Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระครูศรีธวัชชัยคุณ วัดกลางปักธงชัย

พระครูศรีธวัชชัยคุณ วัดกลางปักธงชัย

Published by pakthongchaiwittaya, 2020-05-20 21:39:12

Description: ประวัติพระครูศรีธัชชัยคุณ เจ้าอาวาสวัดกลางปักธงชัย เจ้าคณะอำเภอปักธงชัย และประวัติการก่อตั้งวัดกลางปักธงชัย เรียบเรียงข้อมูลโดย นายสุรชัย บุญญานุสิทธิ์

Keywords: ประวัติวัด

Search

Read the Text Version

ข้อมลู เจ้าอาวาสและวดั รหสั ๐๔๓๐-๑๔๐๑๐๐-๕ วดั กลางปักธงชยั ตาบลเมอื งปกั อาเภอปกั ธงชัย จงั หวัดนครราชสีมา สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ประวัตเิ จ้าอาวาส วดั กลางปกั ธงชัย ขอ้ มูลเจา้ อาวาส นาม/ราชทนิ นาม พระครูศรธี วัชชยั คณุ ฉายา ตฏุ โฐ อายุ ๗๘ พรรษา ๕๗ เลขประจาตัวประชาชน ..........................-................................ ช่ือเดิม สมชาย นามสกลุ พรหมทา เกิด วันเสาร์ท่ี ๑ เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย อาชพี เดิม เกษตรกรรม ความสามารถพิเศษ สวดพระปาฏิโมกข์ บรรยายธรรม เทศนา ปาฐกกถาธรรม สอนบาลี ใช้คอมพวิ เตอร์เบ้ืองตน้ สือ่ สารได้ ๔ ภาษา อุปสมบทเม่อื วนั ที่ ๑๕ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๖ เวลา ๑๕.๔๗ นาฬิกา หนงั สอื สุทธเิ ลขท่ี ๑๐ / ๒๕๐๖ ออกให้ ณ วนั ที่ ๒ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ชอ่ื วัดทีอ่ ปุ สมบท วัดวิสทุ ธโิ สภณ แขวง/ตาบลเป๊าะ เขต/อาเภออทุ มุ พรพสิ ยั จงั หวัดศรสี ะเกษ วฒุ กิ ารศึกษา(สูงสุด) มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ , พ.กศ., พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต (พธ.ม.) กิตติมศกั ด์ิ จาก สถาบันการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร และมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยฐานะ(ชน้ั สงู สุด) นธ. เอก, เปรียญธรรม ๖ ประโยค, พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ (พธ.ม.) กิตติมศักดิ์ พระธรรมทตู  ในประเทศ  ตา่ งประเทศ ฝา่ ยบริหาร (บริหาร/ปฏบิ ตั กิ าร) พระวิปสั สนาจารย์ พ.ศ. - ศนู ย์ฝึกอบรม/วดั - จังหวดั - พระจรยิ านเิ ทศ พ.ศ. - ศนู ย์ฝึกอบรม/วดั - จังหวัด - บุคลากรทางการศึกษาสงฆ์ เป็นเจ้าสานักศาสนศึกษาวัดกลางปักธงชัย ผู้จัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรม ปักธงชัยวิทยา แผนกสามัญศึกษา ครูสอนบาลี พระธรรมทูตฝ่ายปฏิบัติการและฝ่ายอานวยการอาเภอ ปักธงชัย ครูปริยัตินิเทศก์ คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต สานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษา นครราชสมี า เขต ๓ และประธานกองทุนสงเคราะห์การจัดการศึกษา กลมุ่ ๒ ตาแหนง่ หน้าที่ทางคณะสงฆ์ (ปจั จบุ ัน) ๑. ได้รับการแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ เจา้ อาวาสวดั กลางปักธงชยั พ.ศ. ๒๕๒๐ ๒. ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ง เจ้าคณะอาเภอปักธงชยั พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓. ไดร้ ับการแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง พระอปุ ชั ฌาย์ สามญั พ.ศ. ๒๕๓๒

ประวัตวิ ดั กลางปกั ธงชยั รหัสวดั ๐๔๓๐ – ๑๔๐๑๐๐ - ๕ ตั้งอยู่ที่ บ้านเมืองปกั เลขที่ ๙๙ หมทู่ ่ี ๑ ถนน ศรีพลรตั น์ ตาบล/แขวง เมืองปัก อาเภอ/เขต ปักธงชัย จังหวดั นครราชสมี า [email protected] สังกดั คณะสงฆ์ (  ) มหานิกาย ( ) ธรรมยตุ ( ) อ่ืน ๆ พิกดั ของวดั ละตจิ ูด ๑๔.๗๒๔๐๓๓,๑๐๒.๐๒๑๑๐๓ ทดี่ นิ ทต่ี ง้ั วดั มีเนื้อที่ ๑๑ ไร่ ๒ งาน ๖๐ ตารางวา () โฉนดทีด่ นิ เลขที่ ๑๓๙๑๕ ( ) น.ส.๓ เลขที่ - ( ) น.ส.๓ ก เลขที่ - ( ) อืน่ ๆ **แนบเอกสารกรรมสทิ ธ์ิที่ดิน** อาณาเขตวดั ทศิ เหนือ จด ถนนศรีพลรตั น์ ศาลเจ้าพอ่ หลักเมือง ทิศใต้ จด ลาธารสาธารณะ (หางโกรก) และชมุ ชนหมู่ ๑ ทิศตะวันออก จด ร้านคา้ พาณิชย์และที่ดนิ ขนุ อนศุ าสนฑ์ ณั กจิ ทิศตะวนั ตก จด ที่ดนิ นายอมร สินธวุ งศานนทแ์ ละอาคารพาณิชย์ ท่ธี รณสี งฆ์ จานวน - แปลง มีเนื้อท่รี วม - ไร่ - งาน - ตารางวา ( ) โฉนดทด่ี ิน เลขที่ ( ) น.ส.๓ เลขท่ี ( ) น.ส.๓ ก เลขท่ี ( ) อ่นื ๆ ................................... อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย ๑. อุโบสถ กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๘ ( ) อาคารคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ( ) อาคารครงึ่ ปนู ครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อ่นื ๆ ๒. ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๖ เมตร ยาว ๒๘ เมตร สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๐ ( ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก () อาคารครึ่งปนู ครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อน่ื ๆ ๓. ศาลาธรรมาพิสมัย กวา้ ง ๑๖ เมตร ยาว ๒๘ เมตร สรา้ งเมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๐ (  ) อาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ( ) อาคารคร่งึ ปูนคร่งึ ไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อนื่ ๆ ๔. กฏุ ิรบั รองและสานักงานเจ้าคณะอาเภอ กวา้ ง ๑๔ เมตร ยาว ๑๔ เมตร สรา้ งเมอื่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ( ) อาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก จานวน ๑ หลัง ( ) อาคารครง่ึ ปนู ครึง่ ไม้ ( ) อาคารไม้ จานวน - หลัง ( ) อน่ื ๆ จานวน - หลัง ๕. โรงเรยี นพระปริยตั ธิ รรมปกั ธงชัยวทิ ยา แผนกสามัญศึกษา จานวน ๑ หลงั กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๓๒ เมตร สร้างเม่อื พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๓๙ ( ) อาคารพ้นื หินขดั ๓ ชั้น ( ) อาคารคร่ึงตกึ ครึง่ ไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อน่ื ๆ ๖. ศาลาหิตเกษม กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๔ เมตร สรา้ งเม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๕ ( ) อาคารคอนกรตี เสริมเหล็ก ( ) อาคารครึ่งตกึ ครึ่งไม้ () อาคารไม้ ( ) อน่ื ๆ ๗. ศาลาบาเพ็ญกุศลศพ (หน้าเมร)ุ กวา้ ง ๒๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ () อาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ช้นั เดียว ( ) อาคารครึ่งตกึ ครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ () ทพ่ี กั สงฆท์ ิศตะวนั ออกเมรุ ๑ หลงั

นอกจากนมี้ ีอาคารเสนาสนะตา่ ง ๆ ดงั นี้ ฌาปนสถาน จานวน ๑ หลัง หอระฆัง/หอกลอง/หอกระจายข่าว จานวน ๑ หลัง โรงครัว จานวน ๒ หลัง ห้องพัสดุ จานวน ๒ ห้อง ห้องประชุม ๒ ห้อง ห้องคอมพิวเตอร์ ๑ ห้อง ห้องน้า-สุขา ๖ หลัง บริเวณที่จอดรถยนต์ แหล่งเรียนรู้ สนามบาสเกตบอล สวนหย่อม สระน้า โกดังเก็บศพ โรง เก็บรถยนต์ ทพี่ ักผอ่ นร่มตน้ ไทรใหญ่ ทร่ี ับประทาน/ฉนั ศาลาพักรอ้ น ห้องพักภิกษุสงฆ์ สามเณร ปูชนยี วตั ถุ มี - พระประธานประจาอุโบสถ ปางสมาธิ ( พระพทุ ธโลกเชษฐ์มหาวีรนายก ) ขนาดหน้าตกั กว้าง ๒.๕๐ เมตร สูง ๓.๓๐ เมตร สรา้ งเม่อื พ.ศ. ๒๕๐๒ - พระประธานประจาศาลาการเปรียญ ปางมารสะดุ้ง ขนาดหน้าตกั กว้าง ๑.๒ น้ิว/เมตร สงู ๑.๒ น้ิว/เมตร สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๕ - พระประธานประจาอโุ บสถดิน (หลังดั้งเดมิ ) ปางมารวชิ ัย สร้าง พ.ศ. ๒๔๘๕ - ปูชนยี วัตถุอ่นื ๆ โต๊ะหมบู่ ูชา ๗ ชุด (ประจาศาลา กฏุ ิ โบสถ์ โรงเรียน ฯ) ไดร้ ับพระราชทานวิสงุ คามสีมา เมอ่ื วนั ที่ ๗ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๑๒ เขตวสิ งุ คามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร การศกึ ษา ๑. โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม – บาลี รายละเอียด มีการจัดการศึกษาตาม หลกั สูตรแมก่ องธรรมและพระปริยัติธรรม (แผนกธรรม-บาลี) มาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ต่อมาพระครูศรีธวัช ชยั คุณ เปน็ เจา้ สานกั ศาสนศกึ ษาวัดกลางปักธงชยั เปดิ สอนนักธรรมชั้นตรี โท เอก จานวน ๕๓ วัด ใน ๒๒ ตาบล จานวนธรรมศึกษา ๒๕ โรงเรียน มีจานวนนักธรรมและธรรมศึกษาสมัครเข้าสอบธรรมสนามหลวง ประมาณเฉลี่ยปีละ ๓,๕๐๐ รูป/คน มีการประกาศมาตรฐานสานักศาสนศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ รวม ๔ มาตรฐาน คือ ด้านครูสอน ผู้เรียน การบริหาร และระบบการประกันคุณภาพ จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาระยะยาว ( ๔ ปี ) แผนปฏิบัติการประจาปี พฒั นาหลักสูตร ออกแบบการเรียนรู้ จัดการเรียนการ สอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารวจิ ัยนวัตกรรมเชงิ พทุ ธ เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น ส่งเสริมการใช้ส่ือเทคโนโลยีทางการศึกษา พัฒนาเคร่ืองมือช่วยสอนรูปแบบต่างๆ มีการจัดระบบนิเทศ ภายในสาหรบั ครู จัดกจิ กรรมติวเข้มกอ่ นการสอบธรรมสนามหลวง ซ่ึงท้ังนักธรรมและธรรมศึกษาได้สมัคร เขา้ สอบและสอบได้เฉล่ียรอ้ ยละ ๖๕.๕๐ ระดบั พอใช้ ขึน้ ไป ซ่งึ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ตี ัง้ ไว้ ๒. โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา รายละเอียด จัดสอนในระดับมัธยมศึกษา ปีที่ ๑-๖ เร่ิมแรกมนี ักเรียน ๒ หอ้ งเรียน ๙๔ รปู เปดิ สอนในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยมีพระครูธวัชโพธิคุณเป็น ผู้จัดการ พระครูศรีธวัชชัยคุณ เป็นครูใหญ่ มีครูอาสาช่วยสอนท้ังพระสงฆ์และฆราวาส อาศัยศาลาการ เปรยี ญและอาคารประกอบภายในวัดเปน็ ทีเ่ รียน ในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้สร้างอาคารเรียนคอนกรีตทรงไทย ๓ ชั้น จัดการเรียนการสอนภายใต้ปรัชญาว่า คุณธรรมนาหน้า ปัญญาเพิ่มพูน ค้าจุนศาสนา อาสาสังคม ได้ กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์ จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาระยะยาว ( ๔ ปี ) และ แผนปฏิบัติการประจาปี ยดึ มาตรฐานการศกึ ษา ๔ มาตรฐาน ๒๐ ตัวช้ีวัด มีการประกันคุณภาพภายในและ รายงานผลการปฏิบัติงาน (SAR) อย่างเป็นระบบ มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรพระปริยัติ ธรรม ออกแบบการเรียนรู้ ผลิตและใช้สื่อการสอน จัดแหล่งเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม ได้รับการรับรองมาตรฐานรอบแรก (พ.ศ. ๒๕๔๘) รอบสองและรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๘ ) ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง จากการประเมินคุณภาพภายในทุกปี พบว่า

ผลการเรียน สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และ ๖ มี ค่าเฉลี่ยร้อยละโดยรวม ๘๖.๑๔ และ ๘๕.๑๑ ระดับดี ผลการทดสอบ O-Net ระดับพอใช้ และ B-Net ระดบั ดี แสดงว่า นักเรียนมพี นื้ ฐานความรู้ในการศกึ ษาตอ่ และเปน็ ศาสนทายาทท่ดี ีตามสมณสารูป ๓. โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกบาลี รายละเอยี ด - เปดิ สอนเมื่อ - ๔. ศนู ย์อบรมเด็กกอ่ นเกณฑใ์ นวดั รายละเอียด - เปดิ สอนเม่ือ - การเผยแผ่พระพุทธศาสนา - เป็นสานกั ปฏิบัติธรรมประจาจังหวดั แหง่ ที่ - แต่งตั้งเม่ือ พ.ศ. - มติ มส.ครง้ั ที่ - - เปน็ หน่วยอบรมประจาตาบล (อ.ป.ต.) แต่งต้ังเม่ือ พ.ศ. - - ผลงานด้านเผยแผ่พระพุทธศาสนา (เช่น เป็นสานักปฏิบัติธรรมประจาจังหวัดดีเด่น/วัดที่ ขบั เคล่ือนโครงการหมบู่ า้ นศลี ๕ ดีเดน่ /อ.ป.ต.ดีเดน่ / วัดประชารัฐสรา้ งสุข /วัดพฒั นาตัวอย่าง) การบรหิ ารและการปกครอง มีเจา้ อาวาสวัดกลางปักธงชัยหลายรูปนับตง้ั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ดงั นี้ ลาดับที่ ๑ หลวงพอ่ จูม ฉินนฺมนฺโท ต้ังแต่ ๒๔๘๕ ถงึ พ.ศ. - ลาดับที่ ๒ เจ้าอธกิ ารเลก็ ทีปโก ตัง้ แต่ - ถงึ พ.ศ. ๒๕๐๕ ลาดบั ที่ ๓ เจ้าอธกิ ารจันทร์ ธมฺมโชโต ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๐๖ ถงึ พ.ศ. ๒๕๐๗ ลาดบั ที่ ๔ เจ้าอธิการบุญมา ญาณทโี ป ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๐๙ ลาดับที่ ๕ เจา้ อธกิ ารเจริญ สุชาโต ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๑๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๙ ลาดับท่ี ๖ พระครูศรีธวัชชัยคณุ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๐ ถึง ปจั จุบนั (๒๕๖๓) ข้อมูลเงนิ นิตยภัต ลาดับที่ ๑ อตั รา ๓,๓๐๐ บาท เลขบัตรประชาชน ......................-...................... ตาแหน่งท่ีได้รบั เจา้ คณะอาเภอปักธงชยั ( พระครูศรีธวชั ชยั คณุ นธ.เอก, ป.ธ. ๖ , พธ.ม.) ลาดับที่ ๒ อัตรา ๑,๘๐๐ บาท เลขบัตรประชาชน......................-.................... ตาแหนง่ ที่ได้รับ ผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสวดั กลางปักธงชัย ครูสอนภาษาบาลี ( พระครปู ริยัตชิ ยานกุ ูล นธ.เอก, ป.ธ. ๓ ) รบั รางวลั /ประกาศนียบัตร/ ประกาศเกียรตคิ ุณ ฯลฯ (อาทิ สวนสมนุ ไพรในวดั อุทยานการศึกษาในวัด วัด พัฒนาตวั อย่าง วัดพฒั นาตวั อยา่ งทีม่ ีผลงานดเี ดน่ เป็นตน้ ไป) ๑. วดั ที่ไดร้ บั คดั เลือกเปน็ อุทยานการศึกษาในวัด เม่ือปี พ.ศ. - ๒. วดั ที่ได้รับคัดเลือกเป็นวดั พัฒนาตัวอย่าง เม่ือปี พ.ศ. - ๓. วดั ทไี่ ดร้ บั คดั เลือกเป็นวดั พฒั นาตวั อย่างที่มีผลงานดีเด่น เมื่อปี พ.ศ. - ๔. รางวัล ไดร้ บั พระราชทานเสาเสมาธรรมจักรจากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ผู้ทาประโยชนต์ อ่ พระศาสนา สาขาการศึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกสามญั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๐ ๕. โรงเรียนพระปริยัติธรรมปักธงชัยวิทยา แผนกสามัญศึกษา ได้รับการรับรองมาตรฐาน การศึกษา จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ระดับคุณภาพดี (๘๒.๑๑) ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑๕ ตลุ าคม ๒๕๕๘ (หนังสือรับรองที่ สมศ. ๓๙๔๐/๒๕๕๘ ๖. ได้รับประกาศเกียรติคุณในการบริจาคทรัพย์และส่ิงของเพื่อการศึกษาสงเคราะห์และ สาธารณสงเคราะห์ จากหน่วยงานต่างๆ เช่น สานักงานเจ้าคณะจังหวัดฯ คณะสงฆ์กลุ่ม ๒ วัด โรงเรียน องคก์ ร สถาบัน อาเภอ สานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั ฯ เปน็ ต้น

ประวัติวดั (โดยสงั เขป) ความนา : ในสมัยกรุงธนบุรี มีพระบรมราชานุญาตต้ังด่านกะโปะเป็นเมือง เรียกว่า “เมืองปัก” เป็นหัวเมืองชั้นตรีข้ึนตรงต่อเมืองนครราชสีมา เม่ือ พ.ศ. ๒๓๒๓ ใน พ.ศ. ๒๔๕๑ เมืองปักถูกยุบลงเป็น อาเภอปักธงไชย โดยมีหลวงศรีพลรัตน์ (ยะฟะระ เกตุเลขาฯ) ชาวไทยมุสลิม เป็นนายอาเภอปักธงไชยคน แรก พ.ศ. ๒๕๐๘ กระทรวงมหาดไทยได้แก้ไขชื่อปักธงไชย เป็นปักธงชัย เพื่อให้ตรงตามอักขรานุกรม ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตสถาน จากข้อสันนิษฐาน หลักฐาน และคาบอกเล่า วัดกลาง (เดิม) เป็นวัดของ ชาวตลาดเก่า (พ่อค้าแม่ค้าส่วนใหญ่เป็นชาวจีน) จึงตั้งอยู่บริเวณกลางตลาดเก่า เพราะอาเภอปักธงชัยเป็น อาเภอขนาดใหญ่มตี ลาด ๒ แห่ง คอื ตลาดเกา่ ( ตลาดเทศบาลเมืองเมืองปักปัจจุบัน ) และตลาดใหม่ (หลัง สถานีตารวจภธู รปจั จบุ นั ) ตลาดใหมอ่ ย่ตู ดิ กบั หมบู่ า้ นจะโปะ (บ้านธงชัย) และหมู่บา้ นบอ่ ปลา วดั กลางปักธงชัย : เดิมตงั้ อยู่ในใจกลางตลาดเก่า สามแยกต้นโพธิ์ ติดกับลาตะกุด ซ่ึงเป็นที่ว่าการ อาเภอ และสถานีตารวจ (สมัยน้ัน) ท่ามกลางวัดโพธิ์เมืองปักและวัดอัมพวัน (จะโปะ) ได้ย้ายมาต้ังอยู่ใน บริเวณปัจจบุ ัน (ถนนศรีพลรตั น์ : ชอื่ นายอาเภอคนแรก) ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๐๓ หลวงพอ่ จูม ฉินนฺมนฺโท (ป.ธ. ๓) วดั อัมพวัน (จะโปะ) มาเป็นเจ้าอาวาส ในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ เป็นผู้นาขอความอุปถัมภ์จากญาติโยมใน อาเภอปกั ธงชยั รว่ มกันกอ่ สรา้ งศาลาไมข้ นาดใหญ่ใชบ้ าเพ็ญกุศล สร้างโบสถด์ นิ เจดีย์ และพัฒนาวัดในด้าน ต่างๆให้เจริญเรื่อยมา โยมหล่า พาณิชย์ ถวายที่ดินทางทิศใต้ให้วัด ต่อมาหลวงพ่อจูมได้รับพระบัญชา แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเจ้าคณะอาเภอปักธงชัย ที่พระครูธวัชชโยดม (พ.ศ. ๒๕๐๘) กลับไปเป็นเจ้าอาวาส วัดอัมพวัน ลาออกจากตาแหนง่ พ.ศ. ๒๕๑๘ พระครธู วชั ชัยมนุ ี ( โอภาส นิรุตฺติเมธี ) ได้รบั แตง่ ตั้งสืบตอ่ มา วัดกลางปักธงชัยมีเจ้าอาวาสติดต่อกันมาหลายรูป ในสมัยที่เจ้าอธิการเจริญ สุชาโต ( พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๑๙ ) มีการก่อสร้างกาแพงรอบวัด ซุ้มประตู กุฏิ ศาลาบาเพ็ญกุศล และอุโบสถ ปรับปรุงภูมิ ทัศน์ ด้านทศิ เหนือวดั กลางปกั ธงชัยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนมธั ยมปกั ธงไชยวิทยากร ( ม.ป. เลิกกิจการ ) ได้ใช้ บริเวณวัดเรียนพลศึกษา ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ใช้ร่มโพธ์ิใหญ่ในวัดแทนโรงอาหาร มีแม่ค้านา อาหาร-เคร่ืองด่ืมมาขาย ใช้ร่มต้นหูกวางและร่มต้นไทรใหญ่ข้างโบสถ์ดินหลังเก่าเป็นสถานท่ีรับประทาน อาหาร มีน้าดื่มจากสระน้ารอบโบสถ์ (หลังใหม่) และน้าบาดาล (นายบุญคง ทรงศีล สร้างถวาย) มีสวน สมุนไพรของแม่ชี (ข้างโรงลิเก) มีการจัดสอนธรรมศึกษาให้นักเรียนและจัดสอบธรรมสนามหลวงประจาปี โดยสานกั ศาสนศึกษาวัดกลาง พระครูธวัชชัยมุนีได้นาพระสงฆ์มาสอนทุกวันเสาร์ วัดกลางปักธงชัยเคยเป็น โรงเรียนมาก่อน จากบันทึกประวัติของขุนอนุศาสน์ทัณฑกิจ ท่านได้เรียนหนังสือไทยท่ีโรงเรียนวัดกลาง และสอบไดป้ ระกาศนียบตั รชน้ั ๒ ( พ.ศ. ๒๔๖๒ ) ประชาชนตลาดเก่าและตลาดใหม่ได้รับความบันเทิงจาก การดูหนังกลางแปลง (หนังขายยา) ในวัด (มีบ่อยมาก) ได้ชมมหรสพในเทศกาลง้ิวทุกปี เที่ยวงานประจาปี ท่ีวัดจัดอย่างยิ่งใหญ่ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ วัดจัดพิธีเททองหล่อพระประธาน เพ่ือประดิษฐานในอุโบสถหลัง ใหม่ ฉลองงาน ๒๕ พุทธศตวรรษ มีพระครูธวัชชัยมุนี เป็นประธานพิธีเททอง พิธีพุทธาภิเษก ตั้งช่ือ พระพุทธรูปองค์นี้ว่า พระพุทธโลกเชษฐ์มหาวีรนายก ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้จัดงานพระราชทาน วสิ ุงคามสีมาอโุ บสถหลงั ใหม่ ตอ่ มาไดร้ ื้อศาลาไม้หลังใหญ่ รื้อถอนโบสถ์ดิน ลงมือก่อสร้างศาลาบาเพ็ญกุศล ทรงไทย ๒ ชั้น ดา้ นทิศตะวันออกวัดแทนศาลาไม้หลังใหญ่ ร้ือกฏุ หิ ลงั เดมิ (ตงั้ อยู่กลางวัด) สร้างหลังใหม่ติด รวั้ วัดทศิ ตะวันตก โดยใช้วสั ดุจากกุฏิหลังเดมิ จนแลว้ เสรจ็ (ตามทห่ี ลวงพ่อรอดท่านไดอ้ อกแบบ) ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๕๑๙ เจ้าอาวาสลาสกิ ขา (เจ้าอธิการเจริญ สชุ าโต) พระครธู วชั ชัยมนุ ี ( โอภาส นริ ุตฺติเมธี ) รกั ษาการแทนเจา้ อาวาส ในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ และได้แต่งต้ังพระมหาสมชาย ตุฏโฐ จากวัดสะแก เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางปักธงชัย ในปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองเจ้าคณะอาเภอปักธงชัย รูปที่ ๑ และไดเ้ ป็นพระครูสญั ญาบัตรในพระราชทินนามท่ี พระครูศรีธวัชชัยคุณ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ท่านได้สานงาน

ต่อก่องานใหม่ภายในวัด เช่น ก่อสร้างอาคารเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรม (แผนกสามัญฯ) ๓ ช้ัน สร้าง ศาลาบาเพ็ญกุศล ๒ ชน้ั ต่อจากของเดิมจนแลว้ เสร็จ ต้ังช่ือว่า ศาลาธรรมาพิสมัย ได้บูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถ สร้างเมรุ ศาลาบาเพ็ญกุศล หอระฆัง ศาลาหิตเกษม สร้างกุฏิจตุรมุขคอนกรีตทรงไทยประยุกต์ ๒ ช้ัน ใช้ รับรองสงฆ์และเป็นสานักงานเจ้าคณะอาเภอ ซ่ึงพระครูศรีธวัชชัยคุณ ได้รับพระบัญชาแต่งต้ังให้ดารง ตาแหน่งเจ้าคณะอาเภอปักธงชัย ในวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก เจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร เป็นองค์ ประธานเปิดกุฏิรับรองสงฆ์และสานักงานเจ้าคณะอาเภอปักธงชัย ในวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ พระครู ศรีธวัชชัยคุณ ได้พัฒนาวัดกลางปักธงชัยและวัดต่างๆในเขตปกครองคณะสงฆ์อาเภอปักธงชัยมาอย่าง ต่อเน่อื ง ท้งั ดา้ นการปกครอง การเผยแผ่ การศาสนศึกษา การสาธารณปู การ การศึกษาสงเคราะห์ และการ สาธารณสงเคราะห์ เพื่อพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน ทาให้พระสงฆ์เข้มแข็ง วัดม่ันคง ชุมชนเป็นสุข พระพุทธศาสนามีความมน่ั คง เปน็ ท่ีพึ่งของคณะสงฆแ์ ละประชาชนได้อยา่ งมีคณุ ภาพและยงั่ ยืนสบื ไป ( แหล่งท่ีมา : สัมภาษณ์พระธรรมวรนายก ท่ีปรึกษาเจา้ คณะภาค ๑๑ ) ********************************

เขตที่ตัง้ และบริเวณวัดกลางปกั ธงชยั โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรมฯ (อาคารสงู ๓ ชน้ั ๒๕๓๗ ) กฏุ ิ ๑ /กุฏิรับรองสงฆ์ (สานักงานเจา้ คณะอาเภอ) พระอโุ บสถ (ซ้าย) - ฌาปนสถาน (ขวา) กุฏิบาเพญ็ กศุ ล “ธรรมาพสิ มัย” หอระฆงั - หอกลอง - หอกระจายข่าว สระนา้ วดั (เดิม) ติดลาธารหางโกรก ไทรใหญ่ (อายุกวา่ ๑๐๐ ป)ี - ศาลาพักหิตเกษม พระพุทธโลกเชษฐม์ หาวีรนายก พระปางมารวชิ ยั (โบสถ์เก่า) ศาลหลักเมือง (ทิศเหนอื วัด)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook