แนวคดิ และหลกั การประเมนิ ภาวะสุขภาพ แบบองค์รวม
เนื้อหา •ความหมาย แนวคดิ ของการประเมนิ สุขภาพ •การประเมินสุขภาพภายใต้กรอบแนวคดิ ทฤษฎี •การประเมนิ สุขภาพตามการรับรู้ของผู้รับบริการ •หลกั การประเมินสุขภาพของวยั เดก็ วยั รุ่น วยั ผู้ใหญ่และวยั ผู้สูงอายุ
แนวคดิ การประเมนิ สุขภาพ เป็ นข้นั ตอนแรกและสาคญั ทส่ี ุดสาหรับทมี สุขภาพใน การทาความรู้จกั กบั ภาวะสุขภาพของผู้รับบริการ แบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ 1.การประเมนิ ภาวะสุขภาพ 2.บทบาทของพยาบาล
การประเมนิ ภาวะสุขภาพ •เป็ นท้งั ศาสตร์และศิลป์ •ความเป็ นศาสตร์ คือ การมีองค์ความรู้ มีหลกั การ วธิ ีการและ หลกั เกณฑ์วเิ คราะห์ทเ่ี ป็ นมาตรฐาน •ความเป็ นศิลป์ คือ การนาไปใช้ให้เหมาะสม ถูกต้อง •ความครอบคลุมละเอยี ดลกึ ซึ้งในการประเมินภาวะสุขภาพจะ มากน้อยเพยี งใด ขนึ้ อยู่กบั บทบาทของแต่ละวชิ าชีพ
การประเมนิ ภาวะสุขภาพอย่างเป็ นองค์รวม •เป็ นวธิ ีการรวบรวมข้อมูลของผู้รับบริการอย่างเป็ นระบบ โดย มจี ุดมุ่งหมายเพ่ือการวนิ ิจฉัยตดั สินภาวะสุขภาพของ ผู้รับบริการ •การวนิ ิจฉัยภาวะสุขภาพของผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง ต้อง มกี ารรวบรวมข้อมูลอย่างเป็ นระบบระเบยี บ โดยผู้ทมี่ ีความรู้ และทกั ษะในการรวบรวมเป็ นอย่างดี จะต้องกระทาอย่าง สมบูรณ์และต้องครอบคลมุ เป็ นองค์รวมด้วย
องค์รวม •ในการประเมินภาวะสุขภาพน้ันคือ สุขภาพของบุคคลทมี่ ี องค์ประกอบของกาย จติ ใจ สังคมและจติ วญิ ญาณ ผสมผสาน รวมเป็ นหนึ่งเดยี วในบุคคลน้ัน •ควรตระหนักว่า ความผดิ ปกตทิ างด้านสุขภาพด้านใดด้านหนึ่ง ทเี่ กดิ ขนึ้ น้ัน เป็ นผลรวมของทุกมติ สิ ุขภาพทเี่ ป็ นองค์ประกอบ
สรุป การประเมนิ ภาวะสุขภาพ จึงจาเป็ นต้องพจิ ารณาข้อมูลใน ทุกส่วนอย่างเป็ น องค์รวม ซ่ึงย่อมหมายถึงการชี้นาให้มี การรวบรวมข้อมูลทุกมติ นิ ั่นเอง
ข้อมูลทไ่ี ด้จากการประเมินภาวะสุขภาพ มี 2 ลกั ษณะคือ 1.ข้อมูลอตั นัย(Subjective data:S) เป็ นข้อมูลทไ่ี ด้ โดย วธิ ีการสัมภาษณ์ของพยาบาลจากการบอกเล่าของ ผู้รับบริการ/ผู้เกยี่ วข้องเป็ นข้อมูลทแี่ สดงความรู้สึก เป็ นข้อมูลของอาการ(symptom)ทรี่ ับรู้โดยผู้รับบริการ
ข้อมูลทไี่ ด้จากการประเมินภาวะสุขภาพ 2. ข้อมูลปรนัย (Objective data :O) เป็ นข้อมูลทไ่ี ด้จากการสังเกต การตรวจร่างกาย และ การสืบค้นทางห้องปฏิบตั กิ าร ซึ่งเทยี บได้กบั ข้อมูล ของอาการแสดง(Sign)น่ันเอง
แหล่งทมี่ าของข้อมูล ได้แก่ 1.แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source) ได้จาก การประเมินผู้รับบริการนั่นเอง 2.แหล่งข้อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary source) ได้จาก การบันทึกทางการแพทย์และการพยาบาล
ข้อมูลอตั นัยและข้อมูลปรนัย สามารถจาแนกได้ 2 ลกั ษณะคือ 1.ข้อมูลคงที่ (Constant data)ได้แก่ ข้อมูลทไ่ี ม่ เปลย่ี นแปลง เช่น เพศ เชื้อชาติ กล่มุ เลือด 2.ข้อมูลทแี่ ปรเปลยี่ น(Variable data) เป็ นข้อมูลที่ เปลยี่ นแปลงไปตามเวลา เช่น ความดนั โลหิต จานวน เมด็ เลือด และอายุ
การประเมินภาวะสุขภาพ *การได้มาซึ่งข้อมูล ได้จาก 1.การซักประวตั ิ (History taking ) หมายถงึ การสัมภาษณ์ อย่างมีประเดน็ หรืออย่างมีจุดมุ่งหมาย (Focus interview) 2.การตรวจร่างกาย (Physical examination) 3. การใช้แบบสอบถาม 4. การใช้แบบประเมนิ ความเสี่ยง
การประเมนิ ภาวะสุขภาพ แบบประเมินวถิ กี ารดาเนินชีวติ ด้วยการสัมภาษณ์แบบมี ประเดน็ เป็ นการแลกเปลย่ี นสนทนาช่วงส้ันๆ ระหว่างพยาบาล และผู้รับบริการให้ได้ข้อมูลเชิงลกึ มากขนึ้
การประเมินภาวะสุขภาพ • การซักประวตั ิ • การตรวจร่างกาย • การประเมนิ การเจริญเติบโตและพฒั นาการ • การประเมินสภาพจิต สังคม และจติ วญิ ญาณ • การบนั ทกึ ผลการประเมินสุขภาพ
การซักประวตั ิ ( History Taking) ประวตั ิ หมายถึง ประวตั ิสุขภาพ รวมท้งั ช่ือ ที่อยู่ ถ่ินท่ี เกิด อาชีพ และอาการสาคญั ท่ีมาโรงพยาบาล และ ประวตั ิอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่อื นามาเป็นขอ้ มูลในการคน้ หา สาเหตุ เพื่อช่วยในการวนิ ิจฉยั และวางแผนใหก้ าร ช่วยเหลือแกไ้ ขปัญหาสุขภาพไดถ้ ูกตอ้ ง
การซักประวตั ิ หมายถึง การสนทนาหรือซักถามหรือการแลกเปลยี่ น ข้อมูลกนั ระหว่าง 2 คน หรือมากกว่าอย่างมจี ุดมุ่งหมาย ซ่ึงจะต้องประกอบด้วย ผู้ซักประวตั ิ ผู้ถูกซักประวตั แิ ละ จุดมุ่งหมายของการซักประวตั ิ
หลกั การซักประวตั ิ - ควรมีระบบอนั แน่นอน เพื่อประหยดั เวลาและได้มาซ่ึงอาการ สาคญั โดยครบถ้วน - ประวตั ทิ ด่ี จี ะต้องละเอยี ดถูกต้อง กะทดั รัดเข้าใจง่าย และเป็ น แนวทางในการวนิ ิจฉัยโรคได้ หรือเหลือโรคทจ่ี ะต้องแยกออก จากกนั เพยี งไม่กโี่ รค - มีผลบ่งชี้ถึงส่วนของร่างกายท่ตี ้องตรวจละเอยี ดหรือควรส่ง ตรวจพเิ ศษเพมิ่ เตมิ
ท่าท/ี บุคลกิ ภาพการแสดงออก • มองภาพน้ีแลว้ ใหอ้ ธิบายท่าที/บุคลิกภาพที่แสดงออกเป็นอยา่ งไร?
องค์ประกอบสาคญั ของการซักประวตั สิ ุขภาพ ผู้ซักประวตั ิ 1) มคี วามรู้และทกั ษะ 2) มบี ุคลกิ ภาพทน่ี ่าศรัทธาและน่านับถือ 3) มคี วามมนั่ คงในอารมณ์ 4) มที กั ษะในการพูดและการกระทา
การเป็ นผู้ฟังทด่ี ี • ไม่สนใจต่อส่ิ งดึงดูดอ่ืนๆ •การส่ือสารดว้ ย อวจั นภาษา •ใส่ใจฟังส่วนท่ีเป็นแนวคิดหรือวฒั นธรรมของผอู้ ่ืน ฟังดว้ ยความห่วงใย และเขา้ ใจ •การฟัง นงั่ และมองตาผปู้ ่ วย และการตื่นตวั เป็นเรื่องจาเป็นที่จะตอ้ งทา ถึงแมจ้ ะทายาก
สถานท่ี ควรจัดเป็ นสัดส่วน มดิ ชิด สะอาด เรียบร้อย เป็ นระเบียบ อากาศ ถ่ายเทได้ดี มีโต๊ะ เก้าอี้ เตียงตรวจทพ่ี ร้อมในการใช้งาน
ผู้ป่ วย ต้องมีความพร้อม มคี วามเข้าใจ และยนิ ยอมให้ความร่วมมือ เช่ือถือ ไว้วางใจ ผู้ซักประวตั ิ จงึ จะได้มาซ่ึงประวตั ิทค่ี รบถ้วน หากผู้ป่ วยมี สภาพไม่พร้อม เช่น อยู่ในอาการเจบ็ ปวดมาก ควรจดั ให้ได้พกั ผ่อน ก่อน และเร่ิมซักประวตั ิใหม่เมื่ออาการดขี นึ้
อาการ (Symptoms) เป็ นความรู้สึกของคนไข้ทร่ี ู้สึกผดิ ปกติ ซ่ึงอาจจะจริงหรือไม่ จริงกไ็ ด้ เรียกว่า “อาการบอกเล่า” (Subjective symptoms) เช่น เหนื่อยหอบ เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ
อาการแสดง (Signs) เป็ นอาการแสดงของโรคที่เป็ นจริง มจี ริง ตรวจพบได้ทาง ร่างกาย ห้องปฏบิ ตั กิ ารหรือการตรวจพเิ ศษ เรียกว่า “อาการท่ี ตรวจพบ” (Objective signs) เช่น ก้อนในช่องท้อง ท้องโต หน้าบวม การเต้นของหัวใจผดิ ปกติ
ข้นั ตอนการซักประวตั สิ ุขภาพ ข้นั ตอนการปฏิบัตดิ ังนี้ • รายละเอยี ดข้นั พืน้ ฐาน (Initial data, Data base, Preliminary data) • อาการสาคญั (Chief complaints) • ประวตั เิ จบ็ ป่ วยปัจจุบัน (Present illness) • ประวตั ิเจ็บป่ วยในอดตี (Past illness/Past history )
ข้นั ตอนการซักประวตั ิ • ประวตั ิครอบครัว (Family history) • ประวตั ิส่วนตวั (Personal history) • ทบทวนอาการต่าง ๆ ตามระบบ (Review of systems: ROS)
รายละเอยี ดข้นั พืน้ ฐาน (Initial data) ควรทาความรู้จกั กบั ผู้ป่ วยด้วยการแนะนาตนเอง บอกช่ืออย่างชัดเจน บอกวตั ถุประสงค์
เร่ิมซักประวตั ทิ เี่ ป็ นรายละเอยี ดสนับสนุนการเจบ็ ป่ วยและบันทกึ วนั เดอื น ปี ที่ ซักประวตั ิ ชื่อผ้ปู ่ วย เพศ อายุ อาชีพ เช้ือชาติ สถานะทางสังคม
อาการสาคญั (Chief complaints ตวั ย่อ C.C.) เป็ นอาการสาคญั ทนี่ าผู้ป่ วยมาโรงพยาบาลและระยะเวลา (Nature and duration of presenting symptom) คาถามทจ่ี ะให้ได้มาซ่ึงอาการสาคญั ได้แก่ “คุณป้า (คุณอา) มปี ัญหาอะไรหรือคะ จึงต้องมา โรงพยาบาล?”
อาการสาคญั ควรมลี กั ษณะ ดงั นี้ 1) เป็ นประโยคส้ัน ๆ กะทดั รัด 2) เป็ นคาบอกเล่าของผู้ป่ วยเอง ไม่ใช้ศัพท์ทางการแพทย์ 3) ไม่เป็ นคาบอกเล่าทเี่ ลื่อนลอย เช่น “รู้สึกไม่สบายมา 3 วนั ” 4) ต้องรวมระยะเวลาด้วยเสมอ เช่น “ไอ มเี สมหะปนเลือดสด มา 2 วนั ” “นา้ หนักลดมา 1 เดือน” “เบื่ออาหารมา 6 สัปดาห์” “เป็ นไข้มา 2 วนั ”
ระยะเวลา( Duration) •หมายถงึ เวลาต้งั แต่เร่ิมเป็ นจนถงึ เวลาทเี่ รา •ซักประวตั ิ และรวมระยะเวลาทป่ี ราศจากอาการในกรณเี ป็ น ๆ หาย ๆ และอาการกาเริบใหม่
ประวตั เิ จ็บป่ วยปัจจุบัน (Present illness ตวั ย่อ P.I.) อาการและเหตุการณ์ต่าง ๆ นับจากช่วงเร่ิมต้นของการ เจบ็ ป่ วยจนถงึ ขณะทสี่ ัมภาษณ์ตามลาดบั เวลาทเ่ี กดิ ขนึ้ และรวมถงึ เหตุการณ์หรืออาการทหี่ ายไป
หลกั การวเิ คราะห์อาการขณะสัมภาษณ์ ใช้หลกั OLDCART ดังนี้ 1.อาการน้ันเริ่มเป็ นมาต้ังแต่เม่ือใด (Onset) 2.ตาแหน่งทเ่ี ป็ นอยู่ตรงไหน ( Location) 3.อาการน้ันเกดิ ขึน้ ทนั ทหี รือค่อยเป็ นค่อยไป (Duration) 4.ลกั ษณะอาการ และอาการเปลย่ี นแปลง อาการน้ันเป็ นมากเวลาใด จานวนของอาการ และความรุนแรง (Characteristic)
หลกั การการวเิ คราะห์อาการขณะสัมภาษณ์ 5.สิ่งทมี่ ผี ลทาให้อาการเลวลง (Agrivating) 6.ส่ิงทมี่ ผี ลทาให้อาการดขี นึ้ (Relief) 7. การรักษาทไ่ี ด้รับมาก่อน ( Treatment)
กลวธิ ีในการซักประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วยปัจจุบัน ผู้ซักประวตั คิ วรปฏิบตั ิดงั นี้ - ปล่อยให้ผู้ป่ วยพดู ถงึ อาการสาคญั แม้ว่าอาการน้ันจะไม่ใช่ปัญหา จริง ๆ แต่เป็ น ส่ิงทที่ าให้ผู้ป่ วยกงั วลและต้องมาพบแพทย์ - ระหว่างการซักประวัตติ ้องพยายามหาระยะเวลาของการเจบ็ ป่ วยให้ ได้ เช่น “ก่อนหน้าทจี่ ะเริ่มไม่สบายคราวนี้ คุณลงุ สบายดี ไม่มี อะไรผดิ ปกตเิ ลยหรือ” หรือ “ก่อนหน้าทจ่ี ะเริ่มไม่สบายคราวนี้ คุณ อา เป็ นอย่างไร มอี าการผิดปกติอะไรบ้าง”
ระหว่างการซักประวตั ิ พยายามให้ผู้ป่ วยเล่าถงึ อาการของเขา จากวนั ทเ่ี ร่ิมเป็ น โดยตนเอง และอสิ ระ ไม่โต้แย้งผู้ป่ วยนอกจากคาถามเลก็ ๆ น้อย ๆ ทจ่ี าเป็ นต้องถาม เช่น “อาการเร่ิมเมื่อใด” “อาการเป็ นอย่างไร” หรือ อาจเสริมคาถามนา เช่น “คุณ ป้า เคยสังเกตเห็นอาการอื่นบ้างหรือเปล่า จงช่วยลาดบั เหตุการณ์ของการเจ็บป่ วย”
ใช้คาถามนาโดยตรงในบางคร้ัง พยายามถามเกย่ี วกบั อาการต่าง ๆ ตามลาดบั เหตุการณ์ แล้วจงึ นามาวเิ คราะห์อาการ เช่น ผู้ป่ วยหญงิ มปี ัญหาคอพอกเป็ นพษิ อาจไม่ได้เล่าถงึ การรับประทานอาหารมากขนึ้ บ่อยคร้ัง นา้ หนักลดลง เหง่ือออกผดิ ปกติ ประจาเดือนมาไม่ตรงตาม กาหนด
ระวงั อย่าถามนา ในคาถามที่ต้องให้ตอบ “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” เช่น ในรายทม่ี ีแผลที่ มีกระเพาะอาหาร ถามคาว่า “เคยมถี ่ายอจุ จาระดาไหม” ผู้ป่ วย ตอบว่า “เคยม”ี ท้งั ทค่ี วามเป็ นจริงเป็ นเพยี งอุจจาระมีสีนา้ ตาล เท่าน้ัน ยงั ไม่ถงึ ข้นั อจุ จาระดา (Melena)
ประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H.) เป็ นประวตั ิการเจ็บป่ วยในอดตี ทยี่ งั ไม่มีในประวตั ปิ ัจจุบัน และ รวมถงึ ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยคร้ังก่อน ๆ ซ่ึงอาจเกยี่ วหรือไม่เกยี่ วข้องกบั การเจ็บป่ วยคร้ังนีก้ ไ็ ด้ ซ่ึงมสี ่วนช่วยในการวนิ ิจฉัยแยกโรคได้ กล่าวคือ โรคบางโรคไม่เป็ นกลบั ซ้า เช่น โรคหัด เป็ นต้น บางโรคอาจ เป็ นกลบั ซ้าอกี และเกดิ ภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น ซิฟิ ลสิ หากรักษาไม่ หายขาด อาจมีอาการทางสมอง หัวใจได้
การซักถามประวตั ิการเจบ็ ป่ วยในอดตี ทค่ี วรถาม • ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยทวั่ ๆ ไปทสี่ าคญั ในอดีต • ประวตั ิเกยี่ วกบั การแพ้ • ประวตั กิ ารเป็ นโรคตดิ เชื้อและการได้รับภูมคิ ุ้มกนั • ประวตั กิ ารผ่าตดั • ประวตั อิ ุบตั เิ หตุ
การซักถามประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วยในอดตี ที่ควรถาม • ประวตั ิครอบครัว (Family History ตวั ย่อ F.H.) เป็ นประวตั กิ ารเจบ็ ป่ วย ต้งั แต่ ป่ ู ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ลงุ ป้า น้า อา พ่ี น้อง ว่ามีประวตั กิ ารเจ็บป่ วยร้ายแรงใด ๆ หรือไม่ หรือโรค ทเี่ กยี่ วข้องทางกรรมพนั ธ์ุ โรคเลือด
ประวตั สิ ่วนตัว (Personal history) • สถานภาพการสมรส เป็ นโสด หรือ แต่งงานหรือ หย่าร้าง ชีวติ สมรสราบรื่นดหี รือไม่ บุตรกค่ี น สุขภาพของบุคคลในครอบครัวเป็ นอย่างไร • การศึกษา สถานะความเป็ นอยู่ เศรษฐกจิ เป็ นอย่างไร มปี ัญหาหรือไม่ โดยเฉพาะทางด้านการเงิน
นิสัยและการดารงชีวติ ประจาวนั ทวั่ ๆ ไป • การหลบั นอน นอนดกึ นอนหลบั ตลอดระยะเวลาการนอน หรือหลบั ๆ ต่ืน ๆ • การดื่มสุรา ด่ืมเป็ นประจาหรือไม่ ด่ืมมานานเท่าไร จานวนเท่าใด ซ่ึงจะสัมพนั ธ์กบั การเป็ นโรคตบั แขง็ • การสูบบุหร่ีหรือเคยี้ วหมาก อาจสัมพนั ธ์กบั การเกดิ โรคมะเร็งในปอด หรือมะเร็งในช่องปาก
นิสัยและการดารงชีวติ ประจาวนั ท่ัว ๆ ไป • การขบั ถ่ายอจุ จาระ ปัสสาวะเป็ นอย่างไร • ภาวะทางอารมณ์ทว่ั ไป หงุดหงดิ โมโหง่าย หรือไม่ • มยี าอะไรทใี่ ช้เป็ นประจาหรือไม่ เช่น ยานอนหลบั ยา แก้ปวด เป็ นต้น
• ในผู้ป่ วยหญงิ ต้องถามประวตั กิ ารมีประจาเดือนด้วยว่า ปกตหิ รือไม่อย่างไร เคยตรวจทางนรีเวชหรือไม่ • ประวตั ิทางเพศ เนื่องจากธรรมชาติเป็ นเรื่องไม่ควร เปิ ดเผย จงึ ควรถามในระยะหลงั เพ่ือให้ผู้ป่ วยคุ้นเคยกบั ผู้ ซักประวตั ิก่อน ว่ามีปัญหาทางเพศหรือไม่อย่างไร เพราะ อาจสัมพนั ธ์กบั อาการทผี่ ู้ป่ วยมาหาในปัจจุบนั ได้
ทบทวนอาการต่าง ๆ ตามระบบอวยั วะ (Review of systems : ROS) เป็ นการถามถงึ อาการต่าง ๆ ซ่ึงอาจเกย่ี วข้องกบั ระบบอ่ืน ๆ ของร่างกาย โดยมีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะ สารวจภาวะของระบบต่าง ๆ ในร่างกายท้งั ในอดตี และปัจจุบัน เพ่ือค้นหาอาการผดิ ปกตทิ อ่ี าจจะ เกย่ี วข้องกบั การเจบ็ ป่ วยคร้ังนี้
Review of systems ถามโดยทวั่ ไป • ผวิ หนงั • ศีรษะ • ตา หู จมูก • ปากและคอ • ระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวยี นของโลหิต
• Gขณenะeนraง่ั lค: ดุยูหนา้ ซีด บ่นเรื่องเหนื่อยหลงั จากตื่นนอนตอนเชา้ เหง่ือออก Review of system • Skin: ไม่มีผนื่ คนั ใหเ้ ห็น แต่มีจุดเหมือนจุดเลือดออกท่ีแขนและขา • Head: มีอาการปวดบริเวณทา้ ยทอย มกั เป็นตอนเชา้ • Eyes: อา่ นหนงั สือพิมพไ์ ดป้ กติ • Fluid/E’lyte: มีอาการขาบวม ทอ้ งอืด ใจส่นั • Respiratory: หายใจสะดวก • Cardiac: มีแน่นหนา้ อกบางคร้ัง แน่นเหมือนชา้ งเหยยี บ • Urinary: ปัสสาวะสีขน้ เหมือนน้าลา้ งเน้ือ • Genitoreproductive:มีเลือดออกทางช่องคลอด • ปMวuดscขuอ้ loskeletal: บ่นเร่ืองเป็นตะคริวมกั เป็นก่อนนอน ไม่ปวดขาหรือ • Peripheral vascular: ไม่มีอาการชาปลายมือเทา้ • Neurologic:ลกุ นงั่ วิงเวียน หนา้ มืดเป็นบางคร้ัง • Psychiatric: ช่วงน้ีเครียด ลูกหลานทาใหก้ งั วล • Endocrine: กินจุ หิวบ่อย น้าหนกั ลด
ระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด - การหายใจ เหนื่อยหอบ ไอ มเี สมหะ เจ็บคอ - เจบ็ หน้าอก นอนราบไม่ได้ อาการบวม ใจส่ัน หน้ามืด เป็ นลม
ระบบทางเดินอาหาร - ความอยากอาหารหรือเบื่ออาหาร อาหารทชี่ อบรับประทาน อาหารทไ่ี ม่ชอบรับประทาน อาหารทท่ี าให้เกดิ อาการรุนแรงขนึ้ - การย่อยอาหารผดิ ปกติ ท้องอืด เฟ้อ เรอ รวมท้งั การผายลม ด้วย - อาการคล่ืนไส้ อาเจียน - ลกั ษณะการอาเจียนอาจบ่งบอกตาแหน่งพยาธิสภาพได้ เช่น อาเจยี นพ่งุ แสดงถงึ ความผดิ ปกตใิ นสมอง
Search