Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์ ม.4-6 หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

เศรษฐศาสตร์ ม.4-6 หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

Published by ekapongarmsoma, 2020-06-23 06:45:36

Description: เศรษฐศาสตร์ ม.4-6 หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ในโลกปัจจุบนั

หน่วยเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกจิ ตลาดในระบบเศรษฐกจิ การกาหนดราคาในระบบเศรษฐกจิ การกาหนดอตั ราค่าจ้างแรงงาน



การดาเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เป็นการดาเนินกิจกรรมในการผลิต การบริโภค การแลกเปล่ียน การ แจกจ่ายสินคา้ แก่ผบู้ ริโภคน้นั เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมไดส้ ูงสุด เน่ืองจากทรัพยากรมีอยอู่ ยา่ งจากดั ผ้ดู าเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เรียกวา่ หน่วยทางเศรษฐกิจ เช่น ครัวเรือน หา้ งร้าน บริษทั

หน่วยครัวเรือน • หน่วยเศรษฐกิจท่ีอาจเป็นบุคคลคนเดียวหรือหลายคนร่วมกนั • มีการร่วมกนั ตดั สินใจใชท้ รัพยากรต่างๆ เช่น เงิน ทรัพยส์ ิน แรงงานใหเ้ กิด ประโยชน์สูงสุด • สมาชิกครัวเรือนอาจเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิต เป็นแรงงาน หรือเป็น ผปู้ ระกอบการกไ็ ด้ • เป้ าหมายหลกั คือ การแสวงหาความพอใจสูงสุด

หน่วยครัวเรือน • บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลที่ทาหนา้ ท่ีนาเอาปัจจยั การผลิตมาผลิตเป็นสินคา้ และบริการ • สินคา้ และบริการที่ผลิตไดจ้ ะนาไปไปจาหน่ายแก่ผบู้ ริโภค • ประกอบดว้ ยผผู้ ลิตและผขู้ าย ซ่ึงอาจทาหนา้ ที่เป็นท้งั ผผู้ ลิตและผขู้ ายพร้อมกนั • จุดมุ่งหมาย คือ การแสวงหากาไรสูงสุดจากการประกอบการ

หน่วยรัฐบาล • หน่วยงานของรัฐหรือส่วนราชการต่างๆ • มีหนา้ ที่และความสมั พนั ธ์กบั หน่วยงานอ่ืนๆ ในระบบเศรษฐกิจ • เป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิต เป็นผผู้ ลิต และผบู้ ริโภคในคราวเดียวกนั • มีบทบาทสาคญั เช่น การเกบ็ ภาษีจากครัวเรือน การออกกฎหมายเพื่อ กระตุน้ ภาวะเศรษฐกิจ

ความสัมพนั ธ์ของหน่วยเศรษฐกจิ แผนผงั แสดงกระแสหมุนเวยี นของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ระหว่างหน่วยเศรษฐกจิ

แผนผงั แสดงบทบาทของรัฐบาลท่มี คี วามสัมพนั ธ์กบั หน่วยเศรษฐกจิ อ่นื ๆ



ระบบเศรษฐกจิ กระบวนการทางเศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ จากความร่วมมือกนั ของมนุษย์ในการ สร้างและใช้ทรัพยากรเพอื่ สนองความต้องการระหว่างกนั ของสมาชิก ในสังคมทมี่ ีการปฏบิ ตั คิ ล้ายคลงึ กนั ระบบเศรษฐกิจใชก้ าหนดกระบวนการทางเศรษฐกิจ • ผลิตอะไร • ผลิตเพ่อื ใคร • จานวนเท่าใด • จาแนกแจกจ่ายแก่ผบู้ ริโภคอยา่ งไร

ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม • ระบบเศรษฐกิจท่ีเอกชนมีสิทธ์ิเป็นเจา้ ของทรัพยากรต่างๆ ตามกฎหมาย • เอกชนมีสิทธิควบคุมและปกป้ องทรัพยส์ ินตนเอง และสามารถยกทรัพยส์ ิน ใหแ้ ก่ผอู้ ื่นได้ • เอกชนมีเสรีภาพในการผลิต การจาหน่าย และการดาเนินการตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง • รัฐจะไม่เขา้ ไปควบคุมการผลิต การกาหนดราคา และการจาหน่าย • กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ดาเนินไปโดยผา่ นกลไกราคา • การแข่งขนั กนั ทางเศรษฐกิจมีสูง

ข้อดี 1. ทาใหเ้ กิดแรงจงู ใจในการผลิตและการทางาน 2. ช่วยใหเ้ กิดการพฒั นาคุณภาพของสินคา้ ละบริการใหด้ ีข้ึนอยเู่ สมอ 3. บุคคลในระบบเศรษฐกิจมีอิสรเสรีในการใชท้ รัพยากร 4. ผบู้ ริโภคสามารถบริโภคสินคา้ และบริการไดอ้ ยา่ งเป็นธรรม ข้อเสีย 1. อาจไม่เหมาะสมกบั สถานการณ์ทางเศรษฐกิจบางกรณี 2. ทาใหร้ ายไดข้ องประชาชนไม่เท่าเทียมกนั 3. อาจก่อใหเ้ กิดการผกู ขาดการผลิตสินคา้ และบริการได้

ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม • ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลเขา้ ไปเป็นผคู้ วบคุมดาเนินการผลิต • การดาเนินกิจกรรมขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมข้นั พ้ืนฐานจะถูกควบคุม โดยรัฐ • รัฐเขา้ ควบคุมกิจการสาธารณูปโภค เช่น ประปา ไฟฟ้ า โทรศพั ท์ • รัฐจะเขา้ ไปจดั สวสั ดิการใหก้ บั ประชาชน • รัฐเปิ ดโอกาสใหเ้ อกชนมีกรรมสิทธ์ิในท่ีอยอู่ าศยั มีอิสระในการประกอบ ธุรกิจขนาดยอ่ ม และมีเสรีภาพในการเลือกซ้ือสินคา้ และบริการ

ข้อดี 1. ประชาชนไดร้ ับการดูแลเกี่ยวกบั สวสั ดิการของรัฐคอ่ นขา้ งดี 2. ช่วยใหเ้ กิดการจดั สรรทรัพยากรและการกระจายรายไดท้ ี่ดี 3. ช่วยขจดั การแข่งขนั ดา้ นโฆษณาท่ีไม่เกิดประโยชน์ 4. ลม้ เลิกการผกู ขาดโดยเอกชนในธุรกิจบางชนิด 5. เศรษฐกิจไม่ค่อยผนั แปรข้ึนลงมากนกั ข้อเสีย 1. หากการวางแผนดา้ นเศรษฐกิจจากส่วนกลางทาไดไ้ มด่ ี กย็ อ่ มส่ง ผลเสียต่อประชาชน 2. ประชาชนไม่มีเสรีภาพอยา่ งเตม็ ที่ในการดาเนินธุรกิจ 3. ขาดแรงจูงใจที่กระตุน้ ใหเ้ กิดการผลิตหรือคิดคน้ สิ่งใหม่ๆ

ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม • ระบบเศรษฐกิจที่นาลกั ษณะบางอยา่ งของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและ สงั คมนิยมมาผสมผสานกนั เป็นระบบใหม่ • เอกชนและรัฐบาลมีส่วนร่วมในการใชก้ ลไกราคาและวางแผนในกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ • เอกชนและรัฐบาลสามารถเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิตสินคา้ และบริการ • กิจกรรมทางเศรษฐกิจส่วนใหญร่ ัฐบาลจะปล่อยใหเ้ อกชนดาเนินการผลิต • มีการจากดั สิทธิเสรีภาพของเอกชนในธุรกิจบางประเภทท่ีอาจส่งผลต่อความ มนั่ คงของชาติ • รัฐมีอานาจเขา้ ไปแทรกแซงกลไกราคาสินคา้ ท่ีเห็นวา่ ไม่เป็นธรรม • รัฐจะเขา้ ควบคุม และส่งเสริมผปู้ ระกอบการโดยสร้างโครงสร้างพ้นื ฐานเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจ

ข้อดี 1. มีความคล่องตวั ในการดาเนินการ 2. มีการนารายไดม้ าเฉล่ียใหผ้ ทู้ างานตามกาลงั ความสามารถ 3. สินคา้ และบริการมีคุณภาพและประชาชนสามารถเลือกบริโภคได้ 4. เอกชนสามารถเขา้ ถึงบริการของรัฐ รวมถึงสวสั ดิการพ้ืนฐานต่างๆ ข้อเสีย 1. แรงจูงใจในการผลิตสินคา้ ของเอกชนอาจมีไม่มากพอ 2. การดาเนินการอาจไม่มีประสิทธิภาพเพยี งพอต่อการพฒั นาเศรษฐกิจอยา่ ง รวดเร็ว 3. การวางแผนจากส่วนกลางเพอื่ ประสานประโยชน์ระหวา่ งรัฐกบั เอกชนทาไดย้ าก 4. การดาเนินการของรัฐในธุรกิจบางประเภทยงั ไม่มีประสิทธิภาพเท่าเอกชน



ตลาด สถานทที่ ผ่ี ู้ซื้อและผู้ขายมกี ารตดิ ต่อกนั ได้โดยสะดวกจนสามารถ ทาการแลกเปลย่ี นซื้อขายกนั ได้

ความสาคญั ของตลาดในระบบเศรษฐกจิ 1. ช่วยให้ผู้ผลติ สามารถผลติ สินค้าได้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค • ตลาดจะทาหนา้ ที่เป็นตวั กลางนาขอ้ มูลความตอ้ งการของผบู้ ริโภคมาใหผ้ ผู้ ลิต • ผผู้ ลิตสามารถผลิตสินคา้ ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของผบู้ ริโภค • ช่วยลดความสิ้นเปลืองทรัพยากรท่ีใชใ้ นการผลิตสินคา้ 2. ช่วยให้ผู้บริโภคมีมาตรฐานครองชีพสูงขึน้ • ตลาดช่วยกระตุน้ ใหผ้ ผู้ ลิตตอ้ งพฒั นาคุณภาพสินคา้ อยเู่ สมอ • ผบู้ ริโภคสามารถเลือกซ้ือสินคา้ ไดห้ ลากหลาย • สินคา้ ที่วางขายมีคุณภาพดีและมีราคาถกู 3. ช่วยให้เศรษฐกจิ ของประเทศขยายตวั สูงขนึ้ • ตลาดช่วยใหเ้ กิดการจา้ งงานมากข้ึน • เมื่อมีงานทากจ็ ะทาใหป้ ระชาชนมีรายไดส้ ูงข้ึน • เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตวั อยา่ งต่อเน่ือง

ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อขนาดของตลาด • ระบบการคมนานาคมและการส่ือสารที่สะดวกรวดเร็ว • ลกั ษณะของสินคา้ ที่เหมาะสม • นโยบายทางการคา้ ของรัฐ ท่ีเอ้ือต่อการลงทุน ตลาดการคา้ จะขยายตวั ไดเ้ ร็ว

คนกลางในตลาด คนกลางในการซ้ือขายสินคา้ ระหวา่ งผผู้ ลิตกบั ผบู้ ริโภค มีหลายระดบั เกษตรกรผปู้ ลกู ขา้ วโพด พอ่ คา้ คนกลางในพ้ืนที่ พอ่ คา้ คนกลางในทอ้ งถิ่น พอ่ คา้ คนกลางในตลาดปลายทาง ส่งออกต่างประเทศ ส่งโรงงานผลิตอาหารสัตว์

ตลาดสินค้าตามชนิดของสินค้า ตลาดปัจจัยการผลติ ตลาดสินค้าอุปโภคบริโภค ตลาดที่มีการซ้ือขายปัจจยั การ ผลิตเพื่อนาไปใชผ้ ลิตสินคา้ และ ตลาดที่มีการซ้ือขายสินคา้ บริการ เช่น รถไถ เคร่ืองสูบน้า อุปโภคบริโภคโดยผซู้ ้ือนาไป บริโภคโดยตรง เช่น อาหาร เครื่องสีขา้ ว เป็นตน้ เส้ือผา้ ตลาดเงนิ และตลาดทุน ตลาดท่ีมีการติดต่อตกลงกนั เร่ือง เงินและทุน เช่น การกยู้ มื การซ้ือ ขายหลกั ทรัพย์ การซ้ือขาย เงินตราตา่ งประเทศ

ตลาดสินค้าตามการดาเนินการของผู้ขาย ตลาดขายส่ ง ตลาดท่ีมีการขายสินคา้ คร้ังละมากๆ โดยจาหน่ายใหพ้ อ่ คา้ คน กลางเพ่ือนาสินคา้ ไปขายตรงใหผ้ บู้ ริโภคอีกทีหน่ึง ตลาดขายปลกี ตลาดที่มีการขายสินคา้ ใหแ้ ก่ผบู้ ริโภคโดยตรง

ตลาดสินค้าตามชนิดของสินค้า ตลาดผ้ผู ลติ ตลาดผ้บู ริโภค เป็นการซ้ือสินคา้ ของผผู้ ลิตเพื่อ นาไปแปรรูปหรือใชใ้ นการผลิต เป็นกลุ่มผบู้ ริโภคที่เป็นบุคคล สินคา้ เพอื่ จาหน่ายอีกทอดหน่ึง หรือครัวเรือนท่ีซ้ือสินคา้ ไปเพือ่ อุปโภคบริโภคในครัวเรือน ตลาดผ้ขู ายต่อ ตลาดรัฐบาล เป็นการซ้ือสินคา้ ของผปู้ ระสงค์ เป็นการซ้ือสินคา้ ของหน่วยงาน จะนาสินคา้ ไปขายตอ่ โดยหวงั ราชการเพอ่ื นาไปใชใ้ น องคก์ ารต่างๆ ผลกาไรอีกทอดหน่ึง

ตลาดสินค้าตามลกั ษณะการแข่งขนั ตลาดทมี่ กี ารแข่งขนั อย่างสมบูรณ์ ตลาดทม่ี ีการแข่งขนั อย่างไม่สมบูรณ์ • ตลาดที่ผซู้ ้ือและผขู้ ายมีจานวนมาก • ตลาดผกู ขาด • สินคา้ ท่ีซ้ือหรือขายตอ้ งมีลกั ษณะอยา่ ง • ตลาดก่ึงแขง่ ขนั ก่ึงผกู ขาด • ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย เดียวกนั • ผซู้ ้ือและผขู้ ายจะมีความรอบรู้สภาวะตลาด อยา่ งดี • การติดต่อซ้ือขายสามารถทาไดโ้ ดยสะดวก • หน่วยธุรกิจสามารถเขา้ หรือออกจากธุรกิจ การคา้ ไดโ้ ดยเสรี



การกาหนดราคาตามอุปสงค์และอปุ ทาน อปุ สงค์ กฎของอุปสงค์ ความเตม็ ใจและ หาสินคา้ มีราคาต่าลง ผบู้ ริโภค กม็ ีความยนิ ดีที่จะซ้ือสินคา้ ในปริมาณ ความสามารถของผซู้ ้ือในการ เพม่ิ ข้ึน ในทางกลบั กนั หากสินคา้ มี จ่ายเงินซ้ือสินคา้ ในปริมาณ ราคาสูงข้ึน ผบู้ ริโภคกม็ ีความยนิ ดีที่จะ ต่างๆ ณ ระดบั ราคาต่างๆ ของ ซ้ือสินคา้ ในปริมาณท่ีต่าลง สินคา้ ชนิดน้นั ในช่วงเวลาใด เวลาหน่ึง

การกาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน อปุ สงค์ ความเตม็ ใจและความสามารถของผซู้ ้ือในการจ่ายเงินซ้ือสินคา้ ในปริมาณต่างๆ ณ ระดบั ราคาต่างๆ ของสินคา้ ชนิดน้นั ในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง กฎของอปุ สงค์ หาสินคา้ มีราคาต่าลง ผบู้ ริโภคกม็ ีความยนิ ดีที่จะซ้ือสินคา้ ในปริมาณเพ่มิ ข้ึน ในทาง กลบั กนั หากสินคา้ มีราคาสูงข้ึน ผบู้ ริโภคกม็ ีความยนิ ดีที่จะซ้ือสินคา้ ในปริมาณท่ีต่าลง





การกาหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน อุปทาน กฎของอปุ ทาน ปริมาณสินคา้ หรือ หากราคาสินคา้ สูงข้ึน ปริมาณ บริการท่ีผผู้ ลิตหรือผขู้ ายยนิ ดี เสนอขายกจ็ ะเพ่มิ ข้ึน แต่ถา้ หากสินคา้ มี ขายหรือผลิตใหก้ บั ผซู้ ้ือ ณ ราคาต่าลง ปริมาณการเสนอขายกจ็ ะ ระดบั ราคาต่างๆ ตามท่ีตลาด ลดลง กาหนดให้

อปุ ทาน ปริมาณสินคา้ หรือบริการที่ผผู้ ลิตหรือผขู้ ายยนิ ดีขายหรือผลิตใหก้ บั ผซู้ ้ือ ณ ระดบั ราคา ต่างๆ ตามท่ีตลาดกาหนดให้ กฎของอปุ ทาน หากราคาสินคา้ สูงข้ึน ปริมาณเสนอขายกจ็ ะเพิม่ ข้ึน แต่ถา้ หากสินคา้ มีราคาต่าลง ปริมาณการเสนอขายกจ็ ะลดลง



กราฟ แสดงเสน้ อุปทานแต่ละบุคคลและเสน้ อุปทานรวมในการผลิตปากกา

การกาหนดราคาตามอปุ สงค์และอปุ ทาน • ตามกฎของอปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน ปริมาณสินคา้ ที่ผบู้ ริโภคตอ้ งการซ้ือและผขู้ ายตอ้ งการขาย จะปรับตวั ตามราคาสินคา้ ที่เปลี่ยนแปลงไป • การปรับตวั ของจานวนการซ้ือและจานวนการขายในลกั ษณะตรงกนั ขา้ มกนั ทาใหจ้ านวนการ ซ้ือและจานวนการขายเท่ากนั พอดี ณ ระดบั ราคาใดราคาหน่ึง เรียกวา่ ราคาดุลยภาพ • ณ ระดบั ราคาที่ต่ากวา่ ราคาดุลยภาพ จะทาใหเ้ กิดอุปสงส่วนเกิน ราคาสินค้าจะสูงขนึ้ • ณ ระดบั ราคาท่ีอยสู่ ูงกวา่ ราคาดุลยภาพ ทาใหเ้ กิดอปุ ทานส่วนเกิน ราคาสินค้าจะลดต่าลง



ข้อดแี ละข้อเสียของการกาหนดราคาตามอุปสงค์และอปุ ทาน ข้อดี 1. ช่วยใหผ้ ผู้ ลิตจดั สรรปัจจยั การผลิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. ทาใหร้ าคาสินคา้ และบริการสูงข้ึน ผผู้ ลิตไดก้ าไรสูงข้ึน 3. ช่วยใหม้ ีการเคลื่อนยา้ ยปัจจยั การผลิตตามกลไกราคาอยา่ งเหมาะสม 4. ช่วยใหก้ ารใชป้ ัจจยั การผลิตมีประสิทธิภาพสูงสุด ข้อเสีย 1. ผดู้ าเนินการผลิตจะตอ้ งมีการปรับตวั อยตู่ ลอดเวลาตามภาวะตลาด 2. ผผู้ ลิตท่ีขาดความรู้และประสบการณ์อาจประสบภาวะกาไรตกต่าหรือการขาดทนุ 3. ผบู้ ริโภคตอ้ งซ้ือสินคา้ ในราคาที่เปลี่ยนแปลงไปตามอุปสงคแ์ ละอุปทาน 4. ประชาชนส่วนใหญ่อาจตอ้ งประสบปัญหาค่าครองชีพจากราคาสินคา้ ในตลาด

หลกั ในการกาหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ 1. สภาวะทางเศรษฐกจิ ในภาวะเศรษฐกจิ ดี ผผู้ ลิตอาจกาหนดราคาสินคา้ ใหส้ ูงข้ึนเพราะประชาชนมี กาลงั การซ้ือมาก ในภาวะเศรษฐกจิ ตกตา่ การกาหนดราคาอาจต่าลงกวา่ ปกติ เพื่อจูงใจใหม้ ีผซู้ ้ือ สินคา้ เพิม่ ข้ึน 2. สภาวะการแข่งขนั ในตลาด ในกรณที ี่ตลาดมกี ารแข่งขนั สูง มีผผู้ ลิตสินคา้ ชนิดเดียวกนั จานวนมาก ผผู้ ลิต อาจตอ้ งกาหนดราคาสินคา้ ใหใ้ กลเ้ คียงกบั ธุรกิจอื่น เพราะถา้ หากสินคา้ มีราคาสูงกวา่ ผอู้ ่ืน กอ็ าจขายสินคา้ ไดน้ อ้ ยลง

หลกั ในการกาหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ 3. ต้นทุนการผลติ และการจาหน่าย สินคา้ หลายชนิดมกั กาหนดราคาสินคา้ โดยบวกเพ่มิ เขา้ ไปกบั ตน้ ทนุ การผลิต ซ่ึงการบวกเพม่ิ น้ี ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะสินคา้ สภาวะเศรษฐกิจ และการแขง่ ขนั ในตลาด 4. กลุ่มเป้ าหมายและลกั ษณะของสินค้า ผผู้ ลิตจะกาหนดราคาสินคา้ โดยคานึงถึงผบู้ ริโภคกล่มุ เป้ าหมาย เช่น หาก สินคา้ ท่ีผลิตมีกลุ่มเป้ าหมายลกู คา้ ที่รายไดส้ ูง กจ็ ะกาหนดราคาสินคา้ ใหส้ ูงกวา่ ปกติ

รูปแบบการกาหนดราคาสินค้าในเชิงกลยุทธ์ • การกาหนดราคาโดยบวกเพมิ่ เขา้ ไปกบั ตน้ ทุนที่ประมาณได้ • การกาหนดราคาสินคา้ ที่ขายให้ แตกต่างกนั ตามปริมาณสินคา้ ท่ีซ้ือ • การกาหนดราคาขายใหแ้ ตกต่างกนั ตามลกั ษณะของผซู้ ้ือ • การกาหนดราคาสินคา้ ตามช่วงเวลาที่ ต่างกนั

ข้อดแี ละข้อเสียของการกาหนดราคาเชิงกลยุทธ์ ข้อดี 1. ในกรณีที่ตลาดมีการแข่งขนั กนั นอ้ ย ผผู้ ลิตสามรถกาหนดราคาสินคา้ ไดส้ ูงทาใหไ้ ดก้ าไรมาก 2. ผผู้ ลิตสามารถกาหนดราคาสินคา้ เพื่อใหไ้ ดก้ าไรตามตอ้ งการไดโ้ ดยง่าย 3. ช่วยใหผ้ ผู้ ลิตสามารถกาหนดราคาไดเ้ หมาะสม ตรงตามกลุ่มผบู้ ริโภคเป้ าหมาย 4. การกาหนดราคาเชิงกลยทุ ธ์ช่วยส่งเสริมการขายและดึงดูดผบู้ ริโภคในทางหน่ึง ข้อเสีย 1. ในตลาดมีการแข่งขนั นอ้ ย ผผู้ ลิตมีอานาจในการกาหนดราคาสินคา้ สูง ทาใหเ้ กิดการผกู ขาด ราคาสินคา้ แพงกวา่ ความเป็นจริง 2. ในภาวะตลาดที่มีการแข่งขนั สูง ผผู้ ลิตไม่สามารถกาหนดราคาสินคา้ ของตนใหส้ ูงกวา่ ผอู้ ื่น ได้ ส่งผลใหไ้ ดก้ าไรนอ้ ย 3. ผผู้ ลิตท่ีขาดความเช่ียวชาญดา้ นธุรกิจอาจตอ้ งขาดทุนจากการกาหนดราคาท่ีไม่สอดคลอ้ งกบั ภาวะตลาด

บทบาทของรัฐในการดาเนินการทางเศรษฐกจิ • บทบาทในการให้การส่งเสริม เศรษฐกจิ 1. การสร้างถนนเพือ่ การคมนาคมขนส่ง 2. การสร้างสนามบินท่ีทนั สมยั 3. การสร้างระบบไฟฟ้ า ประปาอยา่ ทวั่ ถึง 4. การพฒั นาระบบส่ือสารท่ีมีความ สะดวกรวดเร็ว 5. การออกกฎหมาย ระเบียบ ท่ีส่งเสริม การคา้ และการลงทุน

• บทบาทในการจัดการและการควบคุม 1. การประกนั และพยงุ ราคาสินคา้ เกษตร 2. การควบคุมราคาสินคา้ อุปโภคบริโภค ไม่ใหส้ ูงเกินจริง 3. การอุดหนุนปัจจยั การผลิตเพ่ือลด ตน้ ทุนการผลิตสินคา้ 4. การเขา้ ควบคุมการผลิตสินคา้ เพือ่ ให้ เพยี งพอต่อความตอ้ งการของประชาชน



กลไกในการกาหนดอตั ราค่าจ้างแรงงาน กลไกสาคญั ในการกาหนดค่าจ้าง คอื อปุ สงค์ต่อแรงงาน และอปุ ทานของแรงงาน กราฟ แสดงการกาหนดค่าจางแรงงานอปุ สงค์ และอปุ ทานของแรงงาน

พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 • กาหนดใหม้ ีคณะกรรมการค่าจา้ ง เพ่อื ทาหนา้ ที่พิจารณากาหนดอตั ราค่าจา้ งแรงงานข้นั ต่า • คณะกรรมการค่าจา้ ง ประกอบดว้ ย ปลดั กระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสงั คมเป็นประธาน ผแู้ ทนฝ่ ายรัฐบาล 4 คน ผแู้ ทนฝ่ ายนายจา้ ง 5 คน และผแู้ ทนฝ่ ายลกู จา้ ง 5 คน • คณะกรรมการคา่ จา้ งมีอานาจหนา้ ที่ 1. เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกบั นโยบายค่าจา้ ง 2. เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพอื่ ของคาแนะนาในการปรับข้ึนค่าจา้ งแรงงาน 3. กาหนดอตั ราค่าจา้ งพ้ืนฐานข้นั ต่า 4. กาหนดอตั ราคา่ จา้ งข้นั ต่าท่ีลกู จา้ งไดร้ ับตามสภาพเศรษฐกิจและสงั คม 5.เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพฒั นาระบบค่าจา้ ง

ปัจจัยท่ีใช้พจิ ารณาอตั ราค่าจ้างแรงงานข้นั ตา่ ของไทย • อตั ราคา่ จา้ งท่ีไดร้ ับอยใู่ นขณะน้นั • ดชั นีคา่ ครองชีพ • อตั ราเงินเฟ้ อ • มาตรฐานการครองชีพ • ตน้ ทุนการผลิต • ราคาสินคา้ ความสามารถของธุรกิจ • คุณภาพของแรงงาน • ผลิตภณั ฑม์ วลรวมของประเทศ • สภาพเศรษฐกิจและสงั คม ต้ังแต่วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เป็ นต้นมา ประเทศไทยได้กาหนดอตั ราค่าจ้าง แรงงานข้นั ตา่ อยู่ท่ี 300 บาท ต่อวนั