Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ว้าววว

ว้าววว

Published by Abammo1a, 2021-09-23 04:38:58

Description: 5555

Search

Read the Text Version

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง รางจืดลา้ งพษิ โดย นางสาวปรยี านุช พทุ ธรกั สกลุ นางสาวปยิ นุช วศิ ลย์ เดก็ หญิงธรี วรรณ แจวมแู ฮ รายงานฉบบั น้เี ปน็ สว่ นประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ประเภทการทดลอง โรงเรยี นบา้ นหว้ ยตอง

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องรางจืดล้างพิษ โดย นางสาวปรียานุช พทุ ธรกั สกลุ นางสาวปิยนชุ วศิ ลย์ เดก็ หญิงธรี วรรณ แจวมูแฮ อาจารย์ผูฝ้ ึกสอน นางสาวภทั ราวรรณ เขียววัน อาจารยท์ ่ีปรึกษา นางสาวอัจฉรา ธนัญชยั นางสาวหทยั กาญจน์ เจริญสขุ

ก โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ประเภทการทดลอง ช่ือเรื่อง รางจดื ล้างพิษ ช่ือผู้จัดทา 1. นางสาวปรยี านุช พุทธรักสกุล 2. นางสาวปยิ นุช วิศลย์ 3. เดก็ หญงิ ธรี วรรณ แจวมูแฮ ชื่ออาจารยผ์ ฝู้ ึกสอน นางสาวภทั ราวรรณ เขียววนั ชอ่ื อาจารยท์ ี่ปรึกษา นางสาวอจั ฉรา ธนญั ชยั และนางสาวหทัยกาญจน์ เจริญสุข โรงเรยี นบ้านห้วยตอง หม่ทู ี่ 10 ตาบลแม่วนิ อาเภอแมว่ าง จงั หวัดเชยี งใหม่ รหสั ไปรษณีย์ 50360 โทรศพั ท์ 053-460048 ระยะเวลาในการทาโครงงานต้งั แต่ 19 สงิ หาคม – 30 กนั ยายน พ.ศ.2554 บทคัดย่อ โครงงานรางจืดล้างพษิ ได้ทาการทดลองนีข้ ึ้นเน่ืองจากปัจจุบนั ผกั และผลไม้ทเี่ รานามา บริโภคเพือ่ เสริมสรา้ งร่างกายใหแ้ ข็งแรงกลับมสี ารเคมีกาจดั ศัตรพู ชื ตกค้าง ซึ่งจากผลการตรวจ เลือดนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบา้ นหว้ ยตองของสถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ผลปรากฏวา่ อยูใ่ นภาวะเสย่ี งร้อยละ 10.52 ซ่ึงเกิดจากการทีเ่ ราบริโภคผกั ผลไมท้ มี่ สี ารพษิ จากสารเคมีกาจดั ศตั รพู ชื ตกคา้ งอยู่ในระดบั ทีไ่ ม่ปลอดภัยเป็นอันตรายตอ่ สุขภาพ ของผบู้ รโิ ภค วธิ ีดาเนินการทดลองคอื นาผกั กาดขาวแช่ในน้าเปล่ากบั น้ารางจืดเพื่อเปรยี บเทยี บผล ปรากฏว่าผักท่แี ช่ในน้ารางจืดมปี รมิ าณสารพษิ ตกค้างลดลง จากนั้นนาผักกาดขาวแชใ่ นนา้ รางจืด แบบต้มและแบบคั้นนา้ ในเวลาทีต่ า่ งกันคือ 15 นาที 20 นาที 25 นาทีและ 30 นาที จากการ ทดลองสรุปได้ว่าผกั กาดขาวท่แี ชใ่ นนา้ รางจืดชนดิ คั้นเป็นเวลา 25 นาที ตรวจไม่พบสารพษิ ตกค้าง

ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานนสี้ าเรจ็ ไดด้ ้วยความกรณุ าของครูภทั ราวรรณ เขยี ววัน ครูอจั ฉรา ธนญั ชัย และ ครูหทัยกาญจน์ เจริญสุข ซง่ึ ไดใ้ หค้ าปรกึ ษา ข้อชี้แนะและความช่วยเหลือ จนกระทั่งโครงงานน้ี สาเรจ็ ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี ผู้จัดทาโครงงานขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ ทีน่ ้ี และทล่ี มื ไม่ได้คือกาลงั ใจจากเพือ่ นๆท่ีคอยส่งเสบยี งใหเ้ ราอยา่ งสม่าเสมอ ชว่ ยเก็บรางจดื จากในป่ามาใหก้ ับพวกเรา คณะผจู้ ดั ทาซาบซงึ้ ใจเป็นอย่างมาก ขอบคณุ ทุกทา่ นทีใ่ หก้ ารสนับสนุน พวกเรา ขอบคุณมากคะ่ ผู้จัดทาโครงงาน

สารบัญ ค บทคัดย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบญั ค บทที่ 1บทนา 1 1 ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงคข์ องโครงงาน 2 สมมติฐาน 2 ขอบเขตของการทดลอง 2 อุปกรณ์การทดลอง 2 ตัวแปร 3 บทท่ี 2 เอกสารอา้ งองิ 3 รางจืด 5 สารเคมีกาจัดศตั รพู ืช 10 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการทดลอง 13 บทที่ 4 ผลการทดลอง 14 บทท่ี 5 อภิปรายและสรุปผลการทดลอง บรรณานุกรม

1 บทท่ี 1 บทนา ทมี่ าและความสาคัญของปญั หา เนือ่ งจากการเพม่ิ ประชากรเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว จึงมีการนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหมๆ่ เข้าช่วยในการผลิตอาหารให้เพียงพอแกก่ ารบรโิ ภค เชน่ มีการนาสารเคมีกาจัดศัตรพู ืชเขา้ ชว่ ยในการ เพาะปลกู เพอ่ื เพิ่มผลผลติ เป็นเหตใุ หเ้ กิดปญั หาตามมามากมายท่สี าคัญคอื ปัญหาเก่ียวกับสขุ ภาพ ของประชาชน เพราะสารเคมีกาจดั ศัตรพู ชื ทุกชนดิ เปน็ พิษต่อสิง่ มีชีวิต หากใช้เกินความจาเป็นหรือ ขาดความระมดั ระวังในการใช้แลว้ จะทาให้สารตกคา้ งหลงเหลอื อยใู่ นอาหารและสง่ิ แวดล้อมได้ ในปจั จุบนั ผักและผลไม้ทีเ่ รานามาบริโภคเพอ่ื เสรมิ สรา้ งร่างกายให้แข็งแรงกลับมีสารเคมี กาจดั ศตั รพู ืชตกคา้ ง ซง่ึ จากผลการตรวจเลอื ดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านหว้ ยตอง ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ผลปรากฏว่าอยู่ในภาวะเส่ยี งรอ้ ยละ 10.52 ซง่ึ เกิดจากการที่เราบรโิ ภคผักผลไม้ทม่ี ีสารพิษจากสารเคมีกาจัดศัตรูพชื ตกค้างอยใู่ นระดบั ท่ี ไมป่ ลอดภัยเป็นอันตรายต่อสขุ ภาพของผู้บริโภค อาการของผูไ้ ดร้ ับสารพษิ จากสารเคมกี าจัดศัตรพู ืช ตกค้างเปน็ ประจาทาให้ร่างกายอ่อนแอ ขาดความต้านทานโรค มีอาการปรากฏเชน่ วงิ เวยี นศีรษะ คล่นื ไส้ อาเจียน หายใจขัด หวั ใจอาจหยุดเต้นได้ จากการศึกษาพบว่ามพี ชื สมุนไพรทีส่ ามารถลา้ ง สารพษิ จากรา่ งกายได้ คอื รางจดื ดังนั้นผู้ทดลองจึงต้องการศึกษาความสามารถในการล้างพิษ ของนา้ รางจืดในการลา้ งสารเคมีตกค้างในผักเพือ่ นาไปใช้แก้ปัญหาในชวี ิตประจาวัน วตั ถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพอ่ื ทดลองวา่ น้ารางจดื สามารถลา้ งสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในผกั ได้ 2. เพอ่ื เปรยี บเทียบระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการลา้ งสารเคมีกาจัดศตั รูพชื 3. เพ่ือเปรียบเทียบประสิทธภิ าพในการล้างสารเคมกี าจัดศัตรูพชื จากนา้ รางจืดแบบตม้ กับนา้ รางจดื แบบคั้นนา้

2 สมมตฐิ าน นา้ รางจดื สามารถล้างสารเคมกี าจดั ศตั รูพชื ที่ตกคา้ งในผักไดแ้ ละถ้าแชผ่ ักในนา้ รางจดื เป็น เวลานานกจ็ ะมีประสิทธิภาพในการลา้ งสารเคมกี าจัดศัตรูพชื ได้ดี ขอบเขตของการทดลอง การทดลองน้ีเป็นการทดลองเกย่ี วกับนา้ สมุนไพรทีส่ ามารถลา้ งสารเคมีกาจดั ศัตรูพืชโดยใช้ สมุนไพรคือรางจดื อุปกรณ์การทดลอง 1 รางจดื 1 กิโลกรัม 2 ผักกาดขาว 500 กรัม 3 บกี เกอร์ 4 ตะเกียงอลั กอฮอล์ 5 มีด 6 เครือ่ งชง่ั 7 ชดุ ทดสอบยาฆา่ แมลง / สารพษิ ตกค้าง “จที ี” 8 ถาดน้าอ่นุ ชนดิ ดดั แปลง 9 อปุ กรณ์ระเหย 10 เทอรโ์ มมิเตอร์ 11 หลอดทดลอง 12 หลอดหยด 13 ยาฆ่าแมลง

3 ตัวแปรท่ีใชใ้ นการทดลอง ตวั แปรตน้ นา้ รางจดื ตวั แปรตาม ประสทิ ธิภาพในการล้างสารเคมีกาจัดศัตรพู ชื ตวั แปรควบคมุ ปรมิ าณสมุนไพร ปริมาตรน้าท่ใี ช้ในการละลายสมนุ ไพร ภาชนะที่ใชใ้ นการทดลอง ปรมิ าณสารที่ใช้ในการทดลอง ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการทดลอง

4 บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง 2.1 รางจดื ชื่อสมนุ ไพร รางจดื ชื่อวิทยาศาสตร์ Thunbergia laurifolia Linn. ช่อื อ่นื หนาแหน้ สรรพคุณ สรรพคุณรางจดื ตามตารายาไทย กลา่ วไวว้ ่า รางจืดรสเย็น ใช้ปรงุ เปน็ ยาเขยี วถอนพิษไข้ ถอนพษิ ผิดสาแดงและพษิ อ่นื ๆ ใชแ้ กร้ อ้ นในกระหายนา้ รักษาโรคหอบหืดเรอ้ื รงั และแก้ผืน่ คันจากอาการแพ้ต่างๆ ดว้ ย ใชแ้ ก้พษิ เบือ่ เมา เนือ่ งจากเห็ดพิษ สารหนู หรือแม้ยาเบ่ือ ประเภทยาสง่ั รางจืดชว่ ยถอนพษิ สุรา หากดื่มสุราจดั เกินขนาด แล้วเกิดอาการเมาค้าง รางจดื ถอน ได้หรอื หากเค้ียวหรืออมเถารางจดื ไวใ้ ต้ลิน้ เมือ่ ดื่มเหล้ามากแตเ่ มานอ้ ย ยังมีรายงานการศึกษา รางจืดพบวา่ แก้โรคพิษสุราเร้อื รัง นอกจากน้ีผ้นู ิยมสมุนไพรยังใชแ้ กพ้ ษิ ไดอ้ ีกหลายอยา่ ง เชน่ สนุ ขั โดนวางยาเบ่ือก็รอดชีวติ มาเพราะเจา้ ของค้ันน้ารางจืดให้กิน หรือในอดีตใครทถ่ี ูกวางยา กม็ กั แกด้ ้วย รางจดื รวมทงั้ พษิ เบื่อเมาจากอาหาร เช่น เห็ด ผักหวาน ว่านพิษ หรือพิษจากสตั ว์ สรรพคุณทเี่ ป็น

5 รปู ธรรมของรางจืดยังมีอีกมาก เชน่ สามารถแกอ้ าการท้องร่วง อาการแพ้ ผ่ืนคันเนอ่ื งจากอาหารเป็น พษิ รางจดื ทใ่ี ช้ในการขจัดสารพษิ และแก้เมาค้างนน้ั คือ รางจืดเถา ชนิดดอกสมี ่วงเพราะมีโอสถสาร ทร่ี ากและใบแรงกว่ารางจดื ชนดิ อื่น วิธใี ชก้ ็คอื จะใชอ้ ย่างสดหรอื อย่างแหง้ ก็ได้ อย่างสดก็เด็ดใบ รางจดื มา 4-5 ใบ โขลกตาผสมนา้ หรือน้าซาวข้าวยง่ิ ดี แล้วคั้นเอาน้าดม่ื หรอื จะใช้ รางจดื แหง้ 300 กรัม (3 ขีด) ต่อน้า 1ลิตร และให้ด่มื น้ารางจืด 200 cc. ทกุ 2 ช.ม. แต่หากทา่ นใดสนใจ จะชงด่มื เปน็ ชา มีวธิ ชี งดังนี้ นาใบรางจดื แหง้ 1 หยบิ มือ ชงกับน้าเดือด 1 กาเล็ก (ใสน่ ้าประมาณ 8 แกว้ ) ดม่ื ต่างน้าทัง้ วันชงด่ืมได้ทุกวันโดยไมม่ ีอันตรายใดๆ นอกจากจะทาให้น้าตาลในเลอื ดลดลง บ้างเลก็ นอ้ ย ส่วนการศกึ ษาวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์น้นั มกี ารศึกษาคร้ังแรกท่มี หาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ทดลองในหนขู าวให้หนูได้รบั พษิ โฟลิดอล ซ่งึ เป็นยาฆ่าแมลงชนิดหน่งึ อย่ใู นกลุ่มออร์กาโนฟอตเฟตก็ พบวา่ ใบรางจืดสามารถลดอัตราการตายของหนูจากพิษโฟลดิ อลได้ดีพอควรแมย้ งั ไม่รู้ถึงกลไกการ แกพ้ ษิ ร้ายน้ีก็ตาม และเมอ่ื ราว ๖-๗ ปกี ่อนมีความพยายามแกป้ ญั หาใหก้ ับเกษตรกรทีไ่ ดร้ ับสารพิษ ทางการเกษตร จาพวกยาฆ่าปราบศัตรูพืชต่างๆโดยโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จ.สพุ รรณบรุ ี ได้ ทากาศึกษา โดยเก็บ ข้อมูลเบือ้ งต้นในการใช้รางจดื รักษาผู้ปว่ ยที่ได้รับพษิ จากยาฆา่ หญ้า คือ \"พา ราควอท\"(ชือ่ การค้ากรมั ม็อกโซน) ที่โฆษณาว่าปราบหญา้ เกง่ นกั ซงึ่ กเ็ ทา่ กบั อันตรายสุดๆ ด้วย ก่อน การทดลองเมอื่ ดูข้อมลู ย้อนหลังไป ๓ ปี พบว่าผู้ป่วยท่ไี ดร้ ับพาราควอทแล้วมาโรงพยาบาลมีแต่หลับ ไม่ตน่ื ฟื้นไม่มีแม้วา่ จะทาการกั ษาตามขัน้ ตอนของการแก้พษิ ให้ทั้งยาขับปสั สาวะ ยาถ่าย ทาให้ อาเจียนและลา้ งท้องกย็ งั ไม่รอด แตห่ ลังจากใชร้ างจดื รักษาควบคู่กบั วธิ ขี องทางโรงพยาบาล พบ ความอัศจรรยว์ า่ ผูป้ ว่ ยรอดชีวิตรอ้ ยละ ๕๑ ดีกวา่ แตก่ ่อนครง่ึ ต่อครง่ึ สรรพคุณท่ีฮิตทสี่ ดุ ของรางจดื ในปัจจุบันเห็นทจี ะไม่พ้นการเมาคา้ ง หรือด่มื หนกั (ไมข่ ับ) วธิ ีใชว้ ่ากันตามแบบฉบับคลาสสกิ ใช้ได้ ทง้ั การกนิ สดๆ และแหง้ คือ เอาใบสด ๔-๕ ใบ ใส่ครกตาผสมน้าถ้าได้น้าซาวข้าวย่งิ ดี แล้วคั้นเอาน้า ดมื่ หรือจะใช้สว่ นทเ่ี ปน็ ราก และเถารางจืดสดตาคนั้ กไ็ ด้สว่ นวิธแี หง้ ซ่งึ เปน็ ท่ีนิยมในเวลาน้ี คอื การ นาใบแหง้ มาชงกับนา้ ดมื่ เหมอื นชงชาจนี นน่ั แหละ ส่วนความเขม้ ของยาแลว้ แตจ่ ะชงอ่อนชงแก่ (http://www.samunpri.com/modules.php?name=News&file=article&sid=188 25 กนั ยายน 2552)

6 2.2 สารเคมีกาจัดศตั รพู ืช ชนดิ ของสารเคมกี าจัดศตั รูพืช สารเคมกี าจัดศตั รูพืชในทางการเกษตร ที่มีการจาหน่ายทางการคา้ มกี วา่ 1,000 ชนดิ ซึ่ง แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญๆ่ ตามชนดิ ของสิ่งมชี ีวติ ทใ่ี ชใ้ นการควบคมุ และกาจัด คือ สารเคมีกาจัดแมลง สารปอ้ งกันกาจัดวัชพืช สารป้องกันกาจัดเชื้อรา สารกาจัดหนแู ละสัตว์แทะ สารเคมีกาจดั หอยและปู เป็นตน้ 1. สารเคมกี าจดั แมลง สารเคมีกาจัดแมลงเปน็ สารเคมกี ารเกษตรทมี่ จี านวนชนิดมากที่สุด สารเคมีกาจัดแมลงแบ่งออกเป็น กลุ่มใหญๆ่ ตามชนดิ ของสารเคมไี ด้ 4 ประเภท คือ 1.1 กล่มุ ออรก์ าโนคลอไรน์ ซึง่ เป็นกลมุ่ ของสารเคมีทม่ี ีคลอรีนเปน็ องคป์ ระกอบ สารเคมี กาจดั แมลงในกลมุ่ นท้ี ่ีนิยมใช้กนั มาก คอื ดีดีที (DDT), ดีลดริน (dieldrin), ออลดริน (aldrin), ท็อก ซาฟีน (toxaphene), คลอเดน (chlordane), ลนิ เดน (lindane), เอนดริน (endrin), เฮปตาครอ (heptachlor) เป็นต้น สารเคมใี นกลุ่มน้สี ่วนใหญ่เป็นสารเคมีท่มี พี ษิ ไมเ่ ลอื ก (คือเปน็ พิษตอ่ แมลงทุก ชนิด) และคอ่ นขา้ งจะสลายตวั ชา้ ทาใหพ้ บตกคา้ งในห่วงโซ่อาหารและส่งิ แวดล้อมได้นาน บางชนิด อาจตกค้างได้นานหลายสบิ ปี ปจั จบุ นั ประเทศส่วนใหญ่ทวั่ โลกจะไมอ่ นญุ าตใหใ้ ช้สารเคมใี นกลุม่ นี้ หรอื ไม่ก็มกี ารควบคมุ การใช้ ไม่อนุญาตให้ใชอ้ ย่างเสรี เพราะผลกระทบด้านสขุ ภาพและส่ิงแวดลอ้ ม 1.2 กลุม่ ออรก์ าโนฟอสเฟต ซ่ึงเป็นกลุ่มที่มีฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ โดยสารเคมใี นกล่มุ นท้ี ร่ี จู้ กั กนั คอื มาลาไธออน (malathion), พาร June, 2009#3604;อาซินอน (diazinon), เฟนนิโตรไธ ออน (fenitrothion), พิรมิ ฟิ อสเมธิล (pirimiphos methyl), และไดคลอวอส (dichlorvos หรอื DDVP) เป็นตน้ สารเคมใี นกลมุ่ น้ีจะมพี ิษรนุ แรงมากกว่ากลมุ่ อื่น โดยเป็นพิษทั้งกบั แมลงและสตั วอ์ ืน่ ๆ ทุก ชนิด แต่สารในกลมุ่ นจ้ี ะย่อยสลายไดเ้ รว็ กว่ากลุม่ แรก 1.3 กลุ่มคาร์บาเมต ซึง่ มีคารบ์ าริลเปน็ องคป์ ระกอบสาคญั โดยสารเคมีกาจัดแมลงท่รี ้จู กั และใช้กนั มาก คือ คารบ์ าริว (carbaryl ที่มชี ื่อการค้า Savin), คารโ์ บฟแุ รน (carbofura), โพรพ็อก เซอร์ (propoxur), เบนไดโอคาร์บ (bendiocarb) สารเคมใี นกลมุ่ คารบ์ าเมตจะมีความเปน็ พิษตอ่ สัตว์เลยี้ งลกู ดว้ ยนมนอ้ ยกวา่ พวกออรก์ าโนฟอสเฟต

7 1.4 กล่มุ สารสงั เคราะห์ไพรที อย เปน็ สารเคมีกลุม่ ทสี่ ังเคราะหข์ ้นึ โดยมคี วามสมั พันธต์ าม โครงสร้างของไพรที ริน ซึง่ เป็นสารธรรมชาตทิ ่สี กัดได้จากพืชไพรที รมั สารเคมใี นกลุ่มน้มี คี วามเป็น พษิ ต่อแมลงสงู แตม่ ีความเปน็ พษิ ต่อสัตว์เลอื ดอุ่นต่า อย่างไรกต็ าม สารเคมีกลมุ่ น้ีมรี าคาแพงจงึ ไม่ คอ่ ยเปน็ ท่นี ิยมใช้ สารเคมกี าจดั แมลงในกลมุ่ นี้ ได้แก่ เดลตาเมธริน (deltamethrin), เพอร์เมธรนิ (permethrin), เรสเมธรนิ (resmethrin), และไบโอเรสเมธริน (bioresmethrin) เป็นต้น 2. สารป้องกันกาจัดวชั พชื สารเคมกี าจัดวัชพชื แบ่งออกได้เปน็ 2 กลุ่มใหญ่ คอื พวกทีม่ ีพษิ ทาลายไมเ่ ลอื ก กับพวกท่มี พี ษิ เฉพาะกลุ่มวัชพชื คือ ทาลายเฉพาะวชั พืชใบกวา้ ง หรอื วัชพชื ใบแคบ สารกาจัดวชั พืชที่มีพิษทาลาย ไมเ่ ลอื ก คือ พาราควอท (paraquat) สว่ นทมี่ ีพิษทาลายเฉพาะ คือ พวก แอทราซิน (atrazine), 2,4- D, 2,4,5-T เป็นตน้ 3. สารกาจดั เชือ้ รา มีอยูห่ ลายกลมุ่ มาก บางชนิดมีพิษนอ้ ย แต่บางชนิดมีพิษมาก กลุ่มสาคัญของสารกาจดั เชื้อราใน การเกษตร (สรุปรายงานการเฝ้าระวงั โรค 2546)ไดแ้ ก่  กลมุ่ Dimethey dithiocarbamates (Ziram, Ferbam, Thiram) มีฤทธ์ยิ ับยงั้ เอนไซม์ Acetaldehyde dehydrogenase เกิด antabuse effect ในคนท่ีดืม่ สรุ าร่วมดว้ ย  กลมุ่ Ethylenebisdithiocarbamates (Maneb, Mancozeb, Zineb) กล่มุ นจี้ ะถกู metabolize เป็น Ethylene thiourea ซึง่ เป็นสารก่อมะเรง็ ในสตั ว์  กลมุ่ Methyl mercury ดูดซึมไดด้ ที างผิวหนงั และมพี ิษต่อระบบประสาท  กลมุ่ Hexachlorobenzene ยบั ยง้ั เอนไซม์ Uroporphyrinogen decarboxylase มีพษิ ตอ่ ตับ ผิวหนัง ข้อกระดกู อักเสบ  กลุ่ม Pentachlorophenol สัมผัสมากๆ ทาให้ไขส้ งู เหง่ือออกมาก หัวใจเต้นเร็ว 4. สารกาจัดหนแู ละสัตวแ์ ทะ (Rodenticides) สารกาจัดหนแู ละสัตว์แทะที่นยิ มใชก้ ัน สว่ นใหญ่เป็นสารกล่มุ ที่มฤี ทธ์ติ ้านการแข็งตวั ของเลอื ด ตวั อยา่ ง เชน่ Warfarin หยุดย้ังการสร้างวิตามิน เค ทาให้เลอื ดออกตามผิวหนัง และส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย เมด็ เลือดขาวต่า ลมพษิ ผมร่วง (http://nsw-rice.com/index.php?option=com_content&view=article&id=206:chemtype&catid= 66:insecticide&Itemid=41 25 กนั ยายน 2552)

8 อันตรายจากสารเคมกี าจัดศัตรูพืช สารเคมีกาจัดศัตรพู ืช หรอื ทเ่ี รียกกันทั่วไปว่า \"ยาฆ่าแมลง\" นน้ั สว่ นใหญ่จะแสดงอาการเป็น พิษต่อระบบประสาทของส่ิงมชี วี ติ อาการทเี่ กิดอาจเป็นชนดิ รุนแรงหรือชนิดเรอื้ รงั กไ็ ด้ทัง้ น้ขี ึ้นอยู่กับ ก. ชนิดและปริมาณของสารเคมกี าจัดศัตรูพชื ข. ไดร้ ับสารเคมกี าจัดศัตรพู ืชทางปาก (อาหาร) ผิวหนงั หรอื ทางการหายใจ ค. ปริมาณสารตกคา้ งทส่ี ะสมอยู่ในรา่ งกาย ง. ออกฤทธ์ิทีร่ ะบบประสาทสว่ นใด สารเคมีกาจัดศตั รูพืชบางชนดิ ทาให้เกดิ มะเร็งในสัตว์ทดลอง จึงเช่ือกนั วา่ อาจเป็นสาเหตใุ หเ้ กิด มะเรง็ ในมนุษย์ได้เช่นกัน อนั ตรายเหล่านจี้ ะเกิดช้าๆ และไม่ปรากฏให้เหน็ ไดช้ ัดเจนนัก การใชส้ ารเคมีกาจัดศัตรูพชื เพอ่ื ประโยชน์ในงานประเภทใดก็ตาม ควรคานงึ ถึงอันตรายทจี่ ะเกดิ กบั มนุษย์และส่งิ แวดลอ้ มในระยะยาว โดยเปรียบเทยี บประโยชนแ์ ละอันตรายท่ีจะไดร้ ับภายหลงั การใช้ ใหด้ เี สียก่อน เพราะสารเคมกี าจดั ศัตรูพชื บางชนดิ สลายตวั ได้หมดภายหลังการใช้ แตบ่ างชนดิ จะ สลายตัวได้ยากหรือเกอื บจะไมส่ ลายเลย คงเหลอื สารตกค้างอยใู่ นอาหารและสงิ่ แวดลอ้ ม เท่าทใ่ี ช้ กนั แพร่หลายในปัจจบุ ันน้ี ส่วนใหญ่เป็นพวกทผี่ ลิตขึ้นจากสารเคมีและสลายตัวได้ยาก จึงจาเป็นต้อง ศกึ ษาพษิ อนั ตรายทีจ่ ะเกิดข้นใหด้ แี ละร้จู กั หลีกเล่ียงอนั ตรายเหล่าน้ัน โดยปฏิบตั ิตามคาแนะนาวิธีใช้ ที่มฉี ลากโดยเคร่งครัด การควบคมุ ใช้สารเคมีกาจัดศัตรพู ชื อยา่ งรัดกุม จะชว่ ยให้ไดร้ บั ประโยชน์ เตม็ ท่ีและเกอื บจะไมม่ ีอนั ตรายเหลืออยเู่ ลย เทา่ ท่ใี ชก้ ันแพรห่ ลาย ได้แก่ สารเคมีกาจัดแมลง (Insecticides) กาจัดเชอื้ รา (Fungicides) กาจัดวัชพชื (Herbicides) และกาจดั หนู (Rodenticides) สานักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ตระหนักดีถงึ อันตรายท่ีประชาชนอาจได้รบั จากการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพชื จึงทาการศึกษาวิจัยหา สารตกคา้ งดงั กลา่ วในอาหารเปน็ ประจา เพ่อื การเฝ้าระวังและตดิ ตามชนิดและปรมิ าณของสารเคมีที่ ตกค้างในอาหาร ตวั อยา่ งอาหารที่นามาวิเคราะห์ มที ั้งชนดิ ดิบและสุกทุกประเภท เช่น ผกั ผลไม้ กุ้ง แห้ง ขา้ ว ไข่ เนื้อสตั ว์ ไขมนั นา้ มันปรงุ อาหาร ฯลฯ โดยเก็บตัวอย่างจากตลาดขายส่งขายปลีกและ แหล่งเพาะปลูกหรือจากหน่วยราชการและเอกชนสง่ ให้วเิ คราะหเ์ พราะสงสยั ว่าสาเหตุให้เกิดอาการ เป็นพษิ และผสู้ ่งออกที่ต้องการหนงั สอื รับรองคณุ ภาพสินคา้ อาหารทจ่ี ะสง่ ไปจาหน่ายต่างประเทศ ข้อมลู ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัยเท่าท่ีผ่านมาแล้ว ปรากฏว่าปรมิ าณสารเคมีกาจดั ศัตรูพืชทีต่ กค้างใน อาหารโดยเฉลยี่ แล้ว สว่ นใหญ่ยงั อยใู่ นเกณฑ์ปลอดภัยต่อการบริโภค

9 คาแนะนาเพ่ือความปลอดภยั ในการบริโภค 1. ลา้ งผกั และผลไมด้ ้วยน้าสะอาดหลายๆ ครัง้ เพ่อื ชะลา้ งสารเคมกี าจัดศัตรูพืช ตกค้างอยู่บนผวิ ของผกั และผลไมใ้ ห้หมดไป หรอื 2. แชผ่ ักและผลไม้ในนา้ ยาล้างผกั แลว้ ลา้ งน้ายาให้หมดดว้ ยนา้ สะอาดหลายๆ คร้ัง 3. ผกั และผลไม้ท่ีปอกเปลือกได้ ควรล้างด้วยน้าให้สะอาดกอ่ นปอกเปลือก 4. การตม้ ผักแล้ว เทนา้ ทิ้งไปจะชว่ ยลดปรมิ าณยาฆ่าแมลงในผักลงไดบ้ ้าง 5. ถว่ั แห้งทุกชนิด ก่อนนามาใช้ปรุงอาหารควรลา้ งด้วยนา้ ให้สะอาด ถ้าเป็นอาหารท่ี ตอ้ งตม้ ควรทงิ้ น้าต้มครัง้ แรก เพ่อื ให้ยาฆา่ แมลงทีต่ กค้างอย่บู นผิวนอกของ เมลด็ ถั่วหลุดไปได้มากท่ีสุด 6. กอ่ นฉีกหรอื พน่ สารเคมีกาจัดศัตรพู ชื ทุกครงั้ ควรถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด ดงั น้ี  ใชเ้ ม่ือมคี วามจาเปน็ เทา่ นั้น  การฉกี พน่ เพือ่ กาจดั แมลงหรือมดในหอ้ งอาหาร ควรกระทาในขณะทีไ่ ม่มี อาหารอยูใ่ นหอ้ งนน้ั  ถ้าต้องการกาจดั แมลงในครัว ควรดูแลปดิ อาหารให้มิดชดิ อย่าใหล้ ะออง ของสารเคมีเข้าไปปะปนในอาหารได้  ภาชนะบรรจุนา้ บริโภค ตอ้ งปิดฝาให้มดิ ชดิ เช่นกนั 7. หา้ มน้าภาชนะที่เคยบรรจสุ ารเคมีกา้ จัดศัตรพู ืช มาใช้บรรจอุ าหาร เครื่องด่ืมหรือน้า เปน็ อันขาด ควรระลกึ อยเู่ สมอว่า สารเคมีก้าจดั ศตั รูพชื ทกุ ชนิดเป็นวัตถุมพี ษิ ต้องเกบ็ แยกไวใ้ นท่ปี ลอดภยั อยา่ เก็บใกลก้ ับอาหารและเก็บในที่เฉพาะซึง่ เด็กหยบิ ไม่ถึง (http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/CHEMICAL.HTM 25 กันยายน 2552)

10 บทท่ี 3 วิธดี าเนนิ การทดลอง อปุ กรณ์และวธิ กี ารทดลอง 1. ศึกษาสมุนไพรทีม่ สี รรพคุณในการล้างพษิ คือ รางจดื 2. เตรยี มอุปกรณ์การทดลองได้แก่ 14 รางจืด 1 กโิ ลกรัม 15 ผักกาดขาว 500 กรัม 16 บีกเกอร์ 17 ตะเกยี งอัลกอฮอล์ 18 มีด 19 เครอ่ื งชงั่ 20 ชุดทดสอบยาฆา่ แมลง / สารพษิ ตกคา้ ง “จที ี” 21 ถาดน้าอุน่ ชนิดดัดแปลง 22 อุปกรณร์ ะเหย 23 เทอรโ์ มมิเตอร์ 24 หลอดทดลอง 25 หลอดหยด 26 ยาฆา่ แมลง 3. ต้มน้าปริมาตร 1 ลิตร พอเดือดใส่ใบรางจดื ท่ีล้างสะอาดแล้ว 0.5 กิโลกรมั ต้มตอ่ อกี 5 นาที ยกลงทงิ้ ไว้ใหเ้ ยน็ กรองเอาแตน่ า้ จากน้ันนารางจดื ส่วนท่เี หลือ 0.5 กิโลกรมั มาโขลกค้นั เอาแตน่ ้า ผสมกับนา้ ปรมิ าตร 1 ลิตร 4. นาผกั กาดขาว 500 กรัม มาชุบยาฆ่าแมลงแลว้ ห่นั เป็นชิ้นเลก็ ๆ

11 5. นาผักกาดขาวทีห่ ่ันแล้วจานวน 10 กรัม มาแช่ในน้าปริมาตร 20 มลิ ลลิ ิตร ในบกี เกอร์ท่ี 1 และผักกาดขาว 10 กรมั แชใ่ นน้ารางจืดปรมิ าตร 20 มลิ ลลิลิตร ในบีกเกอร์ที่ 2 เปน็ เวลา 15 นาที จากนน้ั นาผักไปบดทดสอบด้วยชุดทดสอบ GT เพ่ือเปรยี บเทยี บปริมาณสารเคมกี าจดั ศัตรูพืช 6. นาผักกาดขาวทห่ี น่ั แล้วมาแชใ่ นนา้ รางจืดที่ได้จากการตม้ ซ่งึ แตล่ ะบีกเกอรใ์ ช้ผกั กาดขาวจานวน 10 กรมั แช่ในน้ารางจืด ท้ัง 4 บีกเกอร์ ซึง่ แตล่ ะบกี เกอร์มนี ้ารางจืด 20 มิลลิลติ ร โดย ระยะเวลาในการแชผ่ กั ตา่ งกันดงั น้ี บกี เกอร์ที่ 1 ใช้เวลา 15 นาที บกี เกอร์ที่ 2 ใช้เวลา 20 นาที บีกเกอรท์ ่ี 3 ใช้เวลา 25 นาที และบีกเกอรท์ ่ี 4 ใช้เวลา 30 นาที จากนัน้ นาผักไปบดทดสอบ ดว้ ยชุดทดสอบGT เพอ่ื เปรยี บเทียบปริมาณสารเคมีกาจดั ศัตรูพชื 7. ทาซ้าในข้อที่ 6 โดยเปล่ียนจากน้ารางจดื ชนิดตม้ มาเป็นน้ารางจืดท่ีไดจ้ ากการค้ัน 8. ขั้นตอนการทดสอบหาสารพษิ ตกคา้ งในผัก 8.1 การสกัด Sample Extract 8.1.1 หน่ั -บดตวั อย่างใหล้ ะเอีบด 8.1.2 ชั่งตัวอย่างใสข่ วด ขวดละ 5 กรัม 8.1.3 ใส่ Solvent-1 ลงไป 5 มลิ ลลิ ติ ร ปิดฝาเขย่านาน 1 นาที และตัง้ วางทิง้ ไว้ 10 นาที 8.1.4 ดูดสารสกัดจากขวดตัวอย่าง 1 มลิ ลลิ ิตร ใสล่ งในหลอดแก้วทดลอง จากนัน้ เติมสาร Sovent-2 ลงไปอีก 1 มลิ ลลิ ิตร 8.1.5 นาไประเหยดว้ ยอปุ กรณ์ระเหยโดยตอ่ ป๊ัมลมเขา้ กับสายยางและหลอดหยด แกว้ จมุ่ ลงไปในหลอดแก้วทดลอง เปดิ เครื่องปม๊ั ลมใหเ้ ป่าลมลงไปในหลอดแกว้ ระเหยจนกว่าสาร สกัดจากตวั อยา่ ง (ช้นั ล่าง) จะระเหยไปหมด ผ่านข้นั ตอนการระเหยแล้วจะเหลอื แต่ส่วนของสารที่ เรยี กว่า “Sample Extract” ทจ่ี ะนาไปใชต้ รวจสอบต่อไป 8.2 ขั้นตอนการตรวจสอบ

12 8.2.1 ต้องทาหลอดควบคุมและหลอดตดั สิน เพือ่ ใชเ้ ปน็ Negative control และ Positive control ของการตรวจทุกครัง้ โดยนาหลอดทดลอง 2 หลอด มาติดฉลาก “ควบคุม” และ “ตดั สนิ ” เตมิ สาร Solvent-2 ลงไป หลอดละ 0.25 มิลลลิ ิตร 8.2.2 จากนั้นยา้ ยปฏบิ ัตกิ ารตรวจสอบลงไปในถาดนา้ อุ่น ควบคมุ อุณหภูมทิ ี่ 32- 36 องศาเซลเซียส 8.2.3 เติมสาร GT-1 ลงไปทุกหลอด จานวนหลอดละ 0.5 มิลลิลิตร วางไว้ 5- 10 นาที 8.2.4 เตรียมผสมสารละลาย โดยผสม GT-2 กับ GT-2.1 และผสม GT-3 กับ GT-3.1 8.2.5 ใส่ GT-2 ท่ผี สมแล้วลงทุกหลอด หลอดละ 0.25 มลิ ลลิ ิตร ยกเว้นหลอด ตัดสนิ ใหเ้ ติม GT-2 จานวน 0.375 มลิ ลลิ ิตร 8.2.6 รอเวลา 30 นาที ควบคุมอุณหภมู ิในถาดน้าอุ่นให้อย่ทู ่ี 32 – 36 องศา เซลเซยี ส 8.2.7 ใส่ GT-3 ทผ่ี สมแล้วลงทกุ หลอด จานวน 1 มลิ ลิลติ ร. เขย่าให้เขา้ กนั 8.2.8 ใส่ GT-4 ลงทกุ หลอด จานวน 0.5 มลิ ลิลิตร เขย่าให้เข้ากัน 8.2.9 ใส่ GT-5 ลงทุกหลอด จานวน 0.5 มลิ ลลิ ิตร เขย่าให้เขา้ กนั 8.3 ขั้นตอนการประเมินผล โดยเปรียบเทียบสที ่ีปรากฏ เปรียบเทียบสี ผลการประเมิน ตวั อย่างสีอ่อนกว่าหรือเท่ากับควบคมุ ไม่พบสารพิษตกคา้ ง ตัวอยา่ งสเี ข้มกว่าควบคมุ แต่ยงั ออ่ นกวา่ ตัดสิน พบสารพษิ ตกคา้ งในระดับท่ีปลอดภยั ตวั อยา่ งสเี ทา่ กับหรือสีเข้มกวา่ ตัดสนิ พบสารพษิ ตกคา้ งในระดับท่ีไม่ปลอดภัย

13 บทท่ี 4 ผลการทดลอง ตารางท่ี 1 ตารางบันทึกผลการทดลองเปรียบเทียบผกั ท่ีแชใ่ นนา้ เปลา่ กับผักทแี่ ช่ในน้ารางจืด ตวั อย่าง ผลการทดสอบ ผกั กาดขาวท่ีแชใ่ นนา้ เปล่า พบสารพิษตกค้างในระดับท่ีไมป่ ลอดภยั ผกั กาดขาวที่แชใ่ นน้ารางจดื พบสารพิษตกคา้ งในระดับที่ปลอดภยั ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลการเปรียบเทียบผกั ทีแ่ ช่ในน้ารางจดื ชนิดต้มและชนิดค้นั ในเวลาที่ ตา่ งกัน ตวั อยา่ ง ผลการทดสอบ ผกั กาดขาวท่ีแชใ่ นนา้ รางจืดเปน็ เวลา 15 น้ารางจดื ชนิดตม้ น้ารางจืดชนิดคั้น นาที ผักกาดขาวที่แช่ในนา้ รางจดื เปน็ เวลา 20 พบสารพษิ ตกคา้ งใน พบสารพษิ ตกคา้ งใน นาที ผกั กาดขาวท่ีแชใ่ นน้ารางจดื เป็นเวลา 25 ระดับที่ปลอดภัย ระดบั ที่ปลอดภยั นาที ผักกาดขาวท่ีแช่ในน้ารางจืดเปน็ เวลา 30 พบสารพิษตกค้างใน พบสารพิษตกค้างใน นาที ระดับท่ีปลอดภยั ระดับท่ีปลอดภัย พบสารพิษตกคา้ งใน ไม่พบสารพษิ ตกคา้ ง ระดบั ที่ปลอดภัย ไมพ่ บสารพิษตกคา้ ง ไมพ่ บสารพษิ ตกค้าง

14 บทที่ 5 อภปิ รายผลการทดลอง จากการทดลองพบว่า 1. ผักทแ่ี ช่ในน้าเปล่าเป็นเวลา 15 นาที ตรวจพบสารตกค้างในระดับไมป่ ลอดภยั ส่วนผักทีแ่ ชใ่ น นา้ รางจืดเปน็ เวลา 15 นาที ตรวจพบสารตกคา้ งในระดับปลอดภัย 2. ผักทีแ่ ช่ในน้ารางจดื ชนิดต้มเป็นเวลา 15 นาที 20 นาที และ25 นาที ตรวจพบสารตกค้างใน ระดับปลอดภยั เมื่อแช่เปน็ เวลา 30 นาทีจึงตรวจไม่พบสารพษิ ตกค้าง 3. ผักทแี่ ชใ่ นน้ารางจดื ชนิดคนั้ เป็นเวลา 15 นาที 20 นาทีตรวจพบสารตกค้างในระดับปลอดภัย สว่ นท่แี ช่เวลา 25 นาที และ30 นาทีตรวจไมพ่ บสารตกค้าง สรปุ ผลการทดลอง สรปุ ได้วา่ นา้ รางจืดช่วยลดสารเคมกี าจัดศัตรูพืชตกค้างในผกั ได้ โดยระยะเวลาทเี่ หมาะสมมากทสี่ ุด คือ 25 นาที และนา้ รางจดื ท่ไี ด้จากการค้ันมปี ระสิทธภิ าพมากกวา่ น้ารางจืดตม้ ประโยชน์ของโครงงาน 1. ทาให้ทราบชนิดของพชื สมุนไพรทีม่ คี วามสามารถในการลา้ งสารพษิ จากยาฆ่าแมลง 2. ได้ทราบระยะเวลาทีเ่ หมาะสมของการล้างสารพิษในผกั โดยใช้พืชสมนุ ไพร 3. ทาใหไ้ ด้พืชล้างสารพิษชนิดใหมท่ ีไ่ ม่เปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพของผ้ใู ชไ้ ม่มผี ลกระทบต่อ สง่ิ แวดล้อม 4. ลดอนั ตรายที่ได้รับจากสารเคมีกาจัดศัตรพู ืช เป็นการสง่ เสรมิ สุขภาพผ้บู รโิ ภค ทาให้มี คณุ ภาพชวี ติ ท่ีดขี ้ึน 5. สง่ เสรมิ การใชส้ มนุ ไพรล้างสารเคมกี าจัดศตั รูพืชแทนการใช้สารเคมลี ้าง 6. เป็นการประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย เนอื่ งจากเป็นสมนุ ไพรท่มี ี ราคาถูก หาได้ง่ายในท้องถ่นิ 7. เปน็ การฝึกทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์

15 8. เปน็ การส่งเสริมภูมปิ ัญญาไทย ในการนาเอาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยมี าแกไ้ ขปญั หาที่ เกดิ ขนึ้ ใน ชวี ิตประจาวัน รวมทงั้ การนาไปพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมไทย ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรศึกษากับสมุนไพรอ่นื ๆที่มีในทอ้ งถิ่นมากกว่านี้ 2. ควรหาอัตราส่วนทีเ่ หมาะสมของพชื สมุนไพรทใ่ี ช้ล้างสารพษิ ไดด้ ีที่สุด 3. ควรศึกษาเปรียบเทียบกับการล้างดว้ ยนา้ สม้ สายชูผสมน้าอนุ่ หรือการล้างด้วยน้าดา่ งทบั ทมิ หรอื สารละลายผงฟู 4. ควรศึกษาเปรยี บเทียบกับการลา้ ง ดว้ ย นา้ ยาลา้ งสารพิษสาเร็จรปู ทม่ี ีขายในท้องตลาด 5. ควรทาเปน็ ผลิตภัณฑ์ทส่ี ะดวกแก่การใชแ้ ละ สามารถเก็บรกั ษาไดเ้ ป็นเวลานาน โดยไม่เสื่อม คณุ ภาพ

บรรณานุกรม http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/CHEMICAL.HTM 25 กนั ยายน 2552 http://nsw-rice.com/index.php?option=com_content&view=article&id=206:chemtype&catid= 66:insecticide&Itemid=41 25 กันยายน 2552 http://www.samunpri.com/modules.php?name=News&file=article&sid=188 25 กันยายน 2552


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook