบั 68 ต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ชนั้ พ้ืนฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กิจกรรม พน้ื ฐาน สมทบ หนังสือ อุปกรณ์ เคร่อื ง กจิ กรรม รวม (ประจ�ำ) การ พฒั นา (ประจ�ำ) เรยี น การเรียน แบบ พัฒนา รวม ๒ ภาคเรียน เรียน คณุ ภาพ รวม (รวม/ชดุ ) นกั เรียน คุณภาพ ผ้เู รียน ผเู้ รยี น อ.๑-อ.๓ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๔,๗๗๕ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,๒๗๕ ๑๐,๐๕๐ ป.๑ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๒๕ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๙๘๐ ๑๐,๙๗๕ ป.๒ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๑๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๙๗๔ ๑๐,๙๖๙ ป.๓ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๙๗๗ ๑๐,๙๗๒ ป.๔ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๗๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๒๘ ๑๑,๐๒๓ ป.๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๐๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๑๖๑ ๑๑,๑๕๖ ป.๖ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๑๗๓ ๑๑,๑๖๘ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๗๖๔ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๖,๙๑๔ ๑๒,๖๑๔ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๘๗๗ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๐๒๗ ๑๒,๗๒๗ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๐๙๙ ๑๒,๗๙๙ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๕,๙๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๑,๓๑๘ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๗๒๓ ๑๓,๖๒๘ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๕,๙๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๖๖๘ ๑๓,๕๗๓ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๕,๙๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๑,๑๐๙ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๕๑๔ ๑๓,๔๑๙

จ. โรงเรยี นการศึกษาพเิ ศษ ๑) นกั เรยี นประจำ� ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ชั้น พืน้ ฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม พน้ื ฐาน สมทบ หนงั สอื อุปกรณ์ เครื่อง กิจกรรม รวม (ประจ�ำ) การ พัฒนา (ประจ�ำ) เรียน การเรยี น แบบ พัฒนา ๒ ภาคเรยี น เรียน คุณภาพ รวม (รวม/ชุด) นักเรียน คณุ ภาพ รวม ผูเ้ รยี น ผ้เู รยี น แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา อ.๑-อ.๓ ๘๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑๕,๘๒๕ ๘๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑๖,๓๒๕ ๓๒,๑๕๐ ป.๑ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๒๕ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๓๐ ๓๓,๐๗๕ ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 69๒๕๖๓ ป.๒ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๑๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๒๔ ๓๓,๐๖๙ ป.๓ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๒๗ ๓๓,๐๗๒ ป.๔ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๗๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๗๘ ๓๓,๑๒๓ ป.๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๘๐๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๒๑๑ ๓๓,๒๕๖ ป.๖ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๒๒๓ ๓๓,๒๖๘ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๙๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๗๖๔ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๑๖๔ ๓๕,๑๑๔ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๙๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๘๗๗ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๒๗๗ ๓๕,๒๒๗ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๙๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๓๔๙ ๓๕,๒๙๙ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๓๑๘ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๗๗๓ ๓๕,๗๒๘ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๗๑๘ ๓๕,๖๗๓ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๑๐๙ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๕๖๔ ๓๕,๕๑๙

แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ๒) นักเรยี นไป-กลบั 70 ต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๒ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ชนั้ พ้ืนฐาน สมทบ อุปกรณ์ กิจกรรม พ้นื ฐาน สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เครอื่ ง กจิ กรรม รวม (ไป-กลับ) การ พัฒนา (ไป-กลับ) เรียน การเรยี น แบบ พฒั นา รวม ๒ ภาคเรียน เรยี น คณุ ภาพ รวม (รวม/ชุด) นกั เรียน คุณภาพ ผู้เรียน ผเู้ รียน อ.๑-อ.๓ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๔,๗๗๕ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๕,๒๗๕ ๑๐,๐๕๐ ป.๑ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๒๕ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๙๘๐ ๑๐,๙๗๕ ป.๒ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๑๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๙๗๔ ๑๐,๙๖๙ ป.๓ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๒๒ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๙๗๗ ๑๐,๙๗๒ ป.๔ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๗๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๒๘ ๑๑,๐๒๓ ป.๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๐๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๑๖๑ ๑๑,๑๕๖ ป.๖ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๑๘ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๑๗๓ ๑๑,๑๖๘ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๙๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๗๖๔ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๑๑๔ ๑๓,๐๑๔ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๙๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๘๗๗ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๒๒๗ ๑๓,๑๒๗ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๙๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๙๔๙ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๒๙๙ ๑๓,๑๙๙ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๑๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๑,๓๑๘ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๙๒๓ ๑๔,๐๒๘ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๑๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๑,๒๖๓ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๘๖๘ ๑๓,๙๗๓ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๑๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๑,๑๐๙ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๗๑๔ ๑๓,๘๑๙

ฉ. ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓) ชั้น คา่ ปจั จัย อปุ กรณ์ กจิ กรรม คา่ ปัจจัย หนังสือ อุปกรณ์ เครือ่ ง กิจกรรม รวม อาหาร พน้ื ฐาน การ พฒั นา อาหาร พืน้ ฐาน เรยี น การเรยี น แบบ พฒั นา ๒ ภาคเรยี น รวม นกั เรียน (รวม/ชุด) นกั เรยี น คณุ ภาพ รวม นกั เรยี น เรียน คุณภาพ ประจ�ำ ผู้เรยี น ประจ�ำ ผูเ้ รียน ประจ�ำ ๑๓,๕๐๐ ๕๐๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑๔,๓๑๕ ๑๓,๕๐๐ ๕๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑๔,๘๑๕ ๒๙,๑๓๐ ไป-กลับ ๓,๖๓๐ - ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๔๕ ๒,๙๗๐ - ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๓,๗๘๕ ๗,๗๓๐ ส�ำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้รับเงินอุดหนุนโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน จ�ำนวน ๔ รายการ ได้แก่ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในสว่ นเงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหาร และปจั จยั พนื้ ฐานนกั เรยี นประจ�ำ ซงึ่ ไดร้ บั จดั สรรในผลผลติ เดก็ พกิ ารไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และการพฒั นาสมรรถภาพ ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 71๒๕๖๓ โดยใหบ้ ริหารงบประมาณให้เปน็ ไปตามรายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงนิ อดุ หนนุ รายหัว)

ดว่ นทีส่ ดุ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐ ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/พเิ ศษ ๒๒ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ เรอื่ ง การเก็บเงนิ บ�ำรุงการศึกษาและการระดมทรพั ยากร เรยี น ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาทกุ เขต สิ่งท่ีส่งมาดว้ ย ๑. ส�ำเนาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง การเกบ็ เงนิ บ�ำรงุ การศึกษาของสถานศกึ ษา สงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน จ�ำนวน ๑ ชุด ๒. หลกั เกณฑเ์ งนิ บ�ำรงุ การศกึ ษาของสถานศกึ ษาสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จ�ำนวน ๑ ชุด ๓. ส�ำเนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเรือ่ งการระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสงั กัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน จ�ำนวน ๑ ชดุ ๔. แนวปฏบิ ัตกิ ารระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน จ�ำนวน ๑ ชุด ด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การเก็บเงินบ�ำรุง การศึกษาของสถานศกึ ษาสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื งการระดมทรพั ยากรของสถานศึกษาสงั กัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ในการน้ี ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจงึ ขอใหส้ �ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา แจ้งสถานศกึ ษาในสังกดั ทราบและถอื ปฏิบัติตาม ๑. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองการเก็บเงินบ�ำรุงการศึกษาสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ๒. หลกั เกณฑก์ ารเกบ็ เงนิ บ�ำรงุ การศกึ ษาสถานศกึ ษาสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๓. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรอื่ งการระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษาสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ๔. แนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั ส่ิงทสี่ ่งมาดว้ ย จงึ เรียนมาเพ่ือทราบและพิจารณาด�ำเนินการตอ่ ไป ขอแสดงความนบั ถอื (นายชนิ ภัทร ภูมิรตั น) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ โทรสาร ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ 72 แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา ตัง้ แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การเก็บเงนิ บ�ำรุงการศกึ ษาของสถานศกึ ษา สังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ดว้ ยกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเหน็ สมควรปรบั ปรงุ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง การเกบ็ เงินบ�ำรงุ การศึกษาของสถานศกึ ษา สงั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงยกเลิกประกาศดังกล่าวและใหใ้ ช้ประกาศฉบบั นีแ้ ทน เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สอดคล้องกบั พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หนงั สอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการ กฤษฎีกา ดว่ นทีส่ ุด ท่ี นร ๐๙๐๑/๐๖๘๗ ลงวันท่ี ๖ มถิ นุ ายน ๒๕๕๑ เรอ่ื ง การเก็บค่าใชจ้ ่าย เพอ่ื จดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวง ศึกษาธิการจึงก�ำหนดให้สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เก็บเงินบ�ำรุงการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอนนอกหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน ซึ่งมุ่งเน้นหลักสูตรที่มีเน้ือหาสาระมากกว่าปกติ การสอนด้วยบุคลากรพิเศษ การสอนดว้ ยรปู แบบหรอื วธิ กี ารทแี่ ตกตา่ งจากการเรยี นการสอนปกติ หรอื การสอนทใ่ี ชส้ อ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยีท่ีจัดหาให้เป็นพิเศษตามอัตราที่เหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถ่ิน โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจ ของผปู้ กครองและนกั เรยี น ภายใตห้ ลกั เกณฑท์ ส่ี �ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานก�ำหนด ท้ังนี้ ต้ังแตบ่ ัดนี้เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวจั น์ เอื้ออภญิ ญกุล) รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 73แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตัง้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

หลักเกณฑก์ ารเก็บเงนิ บ�ำรุงการศึกษาของสถานศกึ ษา สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ด้วยปัจจุบันสถานศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัด การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ คา่ จดั การเรยี นการสอน คา่ หนงั สอื เรยี น คา่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น คา่ อปุ กรณ์ การเรยี น และคา่ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น เปน็ ตน้ แตใ่ นการจดั การศกึ ษาส�ำหรบั สถานศกึ ษา ที่มีความพร้อม และมีศักยภาพเป็นสถานศึกษาท่ีมีช่ือเสียงต้องการจะเพิ่มพูนประสิทธิภาพและ คุณภาพการศกึ ษาของผูเ้ รียนดว้ ยรูปแบบ วิธกี าร สื่ออุปกรณ์ และบคุ ลากรทท่ี �ำการสอนเพิม่ เติม จากเกณฑม์ าตรฐานท่วั ไปของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานเป็นกรณพี เิ ศษ โดยมีคา่ ใชจ้ ่าย นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายท่ีรัฐจัดสรรให้ กอปรกับการตอบข้อหารือของส�ำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา เห็นว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสามารถประกาศให้สถานศึกษา ของรัฐในสังกัดเก็บค่าใช้จา่ ย เพือ่ จัดการศกึ ษานอกหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานได้ ในการจัดการศึกษาที่ผ่านมาสถานศึกษาจ�ำนวนมากได้จัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามมาตรา ๔๙ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แล้ว แต่ยังมี สถานศกึ ษาบางแหง่ เกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื จดั การศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากเกณฑม์ าตรฐานทวั่ ไปของหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นกรณีพิเศษ ดังน้ัน เพื่อให้การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย เป็นไปในแนวทางเดียวกันและการมีส่วนร่วมสนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา รวมทง้ั เป็นการคุ้มครองผ้ปู กครองมใิ หเ้ กิดผลกระทบตอ่ ภาระค่าใชจ้ ่ายในการ จัดการศึกษาของนักเรียน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงก�ำหนดหลักเกณฑ์ ให้สถานศกึ ษาถอื ปฏบิ ัติ ดงั น้ี ก. สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานไม่สามารถ เรยี กเกบ็ เงนิ สนบั สนนุ จากนกั เรยี นหรอื ผปู้ กครองได้ เนอื่ งจากรฐั บาลไดจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณเพอื่ อดุ หนนุ ใหแ้ ลว้ ดังนี้ ๑. คา่ เล่าเรียน ๒. ค่าหนงั สือเรียน ๓. คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น ๔. ค่าเครอื่ งแบบนักเรียน ๕. ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรมวชิ าการ ปีละ ๑ ครง้ั ๖. คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรมคณุ ธรรม/ชมุ นมุ ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด ปลี ะ ๑ ครง้ั ๗. คา่ ใช้จา่ ยในการไปทศั นศกึ ษา ปีละ ๑ ครงั้ ๘. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการอินเทอร์เน็ตตามหลักสูตร และที่เพิ่มเติมจากหลักสูตร ปีละ ๔๐ ชั่วโมง 74 แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษา ต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๙. คา่ วสั ดุฝกึ สอน สอบพืน้ ฐาน ๑๐. ค่าสมดุ รายงานประจ�ำตัวนักเรียน ๑๑. ค่าบรกิ ารห้องสมุดขัน้ พนื้ ฐาน ๑๒. คา่ บรกิ ารหอ้ งพยาบาล ๑๓. คา่ วสั ดสุ �ำนกั งาน ๑๔. ค่าวัสดุเชอ้ื เพลิงและหลอ่ ล่ืน ๑๕. คา่ วัสดุงานบ้านงานครัว ๑๖. ค่าอปุ กรณก์ ีฬา ๑๗. คา่ ซ่อมแซมครุภัณฑแ์ ละอุปกรณก์ ารเรียนการสอน ๑๘. คา่ ใชจ้ ่ายในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ๑๙. ค่าคู่มอื นักเรยี น ๒๐. คา่ บตั รประจ�ำตวั นักเรียน ๒๑. คา่ ปฐมนเิ ทศนักเรียน ๒๒. คา่ วารสารโรงเรยี น ส�ำหรับรายการท่ี ๑๙, ๒๐, ๒๑ และ ๒๒ หากโรงเรียนได้จัดท�ำเป็นลักษณะพิเศษ อยา่ งมคี ณุ ภาพ สามารถขอรบั การสนบั สนนุ ไดโ้ ดยประหยดั ตามความจ�ำเปน็ เหมาะสมกบั สภาพเศรษฐกจิ ของท้องถิ่น ข. สถานศกึ ษาทจี่ ดั การเรยี นการสอนนอกเหนอื หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เพอื่ สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้ สามารถขอรับการสนับสนุน คา่ ใช้จ่ายไดต้ ามความสมคั รใจของผู้ปกครองและนักเรียน ดงั นี้ ท่ี รายการ อตั ราการเกบ็ /คน/ภาคเรียน ๑ หอ้ งเรียนพเิ ศษ EP (English Program) -ระดบั ก่อนประถมศกึ ษาถงึ มธั ยมศึกษาตอนต้น ไม่เกิน ๓๕,๐๐๐ บาท -ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท ๒ หอ้ งเรียนพเิ ศษ MEP (Mini English Program) -ระดบั กอ่ นประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้น ไมเ่ กิน ๑๗,๕๐๐ บาท -ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไมเ่ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท ๓ หอ้ งเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษาตา่ งประเทศ ดา้ นวชิ าการ เท่าทีจ่ ่ายจริงตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม และด้านอน่ื ๆ (เชน่ หอ้ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ กบั สภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิน่ ยกเว้น หอ้ งเรียนพิเศษคณติ ศาสตร์ เป็นต้น) คา่ ใชจ้ ่ายหอ้ งเรยี นพิเศษ ด้านภาษาอังกฤษ ใหเ้ ก็บได้ไม่เกินครง่ึ หนง่ึ ของห้องเรียน MEP 75แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ตง้ั แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

การเปดิ หอ้ งเรยี นพเิ ศษตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน หรือส�ำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา แลว้ แต่กรณี ค. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถของนักเรียน ทน่ี อกเหนอื หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สามารถขอรบั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยไดต้ ามความสมคั รใจ ของผปู้ กครองและนกั เรียน โดยไม่รอนสิทธ์ินักเรียนทดี่ อ้ ยโอกาส ดงั นี้ ท่ี รายการ อตั ราการเก็บ/คน/ภาคเรยี น ๑ โครงการพัฒนาทกั ษะตามความถนัด เทา่ ทจี่ ่ายจริงตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม ๒ คา่ จ้างครูชาวต่างประเทศ กับสภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถน่ิ ๓ คา่ ตอบแทนวทิ ยากรภายนอก ทกุ รายการรวมกนั ไม่เกิน ๑,๒๕๐ บาทตอ่ ภาคเรียน ๔ คา่ เรยี นปรับพืน้ ฐานความรู้ ง. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเสริมเพ่ิมเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์ มาตรฐานทั่วไป ที่ได้งบประมาณจากรัฐ อาจขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริง โดยประหยัดตามความจ�ำเปน็ และเหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของทอ้ งถิ่น ตามความสมัครใจ ของผปู้ กครองและนกั เรยี น ดังน้ี ๑. ค่าจา้ งครทู มี่ ีความเชย่ี วชาญในสาขาเฉพาะ ๒. คา่ สาธารณปู โภคส�ำหรับห้องเรียนปรบั อากาศ ๓. คา่ สอนคอมพวิ เตอร์ กรณโี รงเรยี นจดั คอมพวิ เตอรใ์ หน้ กั เรยี นเกนิ มาตรฐานทรี่ ฐั จดั ให้ (๑ เครอ่ื ง : นักเรยี น ๒๐ คน) ๔. คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั รว่ มโครงการ โครงงาน และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเกนิ มาตรฐาน ทร่ี ัฐจัดให้ ๕. คา่ ใชจ้ า่ ยในการไปทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรขู้ องนกั เรยี นเกนิ มาตรฐานทรี่ ฐั จดั ให้ จ. สถานศึกษาท่ีจัดให้มีการดูแลด้านสวัสดิการและสวัสดิภาพนักเรียน อาจขอรับ การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยไดเ้ ทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ โดยประหยดั ตามความจ�ำเปน็ และเหมาะสมกบั สภาพฐานะ ทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น ตามความสมัครใจของผปู้ กครองและนกั เรียน ดังนี้ ๑. ค่าประกันชีวติ นกั เรยี น/คา่ ประกนั อบุ ตั ิเหตุนกั เรียน ๒. คา่ จ้างบคุ ลากรท่ีปฏบิ ัติงานในสถานศกึ ษา ๓. คา่ ตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นเปน็ กรณพี เิ ศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั 76 แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษา ต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๔. ค่าอาหารนักเรยี น ๕. คา่ หอพกั ๖. ค่าซักรีด ส�ำหรับสถานศึกษาท่ีจัดให้นักเรียนอยู่ประจ�ำ สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามข้อ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ และ ๖ ได้เท่าที่จ่ายจริง โดยประหยัดตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม กบั สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถนิ่ ฉ. สถานศึกษาต้องพิจารณาให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้อยโอกาสให้ได้เรียน โดยไม่รอนสิทธิท์ ีจ่ ะไดร้ ับ ดังนี้ ๑. การเรียนกับครูชาวต่างประเทศ หากสถานศึกษามีการจัดให้นักเรียนทุกคน ควรจดั ใหน้ กั เรยี นดอ้ ยโอกาสได้เรียนสัปดาห์ละไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ช่วั โมง ๒. การเรียนการสอนโดยครทู ่สี ถานศกึ ษาจา้ งหรือโดยวทิ ยากรภายนอก ๓. คา่ สาธารณูปโภคส�ำหรับห้องเรยี นปรับอากาศ ๔. คา่ ตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นเปน็ กรณพี เิ ศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ๕. คา่ เรยี นปรับพืน้ ฐานความรู้ ๖. คา่ อาหารนักเรยี น ๗. การเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ/คุณธรรม/ชุมนุมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดและ การไปทศั นศึกษา ๘. การเรียน การฝกึ ใช้คอมพวิ เตอร์ และการใช้บรกิ ารอินเทอร์เน็ตปลี ะ ๔๐ ชวั่ โมง อนึ่ง การเก็บเงินบ�ำรุงการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามข้อ ข ค ง จ และ ฉ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากส�ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษากอ่ น จงึ จะด�ำเนนิ การขอรบั การสนับสนนุ ได้ โดยให้มกี ารประกาศประชาสมั พนั ธใ์ หก้ ับผู้ปกครองและนักเรียนทราบลว่ งหน้า 77แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา ตัง้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การระดมทรพั ยากรของสถานศึกษา สงั กัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ เห็นก�ำหนดแนวปฏิบัติการระดมทรัพยากรของสถานศึกษา สังกดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพอ่ื ใหท้ กุ ภาคสว่ นของสงั คมมสี ว่ นรว่ มในการระดมทรพั ยากรเพอ่ื จดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ตามมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ กระทรวงศึกษาธิการจึงก�ำหนดให้ สถานศกึ ษาในสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ระดมทรพั ยากรเพอ่ื เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย ในการบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารท่ัวไป โดยความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และเปน็ ไปดว้ ยความสมคั รใจภายใต้ หลักเกณฑท์ ่ีส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานก�ำหนด ท้งั นี้ ตั้งแตบ่ ดั น้เี ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวัจน์ เออ้ื อภญิ ญกุล) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 78 แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา ตัง้ แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

แนวปฏบิ ตั ิการระดมทรัพยากรของสถานศกึ ษา สงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ด้วยปัจจุบันการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ประกอบกบั มาตรา ๕๘ แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ เปิดโอกาสให้มีการระดมทรพั ยากรและ การลงทุนด้านงบประมาณการเงินและทรัพย์สิน ท้ังจากรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครวั ชมุ ชนองคก์ รชมุ ชนเอกชนองคก์ รเอกชนองคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และต่างประเทศ มาใช้จัดการศึกษา ดังน้ัน เพ่ือให้การระดมทรัพยากร เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงก�ำหนดหลักเกณฑ์ ใหส้ ถานศึกษาถอื ปฏบิ ัติ ดงั นี้ ๑. สถานศึกษาสามารถระดมทรพั ยากรได้ ตามมาตรา ๕๘ แหง่ พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ตลอดปี ๒. การระดมทรพั ยากรตอ้ งเปน็ ไปดว้ ยความสมคั รใจตามความเหมาะสมและความจ�ำเปน็ ๓. สถานศกึ ษาตอ้ งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษาเพอ่ื สง่ เสรมิ และ ใหแ้ รงจงู ใจในการระดมทรพั ยากรจากบคุ คลครอบครวั ชมุ ชนองคก์ ร ชมุ ชนเอกชน องคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอนื่ ๔. สถานศึกษาต้องเสนอแผนและโครงการในการระดมทรัพยากรเพ่ือขอความเห็นชอบ ตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ๕. การใช้จ่ายทรัพย์สินและทรัพยากรอ่ืนที่ได้รับจากการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา จะต้องสอดคลอ้ งกบั โครงการท่ีไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ๖. สถานศึกษาต้องรายงานผลการด�ำเนินงานตามโครงการระดมทรัพยากรต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 79แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา ตั้งแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๑๓๖ ง หนา้ ๑๑ ๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๙ ราชกจิ จานเุ บกษา ค�ำส่งั หวั หน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ ๒๘/๒๕๕๙ เร่อื ง ให้จัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๑๕ ปี โดยไมเ่ กบ็ ค่าใช้จ่าย ตามที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติก�ำหนดให้รัฐต้องจัดให้บุคคลได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า ๑๒ ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายน้ัน รัฐบาลที่ผ่านมามีนโยบายจัดการศึกษา ดังกล่าว โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่ายเป็นเวลา ๑๕ ปี ตามมติคณะรฐั มนตรี วนั ท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๒ โดยขออนุมัติตั้งงบประมาณเป็นรายปีและขยายขอบเขตการด�ำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล แตล่ ะคณะมาเป็นล�ำดบั หวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติพจิ ารณาแลว้ เห็นว่า โดยทีเ่ ร่ืองน้ี สอดคล้องกับนโยบายด้านการศึกษาของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และนโยบายปฏิรูป การศกึ ษาของรฐั บาล ทงั้ สามารถลดความเหลอ่ื มลำ้� สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาและความเปน็ ธรรม ในสังคม แก้ปัญหาความยากจน ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชน จงึ สมควรยนื ยันแนวทางดังกล่าวและพฒั นาตอ่ ไปดว้ ยการยกระดับ จากการเปน็ โครงการตามนโยบายของแตล่ ะรฐั บาลใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องรฐั และมาตรการตามกฎหมาย เพอ่ื เปน็ หลกั ประกนั ความยง่ั ยนื มนั่ คงและเพอื่ ใหส้ ามารถจดั งบประมาณสนบั สนนุ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชวั่ คราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษา ความสงบแหง่ ชาติ จึงมีค�ำส่งั ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ ในค�ำสง่ั นี้ “ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา” หมายความว่า งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้แก่ หรอื ผา่ นทางสถานศกึ ษา หรอื ผจู้ ดั การศกึ ษาเพอ่ื เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๑๕ ปี “การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๑๕ ปี” หมายความว่า การศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล) (ถ้าม)ี ระดบั ประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ หรอื ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.๓) หรือเทียบเท่า และให้หมายความรวมถึงการศึกษาพเิ ศษและการศกึ ษาสงเคราะหด์ ้วย “การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่บุคคลซึ่งมีความผิดปกติ อยา่ งหนง่ึ อย่างใด ซึ่งจ�ำเปน็ ต้องจดั การศึกษาใหเ้ ป็นรปู แบบโดยเฉพาะ และอาศยั เทคนคิ ต่าง ๆ ในการสอนตามลักษณะความต้องการและความจ�ำเป็นของแต่ละบคุ คล 80 แนวทางการด�ำ เนินงานตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตัง้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

“การศึกษาสงเคราะห์” หมายความว่า การจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่ตกอยู่ในภาวะ ยากล�ำบากหรืออยู่ในสถานภาพที่ด้อยกว่าเด็กทั่วไป หรือท่ีมีลักษณะเป็นการกุศล เพ่ือให้มีชีวิต และความเป็นอยู่ทีด่ ีขนึ้ มีพัฒนาการท่ถี กู ตอ้ งและเหมาะสมกบั วัย ข้อ ๒ ใหส้ ว่ นราชการทเี่ ก่ียวข้องตามทีค่ ณะรัฐมนตรกี �ำหนดเตรยี มการเพ่อื จดั ใหเ้ ด็กเล็ก ก่อนวัยเรียนได้รับการดูแล และพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการ ด�ำเนินการดว้ ย ข้อ ๓ ให้สว่ นราชการทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐานด�ำเนนิ การจดั การศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน ๑๕ ปี ใหม้ ีมาตรฐานและคณุ ภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ให้รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรีก�ำหนดอัตรา ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาส�ำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๕ ปี เพื่อเสนอตามกระบวนการ จัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี คา่ ใชจ้ า่ ยตามวรรคสอง ได้แก่ (๑) คา่ จดั การเรียนการสอน (๒) คา่ หนงั สือเรยี น (๓) ค่าอุปกรณ์การเรยี น (๔) คา่ เคร่ืองแบบนกั เรียน (๕) คา่ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน (๖) คา่ ใชจ้ า่ ยอ่ืนตามทคี่ ณะรัฐมนตรีเหน็ ชอบ ขอ้ ๔ ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ท�ำหรอื ปรบั ปรงุ กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอื่ น�ำมาใชแ้ ทนและ ขยายผลตอ่ จากค�ำสงั่ นแี้ ลว้ เสนอคณะรฐั มนตรพี จิ ารณาภายในหกเดอื นนบั แตว่ นั ทคี่ �ำสงั่ นใี้ ชบ้ งั คบั ขอ้ ๕ ในกรณมี ปี ญั หาเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามค�ำสง่ั น้ี ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีอ�ำนาจวินิจฉยั ชีข้ าด ขอ้ ๖ ใหอ้ ตั ราคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ท่ีมีผลใช้อยู่ในวันก่อนวันที่ค�ำสั่งน้ีใช้บังคับ ยังคงมีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการก�ำหนดอัตรา คา่ ใช้จ่ายส�ำหรบั การจดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๑๕ ปี ตามข้อ ๓ ข้อ ๗ ค�ำสั่งนีใ้ ห้ใช้บงั คับต้ังแต่วันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป สั่ง ณ วนั ที่ ๑๕ มิถนุ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา หัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ 81แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ค�ำ สัง่ กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชี้วดั กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ สาระภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้า อยา่ งรวดเรว็ เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคนของชาติใหส้ ามารถเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขง่ ขนั ของประเทศ การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ หม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน ระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษที่ ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดำ�รงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ฉะน้ัน อาศยั อ�ำ นาจตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ ประกาศใชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ภิ าค ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ดงั ปรากฏแนบท้ายคำ�สัง่ น้ี แทนมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เงื่อนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ใหเ้ ปน็ ไป ดงั นี้ ๑. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ใหใ้ ชใ้ นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ และ ๔ และชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ และ ๔ ๒. ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใชใ้ นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ และช้นั มัธยมศึกษา ปีท่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ ๓. ต้งั แตป่ ีการศกึ ษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ให้ใชใ้ นทกุ ช้ันเรยี น 82 แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีอำ�นาจในการยกเลิก เพ่ิมเติม เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท้งั นี้ ตงั้ แตบ่ ดั น้ีเปน็ ต้นไป สัง่ ณ วันที่ ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ (นายธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร 83แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษา ต้งั แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ค�ำสัง่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ท่ี ๕๘/๒๕๖๓ เรื่อง แต่งตั้งคณะท�ำงานประชุมจัดท�ำแนวทางการด�ำเนินงานและการบริหารงบประมาณ การสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดว้ ย ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ไดด้ �ำเนนิ งานโครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ย ในการจดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กจิ กรรมการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ย ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวน ๕ รายการ จ�ำแนกตามรายการ ดงั นี้ ๑) คา่ จดั การเรยี นการสอน ๒) คา่ หนงั สอื เรยี น ๓) คา่ อปุ กรณ์ การเรียน ๔) ค่าเครอื่ งแบบนกั เรยี น และ ๕) ค่ากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน ซึง่ มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน เพื่อให้การบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจงึ ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะท�ำงานจดั ท�ำแนวทาง การด�ำเนินงานและการบริหารงบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ดงั น้ี ทปี่ รึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน นายอ�ำนาจ วชิ ยานวุ ัต ิ คณะท�ำงาน ๑. นายสนิท แย้มเกษร ประธานคณะท�ำงาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ๒. นางสาวสุกัญญา วอ่ งปรัชญา รองประธานคณะท�ำงาน ผอู้ �ำนวยการกล่มุ งบประมาณ ๒ รกั ษาราชการแทนผอู้ �ำนวยการ ส�ำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 84 แนวทางการด�ำ เนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา ตงั้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๓. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา หรือผ้แู ทน คณะท�ำงาน ๔. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการคลงั และสินทรพั ย์ หรือผู้แทน คณะท�ำงาน ๕. ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน คณะท�ำงาน หรือผู้แทน ๖. ผอู้ �ำนวยการส�ำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ หรือผูแ้ ทน คณะท�ำงาน ๗. ผอู้ �ำนวยการส�ำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา หรอื ผ้แู ทน คณะท�ำงาน ๘. ผอู้ �ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน หรอื ผู้แทน คณะท�ำงาน ๙. นายพพิ ัฒน์ เพช็ รพรหมศร ผอู้ �ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน คณะท�ำงาน ส�ำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๑ ๑๐. นางสาวแกว้ ใจ จเิ จริญ ผ้อู �ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน คณะท�ำงาน ส�ำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสมทุ รสงคราม ๑ ๑. นางสาวลลิ ิน ทรงผาสกุ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพฒั นาระบบบริหาร คณะท�ำงาน กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร ๑๒. นางพชั รกนั ย์ เมธาอัครเกยี รติ ผู้อ�ำนวยการกลุม่ บริหารงานพัสดุ คณะท�ำงาน ส�ำนกั การคลังและสินทรพั ย์ ๑๓. นางรัตนวภิ า ธรรมโชติ ผอู้ �ำนวยการกลุ่มพัฒนาสื่อการเรยี นร ู้ คณะท�ำงาน ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ๑ ๔. นายพทิ ักษ์ โสตถยาคม นักวชิ าการศกึ ษาช�ำนาญการพเิ ศษ คณะท�ำงาน ส�ำนักงานบริหารพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา ๑๕. นางสาวสอางค์ จงสวัสดิ์พฒั นา ผอู้ �ำนวยการกลมุ่ แผนและงบประมาณ คณะท�ำงาน ส�ำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ ๑๖. นางสาวนพศร พรมณพี ิสมยั นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนช�ำนาญการ คณะท�ำงาน ส�ำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ ๑๗. นางสาวส�ำเภาเงิน ชาติส�ำราญ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำนาญการ คณะท�ำงาน ส�ำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ ๑ ๘. นางภาวิณี แสนทวสี ุข ผู้อ�ำนวยการกล่มุ พฒั นาหลกั สูตร คณะท�ำงาน และสง่ เสรมิ การศกึ ษาปฐมวัย ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๑ ๙. นางสาวสมควร เพียรพทิ ักษ ์ นกั วชิ าการศกึ ษาช�ำนาญการพเิ ศษ คณะท�ำงาน ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา 85แนวทางการด�ำ เนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษา ต้ังแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๒ ๐. นางสาวเจตนา พรมประดษิ ฐ์ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ คณะท�ำงาน ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ๒ ๑. นายรัฏกร ฟอ้ งเสยี ง นิติกรช�ำนาญการพเิ ศษ คณะท�ำงาน ส�ำนักนิตกิ าร ๒๒. นางสาวศรณ์วรัชท์ ทองเกา่ นกั วิชาการเงินและบญั ชชี �ำนาญการ คณะท�ำงาน ส�ำนกั การคลงั และสินทรพั ย์ ๒ ๓. ผอู้ �ำนวยการกลุม่ สารสนเทศ หรอื ผู้แทน คณะท�ำงาน ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ๒๔. ผู้อ�ำนวยการศนู ยพ์ ฒั นาระบบขอ้ มูลทางการศกึ ษา หรอื ผแู้ ทน คณะท�ำงาน ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒๕. ผ้อู �ำนวยการกลุ่มสง่ เสริมการจัดการศกึ ษา หรือผ้แู ทน คณะท�ำงาน ส�ำนกั นโยบายและแผนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๒๖. ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ วิจัยและพัฒนานโยบาย หรอื ผแู้ ทน คณะท�ำงาน ส�ำนักนโยบายและแผนการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ๒ ๗. นางสาววิภาภรณ์ ฤทธ์ชิ ัย เจ้าพนกั งานธรุ การช�ำนาญงาน คณะท�ำงาน ส�ำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๒ ๘. นางสาวจริยา วิวัฒนท์ รงชัย พนักงานราชการ คณะท�ำงาน ส�ำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ ๒ ๙. นายจักรพันธ์ อมั รนันท์ พนักงานธรุ การ คณะท�ำงาน ส�ำนักนโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ๓๐. นางเบญจวรรณ ดวงใจ ผอู้ �ำนวยการกล่มุ งบประมาณ ๑ คณะท�ำงานและ ส�ำนักนโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เลขานุการ ๓๑. นางสาวดาราวรรณ ผ้ึงปฐมภรณ์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ คณะท�ำงานและ ส�ำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ผชู้ ่วยเลขานุการ ๓ ๒. นางสาวกรชนก เข่ือนเพชร นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ คณะท�ำงานและ ส�ำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ผูช้ ่วยเลขานกุ าร ๓ ๓. นางสาวปพชิ ญา พฒุ นา นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัตกิ าร คณะท�ำงานและ ส�ำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผชู้ ่วยเลขานุการ ๓๔. นายชาญณรงค์ มงคลศิวกุล นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร คณะท�ำงานและ ส�ำนักนโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 86 แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตงั้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

โดยใหค้ ณะท�ำงานมีหนา้ ท่ี ๑. เสนอผลการด�ำเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อทราบปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. ระดมความคิดเห็นและจัดท�ำร่างแนวทางการด�ำเนินงานและการบริหารงบประมาณ การสนับสนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓. จดั ท�ำแนวทางการด�ำเนนิ งานและการบรหิ ารงบประมาณการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการ จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ทง้ั น้ี ตงั้ แตบ่ ดั นีเ้ ป็นตน้ ไป ส่งั ณ วนั ท่ี ๑๐ เดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายสนทิ แยม้ เกษร) รองเลขาธิการ ปฏบิ ัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 87แนวทางการดำ�เนนิ งานตามโครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจดั การศึกษา ตง้ั แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ศูนย์ประสานงาน ภาพรวมของโครงการ/การจัดสรรงบประมาณ ส�ำนกั นโยบายและแผนการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๑, ๐-๒๒๘๐-๕๕๑๒ โทรสาร ๐-๒๒๘๐-๕๕๑๕ หนงั สือเรยี น ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๕, ๐-๒๒๘๘-๕๗๓๖ การจัดซอื้ จัดจ้าง ส�ำนักการคลังและสินทรัพย์ โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๕๒๔, ๐-๒๒๘๘-๕๕๒๒ เปดิ ดูบัญชีจัดสรรได้จาก http://plan.bopp-obec.info/ รายงานขอ้ มลู จ�ำนวนนักเรียน https://bopp-obec.info/ เปดิ ดูแนวทางการจัดซอื้ หนงั สอื เรียนได้จาก http://academic.obec.go.th และ http://academic.obec.go.th/textbook/web/ 88 แนวทางการดำ�เนินงานตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษา ตงั้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

การสนบั สนนุ คาใชจ ายในการจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ตามโครงการสนับสนุนคา ใชจ ายในการจดั การศกึ ษาตัง้ แตระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. คา จัดการเรยี นการสอน ๓. คา อปุ กรณก ารเรยี น เงินอุดหนุนรายหวั โรงเรยี นปกติ กอนประถมศึกษา ๑๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๒๐๐ บาท/คน/ป) กอ นประถมศึกษา ๘๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน ประถมศกึ ษา ๑๙๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑,๗๐๐ บาท/คน/ป) ประถมศึกษา ๙๕๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๓๙๐ บาท/คน/ป) มธั ยมศกึ ษาตอนตน ๒๑๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๑,๙๐๐ บาท/คน/ป) (๔๒๐ บาท/คน/ป) มัธยมศึกษาตอนตน ๑,๗๕๐ บาท/คน/ภาคเรยี น มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๓,๕๐๐ บาท/คน/ป) (๔๖๐ บาท/คน/ป) ช้ัน ปวช. ๑ - ๓ ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑,๙๐๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (สถานประกอบการ) (๔๖๐ บาท/คน/ป) (๓,๘๐๐ บาท/คน/ป) ชน้ั ปวช. ๑ - ๓ ๕,๘๖๘ บาท/คน/ภาคเรียน (จัดการศึกษาโดย (๑๑,๗๓๖ บาท/คน/ป) ๔. คาเครื่องแบบนักเรยี น กอนประถมศึกษา ๓๐๐ บาท/คน/ป สถานประกอบการ) ประถมศึกษา ๓๖๐ บาท/คน/ป มธั ยมศกึ ษาตอนตน ๔๕๐ บาท/คน/ป มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๕๐๐ บาท/คน/ป ๒. คา หนังสอื เรยี น ชนั้ ปวช. ๑ - ๓ ๙๐๐ บาท/คน/ป มลู คา หนังสอื ตอชดุ (สถานประกอบการ) กอ นประถมศึกษา ๒๐๐ บาท/คน/ป ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๑ ๖๒๕ บาท/คน/ป ๕. คากจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รียน ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ ๖๑๙ บาท/คน/ป ประกอบดวย ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ๖๒๒ บาท/คน/ป ๑. กิจกรรมวชิ าการ ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๔ ๖๗๓ บาท/คน/ป ๒. กิจกรรมคณุ ธรรม/ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ ๘๐๖ บาท/คน/ป ๓. ทัศนศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖ ๘๑๘ บาท/คน/ป ๔. การบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (ICT) ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ๗๖๔ บาท/คน/ป กอนประถมศึกษา ๒๑๕ บาท/คน/ภาคเรยี น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ๘๗๗ บาท/คน/ป (๔๓๐ บาท/คน/ป) ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ๙๔๙ บาท/คน/ป ประถมศกึ ษา ๒๔๐ บาท/คน/ภาคเรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ๔ ๑,๓๑๘ บาท/คน/ป (๔๘๐ บาท/คน/ป) ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๕ ๑,๒๖๓ บาท/คน/ป มธั ยมศึกษาตอนตน ๔๔๐ บาท/คน/ภาคเรียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ ๑,๑๐๙ บาท/คน/ป (๘๘๐ บาท/คน/ป) ชน้ั ปวช. ๑ - ๓ ๒,๐๐๐ บาท/คน/ป มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรียน (สถานประกอบการ) (๙๕๐ บาท/คน/ป) ช้นั ปวช. ๑ - ๓ ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรยี น (สถานประกอบการ) (๙๕๐ บาท/คน/ป) สํานกั นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 86 แตนงั้ แวตทราะงดกับารอดนําบุ เนาลนิ จงานนจตบากมาโรคโศรทึกงษรกาา.ขร๐สน้ั นพับ๒ื้นhสฐ๒tนาtนนุ๘pคป๘:า /งใบช/๕จปpา๘รlยะa๕ใมนnา๑กณ.าbรโพจoท.ัดศpรก.pาส๒ร๕า-ศo๖รึกษb๓๐าec๒.i๒n๘fo๐ ๕๕๑๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook