Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PSA-Safety manual

PSA-Safety manual

Published by suphaluk.psa, 2021-10-04 02:58:07

Description: PSA-Safety manual

Search

Read the Text Version

ค่มู อื ความปลอดภัย ในการทางาน P.S.A Inter – Cooling Company บริษทั พ.ี เอส.เอ อนิ เตอร์-คูลลง่ิ จากดั เลขท่ี 154/14 หมู่ 2 ถนน นนทบุรี 1 ตาบล สวนใหญ่ อาเภอ เมืองนนทบุรี จังหวดั นนทบุรี 11000

คานา บริษทั พี.เอส.เอ อินเตอร์-คูลลิ่ง จำกดั ไดต้ ระหนกั ถึงควำมสำคญั ของควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน ของพนกั งำนเป็นอยำ่ งยงิ่ เนื่องจำกควำมปลอดภยั เป็นปัจจยั สำคญั ประกำรหน่ึงในกำรกำ้ วสู่ควำมสำเร็จสูงสุด ของบริษทั ดงั น้นั บริษทั จึงสนบั สนุนใหม้ ีกิจกรรมดำ้ นควำมปลอดภยั ควบคู่กบั กิจกรรมเพม่ิ ผลผลิต ท้งั น้ี เพรำะควำมปลอดภยั ช่วยลดควำมสูญเสีย ลดตน้ ทุนกำรผลิต และยงั เสริมสร้ำงสวสั ดิภำพอนั ดีเด่นต่อ พนกั งำนทุกคน เพอื่ พฒั นำใหเ้ ป็นทรัพยำกรที่มีคุณภำพและสำมำรถตอบสนองต่อนโยบำยดำ้ นกำรผลิตได้ อยำ่ งเตม็ ประสิทธิภำพ ดว้ ยเหตุน้ีบริษทั ฯ โดยคณะกรรมกำรควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนจึง จดั ทำคู่มือควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนข้ึนเพอ่ื เผยแพร่ควำมรู้และแนะนำแนวทำงในกำรปฏิบตั ิงำนอยำ่ ง ปลอดภยั บริษทั ฯ หวงั เป็นอยำ่ งยง่ิ วำ่ คู่มือควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเล่มน้ีจะมีส่วนเสริมสร้ำงจิตสำนึกดำ้ น ควำมปลอดภยั ใหเ้ กิดกบั พนกั งำนบริษทั พี.เอส.เอ อินเตอร์-คูลล่ิง ทุกคน ดว้ ยควำมปรำรถนำดี คณะกรรมกำรควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงสน A

โรงงานท่ีขาดความปลอดภัย ย่อมให้ผลผลิตได้ 2 อย่าง คือ ผลิตสินค้าด้อยคุณภาพ และผลิตคนพิการแก่สังคม ********************************************************************************** B

คานิยามศัพท์ ( DEFINITION ) คาจากัดความต่อไปนี้เป็ นคาศัพท์ทป่ี รากฏอยู่ใน “คู่มือความปลอดภัย” สาหรับผู้ใช้ควรทาความ เข้าใจคาศัพท์ต่างๆ ต่อไปนี้ให้ถูกต้องตรงกนั เพอื่ ให้การใช้คู่มือดังกล่าวเป็ นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประโยชน์สูงสุด 1. อุบัติเหตุ (ACCIDENT)  เหตุการณ์ท่ีไม่ต้องการให้เกิด ซึ่งเม่ือเกดิ ขึน้ แล้วจะมีผลทาให้เกดิ การ บาดเจ็บแก่บุคคล หรือ ทรัพย์สินเสียหาย หรือเกิดความสูญเสีย ต่อสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิต หรือ ผลติ ภัณฑ์ และองค์กร 2. อบุ ัติการณ์ (INCIDENT / NEAR MISS)  เหตุการณ์ทไ่ี ม่ต้องการให้เกดิ ซึ่งทาให้เกดิ หรืออาจทาให้ เกดิ ความสูญเสียต่อบุคคล ได้รับบาดเจ็บ ทรัพย์สินถูกทาลาย หรือหยุดกระบวนการผลติ 3. การป้ องกันอุบัติเหตุ (ACCIDENT PREVENTION)  โปรแกรมการดาเนินการเพื่อกาจัด ลด ควบคุม ป้ องกันอุบัติเหตุ และวัดผลที่กาหนดขึ้น เพ่ือลดอุบัติเหตุและศักยภาพท่ีอาจก่อให้เกิด อบุ ตั เิ หตุ ต่อระบบ ต่อองค์กร หรือ ต่อกจิ กรรมต่างๆ ขององค์กร 4. กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ (REGULATION)  กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ กฎหมายท่ีควบคุมการ ดาเนินการหรือการปฏบิ ตั ิงานให้เกดิ ความปลอดภยั 5. ความปลอดภยั (SAFETY)  การทปี่ ราศจากการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ หรือ มสี ภาวะทไ่ี ม่ปลอดภัย เช่น เกดิ ความเจบ็ ปวด การบาดเจ็บ การสูญเสีย หรือทรัพย์สินเสียหาย 6. การกระทาท่ีไม่ปลอดภัย (UNSAFE ACT)  การฝ่ าฝื นข้ันตอนการปฏิบัติงาน ไม่สวมใส่อุปกรณ์ ความปลอดภัย PPE ซึ่งจะก่อให้เกดิ อบุ ตั ิเหตุขนึ้ ได้ 7. สภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภยั (UNSAFE CONDITION)  สภาพการณ์หรือสภาพแวดล้อมทมี่ อี นั ตราย ซ่ึงสามารถก่อให้เกดิ อบุ ตั เิ หตุหรือความสูญเสีย 8. ผู้รับเหมา (CONTRACTOR)  บริษทั หุ้นส่วน หรือบุคคลอน่ื ที่ ……………… เป็ นผู้จ้างให้ปฏบิ ัติงาน หรือให้ปฏบิ ัตหิ น้าที่ ตามที่ …………. มอบหมาย ท้งั นีห้ มายรวมถงึ บริษทั ทรี่ ับเหมา ช่วงต่อ และผู้ปฏบิ ัติงานของบริษทั รับเหมา ช่วงต่อน้ันด้วย 1

สาเหตุการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ การกระทาทไี่ ม่ปลอดภยั (Unsafe Acts) สาเหตุ : การเกดิ อบุ ตั ิเหตุร้อยละ 85 (%) เกดิ จาก การกระทาของคน หรือของมนุษย์ เช่น  ทางานลดั ข้นั ตอนหรือรีบเร่งเกนิ ไป  การมที ศั นคตไิ ม่ถูกต้อง เช่น อบุ ัติเหตุเป็ นเร่ืองของเคราะห์กรรมแก้ไขป้ องกนั ไม่ได้  สภาพร่างกายไม่พร้อม เช่น ดื่มสุรา, เมาค้าง, มปี ัญหาครอบครัวใช้สิ่งเสพตดิ เป็ นต้น  ไม่ทาตามข้นั ตอนการทางาน OJT หรือไม่ทาตามทห่ี ัวหน้า แนะนา  ไม่หยุดเคร่ืองจักร ก่อนซ่อมแซมหรือบารุงรักษา  ไม่สวมใส่อปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ในขณะทางานทม่ี อี นั ตราย  ยก เคลอ่ื นย้ายส่ิงของด้วยท่าทางทไ่ี ม่ปลอดภยั  ฝ่ าฝื นกฎระเบียบ สัญลกั ษณ์ และ ป้ ายเตอื น ด้านความปลอดภยั  ปฏบิ ตั ิงานโดยไม่มหี น้าท่ี หรือขาดความรู้ และทกั ษะ หรือ ความชานาญ  หยอกล้อ เล่นกนั ระหว่างปฏบิ ตั ิงาน  แต่งกายไม่เหมาะสมกบั สภาพงาน ไม่รัดกมุ รุ่มร่าม สภาพการทางานทไ่ี ม่ปลอดภัย (Unsafe Conditions) เกดิ ขนึ้ ประมาณ 15 % จาก;-  การวางผงั โรงงาน หรือกระบวนการผลติ ทไ่ี ม่ถูกต้องเหมาะสม  ไม่มกี าร์ดครอบป้ องกนั ส่วนทเี่ ป็ นอนั ตรายของเครื่องจกั รหรือส่วนทเี่ คลอ่ื นไหว ต่าง ๆ เช่น เฟื อง, โซ่, พลู เลย์, ไฟลวลี , เพลาเกลยี ว, ใบมดี และสายพานเป็ นต้น  ระบบไฟฟ้ า หรืออปุ กรณ์ไฟฟ้ าชารุดบกพร่อง ขาดการตรวจสอบ บารุงรักษา  ความไม่เป็ นระเบียบเรียบร้อย และสกปรก ขาดการจดั เกบ็ วสั ดุสิ่งของ หรือไม่จดั ทา 5 ส.  สภาพ และส่ิงแวดล้อมในการทางานไม่ดี เช่น แสงสว่างไม่เพยี งพอ, การระบายอากาศไม่ดี, เสียงดงั , ฝ่ นุ ละออง, ความร้อนสูง, ไอระเหยของสารเคมี เป็ นต้น 2

ความสูญเสียจากอบุ ัตเิ หตุในการทางาน ความสูญเสียทางตรง  ค่ารักษาพยาบาล  ค่าทดแทน  ค่าทาขวญั ความสูญเสียทางอ้อม ลูกจ้าง  ได้รับความเจ็บปวด  ได้รับความทรมาน  ความพกิ าร  ความสูญเสียงาน  เสียขวญั และกาลงั ใจ ครอบครัว  สูญเสียคนรัก  ขาดรายได้  สูญเสียโอกาส นายจ้าง  ผลผลติ ลดลง  ค่าล่วงเวลา  ค่าใช้จ่ายฝึ กคนงานใหม่  ค่าซ่อมแซมเครื่องจกั ร  เสียเวลา  เสียช่ือเสียง ชุมชนรอบข้าง หรือใกล้เคยี ง  ขาดความเช่ือมนั่  วติ กกงั วล ประเทศชาติ  ขาดกาลงั คนชานาญงาน  เศรษฐกจิ เสียหาย 3

กฎความปลอดภยั ทัว่ ไป “อุบตั ิเหตุต้องเป็ นศูนย์ > O < ” 1. หากมคี วามสงสัย, ไม่เข้าใจทเ่ี กย่ี วกบั งานควรรีบ ปรึกษาหวั หน้างาน (ทนั ท)ี 2. ห้ามหยอกล้อเล่นกนั ในขณะปฏบิ ัตงิ าน 3. ต้องปิ ดสวทิ ซ์ หรือถอดปลก๊ั ก่อนล้างเครื่องจกั รทกุ คร้ัง 4. ไม่สบาย ร่างกายไม่พร้อม ง่วง ซึมให้รีบปรึกษาพยาบาล หรือแพทย์ ทนั ที 5. ต้องปฏบิ ัติตามแผนฉุกเฉิน , กฎระเบยี บ ,เครื่องหมายป้ ายเตือน และป้ ายห้ามต่างๆ ของ บริษทั ฯ อย่างเคร่งครัด และ กาจดั บาบัด ลด ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ และ มผี ลต่อส่ิงแวดล้อม 6. อย่าทางานในทลี่ บั ตาคนเพยี งคนเดียว โดยไม่มใี ครทราบโดยเฉพาะการทางานหลงั เวลา ทางานปกติ เช่น งานไฟฟ้ า ทอ่ี บั อากาศ เป็ นต้น 7. ต้องแต่งกายให้เรียบร้อยรัดกมุ ไม่ขาดรุ่งริ่ง หรือมสี ่วนยน่ื ห้อย และปฏบิ ตั ติ ามหลกั ของ GMP HACCP และกฎความปลอดภัยของงานน้ันๆ เป็ นต้น 8. ต้องใส่อปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตราย PPE ตามประเภท หรือชนิดของงานน้ันๆ ตลอดเวลาทางาน 9. ขณะปฏบิ ัตงิ านต้องมกี ารสื่อสาร ประสานงานทด่ี ี กบั เพอ่ื นร่วมงาน เช่น ใช้วทิ ยสุ ื่อสาร 10. การปรับแต่ง ,เปลย่ี นแปลงหรือซ่อมแซมอปุ กรณ์ใดๆต้องกระทาโดยผู้มหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบเท่าน้ัน 11. ห้ามนาอาหาร เคร่ืองดืม่ ขนมขบเคยี้ ว ลูกอม หรือตามข้อห้ามของ GMP เข้าไลน์การผลติ โดยเดด็ ขาด 12. ต้องสูบบุหรี่ในเวลา และ ในพนื้ ทที่ ก่ี าหนดไว้ให้เท่าน้ัน 13. ไม่อนุญาตให้ใช้ทางออก หรือ ประตูฉุกเฉินในสถานการณ์ปกติ 14. ห้ามฉีดเครื่องดับเพลงิ หรือกดสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินเล่นโดยไม่มเี หตุอนั ควร 15. ผู้รับเหมา ทเ่ี ข้ามาปรับปรุงแก้ไขซ่อมแซม ต้องปฏบิ ัติตามกฎด้านความปลอดภยั หรือต้องได้รับ อนุญาต Work permit ก่อนเริ่มงานทกุ คร้ัง 16. กรณหี ญิงมคี รรภ์ ห้ามยกของหนัก ,ขนึ้ ทสี่ ูง หรือทางานทอี่ าจเป็ น อนั ตรายต่อสุขภาพ และไม่ทางาน ในช่วงเวลา 24.00 น. – 06.00 น. หรือเกนิ กว่าทก่ี ฎหมายกาหนดไว้ 4

หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบของ ผู้บริหารระดับสูง 1. กาหนดนโยบายและเป้ าหมายด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดล้อมใน การทางาน ให้ผู้ใต้บังคบั บญั ชาจดั ทาแผนและดาเนินงานตามนโยบาย 2. จัดโครงสร้างการบริหารงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และส่ิงแวดล้อมในการทางานและ หน่วยงานความปลอดภยั ให้มปี ระสิทธภิ าพ 3. ตรวจสอบ /วัดผล และประเมินผลการดาเนินด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯของหน่วยงานให้ เป็ นไปตามเป้ าหมายขององค์กร 4. บริหารงานให้เป็ นไปตามกฎหมาย 5. ให้ความสนับสนุนและกาหนดทรัพยากรอย่างเพยี งพอในการดาเนินงานด้าน ความปลอดภัย อาชีวอ นามยั และสิ่งแวดล้อมในการทางาน 6. ปฏิบัติตามกฎ, ข้อกาหนด, คู่มือและมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของหน่วยงานโดยให้มคี วามปลอดภัย มากทสี่ ุด 7. กากบั ดูแล และฝึ กอบรม การปฏบิ ัติหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบตามแผนระงบั เหตุฉุกเฉินบริษทั ฯ 8. นาผลการดาเนินงานด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมมาเป็ นส่วนหนึ่งในการ ประเมนิ ผลผู้บริหารและพนักงานขององค์กร 5

หน้าท่ีความรับผดิ ชอบ (ต่อ) หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของ คณะกรรมการความปลอดภัยฯ คปอ. 1. พจิ ารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทางานรวมท้งั ความปลอดภัย นอกงานเพอ่ื ป้ องกนั และลดการเกดิ อบุ ัติเหตุ การประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย หรือการ เกดิ เหตุเดอื ดร้อนราคาญอนั เน่ืองจากการทางาน หรือความไม่ปลอดภัยในการทางานเสนอต่อนายจ้าง 2. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเก่ียวกับความ ปลอดภัยในการทางานและมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานต่อนายจ้าง เพอื่ ความปลอดภัยในการ ทางานของลกู จ้าง ผู้รับเหมาและบุคคลภายนอกที่เข้ามาปฏบิ ัติงาน หรือเข้ามาใช้บริการในสถานประกอบ กจิ การ 3. ส่งเสริม สนับสนุน กจิ กรรมด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบกจิ การในสถานประกอบ กจิ การ 4. พิจารณาข้อบังคับและคู่มือตามข้อ 3 รวมท้ังมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทางานของสถาน ประกอบกจิ การเสนอต่อนายจ้าง 5. สารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอนั ตรายทเ่ี กดิ ขึน้ ในสถานประกอบกจิ การน้ันอย่างน้อยเดือนละหนึ่งคร้ัง 6. พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึ กอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน รวมถึงโครงการหรือ แผนการอบรมเก่ียวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัยของลูกจ้าง หัวหน้างาน ผู้บริหาร นายจ้าง และบุคลากรทกุ ระดบั เพอื่ เสนอความเหน็ ต่อนายจ้าง 7. วางระบบการรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภยั ให้เป็ นหน้าทข่ี องลกู จ้างทกุ คนทุกระดับต้องปฏบิ ัติ 8. ตดิ ตามความคบื หน้าเร่ืองทเ่ี สนอนายจ้าง 9. รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานประจาปี รวมท้งั ระบุปัญหา อปุ สรรค์ และข้อเสนอแนะการปฏบิ ัตหิ น้าทขี่ องคณะกรรมการ 10. ประเมนิ ผลการดาเนินการด้านความปลอดภัยในการ ทางานของสถานประกอบกจิ การ 11. ปฏบิ ัติงานด้านความปลอดภยั ในการทางานอนื่ ตาม ทนี่ ายจ้างมอบหมาย 6

หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ (ต่อ) หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของเจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางาน จป. ระดบั บริหาร 1. กากับ ดูแล เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยในการทางานระดบั บริหาร 2. เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภัยในการทางานในหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบต่อนายจ้าง 3. ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเกยี่ วกบั ความปลอดภัยในการทางานให้เป็ นไปตามแผนงาน โครงการเพอ่ื ให้มกี ารจัดการด้านความปลอดภยั ในการทางาน ทเ่ี หมาะสมกบั สถานประกอบกจิ การ 4. กากบั ดูแล และติดตามให้มกี ารแก้ไขข้อบกพร่องเพอื่ ความปลอดภัยของลกู จ้าง ตามทไ่ี ด้รับรายงานหรือตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทางาน คณะกรรมการ หรือหน่วยงานความปลอดภยั หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบของเจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางาน จป. ระดบั หวั หน้างาน 1. กากบั ดูแล ให้ลกู จ้างในหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัตติ ามข้อบงั คบั และคู่มอื ตามข้อ 3 2. วเิ คราะห์งานในหน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบเพอื่ ค้นหาความเส่ียงหรืออนั ตรายเบอื้ งต้นโดยอาจร่วมดาเนินการ กบั เจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนิค ระดบั เทคนิคข้นั สูงหรือระดบั วชิ าชีพ 3. สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องแก่ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยในการ ปฏบิ ตั ิงาน 4. ตรวจสอบสภาพการทางาน เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยก่อนลงมือ ปฎบิ ัติงานประจาวนั 5. กากบั ดูแล การใช้อปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ 6. รายงานการประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกดิ เหตุเดือดร้อนราคาญ อนั เน่ืองจากการทางานของ ลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ สาหรับสถานประกอบกิจการที่มหี น่วยงานความปลอดภัยให้แจ้งต่อหน่วยงานความ ปลอดภยั ทนั ทที เ่ี กดิ เหตุ 7. ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกดิ เหตุเดือดร้อนราคาญอนั เน่ืองจากการ ทางานของลูกจ้างร่วมกบั เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทางาน ระดบั เทคนิค ระดับเทคนิคข้นั สูง หรือระดบั วชิ าชีพ และรายงานผล รวม ท้งั เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาต่อนายจ้าง โดยไม่ชักช้า 8. ส่งเสริมและสนับสนุนกจิ กรรมความปลอดภัยในการทางาน 9. ปฏบิ ัตงิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอนื่ ตามทเ่ี จ้าหน้าท่ี ความปลอดภยั ในการทางานระดับบริหารมอบหมาย 7

หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ (ต่อ) หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของ พนักงาน 1. ปฏบิ ัติตาม นโยบายอาชีวอนามยั ความปลอดภัย และส่ิงแวดล้อม ,พรบ.ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554, กฎระเบียบ, ข้อกาหนด , คู่มอื และมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของ แต่ละหน่วยงานโดยให้มคี วามปลอดภยั 2. ปฏิบัติตามแผนดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และกิจกรรมของหน่วยงานให้บรรลุตาม เป้ าหมาย 3. ตรวจหา/แก้ไข/รายงานสภาพทไี่ ม่ปลอดภัย และข้อบกพร่องที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัย อาชีวอนา มยั และส่ิงแวดล้อม ของผลติ ภัณฑ์ และ/หรือการปฏบิ ตั ิงานให้ผู้บงั คบั บญั ชาทราบ 4. ควบคุมการทางานของผู้รับเหมาให้ปฏบิ ัติตามกฎระเบียบ ข้อกาหนด มาตรฐานและคู่มอื การปฏบิ ตั ิงาน 5. ร่วมเป็ นคณะทางานหรือคณะกรรมการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และส่ิงแวดล้อมตามที่ได้รับ การแต่งต้งั หรือ มอบหมาย 6. เข้าร่วมดาเนินงานด้าน คุณภาพ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดล้อม 7. รายงานอบุ ัตเิ หตุ / อบุ ัติการณ์ ให้ผู้บงั คบั บญั ชารับทราบทนั ที 8. ใช้อปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล ( PPE. ) ตาม มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านและตรวจสอบดูแลให้พร้อมใช้งาน 9. ตรวจสอบดูแลและใช้เคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์ ให้ถูกต้องและ ปลอดภยั โดยให้มผี ลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยทสี่ ุด 10. จดั ทาและควบคุมเอกสารให้เป็ นไปตามมาตรฐาน 11. ฝึ กอบรม / ปฏบิ ัติตามหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบตามแผนระงับเหตุฉุกเฉิน กจิ กรรม 5ส สู่ความปลอดภัย สถานที่ทางานใดท่ีดาเนินกิจกรรม 5ส จะปลอดภัยกว่า และมีการผลิตที่ดีกว่ารวมท้ังยังทาให้สถานที่ ทางานน่าอยู่ น่าดู และสะดวกสบายขนึ้ ซึ่งการดาเนินกจิ กรรม 5ส สามารถปฏบิ ัติได้ดงั นี้ สะสาง : แยกรายการส่ิงของทจ่ี าเป็ น และไม่จาเป็ น ทงิ้ สิ่งของทไี่ ม่จาเป็ นออกไป สะดวก : เกบ็ เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ไว้ในทที่ ใี่ ช้ได้สะดวกและเกบ็ ในทปี่ ลอดภยั สะอาด : จดั ระเบยี บการดูแลความสะอาดของสถานทท่ี างาน สุขลกั ษณะ : ดูแลเสื้อผ้าและรักษาสภาพสถานทท่ี างานให้สะอาดเรียบร้อยอย่าปล่อยให้ สกปรกรุงรังเป็ นเดด็ ขาด สร้างนิสัย : ปฏบิ ัติ 4ส ข้างต้นจนเป็ นนิสัย 8

ความปลอดภยั ในทางานสานักงาน 1. พนื้ สานักงานควรสะอาดอยู่เสมอ 2. ห้าม วงิ่ หรือลน่ื ไถลในสานักงาน 3. ขณะที่มีการขัดหรือทาความสะอาดพืน้ ผู้ปฏิบัติงานควรเดินหรือปฏิบัติงานด้วยความ ระมัดระวัง ยงิ่ ขนึ้ 4. ถ้าพบนา้ มนั หกบนพนื้ สานักงาน ให้แจ้งเจ้าหน้าทร่ี ับผดิ ชอบ หรือกนั พนื้ ที่ และแสดงเครื่องหมาย เตือน หรือหาวสั ดุดุดซับ และนาไปทงิ้ ตามชนิด/ประเภท ของขยะ เพอ่ื ลดปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม 5. ถ้าพบวสั ดุหรือเครื่องใช้สานักงาน เช่น ดนิ สอ หรือส่ิงอนื่ ใดตกหล่น รีบเกบ็ ทนั ที 6. ในขณะทเี่ ดินถงึ มุมตึก ให้เดนิ ทางขวาของทางเดิน เดินช้าๆ อย่างระมดั ระวงั 7. สายโทรศัพท์ หรือสายไฟฟ้ า ควรตดิ ต้ังให้เรียบร้อย ไม่กดี ขวางทางเดิน 8. อย่าอยู่ใกล้บริเวณประตูทเี่ ปิ ดอยู่ ประตูอาจเปิ ดมากระแทกได้ 9. เมอื่ จะเข้าออกบังตา หรือเปิ ดปิ ดประตูบานกระจก ควรเปิ ดปิ ดอย่างระมดั ระวงั 10. ประตูบานกระจกทเี่ ปิ ดปิ ดสองทางให้ตดิ เคร่ืองหมาย “ดึง” หรือ “ผลกั ” ให้ชัดเจน 11. ไม่วางส่ิงของเกะกะทางเดินช่องประตู 12. ติดต้งั กระจกเงาทบี่ ริเวณมมุ อบั 13. ทาความสะอาดและกาจดั ขยะ ฝ่ ุนผง หรือเศษกระดาษทกุ วนั 14. สูบบุหรี่ในทจี่ ดั ไว้ให้ 9 5

ความปลอดภยั ในการใช้บนั ได อุบัติเหตุจากการใช้บันไดมกั เกิดขึน้ เสมอ ดังน้ันขณะท่ีทางานอยู่บนข้ันบันไดจาเป็ นต้องระมัดระวัง และปฏบิ ตั ไิ ด้ถูกวธิ ี 1. ก่อนขนึ้ ลงบันไดควรสังเกตสิ่งทจ่ี ะก่อให้เกดิ อนั ตรายขนึ้ ได้ 2. ถ้าบันไดมแี สงสว่างไม่เพยี งพอ หรือบนั ไดเกดิ ชารุดให้แจ้งเจ้าหน้าท่ี เพอื่ ทาการ แก้ไขปรับปรุงให้เรียบร้อย 3. อย่าให้มเี ศษวสั ดุชิ้นเลก็ น้อยตกอยู่ตามข้นั บนั ได เช่น เศษกรวด เศษแก้ว ฯลฯ 4. จัดให้มพี รมหรือทเี่ ช็คเท้าบริเวณเชิงบันได 5. ขนึ้ ลงบันไดด้วยความระมดั ระวงั อย่าวง่ิ เล่นหรือหยอกล้อกนั 6. ขนึ้ ลงทางด้านขวาและจบั ราวบันไดทกุ คร้ัง 7. ขณะขนึ้ ลงบนั ไดต้องมองข้นั บันไดทกุ คร้ัง 8. อย่าขนึ้ หรือลงบนั ไดเป็ นกล่มุ ใหญ่เวลาเดียวกนั ความปลอดภยั ของ โต๊ะทางาน เก้าอี้ ตู้ 1. ลนิ้ ชักตู้เอกสารควรเปิ ดใช้ทลี ะชักและปิ ดทกุ คร้ังหลงั เลกิ ใช้งาน 2. ห้าม วางสิ่งของไว้ใต้โต๊ะทางาน 3. ห้าม เอนหรือพงิ พนักเก้าอโี้ ดยให้รับนา้ หนักเพยี งข้างใดข้างหนึ่ง 4. ให้มพี นื้ ทเี่ คลอื่ นย้ายเก้าอเี้ ข้าออกทสี่ ะดวก 5. ห้าม วางวสั ดุสิ่งของบนหลงั ตู้ 6. จัดเอกสารใส่ลนิ้ ชักตู้ช้ันล่างสุดขนึ้ ไป หลกี เลย่ี งการใส่เอกสารมากเกนิ ไป 7. ให้จับหูลนิ้ ชักตู้ทุกคร้ังในการเปิ ดเพอื่ ป้ องกนั นิว้ ถูกหนีบ 8. การจัดวางตู้ต้องไม่เกะกะทางเดนิ 10

ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองใช้สานักงาน 1. ในขณะขนย้ายกระดาษควรระวงั กระดาษบาดมอื 2. ให้เกบ็ ปากกาหรือดนิ สอ โดยการเอาปลายชี้ลง หรือวางราบในลนิ้ ชัก 3. ให้ทาการหุบขากรรไกร ทเ่ี ปิ ดซองจดหมาย ใบมดี คตั เตอร์ หรือของมคี มอนื่ ให้เข้าทก่ี ่อน การเกบ็ 4. การใช้เครื่องตดั กระดาษ ต้องระวงั นิว้ มอื ให้อยู่ห่างจากมดี 5. การแกะลวดเยบ็ กระดาษให้ใช้ทด่ี ึง ห้าม ใช้เลบ็ 6. ควรใช้บันไดเหยยี บ เมอ่ื ต้องการหยบิ ของในทส่ี ูง ห้ามใช้กล่อง,โต๊ะหรือเก้าอตี้ ดิ ล้อ 7. หลงั เลกิ ใช้งานให้ปิ ดไฟทุกดวง และตัดวงจรไฟฟ้ าภายในห้องทางาน เพอื่ ลดการใช้พลงั งาน 8. ห้าม ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของเครื่องใช้สานักงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ในขณะเครื่องกาลงั ทางาน 9. ห้าม ถอดอุปกรณ์ป้ องกนั อันตรายหรือเปิ ดแผงเครื่องใช้สานักงานท่ีมีอันตรายโดยเด็ดขาด กรณี เครื่องขดั ข้องให้ช่างมาทาการซ่อมแซมแก้ไข 10. 11. 12. ให้ตัดกระแสไฟฟ้ าของเคร่ืองใช้สานักงานทใ่ี ช้ไฟฟ้ าทกุ คร้ัง เมอ่ื จะปรับแต่งเครื่อง 11

ความปลอดภยั ในการทางานบนทสี่ ูง เมอื่ มกี ารทางานบนทสี่ ูงมากกว่า 2 เมตร ขนึ้ ไป จะต้องมีการแจ้งหรือติดประกาศให้ทราบทั่วกนั และต้องก้นั เขตอนั ตรายเพอ่ื เตือนป้ องกนั พนักงาน 1. หากมอี าการผดิ ปกติ ,เจ็บป่ วยต้องหยดุ ทางานและรายงานหัวหน้างานให้ทราบทนั ที 2. บริเวณทไ่ี ม่มีราวเกาะ หรือเคร่ืองป้ องกนั ชนิดอน่ื ให้คาดเขม็ ขดั นิรภยั และก่อนใช้งานควรตรวจสอบ สภาพของเขม็ ขดั นิรภยั ทุกคร้ัง 3. อย่าวางเคร่ืองมอื และวสั ดุอน่ื ๆ ในตาแหน่งทอ่ี าจจะตกลงมาได้ 4. อย่าโยนหรือขว้างเคร่ืองมอื หรือวสั ดุอนื่ ๆ ในตาแหน่งทอี่ าจจะตกลงมาได้ ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองมือช่าง 1. เลอื กใช้เคร่ืองมือทเ่ี หมาะสมกบั งานทท่ี า 2. รักษาเครื่องมอื ให้อยู่ในสภาพทด่ี ีอยู่เสมอ ตรวจสอบสภาพก่อนใช้งานทกุ คร้ัง 3. ซ่อมแซม หรือหาเคร่ืองมอื ใหม่ทดแทนเคร่ืองมอื ทช่ี ารุดทนั ที 4. ล้างนา้ มนั จากเครื่องมอื หรือชิ้นงานก่อนการใช้งาน และทงิ้ ขยะตามชนิด/ประเภทของขยะ 5. ตรวจสอบและปฏบิ ตั ิตามข้อแนะนาการใช้เคร่ืองมอื 6. จบั หรือถือเครื่องมอื ให้กระชับ 7. ก่อนเร่ิมงานต้องตรวจสอบสภาพต่างๆ โดยรอบหรือบริเวณพนื้ ทท่ี ที่ างานก่อนทกุ คร้ัง 12 05

ความปลอดภยั ในการทางานกบั เคร่ืองจกั ร 1. ใช้เคร่ืองจักรได้เฉพาะคนทม่ี อี านาจหน้าทเ่ี ท่าน้ัน และการใช้ต้องใช้อย่างถูกต้อง 2. เครื่องจักรทส่ี ั่งซื้อใหม่ หรือนามาใช้ในกระบวนการผลติ ต้องทาการขนึ้ ทะเบยี นและ ประเมนิ ความเสี่ยงก่อนใช้งานทุกคร้ัง 3. สวมใส่เสื้อผ้าทร่ี ัดกมุ อย่าสวมเสื้อปล่อยชายหรือแขนหลดุ ล่ยุ 4. เครื่องจกั รต่างๆ จะต้องมที คี่ รอบ หรือปกปิ ดป้ องส่วนที่ หมนุ ได้ และติดอยู่ในทขี่ องมนั เรียบร้อยแล้วเพอื่ ป้ องกนั อนั ตรายจากการยนื่ ชิ้นส่วนของร่างกายเข้าไปถูกเครื่องจักร 5. สวมใส่เครื่องป้ องกนั และใช้เคร่ืองมอื อย่างถูกต้องและ เหมาะสมกบั งาน ระวงั การใช้ถุงมอื 6. ในการตรวจสอบ ซ่อมแซม และทาความสะอาดเครื่องจักรน้ันต้องหยดุ เคร่ืองจักรให้เรียบร้อย และมเี คร่ืองหมายชี้บอกหรือติดป้ ายแขวนว่า “ห้าม” เดินเคร่ืองจักร และนาขยะทเ่ี กดิ จากความ สะอาด ทงิ้ ตามชนิด / ประเภทของขยะ เพอื่ ลดผลกระทบทม่ี ตี ่อสิ่งแวดล้อม 7. รักษาเคร่ืองจกั รให้สะอาดอยู่เสมอ ตรวจสภาพของเครื่องจกั ร ก่อนใช้งานทกุ คร้ังหากมสี ่วนใดชารุดให้แจ้งหวั หน้างานทราบทนั ที 8. อย่าใช้เคร่ืองจกั รเกนิ กาลงั จะเกดิ อนั ตราย 9. เมอ่ื ต้องทางานร่วมกนั จะต้องแน่ใจว่าทกุ คนเข้าใจสัญญาณ ในการสื่อสารต่างๆ อย่างชัดเจนและถูกต้องตรงกนั 10. อย่าเข้าไปในส่วนทเ่ี ป็ นอนั ตราย หรือส่วนทม่ี กี าร เคลอื่ นไหวของเครื่องจกั รตลอดเวลา แต่ถ้า จาเป็ นต้องเข้าไปต้องแน่ใจว่าเครื่องจักรได้ หยุดเดนิ เครื่องแล้ว 13 05

ความปลอดภัยในการทางานกบั วัตถุอนั ตรายหรือสารเคมี วตั ถุอนั ตราย หมายถงึ วตั ถุทส่ี ามารถลกุ ไหม้ได้ ติดไฟได้ และระเบิดได้ซึ่งวตั ถุอนั ตรายเหล่านีจ้ ะมกี ฎหมาย ควบคุมพเิ ศษ และมขี ้อบงั คบั ในการทางานโดยเฉพาะอกี ด้วย  พนื้ ทจี่ ดั เกบ็ วตั ถุอนั ตรายหรือสารเคมี ต้องมกี ารระบายอากาศทดี่ ี  กาหนดผู้ทสี่ ามารถเข้า-ออก พนื้ ทแ่ี ละมปี ้ ายบ่งชี้ ชัดเจนไว้หน้าทางเข้า-ออก  ห้าม ผู้ไม่มหี น้าทเ่ี กย่ี วข้องเข้า-ออก พนื้ ทจี่ ดั เกบ็ สารเคมแี ละวตั ถุอนั ตรายเด็ดขาด  ผู้ปฏบิ ตั งิ านต้องสวมใส่อปุ กรณ์ PPE เช่น หน้ากาก แว่นตาถุงมอื ทุกคร้ังก่อนเร่ิมทางาน  ถ้าได้รับอุบัติเหตุ ผู้เข้าทาการช่วยเหลือจะต้องรีบขนย้ายผู้ป่ วยออกไปสู่บริเวณท่ีโล่งโดยเร็วที่สุด และ ปฏบิ ตั ติ าม MSDS ของสารเคมนี ้ันๆ  หีบห่อหรือภาชนะบรรจุสารเคมที ุกชนิดต้องมสี ลากบ่งชี้ทชี่ ัดเจน  ก่อนทางานต้องทราบชนิดและอนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ จาก MSDS  หลกี เลย่ี งการสัมผสั สารเคมโี ดยตรง  ห้าม รับประทานอาหาร เคร่ืองดื่ม หรือสูบบุหรี่ ขณะทางานกบั สารเคมี  ก่อนทานอาหาร สูบบุหร่ี หรือเข้าห้องนา้ ต้องถอดอปุ กรณ์ ป้ องกนั อนั ตราย และล้างมอื ให้สะอาดก่อนทกุ คร้ัง  ห้าม ผู้ทไ่ี ม่มหี น้าทเ่ี กย่ี วข้องทางานเกย่ี วกบั สารเคมี  หากสารเคมหี ก ต้องรายงานผู้บังคบั บัญชา ทาการกาจดั ตามวธิ แี นะนาของคู่มอื  อปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรายทใี่ ช้แล้วต้องทาความสะอาด หรือทาลายทงิ้ ตามคาแนะนา  เมอ่ื ทางานเสร็จต้องล้างมอื อาบนา้ และผลดั เปลย่ี นเสื้อผ้า  การเกบ็ สารเคมคี วรแยกเกบ็ ให้เป็ นระเบียบตามชนิดและประเภท ของสารเคมี  เมอ่ื สารเคมกี ระเด็นโดนผวิ หนัง  รีบล้างบริเวณทโ่ี ดนสารเคมที นั ทใี นล้างอย่างน้อย 15 นาที  ถอดเสื้อผ้าทถ่ี ูกสารเคมอี อกทนั ที หากรุนแรงมาให้ล้างนา้ อกี คร้ัง  เมอื่ สารเคมกี ระเดน็ เข้าตาควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้  ไปทอี่ ่างล้างตาฉุกเฉินทใ่ี กล้ทสี่ ุด  ลมื ตาตลอดเวลาในนา้ โดยให้นา้ ไหลผ่านตาประมาณ 15 นาที  รีบพบแพทย์หรือพยาบาลทนั ที จัดเกบ็ วสั ดุดูดซับสารเคมหี ลงั ทาความสะอาดพนื้ ท่ี เขยี นป้ ายบ่งชี้และแยกทงิ้ ตามประเภท/ชนิดของขยะ 14 05

ความปลอดภัยในการเคลอื่ นย้ายวสั ดสุ ิ่งของหรือยกของหนัก การยกส่ิงของ หรือเคล่ือนย้ายสิ่งของใดๆ จะต้องรู้จักวิธีท่ีถูกต้อง หากทาไม่ถูกวิธีแล้วอาจก่อให้เกิด อนั ตรายได้ ซึ่งการยกของหนักตามมาตรฐานและข้อกาหนดตามกฏหมาย มกี ารแบ่งประเภทไว้ดงั นี้ พนักงานชาย ต้องยกของหนักไม่เกนิ 50 กโิ ลกรัม พนักงานหญงิ ต้องยกของหนักไม่เกนิ 25 กโิ ลกรัม ท้งั ชายและหญิง หากต้องยกของหนักเกนิ ทกี่ าหนด จะต้องหาคนช่วย หรือต้องใช้เคร่ือง ทุ่นแรงในการช่วยยก การเคลอื่ นย้ายสิ่งของมวี ธิ ีทแ่ี ตกต่างกนั ไป ดังนี้ การเคลอื่ นย้ายด้วยมือ 1. พจิ ารณาดูความสามารถด้านร่างกายของตวั เอง “ยกไหวหรือไม่” 2. วางเท้าให้ห่างจากวตั ถุประมาณ 8-12 นิว้ แยกขาออกเลก็ น้อย เพอ่ื การทรงตัวทด่ี ี 3. ย่อตวั ลงหรือนั่งยองๆ โดยให้หลงั ตรง แล้วจบั ของน้ันให้มน่ั คงด้วยฝ่ ามอื 4. ยกวตั ถุขนึ้ ตรงๆ โดยให้เข่าเป็ นส่วนทร่ี ับนา้ หนักหลงั ตรงให้ใช้กาลงั ขา อย่าใช้กาลงั ของส่วนหลงั เป็ นอนั ขาด 5. การวางวตั ถุลง กใ็ ห้ใช้หลกั การเดยี วกนั กบั การยกของขนึ้ การเคลอ่ื นย้ายด้วยรถเขน็ หรือเครื่องทุ้นแรง รถเข็นโดยทั่วไปมีอยู่ 4 ล้อ หากน้าหนักบรรทุกเบา ควรใช้รถเข็น 2 ล้อ ถ้าน้าหนักมากควรใช้ 4 ล้อ หรือใช้ Hand Lift  การเขน็ รถเขน็ ควรใช้ดัน ไม่ควรดงึ ให้เลอื่ น  ห้าม วางของบนรถเขน็ สูงเกนิ ไป จะทาให้มองไม่เห็นทาง หรือทา ให้ของตกหล่นเสียหาย  การเขน็ รถ ลงทางทล่ี าดชัน อาจจะเกดิ อนั ตรายได้ต้องมคี น ช่วยพยงุ หรือลดการไหลของรถ 15 05

ความปลอดภยั ในการขับรถ ForkLift การเคลอ่ื นย้ายโดยใช้รถยก ( Fork Lift ) การใช้รถชนิดนี้ จะต้องมที กั ษะในการใช้เป็ นพเิ ศษ  ให้สัญญาณก่อนทกุ คร้ังเมอ่ื จะทาการยก และแน่ใจว่าไม่มสี ิ่งใดกดี ขวาง  ควรยกของให้สูงจากพนื้ ประมาณ 6 นิว้ ไม่ควรยกให้สูง จนเกนิ ไปจะเกดิ อนั ตราย  ในการยกจะต้องให้ของทอี่ ยู่บนงาของรถหมดทกุ ส่วน และ ให้นา้ หนักสมดุลกนั ท้งั สองข้าง แต่ถ้าของทย่ี กมขี นาดใหญ่ กว่าช่วงยาวของงา ควรใช้เขม็ ขดั รัดให้แขง็ แรง  ถ้าขบั ลงทางลาดและมขี องควรใช้เกยี ร์ต่าและเอาท้ายลง  ห้าม บรรทุกของเกนิ กว่าพกิ ดั ของรถยกทกี่ าหนดไว้  เมอื่ ต้องการเลยี้ วในทางแยก หรือเข้าประตู ควรหยดุ รถ และ ให้สัญญาณก่อนเคลอ่ื นรถต่อไปได้  ผู้ขบั ขไ่ี ม่ควรอนุญาตให้คนอน่ื เกาะบนรถหรือบนของกาลงั ยก เป็ นอนั เดด็ ขาด  เมอ่ื เลกิ ใช้ต้องปล่อยงาให้ลงตา่ แตะพนื้ ในลกั ษณะวางขนาน ดบั เครื่อง เข้าห้ามล้อ  ต้องให้สัญญานเสียงหรือไฟกระพริบเวลารถยกวง่ิ ถอยหลงั  ห้าม นาพาเลททชี่ ารุดมาใช้โดยเดด็ ขาด  เมอ่ื ต้องการใช้รถยกในเวลากลางคนื หรือในสถานทท่ี มี่ แี สง สว่างไม่เพยี งพอต้องใช้ไฟส่องสว่างทางข้างหน้า ทาความสะอาดรถยก ทกุ คร้ังหลงั เลกิ ใช้งาน และทงิ้ ขยะทเี่ กดิ ขนึ้ ตาม ชนิด /ประเภทของขยะ 16 05

ความปลอดภยั ในงานตดั งานเช่ือม และงานเจยี รโลหะ  ห้าม เช่ือมหรือตัดภาชนะ (เช่นถัง กระป๋ อง ฯลฯ ) ทใ่ี ช้บรรจุวตั ถุไวไฟ  พนักงานทที่ าการเช่ือมโลหะต้องสวมอปุ กรณ์ป้ องกนั ดวงตา และอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล PPE  ระวงั ! อย่าให้เถ้าหรือประกายไฟจากการเชื่อมสัมผสั วสั ดุตดิ ไฟ เช่น ก๊าซของ ติดไฟได้  ต้องระวงั ในการตดั หรือเช่ือมโลหะในบริเวณทอ่ี ยู่เหนือศีรษะ เพราะสะเกด็ ของการ เชื่อมหรือประกายไฟ อาจก่อให้เกดิ อคั คภี ัยหรือเป็ นอนั ตรายต่อพนักงาน การเช่ือมด้วยไฟฟ้ า  พนักงานเช่ือมโลหะต้องตรวจสอบสายเชื่อม สายดนิ และสายต่อ ก่อนทางานหากพบว่าฉนวนหุ้มชารุด เสียหายต้องเปลยี่ นทนั ที  ควรต่อสายดินให้ใกล้กบั ชิ้นงาน เพอ่ื ป้ องกนั กระแสตกค้าง  ไม่ม้วนสายไฟเพอื่ ป้ องกนั การสะสมความร้อน  เคร่ืองเช่ือมชนิดทเ่ี คลอื่ นทไี่ ด้ต้องต่อสายดิน  ขณะทาการเช่ือมควรมกี ารระบายอากาศ การเชื่อมและการตัดโลหะโดยใช้ก๊าซ  ระมดั ระวงั ในการยกและเคลอื่ นย้ายถังบรรจุก๊าซ  ควรเกบ็ ถงั ในทร่ี ่มห่างจากเปลวไฟ และความร้อน  วางถังในแนวต้ัง และยดึ อย่างแขง็ แรง  ก่อนการเคลอ่ื นย้ายควรครอบถังก๊าซให้เรียบร้อย  ถังออกซิเจนควรจดั เกบ็ แยกจากถงั ก๊าซเชื้อเพลงิ  เมอ่ื ต้องการเคลอื่ นย้ายถังก๊าซ และถังออกซิเจนให้วางถงั ลงในตะแกรง ตะกร้าหรืออปุ กรณ์อน่ื ๆ ทคี่ ล้ายกนั ห้ามใช้เชือกหรือลวดผูกมดั ถงั ก๊าซโดยตรง  ห้าม ใช้ถงั ก๊าซทร่ี ั่วทดสอบโดยการใช้สบู่  สายต่อออกซิเจน และก๊าซอะเซทลิ นี ต้องมอี ปุ กรณ์ป้ องกนั เปลวไฟ ติดต้ังอยู่หลงั ตัวควบคุมความดันก๊าซ การเจยี รโลหะ  จะต้องตดิ ต้ังเคร่ืองขดั ให้ยดึ แน่นกบั โต๊ะทมี่ น่ั คงและมฝี าครอบป้ องกนั อนั ตราย  ไม่ต้ังอตั รารอบหมนุ ของจานขดั เกนิ อตั รา  จานทสี่ ึก ชารุด ต้องเปลยี่ นใหม่  ผู้ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน ต้องสวมแว่นนิรภัย สวมเคร่ืองกรองอากาศ และถุงมอื ป้ องกนั เศษโลหะ 17 05

ความปลอดภยั ในการทางานเกยี่ วกบั ไฟฟ้ า การปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องตรวจวัดไฟฟ้ า จาเป็ นต้องมีใบอนุญาตปฏิบัติงาน รวมท้ังผู้ท่ีผ่านการฝึ กอบรม หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเท่าน้ันท่ีสามารถทางานเก่ยี วกบั ไฟฟ้ า ซ่อมหรือต่อ วงจรเครื่องมอื ไฟฟ้ าได้ 1. พนักงานที่ทางานเก่ียวกับการซ่อมแซม ต่อเติม ติดต้ังอุปกรณ์ไฟฟ้ าต้องสวมเสื้อผ้าที่แห้ง และสวม รองเท้าพนื้ ยางพร้อมท้งั ตดั กระแสไฟฟ้ า 2. เคร่ืองมือที่ใช้งานกับไฟฟ้ าชนิดมือจับ ต้องมีฉนวนซึ่งอยู่ในสภาพดีที่ด้ามจับไม่ควรนาอุปกรณ์ไฟฟ้ าท่ี ชารุดมาใช้งาน จนกว่าจะได้รับการซ่อมแซมให้เรียบร้อย 3. ในกรณที ม่ี กี ารปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ ซ่อมแซม หรือติดต้งั ไฟฟ้ าต้องตดั สวติ ซ์ ลอ็ คกญุ แจ และแขวนป้ าย 4. ไม่นาอปุ กรณ์ไฟฟ้ าทช่ี ารุดมาใช้งานจนกว่าจะได้รับการซ่อมแซมให้เรียบร้อย 5. ตรวจสอบอปุ กรณ์ป้ องกนั ไฟฟ้ าดูด ไฟฟ้ าร่ัว ก่อนใช้อปุ กรณ์น้ันๆ เสมอ 6. การเปิ ดหรือปิ ดระบบไฟฟ้ า ต้องแน่ใจก่อนว่าปลอดภัยแล้ว 7. ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบอย่างเคร่งครัดเมอ่ื ทางานในพนื้ ทอี่ นั ตราย 8. ห้าม ใช้บนั ไดโลหะ และวสั ดุอน่ื ทเี่ ป็ นส่ือไฟฟ้ าขณะทางานเกย่ี วกบั ไฟฟ้ า 9. ห้าม ปฏบิ ตั ิงานขณะทยี่ งั มกี ระแสไฟฟ้ าอยู่ในระบบโดยเด็ดขาด แต่ถ้าไม่สามารถหลกี เลย่ี งได้จะต้องมี พนักงานอกี คนหนึ่ง อยู่ด้วยในขณะปฏบิ ัตงิ าน 10. ก่อนการลงมอื ปฏบิ ัติงานทเ่ี กย่ี วกบั ไฟฟ้ าต้องปฏบิ ตั ดิ ังนี้  ตัดการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าสู่วงจรทุกคร้ัง  ต้องมปี ้ ายแขวนอธบิ ายการทางาน ณ ตาแหน่งทม่ี กี ารหยุดทางานของเครื่อง 11. เมอื่ ทางานเกย่ี วกบั ไฟฟ้ าเรียบร้อยแล้วต้องปฏบิ ตั ิดงั นี้  ตรวจสอบให้แน่ใจว่าสายดิน และการทางานได้ตามปกติเหมอื นเดิม  ตดิ ต้ัง หรือปิ ดฝาครอบ และรอยต่อต่างๆ ให้เรียบร้อยก่อนทจี่ ะจ่ายกระแสไฟฟ้ า  เม่ือเคร่ืองไฟฟ้ าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ถูกจะเร่ิมเดินเครื่องใหม่ จาเป็ นต้องให้พนักงาน 2 คน ประสานงานกนั ทจี่ ุดหยดุ การทางานของเครื่อง เพอ่ื ให้แน่ใจว่าจะสามารถปฏบิ ัติการได้อย่างถูกต้อง 18 05

ความปลอดภยั ในการใช้ลฟิ ต์ขนส่งสินค้า ตรวจสภาพทั่วไปของลิฟต์เช่นประตูลฟิ ต์,กระเช้า,ป่ ุมกดลิฟต์,ไฟฟ้ าแสงสว่างเป็ นต้นทุกคร้ังก่อนใช้ งาน ห้ามวางสินค้ากระแทกกบั ประตูลฟิ ต์ ตรวจสภาพชิ้นงานทใ่ี ส่ในลฟิ ต์ เพอื่ ป้ องกนั ชิ้นงานไหลออกนอกประตูลฟิ ต์ ให้ปิ ดประตูลฟิ ต์เบาๆ ห้ามกระแทกประตูโดยเดด็ ขาด ปิ ดประตูลฟิ ต์ให้สนิททุกคร้ังหลงั เลกิ ใช้งาน และเอาลฟิ ต์ลงทุกคร้ัง ( ห้ามค้างไว้ ) เปิ ดประตูลฟิ ต์ทกุ คร้ังทมี่ กี ารเอาของออกจากลฟิ ต์ หากพบว่าลฟิ ต์ชารุด / เสียหายให้รีบแจ้งซ่อมบารุงทนั ที ห้ามหยอกล้อเล่นกนั ในขณะทางานโดยเด็ดขาด ห้ามโดยสารลฟิ ต์เด็ดขาด 19 05

สุขภาพอนามัย และโรคจากการทางาน องค์ประกอบทท่ี าให้เกดิ โรคจากการทางาน จาแนกออกได้เป็ น 3 องค์ประกอบดงั นี้ 1. ตัวเหตุของโรคหรือส่ิงทท่ี าให้เกดิ โรค หมายถงึ สาเหตุทท่ี าให้เกดิ โรคจากการประกอบอาชีพ แบ่งออกได้ เป็ นกล่มุ ใหญ่ๆ คอื  ตวั เหตุทางเคมี หมายถงึ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของก๊าซ ไอสาร ละออง ฝ่ นุ หรือตัวทาละลายเช่น ยาฆ่าแมลง ฝ่ ุนใยหิน สารตะกวั่ แมงกานีส ปรอท  ตวั เหตุทางกายภาพ เช่น เสียง ความร้อน สั่นสะเทอื น และรังสีชนิดแตกตวั เป็ นต้น  ตวั เหตุทางชีวภาพ ได้แก่ ไวรัส แบคทเี รีย เชื้อรา พยาธิ และฝ่ ุนเส้นใยพชื เป็ นต้น 2. คนทท่ี างาน เป็ นองค์ประกอบสาคญั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การได้รับตวั เหตุของโรคและตอบ สนองต่อโรคน้ัน สิ่งทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการเกดิ โรคมหี ลายประการ เช่น  กรรมพนั ธ์ุ ,เชื้อชาติ ,เพศ และอายุ  พนื้ ฐานสุขภาพก่อนเข้าทางาน เช่น มโี รค /ความเจ็บป่ วยแฝงเร้นอยู่ และเมอ่ื ได้รับตัวเหตุของโรคบาง ชนิดเข้าไปอาจทาให้เกดิ โรคได้เร็วขนึ้  ภาวะโภชนาการของแต่ละบุคคล  พฤติกรรมในการทางาน ,อนามยั ส่วนบุคคล ,นิสัย  พนื้ ฐานการศึกษาทไี่ ม่เท่ากนั 3. ประเภทของโรคจากการทางาน ซ่ึงแบ่งได้เป็ น 6 ประเภทดังนี้ โรคปอดจากการทางาน โรคผวิ หนังจากการทางาน โรคจากการทางานเกดิ จากตัวเหตุทางเคมี โรคมะเร็งจากการทางาน โรคจากตวั เหตุทางชีวภาพ ได้แก่ ไวรัส แบคทเี รีย เชื้อรา พยาธิ และฝ่ นุ เส้นใยพชื โรคจากตัวเหตุทางกายภาพ เช่น เสียงดัง ความร้อน ความสั่นสะเทอื น รังสีชนิดแตกตัว เป็ นต้น 20

การสวมใส่อปุ กรณ์ความปลอดภยั ส่วนบุคคล หมวกนิรภยั ตามแบบทก่ี าหนด รดั สายหมวกนริ ภยั ใตค้ างใหเ้ รยี บรอ้ ย สวมใสแ่ ว่นตานริ ภยั ป้องกนั การ ชดุ ปฏบิ ตั งิ านควรซกั ใหส้ ะอาด กระเดน็ , สารเคมี (ถา้ มคี ราบน้ามนั บนเสอ้ื ผา้ อาจมอี นั ตราย ไดเ้ ม่อื ปฏบิ ตั งิ านกบั เปลวไฟ สวมเสอ้ื แขนยาวถา้ ตอ้ งปฏบิ ตั งิ าน ทอ่ี าจเกดิ อนั ตรายจากเปลวไฟ, ตดิ กระดมุ เสอ้ื ใหเ้ รยี บรอ้ ย สารเคมี ซบั ในของกระเป๋ าควรพบั เกบ็ ไวใ้ น กระเป๋ ากางเกงใหเ้ รยี บรอ้ ย ในกระเป๋ าเสอ้ื ไมค่ วรใสข่ องมคี ม สวมใสร่ องเทา้ ใหเ้ หมาะสมกบั หรอื สง่ิ ทอ่ี าจเกดิ อนั ตรายได้ การปฏบิ ตั งิ าน สวมถุงมอื ใหเ้ หมาะสมกบั งานทจ่ี ะปฏบิ ตั ิ ปลายแขนเสอ้ื หรอื ชาย กางเกงตอ้ งตดิ กระดมุ หรอื เหนบ็ ชายใหเ้ รยี บรอ้ ย 21

การรายงานและสอบสวนอบุ ตั เิ หตุ / อุบตั กิ ารณ์ อบุ ตั ิเหตุ/ อบุ ัตกิ ารณ์ใดๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ถือเป็ นความจาเป็ นอย่างยิ่งทจ่ี ะต้องรายงานและแจ้งให้ทราบโดยท่ัว กัน เพื่อให้มีการดาเนินการ สอบสวน และแก้ไขตามสาเหตุท่ีพบป้ องกันเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นอีกโดยมี สาเหตุคล้ายคลงึ กนั ในอนาคต การรายงานอุบตั เิ หตุ กาหนดให้มีการรายงาน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทุกชนิดที่เป็ นสาเหตุ หรืออาจทาให้เกิดการบาดเจ็บ , ทรัพย์สินเสียหาย หรือเป็ นการทาลายสภาพแวดล้อม ให้ผู้บริหารทเ่ี กยี่ วข้องในพนื้ ทท่ี เ่ี กดิ เหตุรับทราบ เมื่อเกดิ เหตุการณ์ข้างต้น ควรมีการรายงานโดยวาจาให้หัวหน้างานในพนื้ ท่ีรับทราบและเมื่อสามารถ ควบคุมสถานการณ์ได้ท้ังหมดแล้ว จะต้องเขียนรายงานให้เร็วท่ีสุดเท่าท่ีกระทาได้ โดยใช้เวลาไม่เกิน 24 ช่ัวโมงหลงั เกดิ เหตุส่งมาทหี่ ้องพยาบาล การสอบสวนอุบตั เิ หตุ หากเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ เป็ นเหตุฉุกเฉิน และได้มกี ารปฏบิ ตั ิตามแผนระงบั เหตุฉุกเฉินแล้ว ผู้บริหาร จะต้อง ทาการสอบสวนเหตุการณ์ท่ีเกดิ ขึน้ เพอ่ื หาสาเหตุพืน้ ฐาน (Basic Causes) เพอ่ื นาไปสู่การแก้ไข และเพอื่ ให้ เป็ นตามข้อกาหนดของกฎหมาย กรณที ีอ่ ุบตั ิเหตุเกดิ ขนึ้ หัวหน้างานร่วมกบั เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยหรือทมี สอบสวนต้องทาการสอบสวน เพอื่ หาสาเหตุและทบทวนสถติ ิอบุ ัติเหตุ เพอื่ ระบุชี้ถงึ ปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ และดูแนวโน้มของอบุ ัตเิ หตุ เพอื่ หาทาง ควบคุม ป้ องกนั ก่อนทเ่ี กดิ ความสูญเสียมากขนึ้ 22

ประเภทและชนิดของอบุ ัตเิ หตุ / อุบตั กิ ารณ์ต้องมีรายงาน 1. เหตุการณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ เนื่องจากการปฏบิ ัตงิ าน ด้งั นี้ 1.1 การเสียชีวติ หรือพกิ าร 1.2 การบาดเจบ็ /เจ็บป่ วย ซึ่งทาให้สูญเสียเวลางาน (Loss-Time) 1.3 การบาดเจบ็ /เจ็บป่ วย ทไ่ี ม่ต้องหยุดงาน (Minor) 1.4 อบุ ัตเิ หตุร้ายแรงทตี่ ้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 1.5 อบุ ัตเิ หตุไม่ร้ายแรงทตี่ ้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 1.6 อบุ ตั เิ หตุร้ายแรงทไี่ ด้รับการปฐมพยาบาล 1.7 อบุ ัตเิ หตุไม่ร้ายแรงทไี่ ด้รับการปฐมพยาบาล 1.8 อบุ ตั เิ หตุเกยี่ วกบั ยานพาหนะ และการขนส่ง 1.9 อุบัติเหตุท่ีมีน้ามัน สารเคมี หก ล้น หรือ ร่ัวไหล หรือเหตุการณ์ใดๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาด้าน ส่ิงแวดล้อม 1.10 อบุ ัตเิ หตุเกยี่ วกบั ก๊าซ LPG /NGV/N2 รั่วไหล 1.11 อบุ ัตเิ หตุทมี่ ที รัพย์สิน ,อปุ กรณ์เสียหาย 1.12 อบุ ตั ิเหตุทเ่ี กดิ กบั ผู้รับเหมา หรือแรงงานจ้างเหมา 23

องค์ประกอบของการตดิ ไฟ ไฟจะเกดิ ขนึ้ ได้ต้องมอี งค์ประกอบ 3 ประการด้วยกนั คอื เราสามารถป้ องกันการติดไฟได้ โดยแยกองค์ประกอบ 2 อย่าง ออกจากองค์ประกอบที่ 3 เอา องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งออกจากอกี สององค์ประกอบกจ็ ะสามารถดบั ไฟได้ ประเภทของไฟและเครื่องดบั เพลงิ 1. อคั คภี ยั ประเภท A ได้แก่ อคั คภี ยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ จาก เช่น ไม้ กระดาษ เศษ ผ้า และขยะ อคั คภี ยั เหล่านี้ ใช้นา้ ธรรมดาหรือนา้ ยาดบั เพลงิ ได้ 2. อคั คภี ยั ประเภท B ได้แก่ อคั คภี ยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากนา้ มนั เชื้อเพลงิ ต่างๆ เช่น นา้ มนั สามารถดบั ได้โดยใช้เครื่องดบั เพลงิ แบบทฉี่ ีดเป็ นฟองหรือแบบ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ Co2 หรือ ผงเคมแี ห้ง Dry Chemical 3. อคั คภี ัยประเภท C ได้แก่ อคั คภี ยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากเครื่องอปุ กรณ์ไฟฟ้ า สาร ดับเพลงิ ทใ่ี ช้ได้มเี ฉพาะนา้ ยา ชนิดทไ่ี ม่เป็ นสื่อไฟฟ้ าเท่าน้ัน เช่น เคร่ือง ดบั เพลงิ แบบก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ Co2 หรือผงเคมแี ห้ง Dry Chemical 4. อคั คภี ัยประเภท D ได้แก่ อคั คภี ยั ทเ่ี กดิ จากเชื้อเพลงิ ทเี่ ป็ นโลหะ เช่น แมกนีเซียม ลเิ ทยี ม และโซเดียม เชื้อเพลงิ จะมคี วามร้อนสูงและลกุ ไหม้ ตลอดเวลา ต้องใช้เครื่องดับเพลงิ และวธิ ีการชนิดพเิ ศษเท่าน้ัน 24

การป้ องกนั และระงบั อคั คภี ยั การป้ องกนั อคั คภี ยั เป็ นหน้าทข่ี องทุกคน ทตี่ ้องปฏบิ ัตอิ ย่างเคร่งครัด สถานทที่ างาน สถานทเี่ กบ็ วสั ดุหรืออปุ กรณ์ ต้องสะอาดและเป็ นระเบยี บเรียบร้อย ห้ามสูบบุหร่ี หรือทาให้เกดิ ประกายไฟในบริเวณทอ่ี าจก่อให้เกดิ อคั คภี ยั ได้ ห้ามทงิ้ ก้นบุหร่ี หรือวตั ถุทมี่ คี วามร้อนลงในตะกร้า ถงั ขยะ หรือสิ่งรองรับอน่ื ๆ ทอ่ี าจก่อให้เกดิ อคั คภี ัย เชื้อเพลงิ สารไวไฟ หรือสารเคมี ต้องจัดเกบ็ และขน ย้ายให้ถูกวธิ ีและใช้ความระมดั ระวงั เป็ นพเิ ศษ หมน่ั ตรวจสอบอปุ กรณ์ป้ องกนั และระงบั อคั คภี ยั ห้ามมสี ่ิงของวางกดี ขวางเด็ดขาด เส้นทางหนีไฟ ทางเดนิ ต่างๆ จะต้องรักษาความสะอาด และไม่วางสิ่งของกดี ขวางทางเดด็ ขาด เศษผ้า เศษวสั ดุทเี่ ปื้ อนนา้ มนั เศษวัสดุอนื่ ๆ ทตี่ ิดไฟได้จะต้องแยกประเภทให้ชัดเจน ต้องฝึ กซ้อมการดบั เพลงิ เบอื้ งต้น และซ้อมอพยพหนีไฟ ตามระยะเวลาทก่ี าหนด ผู้รับเหมาช่วง ต้องอยู่ในความควบคุมดูแลของผู้ควบคุมงาน แผนฉุกเฉินเมอื่ เกดิ เหตเุ พลงิ ไหม้และอพยพหนีไฟ 1. ให้พนักงานทีพ่ บเหตุเพลงิ ไหม้ ตะโกนเสียงดังว่า \"ไฟไหม้\" และชี้ไปที่จุดเกดิ เหตุพร้อม กบั ประเมิน สถานการณ์ พร้อมปฏบิ ัติตามข้นั ตอนต่อไปนี้ ถ้าดบั ได้ ให้ดาเนินการระงับเหตุในทนั ทดี ้วยถงั ดับเพลงิ ทอี่ ยู่ใกล้ตามชนิดของเชื้อเพลงิ รายงานหัวหน้างาน ๆ รายงานผู้จดั การฝ่ ายต้นสังกดั และแจ้งเจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภัย จป. / หวั หน้างาน /ฝ่ ายช่าง เข้าสารวจความเสียหาย และผลกระทบต่อผลติ ภัณฑ์และส่ิงแวดล้อม จป. รายงานผู้อานวยการดับเพลงิ ถ้าดับไม่ได้ ให้แจ้งเพอื่ นร่วมงานและหัวหน้างาน แจ้งให้ผู้อานวยการดับเพลงิ ตดั สินใจใช้ แผนอพยพ หนีไฟ เมื่อผู้อานวยการดับเพลงิ รับทราบและแจ้งให้ประชาสัมพนั ธ์ประกาศพร้อมกดสัญญาณแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ เพอื่ ให้ทุกคนออกนอกอาคาร 25

แผนการอพยพหนีไฟ 2. เม่ือสัญญาณแจ้งเหตุเพลงิ ไหม้ดังขึ้น และมีคาสั่งให้อพยพหนีอคั คีภัยได้ ให้พนักงานปฏิบัติตามลาดับ ข้นั ต่างๆ ดงั นี้ หยดุ ทางานทนั ที หรือหากอยู่ในห้องนา้ กใ็ ห้รีบออกจากห้องนา้ โดยเร็ว เกบ็ ทรัพย์สินมคี ่าและเอกสารสาคญั เตรียมอพยพ ถอดปลกั๊ ไฟ เครื่องใช้ไฟฟ้ าและเครื่องจักรท้งั หมด ออกจากพนื้ ที่ โดยใช้ทางออกฉุกเฉิน หรือตามเส้นทางหนีไฟทก่ี าหนด เม่ือออกจากอาคารได้แล้วให้พนักงานทุกคนไปรวมกนั ณ ที่รวมพลโดยแยกออกเป็ นส่วนงานไม่ ปะปน เพอ่ื ตรวจสอบ ไม่ให้มพี นักงานติดค้างอยู่ในอาคาร หวั หน้างาน/ผู้ตรวจสอบรายชื่อและรายงานต่อผู้อานวยการควบคุมเหตุฉุกเฉิน ณ จุดรวมพล ถ้ายอดครบ ผู้อานวยการควบคุมเหตุฉุกเฉินแจ้งพนักงานอยู่ในจุดรวมพล จนกว่าเหตุการณ์สงบ ถ้ายอดไม่ครบ ผู้อานวยการควบคุมเหตุฉุกเฉินส่ังหน่วยค้นหาเข้าทาการค้นหาและช่วยเหลอื ทมี ฉุกเฉินออกมายงั จุดรวมพล และรายงานตัวต่อ ผู้อานวยการควบคุมเหตุฉุกเฉิน เพอื่ รอรับคาสั่ง หากมีผู้บาดเจ็บหรือสูญหาย ผู้อานวยควบคุมเหตุฉุกเฉินสั่งการให้ทีมค้นหาช่วยเหลือและทีม พยาบาล ทาการช่วยเหลอื ทมี พยาบาลเข้าทาการปฐมพยาบาลหากไม่ดขี นึ้ ให้ทีมอพยพเคลอ่ื นย้ายนาผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาล ทใี่ กล้ทสี่ ุด ห้าม พูดหรือรายงานข้อมูลใดๆ เกย่ี วกับเหตุการณ์ฉุกเฉินให้กบั บุคคลภายนอกหรือนักข่าวก่อน ได้รับอนุญาต ซึ่งอาจส่งผลเสียร้ายแรงต่อบริษทั ฯ ห้ามบุคคลภายนอก หรือ นักข่าว เข้า-ออก ขณะเกดิ เหตุ ผู้อานวยควบคุมเหตุฉุกเฉิน สั่งการจนกว่าเหตุการณ์จะสงบ หากมีความรุนแรง และกระจายไปยังชุมชน หรือบริษทั ใกล้เคียง ฝ่ ายประสานงาน ต้องทาการแจ้ง หวั หน้าชุมชนและบริษทั ข้างเคยี งรับทราบและอพยพออกจากเส้นทางของกล่มุ ควนั ไหลผ่าน 26

แผนฉุกเฉินกรณกี ๊าซแอลพจี ี (LPG) ร่ัวไหล การปฏบิ ัติเพอ่ื ให้เกดิ ความปลอดภัย  ถ้าสูดดม หรือหายใจเข้าไปมากๆ อาจทาให้ขาดอากาศหายใจ ให้รีบนาผู้ป่ วยออกไปยงั พนื้ ทมี่ อี ากาศบริสุทธ์ิ  กรณกี ๊าซเข้าตาอาจทาให้เยอื่ หุ้มตาอกั เสบ ให้รีบล้างตาด้วยนา้ สะอาดแล้วนาส่งแพทย์ทนั ที  ถ้าถูกผวิ หนัง เน่ืองจากก๊าซมคี วามเยน็ อาจทาผวิ หนังไหม้  ภาชนะโลหะทใี่ ช้เกบ็ LPG ต้องมกี ารต่อสายดิน และเกบ็ ในทอ่ี ากาศถ่ายเทได้สะดวก  ในการขนย้ายและจดั เกบ็ จะต้องหลกี เลยี่ งบริเวณทมี่ ปี ระกายไฟ  กรณีเกดิ ก๊าซรั่วไหล ถ้าไม่สามารถหยุดได้ให้เคลอื่ นย้ายถังใบน้ันไปยังบริเวณทีโ่ ล่ง แล้วปล่อยก๊าซออกให้ หมด บริเวณทอี่ บั อากาศหากมกี ๊าซสะสมอาจทาให้เกดิ การระเบิด  สารทใี่ ช้ในการดบั เพลงิ เช่น ผงเคมแี ห้ง, นา้ , คาร์บอนไดออกไซด์, โฟม กรณกี ๊าซ LPG รั่วไหล (ถงั ใหญ่) ผู้ควบคุมสถานีจ่ายก๊าซ LPG ตรวจพบ/ได้รับแจ้งว่า LPG รั่วไหล ให้ทาการแก้ไขทนั ที ผู้ควบคุมสถานีจ่ายก๊าซ LPG เข้าทาการระงับเบอื้ งต้น และปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนต่อไปนี้ ถ้าควบคุมได้ รายงานหวั หน้างาน และแจ้งเจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภยั หัวหน้างาน /ฝ่ ายช่าง /จป. เข้าทาการสอบสวนและสารวจความเสียหาย และผลกระทบต่อผลติ ภัณฑ์และ ส่ิงแวดล้อมทเี่ กดิ ขนึ้ จป. รายงานผู้อานวยการ ถ้าควบคุมไม่ได้และอาจเกดิ ไฟลกุ ไหม้ได้ ผู้อานวยการส่ังการให้ทมี ปฏบิ ัตกิ ารเข้าระงบั เหตุ ผู้อานวยการ ตัดสินใจใช้ แผนอพยพ และแจ้งให้ประชาสัมพนั ธ์ประกาศพร้อมกดสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉิน เพอื่ ให้ทกุ คนออกนอกอาคาร แผนอพยพ ให้ใช้แผนข้ันตอนปฏบิ ัติเช่นเดียวกบั แผนอพยพหนีไฟ ไปยงั ณ จุดรวมพล หากทศิ ทางลม พดั ไปยงั จุดรวมพลให้จุดสารอง เช่น ลานจอดรถ หรือ พนื้ ทอ่ี น่ื ตามความเหมาะสม หากมคี วามรุนแรงและกระจายไปยังชุมชน หรือบริษทั ใกล้เคยี ง ฝ่ ายประสานงาน ต้องทาการแจ้งหัวหน้า ชุมชนและบริษัทข้างเคียงรับทราบและอพยพออกจากเส้ นทางของก๊าซ LPG ไหลผ่าน และแจ้ง หน่วยงานภายนอกและภาครัฐ เพอ่ื ระงับเหตุ จป. / หัวหน้างาน /ฝ่ ายช่าง เข้าทาการสอบสวนและสารวจ ความเสียหายและผลกระทบต่อผลติ ภัณฑ์และส่ิงแวดล้อมทเี่ กดิ ขนึ้ จป. รายงานผู้อานวยการ 27

แผนฉุกเฉินกรณสี ารเคมีหกรั่วไหล  พนักงานท่ีพบเหตุสารเคมีหกรั่วไหลแจ้งเพื่อนร่วมงาน/หัวหน้างาน และเข้าระงับเหตุในเบือ้ งต้นด้วย อปุ กรณ์ PPE ทจ่ี ดั ไว้ให้ และปฏบิ ัติตามข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้  ถ้าระงบั ได้ให้รายงานหวั หน้างาน , จป. และผู้จดั การแผนกความปลอดภัย  หากไม่สามารถระงับเหตุได้ให้แจ้งหัวหน้างาน และ จป. เพื่อแจ้งทีมฉุกเฉินเข้าระงับเหตุและแจ้ง ผู้อานวยการเหตุฉุกเฉิน  ผู้อานวยการเหตุฉุกเฉิน / จป./ ทมี ฉุกเฉิน เข้าตรวจสอบพนื้ ที่ และส่ังการให้ทมี ฉุกเฉินทาการปิ ดก้นั พนื้ ที่ กนั ผู้ไม่มสี ่วนเกยี่ วข้อง  ผู้อานวยการเหตุฉุกเฉิน แจ้งประชาสัมพนั ธ์ประกาศเสียงตามสาย และกดสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉิน (กรณี สารเคมที รี่ ั่วไหล เป็ นชนิดทมี่ คี วามเป็ นพษิ หรือมอี นั ตรายร้ายแรง)  ประชาสัมพนั ธ์ประกาศเรียกทมี ฉุกเฉินและระบุสถานทเ่ี กดิ เหตุ  ทมี ฉุกเฉินทาการควบคุมสถานการณ์และระงบั เหตุสารเคมหี กรั่วไหล ถ้าควบคุมได้ รายงานผู้อานวยการเหตุฉุกเฉินประชาสัมพนั ธ์ประกาศเหตุสงบ ถ้าควบคุมไม่ได้ จป. แจ้งหน่วยงานภายนอกเพอ่ื ขอความช่วยเหลอื รายงานผู้อานวยการเหตุฉุกเฉินประชาสัมพนั ธ์ประกาศเหตุสงบ สัญลกั ษณ์ความปลอดภยั สี / ลกั ษณะ ความหมาย ตัวอย่างการใช้งาน เตอื น / ระวงั มีอนั ตราย ระวงั สารเคมอี นั ตราย, ระวงั ไฟฟ้ าแรงสูง บังคบั ให้ต้องปฏบิ ัติ ระวงั อนั ตรายจากเคร่ืองจักร , ระวงั ของมคี ม แสดงสภาวะปลอดภัย หยดุ / ห้าม บังคับให้ต้องสวมเคร่ืองป้ องกนั ส่วนบุคคล เครื่องหมายบงั คบั / แนะนา ทางหนีไฟ, ทางออกฉุกเฉิน, โทรศัพท์ฉุกเฉิน, ห้องพยาบาล, อ่างล้างตา/ฝักบัวชาระฉุกเฉิน ห้ามถ่ายรูป, ห้ามทานอาหาร, ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามตรงไป, หยดุ ตรวจ, จากดั ความเร็ว 28

เคร่ืองหมายความปลอดภยั ทีค่ วรรู้ ข้อควร ปฎบิ ัติกบั เคร่ืองหมายความปลอดภยั 1. ต้องทาความเข้าใจเคร่ืองหมายความปลอดภยั ทกุ เคร่ืองหมายอย่างถ่องแท้ 2. ห้าม เคลอื่ นย้ายตาแหน่งหรือนาเอาแผ่นป้ ายเคร่ืองหมายความปลอดภัยออก 3. เครื่องหมายความปลอดภยั ต้องสมบูรณ์ ชัดเจนและสะอาด 29 88

บทลงโทษ การลงโทษ  กฎข้อตกลง 1. ตักเตือนด้วยวาจา 2. ตักเตอื นด้วยลายลกั ษณ์อกั ษร 3. ออกใบเตอื น คร้ังที่ 1 ( สูงสุด 3 ใบเตอื น) ** ทุกใบเตือนมผี ลต่อเงินเดือนและโบนัส  พนักงานบริษัทฯ และหรือ พนักงานของผู้รับเหมา ที่ฝ่ าฝื นไม่ปฏิบัติตามคู่มือความปลอดภัยของ บริษทั ถือว่ามีความผดิ ตามกฎระเบียบของบริษัท ซ่ึงจะได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือน ภาคฑัณท์ หรือ ปลดออกจากงาน ตามระเบียบข้อบงั คบั ของบริษทั ฯ และกฎหมายแรงงาน (พ.ร.บ. แรงงาน ปี 2541) 30

เบอร์โทรฉุกเฉิน โรงพยาบาล 1. โรงพยาบาล พระน่ังเกล้า โทร 02 528 4567 2. โรงพยาบาลยนั ฮี โทร 02 879 0300 3. โรงพยาบาลชลประทาน โทร 0-2962-5731 4. โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รัตนาธเิ บศร์ โทร 0-2594-0020-65 5. โรงพยาบาลบาราศนราดูร โทร 0-2590-3400 6. โรงพยาบาลนนทเวช โทร 0-2589-0102-3 สถานีดับเพลงิ 7. สถานีดับเพลงิ เทศบาลนนทบุรี โทร 02 589 0489 8. สถานีดบั เพลงิ ท่าทราย โทร 02 952 8707 9. สถานีดับเพลงิ บางบวั ทอง โทร 02 571 7679 การไฟฟ้ า 10. การไฟฟ้ านนทบุรี โทร 02-902-5211 / 02-580-7480 / 02-588-4521 การประปา โทร 02 504 0123 11. การประปานครหลวง หลกั สี่ หน่วยงานช่วยเหลอื ต่างๆ 12. ป่ วยฉุกเฉิน ศูนย์นเรนทร โทร 1669 13. หมออาสา จส.100 โทร 027494636 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook