Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ย้าาาาาาาาา

ย้าาาาาาาาา

Published by Abammo1a, 2021-09-23 04:32:08

Description: โครงงานววววิทย์

Search

Read the Text Version

การประกวด โครงงานวทิ ยาศาสตรร์ ะดับมัธยมศกึ ษา - สมาคมวทิ ยาศาสตร์ฯ - อพวช. SST - NSM Science Project ***************************** 1. หลกั การและเหตผุ ล วิทยาศาสตร์เปน็ พื้นฐานทีส่ ำคัญยิ่งตอ่ การพฒั นาประเทศให้เจรญิ กา้ วหน้า องค์ความรู้วิทยาศาสตรท์ ี่แข็งแกรง่ จะนำไปสูก่ ารพฒั นา ประเทศด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการแพทย์ อันจะส่งผลต่อความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ ประเทศในกลุ่มที่พัฒนาแล้วจะให้ ความสำคญั ตอ่ การศกึ ษาดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก พรอ้ มทงั้ ปลูกฝังให้ประชากรของชาติเห็นความสำคัญและมีเจตคติที่ดี ต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนับตั้งแต่เยาว์วัย สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พิจารณาเห็นว่ากิจกรรมการ ประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมหนึ่งท่ีสนับสนุน ส่งเสริม และกระตุ้นให้เยาวชนของชาติได้ฝึกการใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ได้เปน็ อยา่ งดี สมาคมวิทยาศาสตรฯ์ และ อพวช. จึงจัดใหม้ กี ารประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาขึ้น เพ่ือเปน็ การสง่ เสริมเยาวชนใหใ้ ชท้ กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในการแกป้ ัญหาและใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั ต่อไป 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนของชาติได้ศึกษาค้นคว้า มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และฝึกใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ในการ แก้ปญั หา 2.2 เพือ่ กระต้นุ ใหเ้ ยาวชนของชาติคิดค้นผลงานทางด้านวิทยาศาสตร์ อีกทัง้ มเี จตคตทิ ่ดี ีต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.3 เพ่อื ใหเ้ ยาวชนที่มีความสนใจทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคดิ เหน็ กัน 2.4 เพอ่ื สนองนโยบายของชาตใิ นการพฒั นาทรัพยากรมนุษยต์ ามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. เป้าหมาย 3.1 ดา้ นปรมิ าณ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายทั่วประเทศ ส่งโครงงานเข้าร่วมประกวดในระดับภูมิภาค ซึ่งจัดดำเนินการโดย ศนู ยภ์ ูมภิ าคท้ังหมด 6 ศนู ย์ ท่ัวประเทศ 3.2 ด้านคณุ ภาพ นักเรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ทักษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการแก้ปัญหาต่าง ๆ และเหน็ คุณคา่ ของวิทยาศาสตร์ทีม่ ผี ลต่อการดำรงชวี ติ ประจำวนั มากยิ่งขนึ้ 4. วธิ ดี ำเนนิ การ 4.1 สมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ประชาสัมพันธก์ ารประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ให้กบั โรงเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาทวั่ ประเทศ 4.2 สมาคมวทิ ยาศาสตร์ฯ ขอความร่วมมอื ไปยังสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน และคณะวทิ ยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ทเ่ี ป็นศนู ยป์ ระกวดในทกุ ภาคของประเทศ เพ่ือการดำเนนิ การประกวดระดบั ภูมภิ าค (ตามประกาศของศูนยภ์ ูมิภาค) 4.3 หน่วยงานทด่ี ำเนินการจดั ประกวดระดับภูมภิ าคแตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 4.4 คณะกรรมการดำเนินการประกวดระดับภมู ิภาค ดำเนนิ การประกวดโดยใหแ้ ตล่ ะโรงเรียนสง่ ใบสมัครพรอ้ มขอ้ เสนอโครงงานและ รายงานมาเพื่อพจิ ารณาคดั เลอื ก และตัดสนิ ผลการประกวดในระดับภูมิภาค 4.5 นักเรยี นเจา้ ของโครงงานวิทยาศาสตร์ท่ีไดร้ ับการคัดเลอื ก นำโครงงานมาติดตัง้ เพ่อื ให้กรรมการตัดสิน และตั้งแสดงให้ผู้สนใจเข้า ชมในงานสัปดาห์วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาตทิ ีจ่ ัดขึ้นในระดับภูมภิ าค นักเรียนเจ้าของโครงงานทีไ่ ดร้ ับรางวัลเหรียญทองทุกประเภทสาขาในระดบั ภูมิภาค นำโครงงานเข้าร่วมประกวดระดับประเทศ เพื่อตัดสินโครงงานชนะเลศิ ระดับประเทศ และโครงงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทองใน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ( 9 โครงงาน) นำโครงงานเข้าร่วมประกวด Best of the Best ของแต่ละสาขา (สมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง ประเทศไทยฯ จะแจ้งวันในภายหลัง)

5. ระยะเวลาดำเนนิ การ กำหนดการท่ีแนน่ อนของแตล่ ะขน้ั ตอน ศนู ย์ภูมิภาคเปน็ ผกู้ ำหนดโดยใหส้ อดคล้องกบั ชว่ งเวลา ดงั น้ี วัน/เดอื น/ปี กจิ กรรม 14 มิ.ย. 64 ศนู ยภ์ มู ภิ าคแจ้งเรื่องเชญิ ชวนส่งใบสมคั รและข้อเสนอโครงงาน 1 ส.ค. 64 หมดเขตรบั สมคั รข้อเสนอโครงงาน 1 ส.ค. 64 ศนู ยภ์ ูมภิ าคแจง้ ตอบรับใบสมคั รเข้าแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ………………….. ศนู ยภ์ มู ภิ าคแจง้ ผลการคดั เลอื ก และโรงเรียนแจ้งยืนยนั จำนวนโครงงานท่ีสง่ เข้าประกวดมายังศนู ยภ์ ูมภิ าค พรอ้ มสง่ เอกสาร การจัดทำโครงงานฉบบั สมบรู ณ์ ในรูป pdf file (ตามประกาศของแต่ละศนู ย์ภมู ิภาค) เพอื่ ศูนยภ์ ูมภิ าคทำการคดั เลอื ก ………………….. คณะกรรมการระดับภาคตัดสนิ โครงงาน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ………………….. ศนู ย์ภูมภิ าคส่งผลการตดั สนิ โครงงานระดบั ภาค มายังสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ………………….. สมาคมวิทยาศาสตร์ฯ แจง้ เรือ่ งการประกวดระดับประเทศไปยงั โรงเรียนที่มโี ครงงานไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทองในระดับภูมิภาค …………………... โครงงานทไ่ี ด้รบั เหรยี ญทองจากระดบั ภูมิภาค เขา้ รว่ มประกวดระดับประเทศ …………………… โครงงานทีไ่ ด้รบั รางวลั เหรยี ญทองในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (9 โครงงาน) เขา้ ร่วมประกวด Best of the Best ของแต่ละสาขา หมายเหตุ 1) * วันทแี่ ละระยะเวลา แตล่ ะศูนยภ์ มู ิภาคจะเป็นผู้พิจารณา 2) การดำเนินการของโครงงานตอ้ งอยใู่ นชว่ งไม่เกนิ 12 เดือนนบั ถงึ วันสมคั ร 3) โครงงานต้องไม่เคยได้รับรางวัลในระดับชาติหรอื นานาชาติมาก่อน หากได้รับรางวัลหลังจากสมคั รแล้วโรงเรียนต้องแจง้ ให้ ศูนยภ์ ูมภิ าค หรอื แจง้ สมาคมวทิ ยาศาสตร์ฯ ทราบหากวา่ ไดเ้ ขา้ ประกวดระดบั ประเทศ 6. ขัน้ ตอนการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ 6.1 การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดบั ภาค มขี น้ั ตอนการคดั เลือกดังน้ี 6.1.1 โรงเรียน / สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือจังหวัด ควรจัดให้มีการประกวดแข่งขันมาก่อน เพื่อคัดเลือกโครงงานที่มี คุณภาพ เหมาะสมแกก่ ารเข้าประกวด โดยใหส้ ่งใบสมัครพร้อมข้อเสนอโครงงาน ไปยังศนู ยภ์ ูมภิ าค ตามที่กำหนดไว้ในตารางข้อที่ 9.1 การแบ่งจังหวดั ของแตล่ ะศูนย์ภมู ิภาค 1 ) ศูนย์ภาคกลาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ประสานงานในพ้ืนท่ีภาคกลาง และภาคใตต้ อนบน 18 จงั หวัด เปน็ ดงั น้ี - กรุงเทพมหานคร - สมุทรปราการ - นนทบุรี - ปทมุ ธานี - พระนครศรีอยุธยา - สุพรรณบรุ ี - อา่ งทอง - ชัยนาท - ลพบุรี - สระบรุ ี - สงิ หบ์ ุรี - กาญจนบุรี - นครปฐม - สมุทรสงคราม - สมุทรสาคร - ราชบุรี - เพชรบุรี - ประจวบคีรขี ันธ์ 2 ) ศนู ยภ์ าคตะวนั ออก มหาวทิ ยาลัยบรู พา ประสานงานในพนื้ ทภี่ าคตะวนั ออก 8 จงั หวัด เป็นดังนี้ - ฉะเชิงเทรา - นครนายก - ปราจีนบุรี - สระแก้ว - จนั ทบุรี - ชลบุรี - ตราด - ระยอง 3 ) ศูนย์ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสานงานในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 20 จังหวัด เป็นดังนี้ - หนองคาย - หนองบวั ลำภู - เลย - อดุ รธานี - กาฬสินธุ์ - นครพนม - มุกดาหาร - สกลนคร - ขอนแก่น - มหาสารคาม - ร้อยเอด็ - ชัยภมู ิ - นครราชสมี า - บุรรี ัมย์ - สุรินทร์ - ยโสธร - ศรสี ะเกษ - อำนาจเจริญ - อบุ ลราชธานี - บงึ กาฬ 4 ) ศนู ย์ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร ประสานงานในพ้ืนที่ภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวดั เป็นดงั น้ี - ตาก - พิษณโุ ลก - เพชรบูรณ์ - สุโขทัย - อตุ รดิตถ์ - กำแพงเพชร - นครสวรรค์ - พจิ ิตร 2

- อุทัยธานี 5 ) ศูนยภ์ าคเหนอื ตอนบน มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ประสานงานในพ้นื ทภี่ าคเหนอื ตอนบน 8 จงั หวัด เป็นดังน้ี - เชียงราย - เชยี งใหม่ - นา่ น - พะเยา - แพร่ - แม่ฮ่องสอน - ลำปาง - ลำพนู 6 ) ศูนยภ์ าคใต้ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ หาดใหญ่ ประสานงานในพ้ืนที่ภาคใต้ 14 จงั หวัด เปน็ ดังน้ี - ชุมพร - ระนอง - สุราษฏร์ธานี - ตรัง - นครศรธี รรมราช - พัทลุง - กระบ่ี - พงั งา - ภูเก็ต - นราธิวาส - ปัตตานี - ยะลา - สงขลา - สตูล 6.1.2 ศูนยภ์ ูมิภาคแจ้งผลการพิจารณาไปยงั โรงเรยี น เพื่อให้เข้าประกวดในระดับภมู ิภาค 6.1.3 การประกวดใช้เกณฑเ์ ดยี วกันท่ัวประเทศ ดังน้นั เพือ่ ความเสมอภาค ศนู ย์ประกวดควรเข้มงวดกับกติกา คอื การรับสมัครไม่ เกนิ กำหนดเวลา จำนวนหน้าของรายงาน และ รปู แบบการนำเสนอเปน็ ไปตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด 6.1.4 ศนู ยภ์ ูมภิ าคจัดการประกวดในช่วงเวลา และรปู แบบทม่ี ีความเหมาะสมก่อนการประกวดระดับประเทศ 6.2 การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับประเทศ มขี ัน้ ตอนดังน้ี 6.2.1 สมาคมวิทยาศาสตร์ ฯ แจง้ โรงเรียนทีโ่ ครงงานไดร้ บั รางวัลเหรยี ญทองระดบั ภูมภิ าค เพอ่ื เขา้ ร่วมการประกวดระดับประเทศ โดยจัดทำและนำส่ง (1) รูปเล่มรายงานจำนวน 7 เล่ม (2) ไฟล์ของรายงาน ในรูปแบบ pdf file และคลิปวิดีโอนำเสนอโครงงานความยาวไม่เกิน 7 นาที ในรูปแบบ mp4 สง่ มาท่ี อีเมล์ [email protected] 6.2.2 สมาคมวทิ ยาศาสตรฯ์ แต่งตงั้ คณะกรรมการตัดสินโครงงานฯ ระดบั ประเทศ 6.2.3 ดำเนินการประกวด ตัดสินและการประกาศผลโครงงานชนะเลิศระดับประเทศ 7. ประเภทของโครงงาน 7.1 โครงงานที่ส่งประกวด ตอ้ งเปน็ โครงงานวิทยาศาสตร์และ/หรอื เทคโนโลยี ซึ่งอาจเป็นโครงงานท่ีเกี่ยวกับการทดลอง การสำรวจ ขอ้ มลู งานพสิ จู นท์ ฤษฎี หรอื ช้ินงานท่ีประดษิ ฐ์ขน้ึ 7.2 ประเภทของโครงงาน ในท้งั 2 ระดบั (มัธยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย) แบ่งเป็น 3 สาขา 7.2.1 สาขากายภาพ หมายถึง โครงงานที่ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์กายภาพเป็นหลัก ได้แก่ เคมี วัสดุศาสตร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ดาราศาสตร์ ธรณวี ทิ ยา และ วทิ ยาศาสตร์ส่งิ แวดล้อมดา้ นกายภาพ ตัวอย่างเชน่ การสกัดดว้ ยกระบวนการทางเคมี การปรบั ปรุงวัสดดุ ว้ ยกระบวนการทางเคมี การสรา้ งสมการคณิตศาสตร์จากการศึกษาธรรมชาติ ฯลฯ 7.2.2 สาขาชวี ภาพ หมายถงึ โครงงานทใ่ี ช้หลกั การทางวิทยาศาสตร์ชวี ภาพเป็นหลกั ได้แก่ ชีววิทยา สตั ววทิ ยา พฤกษศาสตร์ จุล ชีววิทยา ชีวเคมี และ วิทยาศาสตร์สิง่ แวดล้อมด้านชีวภาพ ตัวอย่างเช่น การศึกษาระบบนเิ วศ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การย่อยสลาย ดว้ ยเอนไซม์ การศกึ ษาดา้ นยีน และโปรตนี ฯลฯ 7.2.3 สาขาวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ หมายถึง โครงงานที่ใช้บรู ณาการวทิ ยาศาสตรห์ ลายสาขา ซึง่ อาจแสดงได้ด้วยชิน้ งานท่ปี ระดิษฐ์ ข้นึ ท่มี ีกระบวนการวางแผน ออกแบบและเก็บขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ หรอื แสดงด้วยข้อมูลการทดลอง ได้แก่ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อม ด้านการจดั การ ด้านพลังงาน โครงงานด้านวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ อาหารและสุขภาพ ปัญญาประดษิ ฐ์ และวิทยาการห่นุ ยนต์ เป็นตน้ 8. การสมัคร 8.1 ระดับของนักเรียนผมู้ สี ิทธิส์ ่งโครงงาน 8.1.1 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 8.1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3

8.2 จำนวนนักเรียนและอาจารย์ที่ปรึกษา จำนวนนักเรียนในแต่ละโครงงาน มีได้ไม่เกิน 3 คน อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 คน และ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาพเิ ศษ (ถา้ ม)ี สามารถมีไดไ้ ม่เกิน 2 คน ท้งั น้อี าจารย์ทป่ี รึกษาหลกั จะต้องเปน็ อาจารย์ประจำของโรงเรียน 8.3 ขัน้ ตอนการสมัครระดบั ภมู ิภาค 8.3.1 กรอกใบสมคั รออนไลน์ที่ www.scisoc.or.th/sciweek พรอ้ มอพั โหลด บทคดั ย่อ แบบขอ้ เสนอโครงงาน และรายงาน ซึ่งทำ ขึ้นตามรปู แบบท่ีกำหนด 8.3.2 จัดส่งรูปเล่มรายงานตามรูปแบบที่กำหนด พร้อมส่งไฟล์รายงานในรูปแบบ PDF ทางอีเมล์ (ตามประกาศของแต่ละ ศนู ย์ภมู ิภาค) ไปท่หี นว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ ประจำศนู ย์ภมู ภิ าคต่าง ๆ 8.3.3 เมื่อได้รับเอกสารทั้งหมด ศูนย์ภูมิภาคจะพิจารณาโครงงาน จากนั้นจึงแจ้งผลและรายละเอียดในการประกวดให้ทราบ (ระยะเวลาขึ้นอยกู่ บั ศูนยภ์ ูมิภาคทีร่ ับผดิ ชอบ) 9. สถานที่ดำเนนิ การประกวดและติดต่อสอบถามรายละเอียด 9.1 ระดับภาค จัดข้ึนตามศูนย์ภมู ิภาคตา่ ง ๆ ทัง้ 6 ศูนย์ เสรจ็ สิ้นในเดือนสิงหาคม สอบถามรายละเอียดเพมิ่ เติมในแต่ละศูนยภ์ ูมภิ าค ดังนี้ ภาค ผ้รู บั ผดิ ชอบ สถานทต่ี ั้ง โทรศัพท์ / โทรสาร ศนู ยภ์ าคเหนอื ตอนบน คณะวทิ ยาศาสตร์ อ.เมอื ง Tel 053-943-456 ศนู ย์ภาคเหนือตอนลา่ ง มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ จังหวัดเชยี งใหม่ Fax 053-222-268 Tel 055-963130 ศูนยภ์ าคตะวนั ออก คณะวิทยาศาสตร์ อ.เมอื ง Fax 055-963113 เฉียงเหนอื มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก Tel 043-009700 ตอ่ ศูนย์ภาคใต้ คณะวิทยาศาสตร์ อ.เมอื ง 42959 - 60 มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ จงั หวัดขอนแก่น ศนู ย์ภาคตะวนั ออก Tel 074-288114 คณะวิทยาศาสตร์ อ.หาดใหญ่ Fax 074-446926 ศูนย์ภาคกลาง มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ จงั หวดั สงขลา Tel 038-102222 ตอ่ คณะวทิ ยาศาสตร์ อ.เมือง 7549 มหาวทิ ยาลยั บรู พา จงั หวดั ชลบุรี Tel 02-5779999 ตอ่ องคก์ ารพพิ ธิ ภณั ฑ์ ต.คลองห้า อ.คลอง 1790 -1791 วทิ ยาศาสตรแ์ ห่งชาติ (อพวช.) หลวง จ. ปทุมธานี Fax 02-5779990 9.2 ระดับประเทศ สมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เปน็ ผูร้ ับผิดชอบโดย 9.2.1 จัดการประกวดในระดับประเทศโดยให้สง่ ไฟลร์ ายงานในรูปแบบ pdf พรอ้ มคลปิ วิดโี อความยาวไมเ่ กิน 7 นาทีในรูปแบบ mp4 มายงั สมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทยฯ ทาง Email : [email protected] สอบถามรายละเอยี ดได้ที่ สมาคมวิทยาศาสตรฯ์ โทรศัพท์ 02 - 218-5245, 02 – 252-7987 โทรสาร 02 - 252-4516 9.2.2 รายละเอียดการเตรยี มงานดเู พ่ิมเติมในขอ้ 6.2 10. รางวัล ระดบั ภูมิภาค ในแตล่ ะระดับนักเรยี นและสาขาโครงงาน • รางวัลสำหรับระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - เหรยี ญทอง 3 สาขาๆ ละ 2 รางวลั เงินสนบั สนุนรางวัลละ 4,000 บาท และเกยี รติบตั ร - เหรียญเงิน 3 สาขาๆ ละ 3 รางวัล เงินสนับสนนุ รางวัลละ 3,000 บาท และเกยี รตบิ ตั ร - เหรยี ญทองแดง 3 สาขาๆ ละ 4 รางวลั เงนิ สนบั สนุนรางวลั ละ 2,000 บาท และเกยี รติบตั ร - รางวัลเชดิ ชเู กียรติ ไดร้ บั เกยี รติบัตร (จำนวนรางวลั ไม่เกิน 10% ของจำนวนโครงงานทั้งหมดทสี่ ง่ เขา้ ประกวดในแต่ละสาขา) 4

• รางวัลสำหรบั ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - เหรยี ญทอง 3 สาขาๆ ละ 3 รางวลั เงนิ สนบั สนุน รางวัลละ 5,000 บาท และเกยี รติบัตร - เหรยี ญเงิน 3 สาขาๆ ละ 3 รางวลั เงินสนบั สนุน รางวลั ละ 3,500 บาท และเกียรติบัตร - เหรียญทองแดง 3 สาขาๆ ละ 3 รางวลั เงนิ สนบั สนุน รางวัลละ 2,500 บาท และเกียรตบิ ตั ร - รางวัลเชดิ ชูเกียรติ ได้รับเกยี รติบตั ร (จำนวนรางวัลไมเ่ กิน 10% ของจำนวนโครงงานทั้งหมดทส่ี ง่ เข้าประกวดในแต่ละสาขา) • เกียรติบตั รและเหรียญรางวัล สำหรบั อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาและนกั เรยี นทุกโครงงานที่ไดร้ ับรางวัล หมายเหตุ โครงงานท่ีได้เหรยี ญทองทั้ง 3 สาขา ทง้ั ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จะต้องเข้าประกวดในการ แขง่ ขนั ระดับประเทศ ระดับประเทศ ในแต่ละระดบั และสาขาโครงงาน • รางวลั สำหรบั ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น - เหรียญทอง 3 สาขา ๆ ละ 1 รางวลั เงินสนบั สนุนรางวัลละ 15,000 บาท และเกยี รติบัตร - เหรียญเงิน 3 สาขา ๆ ละ 2 รางวัล เงินสนบั สนุนรางวัลละ 12,000 บาท และเกยี รตบิ ตั ร -เหรยี ญทองแดง 3 สาขา ๆ ละ 3 เงินสนบั สนุนรางวลั รางวลั ละ 9,000 บาท และเกียรตบิ ัตร - รางวลั เชดิ ชเู กียรติ 3 สาขา ๆ ละ 6 รางวัล เงนิ สนบั สนนุ รางวลั ละ 4,500 บาท และเกียรตบิ ัตร • รางวัลสำหรบั ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย - เหรียญทอง 3 สาขา ๆ ละ 3 รางวัล เงนิ สนบั สนุนรางวลั ละ 20,000 บาท และเกยี รติบัตร - เหรียญเงิน 3 สาขา ๆ ละ 3 รางวลั เงินสนับสนนุ รางวัลละ 16,000 บาท และเกียรตบิ ตั ร - เหรยี ญทองแดง 3 สาขา ๆ ละ 3 รางวลั เงนิ สนบั สนุนรางวัลละ 12,000 บาท และเกียรติบตั ร - รางวัลเชิดชูเกียรติ 3 สาขา ๆ ละ 9 รางวลั เงนิ สนับสนนุ รางวลั ละ 6,000 บาท และเกียรติบัตร • เกยี รตบิ ัตรและเหรยี ญรางวลั สำหรบั อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาและนกั เรียนทุกโครงงานท่ีได้รับรางวลั หมายเหตุ นักเรียนเจ้าของโครงงานทไี่ ดเ้ หรียญทองทัง้ 3 สาขา ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จะแขง่ ขันรอบ Best of the Best เพ่ือชงิ รางวัลโล่พระราชทาน และผชู้ นะรอบ Best of the Best จะเขา้ รบั พระราชทานโลใ่ นปีถัดไป 11. การตดั สิน การตัดสินของคณะกรรมการถอื เปน็ เด็ดขาด ตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี 11.1 ภาพรวมของโครงงาน • ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - ความแปลกใหม่ของปัญหา การเสนอแนวคิด และการระบตุ วั แปรทตี่ อ้ งการศกึ ษา (เป็นการดัดแปลงจากผูท้ ่ีเคยทำมากอ่ น หรอื การคิดข้นึ ใหม)่ - การออกแบบการทดลอง (เป็นการดดั แปลงจากที่ผู้อ่นื เคยทำมาก่อนหรือการคดิ ขนึ้ ใหม่ วิธีการแกป้ ญั หา วิธีการวัดและควบคุมตัว แปร วธิ กี ารรวบรวมข้อมูล การทดลองซ้ำ การเลอื กและทดสอบความเหมาะสมของอปุ กรณ์เป็นไปอย่างถกู ต้องเหมาะสมละเอียด รอบคอบสอดคลอ้ งกับปญั หา) • การใชว้ ิธีทางวทิ ยาศาสตร์ (ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) - การสังเกตทีน่ ำมาสปู่ ัญหา - การตง้ั สมมุตฐิ านทีถ่ ูกต้อง ชัดเจน - การใหน้ ิยามเชงิ ปฏิบตั ิการอย่างถูกต้อง - การทำการทดลอง โดยใชห้ ลักวทิ ยาศาสตรท์ ่ถี กู ตอ้ งและเหมาะสม • การแสดงใหเ้ หน็ ถึงความรู้ ความเข้าใจในเรื่องท่ที ำ - การใช้หลกั การทำงานทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั ระดับความรูแ้ ละปัญหาโดยมคี วามเขา้ ใจอยา่ งดี - การอา้ งถงึ ความรทู้ ีเ่ กี่ยวขอ้ งได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม มีความเข้าใจในความร้ทู อ่ี า้ งถงึ เป็นอย่างดี 5

• การแสดงหลกั ฐานการบนั ทกึ ขอ้ มูลอยา่ งเพยี งพอ - การบนั ทกึ ขอ้ มลู มีเพียงพอ ต่อเนอื่ ง และเป็นระเบียบ ซึง่ แสดงให้เหน็ ถงึ ความละเอียดถี่ถ้วน ความมานะบากบ่นั - ความตัง้ ใจจริงในการทำการทดลอง • คณุ คา่ ของโครงงาน - ควรระบคุ ุณค่าหรอื ประโยชน์ของโครงงาน และ/หรือประโยชน์ในด้านการแก้ปญั หาของสิง่ แวดล้อม สังคม • การนำเสนอรายงาน (ดรู ายละเอียดในขอ้ 11.2) 11.2 รายงาน (จำนวนหน้าทั้งหมดไม่เกิน 15 หน้า รวมภาคผนวกอีกไม่เกิน 5 หน้า) ในการเขียนรายงานในส่วนเอกสารที่ เกย่ี วขอ้ ง ขอใหเ้ น้ือหากระชับเทา่ ท่ีจำเป็น ขอให้นักเรียนเขยี นส่วนผลการทดลองและอภิปรายผลให้ละเอยี ดชดั เจน • ความถูกต้องของแบบฟอรม์ - ครอบคลมุ หัวข้อท่ีสำคัญ แบ่งแต่ละหัวข้อออกอย่างชัดเจน ตามลำดับ (บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทนำ เอกสารท่ี เกี่ยวข้อง อุปกรณ์และวิธีการทดลอง ผลการทดลองและการอภิปรายผล สรุปผล ข้อเสนอแนะ (หากมี) เอกสารอ้างอิงหรือ บรรณานุกรม และภาคผนวก) • ผลการทดลองและอภปิ รายผล - แสดงผลในลกั ษณะรปู ภาพ กราฟ ตาราง ต้องมคี วามถูกตอ้ ง เหมาะสม กะทดั รดั และชัดเจน ไมค่ วรมีความซำ้ ซอ้ นของการนำเสนอ เชน่ การเสนอในรปู แบบตาราง ก็ไมค่ วรมีกราฟทเ่ี ป็นข้อมูลเดียวกันแสดงอกี - การวิเคราะหข์ ้อมูลทางสถิติมหี รือไม่ เช่น ค่าเฉลี่ย + ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูล (ANOVA) การเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของขอ้ มูล - อภิปรายการทดลองได้อย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ เปรียบเทียบผลทีไ่ ด้กับที่เคยมีผู้รายงานไว้ในการศึกษาคล้ายกัน หรือเกี่ยว เนือ่ งกัน มขี อ้ เสนอแนะหรอื สมมุตฐิ านสำหรบั การศกึ ษาทดลองต่อไป • การใช้ภาษาและคำศพั ทท์ างวทิ ยาศาสตร์ - ตอ้ งมีความถกู ต้อง ชดั เจน รัดกมุ และสละสลวย สามารถส่อื ข้อมูลทีส่ ำคัญใหผ้ อู้ า่ นเข้าใจได้เปน็ อยา่ งดี • การสรปุ ผลการทดลอง - สรปุ ผลการทดลองท้ังหมดที่ได้ (ไม่ต้องอธบิ ายเหตุผล) โดยอาจเขียนสรุปเป็นข้อ ๆ • การอ้างอิงในเนอื้ หา ควรทำให้ถูกต้องตามหลกั สากล ซง่ึ มี 2 แบบ ใหเ้ ลือกใช้แบบใดแบบหนึง่ ดังน้ี ก) แบบทอ่ี ้างองิ ด้วยชอ่ื จะตามด้วย ปี เชน่ “จากรายงานของธวัชชัย สันตสิ ุข (2532) พบว่า………..” ข) แบบท่อี า้ งดว้ ยระบบตัวเลข ซ่งึ จะเรยี งลำดับการอา้ งอิงก่อนหลงั เชน่ “จากรายงานท่เี กี่ยวกับการสกัดคลอโรฟลิ ลจ์ าก สาหร่าย พบว่า ……….(1)” เอกสารอ้างองิ การเขียนเอกสารอา้ งองิ จะสอดคล้องกับการอ้างองิ ในเน้ือหา ดังน้ี ก) แบบทอี่ ้างอิงด้วยช่อื ปี จะเรียงตามลำดับอักษรจาก ก-ฮ, A-Z เชน่ ธวัชชัย สันติสุข (2532). “พรรณพฤกษชาติของประเทศไทย : อดีต ปัจจุบัน และอนาคต”. กรุงเทพฯ: สมาคมวทิ ยาศาสตร์แหง่ ประเทศไทยฯ, หนา้ 81 – 90. ข) แบบทอ่ี า้ งอิงด้วยระบบตวั เลข เช่น 1. ธวชั ชยั สันติสุข (2532). “พรรณพฤกษชาตขิ องประเทศไทย : อดตี ปัจจุบัน และ อนาคต” กรุงเทพฯ: สมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง ประเทศไทยฯ, หนา้ 81 – 90. 6

11.3 การจัดแสดงโครงงาน • ความเหมาะสมในการใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ ชน้ิ สว่ น วสั ดุ กลไกตา่ งๆ ประกอบการแสดงโครงงานตอ้ งเหมาะสมกับสถานทีจ่ ัดแสดงและเวลาแสดง • เทคนคิ /รปู แบบในการจัดแสดง ความแปลกใหม่ของการออกแบบ การนำเสนอขอ้ มูล และการใช้วสั ดใุ นแผงแสดงโครงงาน ความสามารถในการจดั แสดงและสาธิต ผลการทดลอง การแสดงแนวความคิดโดยรวม การจดั รูปแบบของโครงงานทกี่ ระชบั และดงึ ดูดความสนใจ (conceptual idea, concise and attractive) • ความประณตี สวยงาม การจดั ทำโปสเตอรใ์ ห้มคี วามสวยงาม ประณตี สะอาด ตวั หนังสือหรอื สีทีใ่ ชใ้ ห้เหมาะสม การจดั วางโครงงานเหมาะสม สวยงาม ไม่ เกินเนื้อท่ี ดังรายละเอียดทกี่ ำหนด มิฉะน้ันจะถกู หกั คะแนน 11.4 การอภิปรายปากเปลา่ • การนำเสนอ นำเสนอโครงงานต่อกรรมการ โดยสรุปเฉพาะประเด็นสำคัญของโครงงานในช่วงเวลา ไม่เกิน 4 นาที โดยครอบคลุมเนื้อหา ดงั ตอ่ ไปนี้ (ไมต่ อ้ งแนะนำช่ือนักเรยี นและโรงเรียน) - ชอ่ื และความสำคญั ของโครงงาน - วตั ถปุ ระสงค์ - วิธีการดำเนนิ งานโดยย่อ - ผลการทดลอง - สรุปผลแบบส้นั ๆ หมายเหตุ - นกั เรยี นอาจรายงานวิธที ำและผลการทดลองสลบั กันไปทลี ะการทดลอง • การตอบคำถาม อธิบายและตอบขอ้ ซกั ถามโดยแสดงให้เห็นถึงความรู้ ความเขา้ ใจในเร่อื งทที่ ำ 12. งบประมาณ งบประมาณการดำเนินการประกวด ได้รับการอุดหนุนจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ นวัตกรรม องค์การพิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) และสมาคมวทิ ยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ 13. การประเมินผล - จากรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และนทิ รรศการทน่ี ักเรยี นสง่ เขา้ ประกวด - จากการนำเสนอ และการตอบคำถามแบบปากเปล่าโดยนกั เรียนท่ีเข้าประกวด 14. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ การประกวดเป็นการสง่ เสรมิ และการกระตุ้นให้เยาวชนหันมาสนใจ คน้ คว้าหาความร้จู ากการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นอกเหนือจาก มสี ่ิงประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทีอ่ าจจะนำไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันแลว้ ยงั เป็นการนำทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปชว่ ยแกป้ ัญหาในชีวิตประจำวนั โดยปฏบิ ัตจิ รงิ ซ่งึ จะส่งผลให้เยาวชนของชาติตระหนักถงึ ความสำคัญของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ีมีต่อ การพฒั นาประเทศได้เป็นอยา่ งดี 7

การทำแผงสำหรบั แสดงโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ***************************** ใหใ้ ชไ้ มอ้ ัด/แผ่นบอร์ด ทำตามขนาดกำหนด ดงั นี้ แผ่น ก 1 ขนาด 60 ซ.ม. X 100 ซ.ม. แผงแสดงท่เี กนิ จากขนาดที่ แผน่ ข ขนาด 120 ซ.ม. X 100 ซ.ม. กำหนดจะถกู หักคะแนน ตดิ บานพบั มีหว่ งรับและขอสับทำมุมฉากกบั แผน่ กลาง อุปกรณ์อื่นท่ีนำมาสาธติ อาจวางแสดงบนโต๊ะได้ ถ้าจะวางบนพื้นหน้าโตะ๊ ใหใ้ ช้พื้นท่ีย่ืนออกมาหนา้ โตะ๊ ได้ไมเ่ กิน 60 ซ.ม. หมายเหตุ - แผงสำหรับแสดงกิจกรรมของโครงงานวิทยาศาสตร์ ❖ ทุกโครงงานตอ้ งนำสมดุ บันทกึ ข้อมูลการทดลองมาแสดงด้วย *****************************

รปู แบบขอ้ เสนอโครงงาน (ไมเ่ กิน 2 หนา้ กระดาษขนาด A 4 ใช้อักษร Angsana ขนาดตัวอกั ษร 16 point) เรอ่ื ง ………………………………………………………...…………………………………………………….………….…..…........…...……. โดย 1. …………………………………………………………………………………………………………………………….....…......……… 2. ………………………………………………………….…………………………………………………………………..........….……… 3. ……………………………………………………..……………….…………………………………………………………....……..…... โรงเรียน…………………………………………………..…………………………………………………………………………….....…….…… 1. มูลเหตุจูงใจ (อธิบายถึงทม่ี าของปัญหาที่นำไปสเู่ รอื่ งของโครงงานน้วี า่ มมี ูลเหตจุ ูงใจหรือมีแรงบนั ดาลใจจากอะไร มแี นวคดิ มาจากไหน อย่างไร) …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. สมมติฐานและแนวคิดทางวิทยาศาสตรท์ ่ีนำมาใช้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วตั ถุประสงค์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. แผนการดำเนินการ(อธิบายถึงข้นั ตอนและวิธีการที่จะทำโครงงานน้เี พ่ือใหไ้ ดผ้ ลตามวัตถปุ ระสงค์) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รปู แบบบทคัดยอ่ (ไม่เกิน 1 หนา้ กระดาษขนาด A 4 ใชอ้ กั ษร Angsana ขนาดตัวอักษร 16 point) ส่วนที่ 1 รายละเอยี ดเกยี่ วกับโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ชือ่ โครงงาน ........................................................................................................................................................................................ ชื่อนกั เรยี น …………………………………………..……………………………………………………….………………..... ชื่ออาจารยท์ ี่ปรึกษา …………………………………………………………………………………………………….….…….... โรงเรียน…………………………………………………………………….………………………………………………....…… ท่อี ยู่ ..................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท์……………………………………….….………….. โทรสาร ……………………..…………………….…………… ระยะเวลาทำโครงงาน ตงั้ แต่…………………………………………….……………………..….……………………...……… ส่วนที่ 2 เนอ้ื ความบทคัดยอ่ บทคัดยอ่ ให้จดั ทำบทคัดยอ่ เป็นภาษาไทย ซึ่งควรมีรายละเอียด ดงั นี้ - ปัญหา วัตถุประสงค์ และวิธีดำเนนิ การโดยสังเขป - ผลของการศกึ ษาค้นควา้ การเสนอคำตอบใหแ้ กป่ ญั หาทศี่ กึ ษาค้นควา้ หรือการค้นพบ - ข้อสรุปทีช่ ัดเจนและเป็นประโยชน์ ************************************************ 2

รูปแบบรายงาน (กระดาษขนาด A 4 ใช้อักษร Angsana ขนาดตัวอกั ษร 16 point) กั้นหน้าซา้ ย-ขวา ขา้ งละ 1 นิ้ว single line spacing ปกนอก เร่ือง ……………………………………………………………...........................................................................................………….. โดย 1 …………………………………………………………………...........................................................................................………… 2 …………………………………………………………...............……………………………………………………………..……….. 3 ……………………………………………………………………………….……………………………...............………………….. โรงเรยี น………………………………………………………………………............………………………………………………………………. รายงานฉบับนีเ้ ปน็ ส่วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอน.................................................................................................. ในการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ จัดโดย สมาคมวิทยาศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ – องคก์ ารพพิ ิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์แหง่ ชาติ เน่อื ง ในวันวทิ ยาศาสตรแ์ ห่งชาติ วันที่ .............เดือน..................... พ.ศ. ................. ปกใน เรอ่ื ง ………………………………………………………………................…………………………………………………….……… โดย 1…………………………………………………………………………………………………………….….............…………………. 2…………………………………………………………………......................................................................................……………. 3……………………………………………………………………….............…………………………………………………….……. อาจารยท์ ีป่ รึกษาหลกั ……………………………………………………………………………………………………………........……… ท่ีปรกึ ษาพเิ ศษ 1…………………………………………………………………………………………………...........……………..………. 2………………………………………………………………....................................................................……………...…. บทคัดยอ่ กิตตกิ รรมประกาศ สารบัญตาราง สารบญั รปู ภาพ บทท่ี 1 บทนำ ความยาวไม่เกนิ 15 หนา้ บทที่ 2 เอกสารท่เี กย่ี วข้อง บทท่ี 3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง บทที่ 4 ผลการทดลองและอภปิ รายผล บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ เอกสารอา้ งองิ และภาคผนวก ไมเ่ กิน 5 หน้า หมายเหตุ 1. โปรดจดั ทำรายงานตามรูปแบบโดยเคร่งครดั - ขนาดของกระดาษเขยี นรายงานใหใ้ ชก้ ระดาษพมิ พ์ ขนาด A 4 พมิ พ์หน้าเดยี ว - ตวั อักษร Angsana ขนาด 16 point กั้นหน้าซ้าย-ขวา ขา้ งละ 1 นิ้ว ดา้ นบน 1.5 น้ิว ด้านล่าง 1 นว้ิ - บทคัดย่อ - บทที่ 5 รวมความยาวไมเ่ กิน 15 หน้า อาจมีภาคผนวกได้อีกไม่เกิน 5 หน้า รายงานฉบับใดที่มีความยาวเกินกว่าที่ กำหนดจะถกู ตดั คะแนน - จำนวนรายงานทส่ี ่งในระดับภูมิภาคคอื 5-10 ชดุ (ตามประกาศของแตล่ ะศนู ย์ภมู ิภาค) สำหรบั โครงงานท่ไี ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ระดับภูมิภาคให้จัดทำเพ่มิ อีก 7 ชุด เพอื่ สง่ ประกวดระดับประเทศ 2. อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาหลักของโครงงานมีเพยี ง 1 ทา่ น และเป็นอาจารยป์ ระจำของโรงเรยี น 3. อาจารยท์ ่ปี รึกษาพเิ ศษมีไดไ้ ม่เกิน 2 ทา่ น *****************************

ใบสมัคร การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา – สมาคมวิทยาศาสตร์ฯ – อพวช. SST – NSM Science Project ******************************** 1. ช่อื โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ชอ่ื โครงงานวิทยาศาสตร(์ ภาษาอังกฤษ) 2. รายละเอียดสถานศกึ ษา ช่อื สถานศึกษา สังกัด ช่ือสถานศึกษา (ภาษาองั กฤษ) ทอ่ี ยู่ ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด รหัสไปรษณยี ์ โทรศัพท์ โทรสาร 3. ระดบั ❑ มธั ยมศึกษาตอนตน้ ❑ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 4. ประเภท ❑ สาขาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ ❑ สาขาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ ❑ สาขาวิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ 5. ข้อมลู นกั เรยี นผสู้ มัคร 5.1 ชอื่ – สกุล วนั -เดือน-ปี เกิด ชอื่ – สกลุ (ภาษาองั กฤษ) เลขทีบ่ ัตรประชาชน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ โทรศพั ท์ E-mail 5.2 ชอื่ – สกลุ วัน-เดือน-ปี เกิด ชอ่ื – สกลุ (ภาษาอังกฤษ) เลขทบี่ ตั รประชาชน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี โทรศพั ท์ E-mail 5.3 ชอื่ – สกุล วนั -เดือน-ปี เกิด ชื่อ – สกุล (ภาษาอังกฤษ) เลขท่ีบัตรประชาชน ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ โทรศพั ท์ E-mail อาจารย์ทีป่ รึกษาพเิ ศษ (ถา้ มี) 7. ประโยชนข์ องโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ส่งเขา้ ประกวด (ระบุเปน็ ขอ้ ๆ) 7.1 7.2 7.3 2

ผสู้ ง่ และโรงเรียนไดท้ ราบถึงหลักเกณฑ์ในการประกวดครงั้ น้แี ล้ว ยนิ ดปี ฏบิ ัติตามหลักเกณฑ์ดังกลา่ วทุกประการ และขอรบั รองว่า โครงงานที่ส่งประกวดนี้เป็นผลงานที่คิดขึ้นใหม่/พัฒนาต่อยอดโดยได้ระบุรายละเอยี ดให้ทราบอย่างชัดเจน มิได้คัดลอก เลียนแบบ ไม่วา่ ทง้ั หมดหรือแต่เพียงบางส่วนจากผลงานของตนเองและผ้อู ่ืน และยอมรับว่าผลการตดั สินของคณะกรรมการถอื เป็นเดด็ ขาด ไมม่ เี งอื่ นไขใด ๆ ทงั้ ส้นิ อนึง่ หากไม่สามารถสง่ เอกสาร หรอื ผลงานให้แก่คณะกรรมการจัดการประกวดระดบั ภูมภิ าค หรือ ระดบั ประเทศ ตามทก่ี ำหนด ให้ ถือวา่ สละสทิ ธิ์ เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) เพื่อเป็นการป้องกันและเฝ้าระวัง สถานศึกษา อาจารย์ที่ปรกึ ษา และ นักเรยี นทป่ี ระสงคเ์ ข้าร่วมกิจกรรม ยนิ ดปี ฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของภาครฐั และผจู้ ัดงานอย่างเครง่ ครดั โดยไมม่ เี งื่อนไขทกุ กรณี ลงชือ่ ผสู้ มัคร 1........................................................................... (...........................................................................) ตัวบรรจง 2........................................................................... (...........................................................................) ตวั บรรจง 3........................................................................... (...........................................................................) ตวั บรรจง ลงนามอาจารย์ทปี่ รึกษา ........................................................................... (...........................................................................) ตัวบรรจง ลงนามผู้บริหารสถานศกึ ษา............................................................................ (...........................................................................) ตวั บรรจง วนั ท่ี……. เดือน.………….. พ.ศ. ……..… พรอ้ ม ตราประทับสถานศกึ ษา (ถ้าม)ี 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook