คมู่ อื การดาเนินงาน ความปลอดภัยสถานศกึ ษา ms C โรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตราด
คานา คู่มือการดาเนินงานความปลอดภัยสถานศึกษาเล่มน้ี จัดทาข้ึนเพื่อให้โรงเรียนบ้านอ่างกะป่อง ใชเปนแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ดานความปลอดภัยสถานศึกษา โดยมีเปาหมายใหนักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการปกปองคุมครอง ดูแลชวยเหลือเยียวยา มีความม่ันคงและปลอดภยั ซึ่งเป็นไปตามนโยบายความปลอดภยั ของกระทรวงศึกษาธกิ าร และสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยในคูมือการดาเนินงานเลมน้ีประกอบดวย ความสาคัญและวัตถุประสงคของความ ปลอดภัย สถานศึกษา องคความรู้ด้านความปลอดภัย การเสริมสรางความปลอดภัย การติดตอสื่อสาร และการกากับ ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาปลอดภัย โรงเรยี นบ้านอา่ งกะปอ่ งหวงั เปนอยางยงิ่ วา คมู ือเลมนีจ้ ะอานวยความสะดวกในการปฏิบัตงิ าน ใหกบั หนวยงานทีเ่ กี่ยว ของและผูปฏิบัติไดเปนอยางดี ขอบคุณคณะทางานทุกทานที่ไดรวมกันจดั ทา คูมือการดาเนนิ งาน ความปลอดภยั สถานศึกษา เลมน้ีจนสาเร็จลุลวง โรงเรยี นบ้านอ่างกะปอ่ ง มีนาคม 2565
สารบญั หนา 1 เร่ือง 2 คานา 3 สารบญั 4 สวนท่ี 1 บทนา 5 1. ความสาคญั จาเปนการดาเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษา 5 2. วตั ถุประสงค 5 3. เปาหมาย 6 4. ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จ 7 สวนที่ 2 องคความรูดานความปลอดภยั 10 1. นโยบายดานความปลอดภัย 16 2. กฎหมายทีเ่ กี่ยวของ 17 สวนท่ี 3 การเสรมิ สรางความปลอดภัยสถานศึกษา 18 1. ขอบขายความปลอดภยั สถานศึกษา 20 2. มาตรการความปลอดภัยสถานศกึ ษา 21 3. โครงสรางการบริหารจัดการความปลอดภยั สถานศกึ ษา 40 4. ขั้นตอนการดาเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา 41 สวนท่ี 4 การติดตอส่ือสาร 42 1. ชองทางการตดิ ตอสือ่ สาร 48 2. หนวยงานทเ่ี กี่ยวของ 54 สวนท่ี 5 การกากบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล 55 เอกสารอางองิ รายช่ือคณะทางาน
ส่วนท่ี ๑
1. ความสาคญั จาเป็นการดาเนินงานความปลอดภยั สถานศกึ ษา ยุทธศาสตรชาติ ดานท่ี 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มีวัตถุประสงคหลักในการ เสริมสรางความม่ันคงในชวี ิตของคนทุกชวงวยั จากภยั คกุ คามในรปู แบบใหม อาทิ อาชญากรรมและความรนุ แรงในรปู แบบ ตาง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม และภัยจากไซเบอรเปนตน แผนการศึกษาแหงชาติ .ศ.พ( )2579 –2560) จึงไดตระหนักถึงการเปลย่ี นแปลงทางการศึกษาท่ีเกิดจากความกาวหนาทางวิทยาการและเทคโนโลยีของ โลกยุค ศตวรรษที่ 21 เปนพลวัตทีกอใหเกิดความทาทายในดานการเปล่ียนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก อัน เน่ืองจาก การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ประเทศเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณในอนาคตอันใกล การติดกับดัก ประเทศ ทีม่ รี ายไดปานกลาง ทัศนคติ ความเชือ่ คานิยม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของประชากรทป่ี รบั เปลยี่ นไปตามกระแส โลกาภวิ ัตนเปนผลใหเกิดการเรงแกไขปญหา ทงั้ ยังเกิดภยั คกุ คามตอความมน่ั คงรูปแบบใหมทสี่ งผลกระทบตอประชาชน และ ประเทศชาตมิ ีความซบั ซอนและรนุ แรงมากขนึ้ ซง่ึ ภยั ในแตละดานลวนมีความสาคัญตอการพัฒนาประเทศกอปรกบั นโยบาย Quick Win 7 วาระเรงดวน ขอท่ี 1 ความปลอดภัยของผูเรียน กระทรวงศึกษาธิการมองเห็นภัยท่ีเกิดแกนักเรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษา ท่ีเกิดขึ้นซ้าและสงผลกระทบตอสภาพรางกายและจิตใจในหลายปท่ีผานมา เชน ภัยจาก การคุกคาม ทางเพศ ภัยจากการกลั่นแกลงรงั แก (Bully) รวมถึงภัยที่เกิดจากโรคอุบัติใหม ไดแก การแพรระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโค โรนา 2019 (COVID - 19) เปนผลใหเปนอุปสรรคตอการเรียนรูและสวัสดิภาพชีวิตของนักเรียน ครู และบุคลากร ทาง การศกึ ษา นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุงมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหเปน “การศึกษา ข้นั พื้นฐานวิถีใหม วิถีคณุ ภาพ” มุงเนนความปลอดภยั ในสถานศึกษา สงเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยางเทาเทียม และบริหารจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ โดยมุงเนนพัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยใหแกผูเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอ การมีสุขภาวะที่ดี สามารถปรับตัวตอโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้าสงเสริมความปลอดภัยสรางความม่ันใจใหสังคม เพื่อคุมครอง ความปลอดภัยแกนกั เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอ่ื ใหการปองกนั ดแู ล ชวยเหลอื หรอื เยียวยา และแกไขปญหามีความเปนเอกภาพ มีขอมูลสารสนเทศที่เปนระบบ สามารถแกไขปญหาและบริหารจัดการ ความ เสี่ยงไดอยางย่ังยืนดวยการบริหารจัดการตามมาตรการ 3 ป ไดแก ปองกัน ปลูกฝง และปราบปราม ใหเกิดความปลอดภัย ใหมากที่สุด และไมใหเกิดเหตุการณน้ันซ้าอีก เพ่ือสรางความมั่นใจ และความเช่ือมั่นใหแกนักเรียน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ผูปกครอง และประชาชนทวั่ ไป ในการทีจ่ ะไดเรยี นรูอยางมีคุณภาพ และเกดิ ความปลอดภัยอยางมนั่ คงและยั่งยนื เพ่ือ ใหแนวทาง การปฏิบัติสอดคลองและเปนระบบกระทรวงศึกษาธิการจึงได จัดทาคูมือการดาเนินงานความปลอดภัย สถานศึกษาเพื่อ เปนแนวทางในการสรางความปลอดภัย ในเกดิ แกนกั เรยี นเปนสาคญั เพราะความปลอดภยั เปนปจจยั ทสี่ ง ผลกระทบโดยตรง ตอคุณภาพและการเรียนรูของผูเรียน 4
2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือสรางความรูความเขาใจในการดาเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา 2.2 เพื่อสรางความเขมแข็งการดาเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษา 2.3 เพ่ือดาเนนิ งานความปลอดภยั สถานศึกษาอยางเปนระบบ 2.4 เพื่อรายงานการดาเนินการดานความปลอดภัยตอหนวยงานตนสงั กัด ๓. เป้าหมาย ๓.1 สถานศกึ ษามีแผนความปลอดภัยตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา ๓.2 สถานศึกษามีการปฏบิ ัติทีเ่ ปนเลศิ ในการเสริมสรางความปลอดภัยสถานศึกษาเพอื่ การพฒั นาอยาง ยัง่ ยนื ๓.3 นกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับความคุมครองดแู ลใหมีความปลอดภยั ๓.4 สถานศึกษากบั หนวยงานตนสงั กัด หนวยงานทเี่ ก่ยี วของ และภาคีเครือขายมสี วนรวมในการ ดาเนนิ งานดาน ความปลอดภัยสถานศกึ ษา ๔. ตัวช้วี ดั ความสาเร็จ ๔.๑ สถานศกึ ษาทุกแหงมีแผนความปลอดภยั ตามบรบิ ทของสถานศึกษา ๔.๒ รอยละ 80 ของสถานศึกษามีการปฏิบตั ทิ เี่ ปนเลิศ ในการเสรมิ สรางความปลอดภัยสถานศกึ ษาเพ่ือ การพัฒนา อยางยั่งยืน ๔.๓ นกั เรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทุกคนไดรบั ความคมุ ครองดูแลใหมีความปลอดภยั 4.4 รอยละความรวมมือระหวางสถานศึกษากบั หนวยงานตนสงั กัด หนวยงานทีเ่ กี่ยวของ และภาคีเครือขาย มีสวน รวมในการดาเนนิ งานดานความปลอดภยั สถานศกึ ษา 5
สวนที่ ๒ SAFE TY SCHOOL
การศึกษามีความสาคัญตอการพัฒนาประเทศ ในฐานะที่เปนกระบวนการหน่ึงที่มีบทบาทโดยตรงตอการพัฒนา ทรัพยากร มนุษยใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการและทิศทางของประเทศ การศึกษาจึงหมายถึงการพัฒนาบุคคล ใหมีความเจริญ งอกงามทุกดาน ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม การสรางความปลอดภัยใหแกนักเรียนเปนส่ิง สาคัญ เพราะความ ปลอดภัยเปนปจจัยที่สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพการเรียนรูของนักเรียน การพัฒนาทรัพยากร บุคคลใหประสบผลสาเร็จ ตามเปาประสงคขึ้นอยูกับความสุขและการมีชวี ิตท่ีปลอดภยั ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา สามารถปองกนั หรือไดรับการ ปองกันตนเองจากปจจยั เสีย่ งท่ีอาจเกิดข้ึนได มคี วามรู ความเขาใจ จติ สานกึ และเจตคติที่ดี และมที ักษะในการปองกันภัย สามารถหรอื ไดรบั การแกไขปญหา ชวยเหลือ เยยี วยา ฟนฟู และดาเนนิ การตามขั้นตอนของ กฎหมาย ดงั นน้ั จงึ เปนภารกิจสาคญั ทกี่ ระทรวงศึกษาธิการ โดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ทีจ่ ะตองมี แนวนโยบายสถานศึกษาปลอดภัยใหเกดิ ขึน้ 1. นโยบายดานความปลอดภัย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ไดกาหนดแนวทางการบริหารจัดการ เพ่อื ลดความเส่ียงดานภยั พิบัตเิ พอื่ ใหเกดิ ความเสียหายนอยทสี่ ุด และนาไปสูการพัฒนาท่ียั่งยืน มรี ายละเอียดดงั นี้ 1. บูรณาการการลดความเสยี่ งจากภยั พิบัตเิ ขาสูกระบวนการวางแผน ท้งั ระดบั ชาติ ระดบั ชมุ ชนทองถ่นิ และสาขา การผลิต ตาง ๆ พัฒนาองคความรู สนับสนุนการประเมินและจดั ทาแผนท่ีความเสย่ี งจากภยั พิบัติในพืน้ ที่และภาคการผลิตท่ีมี ลาดับ ความสาคัญสงู 2. เสริมสรางขีดความสามารถในการเตรียมความพรอมและการรับมือภัยพิบัติ สนับสนุนการจัดทาแผนรับมือภัยพิบัติ ใน ระดับพื้นท่ี สงเสริมแนวทางการจัดการภัยพิบัติโดยมีชุมชนเปนศูนยกลาง สงเสริมภาคเอกชนในการจัดทาแผนบริหาร ความตอเน่อื งของธรุ กจิ สรางจิตสานกึ ความปลอดภยั สาธารณะ สงเสรมิ บทบาท ของภาคเอกชนและชมุ ชนทองถนิ่ ในการ รวมกัน ดาเนนิ การปองกันและลดความเสยี่ งจากภยั พบิ ัติ 3. พัฒนาระบบการจัดการภัยพิบัติในภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบการเตือนภัยให มีความแมนยา นาเช่ือถือ และมี ประสิทธิภาพ สงเสริมกลไกการเขาถึงขอมูลขาวสารผานเทคโนโลยีสมัยใหม พัฒนาระบบฐานขอมูลใหเปนมาตรฐาน เดยี วกนั และสามารถเชือ่ มโยง แลกเปลีย่ นขอมลู ระหวางหนวยงาน ทั้งในและตางประเทศได พฒั นากลไกบรู ณาการความ รวมมอื ทุกภาคสวน เพือ่ เพ่มิ ศักยภาพการจดั การภัยพิบตั ิในภาวะฉุกเฉนิ 4. พัฒนาระบบการฟนฟบู ูรณะหลงั การเกดิ ภัย ใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูประสบภัยไดอยางทวั่ ถึง และ เปนธรรม ยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภัยภายหลังการเกิดภยั พิบัติ และปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภยั ของสิ่งกอสรางและโครงสรางพื้นฐาน รวมถึงพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยของโครงสรางแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ไดกาหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาการศึกษาภายใต 6 ยุทธศาสตรหลักท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) เพื่อใหแผนการศึกษาแหงชาติบรรลุเปาหมายตามจุดมุงหมาย วิสัยทัศน และแนวคิดการ จัดการการศึกษา โดยไดกาหนดใน ยุทธศาสตรที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติ ปจจุบัน ภยั คกุ คามตอความมัน่ คงรูปแบบใหมทีส่ งผลกระทบตอประชาชนและประเทศชาติมีความซับซอนและ รนุ แรงมากขน้ึ อาทิ ความรุนแรงในรูปแบบตาง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม ภัยจากไซเบอร เปนตน ความมั่นคง ของชาตจิ งึ มิไดครอบคลุมเฉพาะมิติดานการทหารหรืออานาจอธิปไตยเทานน้ั แตยังครอบคลมุ มิติตาง ๆ ท้งั เศรษฐกิจ สงั คม วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฯลฯ ซ่ึงในแตละมติ ิลวนมีความสาคญั ตอการพฒั นาประเทศ 7
การปองกันภัยคุกคามเหลาน้ีจะตองพิจารณาในมิติท่ีมีความเช่ือมโยงกัน และการดาเนินการเพ่ือวางรากฐานและ กลไก การสรางความมั่นคงเพ่ือปองกันและปองปรามภัยเหลาน้ีนั้นจะตองเริ่มที่กระบวนการจัดการศึกษาของประเทศ การ ดูแลและ ปองกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม ไมวาจะเปนอาชญากรรม ความรุนแรงในสังคมในรูปแบบตาง ๆ ยาเสพติด ภัย พิบัติจาก ธรรมชาติ ภัยจากโรคอุบัติใหม ภัยจากไซเบอร เพื่อสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิต ลดความ เสี่ยงจากภยั คกุ คามตาง ๆ ดังนั้น การจัดการศึกษาท่ีครอบคลุมประเด็นหลักสาคัญท่ีมีผลดานความม่ันคงแกคนในชาติจะสงผลใหทุกคนมี จิตสานึก ความรู ความสามารถ ทักษะ ความคิด ทัศนคติ ความเชื่อคานิยม และพฤติกรรมที่เหมาะสม รูเทาทันการ เปลี่ยนแปลงของสังคม และโลกศตวรรษที่ ๒๑ สามารถดารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางสันติและสงบสุข อันจะสงผลใหสังคม และประเทศเกิดความม่นั คง ธารงรักษาอธปิ ไตย และผานพนจากภยั คุกคามตาง ๆ ได ความเขาใจเกี่ยวกับกรอบความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน (Comprehensive School Safety Framework : CSSF) ไดปรากฏอยูในกรอบการดาเนินงานระดับโลก ท้ังท่ีเปนกรอบความคิดริเร่ิม และขอตกลงหลายฉบับ CSSF ต้ังอยูใจ กลางของ กรอบการดาเนินงานท่ีทับซอนกันหลายดาน ไดแก เปาหมาย การพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) อนุสัญญาวาดวยสิทธิคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with Disabilities: CRPD) การ ลดความเสย่ี งจาก ภยั พบิ ตั ิ (Disaster Risk Reduction : DRR) และSendai Framework for DRR โดยมีหลักการสาคญั คือ การศึกษาเปนสิทธิ ขั้นพ้ืนฐานของเด็ก ซ่ึงชวยใหประชาคมโลกเกิดความชดั เจนถึงภัยคุกคามจากภัยธรรมชาติ ความขัดแยง ความรุนแรง และการพลัดถ่นิ ความปลอดภยั รอบดานในโรงเรียน เปาหมายของความปลอดภยั รอบดานในโรงเรยี น เพือ่ คมุ ครองนกั เรยี นและบุคลากรดานการศึกษา จากการ เพือ่ ใหโรงเรียนวางแผนจดั การศกึ ษา เสยี ชวี ิต การบาดเจบ็ และอันตรายในโรงเรียน ตอเนื่องแมในระหวางทีเ่ กดิ ภยั พิบตั ิ 8 เพือ่ ปกปองการลงทุนในภาคการศกึ ษา เพอ่ื สรางความเขมแข็งในการลดความเส่ยี ง และการฟนตวั ของภาคการศกึ ษา 8
สามเสาหลกั ของความปลอดภยั รอบดานในโรงเรยี น ความปลอดภัยรอบดานในโรงเรยี น ซงึ่ อยูภายใตนโยบายและการปฏิบตั ดิ านการศึกษา มีความสอดคลอง กบั การบรหิ ารจดั การภยั พิบัติ ในระดับสากล ระดบั ประเทศ ภูมภิ าค จังหวดั และระดับพื้นท่ี รวมทั้งในโรงเรยี น กรอบแนวคิดดวามปลอดภัยรอบดานในโรงเรียน ประกอบดวยสามเสาหลกั (Three Pillars) ไดแก 1. ดานอาคารสถานที่และส่งิ อานวยความสะดวกในโรงเรียน ทปี่ ลอดภัย (Safer Learning Facilities) 2. ดานการบริหารจดั การภัยพิบตั ิในสถานศึกษา (School Disaster Management) 3. ดานการศึกษาดานการลดความเสี่ยงและการรรู บั ปรบั ตัวจากภัย พิบัติ (Risk Reduction and Resilience Education) รากฐานของการวางแผนสาหรับความปลอดภัยรอบด านในโรงเรียนคือการจัดทาการประเมินความเส่ียง แบบภยั หลายชนดิ การวางแผนนีค้ วรเปนสวนหน่งึ ของระบบขอมูลการจดั การการศึกษาในระดบั ประเทศ ระดบั ภูมภิ าคและ ในระดบั พ้ืนที่ ขอมลู เรือ่ งความเส่ียงจากภัยพิบตั เิ ปนสวนหนึ่งของการวเิ คราะหนโยบายของภาคการศึกษาและการจัดการใน ภาพรวม ซ่ึงจะใหขอมลู เชงิ ประจกั ษและหลกั ฐานที่สาคัญสาหรับการวางแผนและการดาเนนิ งาน ความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียนและความสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals) พ.ศ. 2558 - 2573 และกรอบการดาเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ พ.ศ. 2558 – 2573 ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการความปลอดภัยรอบดานในโรงเรียนเขาไปในกรอบการพัฒนาท่ียั่งยืนและ นโยบายและการลดความ เสี่ยงภัยพิบตั ิเร่ืองการลดความเสีย่ ง ไดแก 1) ปรับปรงุ การเขาถึงการศกึ ษาของเด็กอยางเทาเทียม ไมเลือกปฏบิ ัติ และปลอดภัย 2) พัฒนาและสร างความเขมแข็งใหแกสถาบัน กสไกและเครือขายประสานงาน รวมทั้งศักยภาพ ระดับประเทศ ในการสรางความสามารถในการรูรับปรับตัวและฟนคืนกลับ (Resilience) จากภัยและอันตรายท่ีอาจจะ เกดิ ขนึ้ แกภาคการศกึ ษา ท้งั ในระดับนานาชาติ ระดับชาติ ระดบั ภูมิภาค และระดับทองถนิ่ 3) บูรณาการแนวทางการลดความเสี่ยงเขาไปในการดาเนินงานเกี่ยวกับการเตรยี มพรอมรบั ภัยฉุกเฉิน การ ตอบสนอง และการฟนฟูจากภยั พบิ ัตใิ นภาคการศึกษา 4) ติดตามและประเมนิ ผลความกาวหนาของการดาเนนิ งานดานการลดความเสี่ยงภัยพบิ ัตแิ ละความขัดแยง 5) เพ่ิมจานวนและความสามารถในการเขาถึงขอมูลหลักฐานท่ีเกี่ยวกับภัย เชน ขอมูลเก่ียวกับระบบเตือน ภัยลวงหนา สาหรบั ภัยหลายชนิด (multi-hazard early warning system) และขอมูลเก่ยี วกับความเส่ยี งภยั พบิ ัติ 9 9
2. กฎหมายทีเ่ กยี่ วของ พระราชบญั ญัตคิ ุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 สาระสาคัญ พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 120 ตอนที่ 95 ก วันที่ 2 ตุลาคม 2546 มีผลบังคับใชเม่อื วนั ที่ 30 มนี าคมสาระสาคญั 2547 ของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ เก่ียวกับเรือ่ งสิทธิเสรภี าพของ เดก็ และเยาวชนทต่ี อง ไดรับความคุมครองจากรฐั โดยไมเลือกปฏบิ ัติและคานึงถงึ ประโยชนสงู สุดของเด็กเปนสาคัญ พ.ร.บ. ฉบบั น้ี มที งั้ หมด 9 หมวด 88 มาตราดวยกันแยกเปน มาตรา 1-6 อธิบายความหมายเกยี่ วของกับ พ.ร.บ. ฉบับน้ี หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 ที่วาดวยเรอ่ื ง ท่วี า่ ด้วยเรอ่ื ง ท่ีว่าด้วยเร่อื ง ทีว่ ่าดว้ ยเร่ือง ที่วา่ ดว้ ยเร่ือง คณะกรรมการ การปฏิบัตติ อ่ เด็ก การคุ้มครอง การคุ้มครอง ผู้คุม้ ครอง คุมครองเด็ก (มาตรา 22-31) สวสั ดภิ าพเดก็ สวัสดภิ าพเด็ก สวัสดภิ าพเดก็ (มาตรา 7-21) (มาตรา 40-47) (มาตรา 40-47) (มาตรา 48-50) หมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9 บทเฉพาะกาล ทีว่ า่ ดวยเร่อื ง ทวี่ าดวยเรอื่ ง ทีว่ าดวยเรือ่ ง ทวี่ าดวยเรอ่ื ง ออก (มาตรา 87-88) สถานรบั เลี้ยงเด็ก การสงเสริม ความ กองทุนคุมครองเดก็ กาหนดโทษ สถานพัฒนาและ ประพฤติ นักเรยี น (มาตรา 68-77) (มาตรา 78-86) ฟนฟู และนกั ศกึ ษา )62-51 มาตรา( (มาตรา 63-67) 10
ระเบียบ กฎหมายความผดิ เกย่ี วกบั เพศ และความผิดตอเสรภี าพ พรากผเู ยาว ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 317 บัญญตั วิ า ผูใดโดยปราศจากเหตอุ นั สมควรพรากเดก็ อายยุ งั ไมเกินสิบหาป ไปเสียจากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล ตองระวางโทษจาคุกตั้งแต 3 ป ถึง 15 ป และปรับ ตั้งแต 6,000 บาท ถึง 30,000 บาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 318 บญั ญัติวา ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสบิ หาปแตยงั ไมเกนิ สบิ แปดปไปเสีย จากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล โดยผูเยาวนั้นไมเต็มใจไปดวย ตองระวางโทษจาคุกตั้งแต 2 ปถึง 10 ป และปรับต้ัง แต 4,000 บาท ถึง 20,000 บาท ความผดิ ฐานพรากเดก็ หรอื พรากผูเยาว เปนการพาเด็กหรอื ผูเยาวไป หรือแยกเด็กหรือผู เยาว ออกไปจากความปกครองดูแลของบิดา มารดา หรือผูปกครองของเด็กหรือผูเยาว หากการพรากเด็กหรือผูเยาวไปเพื่อ การ อนาจาร เชน พาไปกอดจูบ ลูบคลา ผูนั้นจะตองไดรับโทษหนักยิ่งขึ้น โดยเฉพาะหากมีการรวมประเวณีหรือมีเพศ สัมพันธ ผูนั้นจะตองถูกดาเนินคดีขอหาขมขืนกระทาชาเราอีกขอหาหนึ่ง มีโทษหนักมาก แมผูเยาวนั้นจะยินยอมไปดวย ผูที่ พรากก็ตอง มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 ซึ่งบัญญัติวา ผูใดพรากผูเยาวอายุเกินกวาสิบหาปแตยังไม เกินสบิ แปดปไป เสียจากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือผูดแู ล เพ่ือหากาไร หรอื เพ่ือการอนาจาร โดยผูเยาวนั้นเต็มใจไปดวย ต องระวางโทษจาคกุ ตั้งแต 2 ป ถึง 10 ป และปรบั ตงั้ แต 4,000 บาท ถึง 20,000 บาท เชน “แดงพบเด็กหญิงเขียว จงึ ชวนไปเท่ยี วคางคนื ท่ีพทั ยา โดยไม ไดขออนญุ าตจากบิดามารดาของเด็กหญิงเขียว แมแดงจะไมได ลวงเกินเด็กหญิงเขียวกต็ าม ถือวามคี วามผิด ฐานพรากเด็กไป เสยี จากบดิ ามารดาโดยปราศจากเหตุ อนั สมควร หากแดงลวง เกนิ ทางเพศเด็กหญงิ เขยี ว แดงจะตองไดรับโทษทห่ี นักข้นึ ” กระทาอนาจาร ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 278 บัญญัตวิ า ผูใดกระทาอนาจารแกบุคคลอายุกวาสบิ หาป โดยขเู ขญ็ ดวย ประการใด ๆ โดยใชกาลงั ประทษุ ราย โดยบุคคลน้ันอยูในภาวะทีไ่ มสามารถขดั ขนื ได หรือโดยทาใหบคุ คลนน้ั เขาใจผดิ วาตนเป น บคุ คลอืน่ ตองระวางโทษจาคุกไมเกิน 10 ป หรือปรบั ไมเกนิ 20,000 บาท หรอื ทงั้ จาทั้งปรบั ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 279 บญั ญัติวา ผใู ดกระทาอนาจารแกเดก็ อายุไมเกินสบิ หาป โดยเดก็ น้นั จะยนิ ยอมหรอื ไมก็ตาม ตองระวางโทษจาคุก ไมเกิน 10 ป หรอื ปรับไมเกิน 20,000 บาท หรอื ทง้ั จาท้ังปรับ ความผิดฐานกระทาอนาจารเปนการกระทาทีน่ าอับอาย น าบัดสี ลามก เชน กอด จบู ลูบคลา หรอื จับอวยั วะเพศหญิง หนาอก รวมถงึ การจบั เนื้อตองตัวหญิงก็ตาม ก็ถือวาเปนความผดิ ขอหากระทาอนาจาร แมวาเด็กที่ถูกกระทาจะยนิ ยอมใหกระทาการดงั กลาวกย็ ังมคี วามผิด หากเดก็ นัน้ อายไุ มเกนิ สบิ หาป เชน 11
“แดงพาเด็กหญิงเขยี ว (อายุ 14 ป)ี ไปดูภาพยนตร โดยไดรบั อนญุ าตจาก บดิ ามารดาของเด็กหญงิ เขียว แตแดงไดกอดจบู เด็กหญิงเขียวขณะดภู าพยนตร แมเด็กหญิงเขียวจะยนิ ยอมใหแดงกอดจูบก็ตาม ถือวาแดงมีความผดิ ขอหา กระทาอนาจาร และหากเปนกรณีทแ่ี ดงพาเดก็ หญิงเขยี วไปดูภาพยนตรโดย ไมไดรบั อนญุ าตจากบดิ ามารดาของเดก็ หญงิ เขยี ว แดงมีความผดิ ฐานพราก เด็กไปเสียจากบดิ ามารดาโดยปราศจากเหตุอันสมควรอกี ขอหา” ขมขนื กระทาชาเรา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 บัญญตั วิ า ผูใดขมขนื กระทาชาเราหญิงอืน่ ซ่ึงมใิ ชภรยิ าของตน โดยขูเข็ญ ดวยประการใด ๆ โดยใชกาลงั ประทุษราย โดยหญิงอยูในภาวะทไ่ี มสามารถขัดขนื ได หรือโดยทาใหหญิงเขาใจผดิ วาตน เป นบคุ คลอ่ืน ตองระวางโทษจาคุกตงั้ แต 4 ป ถงึ 20 ป และปรบั ตั้งแต 8,000 บาท ถงึ 40,000 บาท ความผดิ ฐานขมขนื กระทาชาเราเปนการบงั คับใจ ฝนใจหญิงอน่ื ท่มี ิใชภรยิ าของตน โดยหญิงนน้ั ไมยนิ ยอม หรอื ใชกาลงั บงั คบั จนหญิงน้ันอยูใน ภาวะ ทไี่ มสามารถขดั ขนื ได จนผูกระทาผิดลวงเกินทางเพศ หรอื มเี พศสมั พนั ธกับหญิงนน้ั หากเปนการขมขนื กระทาชาเรา เดก็ หญิง อายุไมเกินสบิ หาป ซึ่งมิใชภรยิ าของตน โดยเดก็ หญงิ นนั้ จะยนิ ยอมหรือไมกต็ าม ผนู ้นั จะตองไดรับโทษจาคุกตั้งแต 4 ป ถึง 20 ป และปรบั ต้งั แต 8,000 บาท ถึง 40,000 บาท เชน นายหมกึ ไดใชกาลังฉุดนางสาวนุน อายุ 22 ป ในขณะที่ นางสาวนุนกาลัง กลับจากท่ีทางาน และนานางสาวนุนไปกกั ขังไวพรอมท้งั ขมขืนกระทาชาเราเชนนี้ นายหมึกมคี วามผิดขมขื นกระทาชาเรา และกักขงั หนวงเหน่ยี วรางกายผูอ่นื ตองระวางโทษจาคกุ ต้ังแต 4 ป ถึง 20 ป และปรับต้ังแต 8,000 บาท ถึง 40,000 บาท ไปจากบานและ ป 12 นายสนิ ไดหลอกลอเด็กหญงิ พะยอมอายุ“ ลงมือ กระทาชาเราเด็ก โดยเด็กมีความเตม็ ใจเชนนี้ นายสินกม็ ี ความผิดฐานขมขนื กระทาชาเราเดก็ หญิงไมเกนิ สบิ หาปซงึ่ มใิ ช ภริยาของตน โดยเดก็ หญิงนั้น จะยินยอมหรือไมกต็ าม นายสินจะต องไดรับโทษจาคุกตงั้ แต และปรบั ตง้ั แต 8 ป 20 ถึง ป 4, 000 40 บาท ถงึ ,”บาท 000 12
ระเบยี บ กฎหมายความผดิ เก่ียวกับยาเสพติดใหโทษ ยาเสพตดิ ใหโทษ หมายถึง สารเคมี หรอื วัตถุพิษ ชนิดใดชนิดหนงึ่ ซงึ่ เม่ือเสพเขาสูรางกาย ไมวาจะโดยรบั ประทาน ดม สบู ฉดี หรือดวยประการใดๆ แลวทาใหเกดิ ผลตอรางกายและจติ ใจในลักษณะสาคัญ เชน ตองเพม่ิ ขนาดการเสพข้นึ เปนลา ดบั มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มคี วามตองการเสพทั้งรางกายและจิตใจอยางรนุ แรงอยูตลอดเวลา และสขุ ภาพโดยท่ัวไปจะ ทรุดโทรมลง เสพ หมายถึง การรับยาเสพติดใหโทษเขาสูรางกาย ไมวาดวยวิธีใดๆ ยาเสพติดใหโทษ แบงออกเปน 5 ประเภท คือ ประเภท 1 ยาเสพตดิ ใหโทษชนดิ รายแรง เชน เฮโรอนี ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโทษท่วั ไป เชน มอรฟน โคคาอีน ฝนยา ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษทมี่ ลี ักษณะเปนตารบั ยา และมียาเสพตดิ ใหโทษในประเภท 2 ผสมอยูดวย ประเภท 4 สารเคมที ีใ่ ชในการผลิตยาเสพติดใหโทษ ประเภท 1 หรือประเภท 2 เชน อาเซตกิ แอนดไอไดร ประเภท 5 ยาเสพตดิ ใหโทษท่ีมิไดเขาอยูใน ประเภท 1 ถงึ ประเภท 4 เชน กญั ชา พชื กระทอม 13
ความผิดเกีย่ วกบั เสพยาเสพติดใหโทษ เสพกญั ชา ตามพระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 92 บญั ญตั วิ าผูใดเสพ ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ตองระวางโทษจาคุกไมเกิน 1 ป หรือปรบั ไมเกิน 20,000 บาท หรอื ท้งั จาท้งั ปรับ ดังนั้น ผูใดเสพกัญชาไมวาดวยวธิ กี ารใด ๆ เชน เอากญั ชาผสมบุหรแ่ี ลวสูบ หรอื เสพกัญชาโดยใชบองกัญชาถือวาผูนนั้ มีความผดิ ฐานเสพยาเสพติด ใหโทษประเภท 5 ซ่ึงมโี ทษจาคุกไมเกิน 1 ป หรอื ปรบั ไมเกนิ 20,000 บาท เสพยาบาหรือเฮโรอนี ตามพระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 91 บญั ญตั ิวาผูใด เสพยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 1 ตองระวางโทษจาคุกต้ังแต 6 เดอื น ถงึ 3 ป หรือปรบั ตง้ั แต 10,000 บาท ถึง 60,000 บาท หรือท้ังจาทัง้ ปรบั ดังน้ันผูใด เสพยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 1 เชน ยาบา เฮโรอีน ไมวาโดยวิธกี ารสดู ดมจาก การรมควนั หรอื ฉีดเฮโรอีนเขาเสนเลือด สดู ดมเขาทางจมูก ถือวาผูน้ันมี ความผดิ ฐานเสพยาเสพติดใหโทษประเภท 1 ซ่งึ มีโทษจาคกุ หนักกวากญั ชา เสพสารระเหย สารระเหย หมายความวา สารเคมี หรือผลติ ภณั ฑทีร่ ัฐมนตรีประกาศวาเป น สารระเหย เชนกาวตาง ๆ ผูตดิ สารระเหย หมายความวา ผูซง่ึ ตองใชสารระเหย บาบัดความตองการของรางกายและจิตใจเปนประจาความผิดฐานเสพสารระเหย นั้น ตามพระราชกาหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 มาตรา 17 บญั ญตั ิ วา “หามมใิ หผูใดใชสารระเหยบาบดั ความตองการของรางกาย หรอื จติ ใจ ไมวา โดยวิธกี ารสูดดม หรอื วธิ ีอ่นื ใด หากผูใดฝาฝน มโี ทษจาคุกไมกิน 2 ป หรอื ปรบั ไม เกิน บาท 20,000หรอื ท1้ัง4จาทง้ั ปรบั ” 14
ความผิดเก่ยี วกบั ครอบครองยาเสพตดิ ใหโทษ ความผิดฐานครอบครองยาบ้าหรือเฮโรอีนตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 15 บัญญัติว่า ห้ามมิ ให้ ผู้ใดผลิต นาเขา้ ส่งออก จาหนา่ ย หรอื มีไว้ในครอบครองซ่งึ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ซึ่งมาตรา 67 บัญญตั ิวา่ ผใู้ ดมี ไว้ ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจาคุกต้ังแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรือปรับ ต้ังแต่20,000 บาท ถึง 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ หากผู้ใดครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ประเภท ยาบ้า เกิน 15 เม็ด กฎหมายสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้น้ันได้ครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ไว้เพ่ือจาหน่าย ซ่ึงมี อตั ราโทษ จาคกุ ต้งั แต่ 4 ปี ถงึ ตลอดชีวติ “ ผูใดมีไวในครอบครองซ่งึ ยาเสพตดิ ใหโทษในประเภท 1 โดย ไมไดรับอนุญาต ตองระวางโทษจาคุกตั้งแต 1 ปถึง 10 ป หรอื ปรบั ต้ังแต 20,000 บาท ถงึ 200,000 บาท หรอื ท้งั จา ทัง้ ปรบั ” ระเบียบ กฎหมายความผดิ เกี่ยวกับการจราจรทางบก และการใชรถ ผูขบั ข่ีรถยนตหรือรถจักรยานยนตจะตองไดรับอนญุ าตจากเจาหนาทนี่ ายทะเบียนเสยี กอน โดยกลาวคอื ตองมี ใบอนุญาตขบั รถ หรอื ใบอนุญาตขับขร่ี ถจกั รยานยนต ซ่ึงออกใหโดยนายทะเบียน มิฉะน้ันจะมีความผดิ ตามพระราชบญั ญัติ รถยนต พ.ศ2522. มาตรา 42 ซ่งึ บัญญตั ิวา ผูขบั รถตองไดรับใบอนุญาตขับรถ และตองมีใบอนุญาตขับรถ และสาเนาภาพ ถาย ใบคูมือจดทะเบียนรถในขณะขบั รถ และมาตรา 34 บัญญตั วิ า ผูใดขับรถโดยไมไดรบั ใบอนุญาตขบั รถตองระวางโทษ จาคุก ไมเกิน 1 เดือน หรือปรับไมเกิน 1,000 บาท หรอื ทัง้ จาท้ังปรับ นอกจากนี้ ขณะขับรถหรือขบั ขร่ี ถจักรยานยนต สภาพรางกาย ของผูขบั ขี่จะตองปกติ สมบรู ณ ไมมีอาการหยอนความสามารถในการขบั ขี่ หรืออาการเมาสรุ า หรอื ของเมา อยางอน่ื มิฉะนั้นผู ขับขี่จะตองมีความผิดตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 160 วรรคสาม ซ่ึงมโี ทษจาคุกไม เกนิ 3 เดอื น หรือปรบั ต้ังแต 2,000 บาท ถึง 10,000 บาท หรือท้ังจาทัง้ ปรบั 15
สวนท่ี ๓
1. ขอบขายความปลอดภยั ของสถานศึกษา ขอบขายความปลอดภยั ของสถานศึกษา 4 กลมุ ภัย ดังนี้ 1) ภยั ทเี่ กิดจากการใชความรนุ แรงของมนุษย (Violence) 2) ภยั ท่ีเกดิ จากอุบตั เิ หตุ (Accident) 3) ภัยที่เกิดจากการถกู ละเมิดสิทธิ์ (Right) 4) ภัยทีเ่ กิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) มีองคประกอบดงั น้ี 1.๑ ภยั ท่ีเกิดจากการใชความรนุ แรงของมนุษย (Violence) 1) การลวงละเมิดทางเพศ 2) การทะเลาะววิ าท 3) การกล่นั แกลงรังแก 4) การชมุ นุมประทวงและการจลาจล 5) การกอวนิ าศกรรม 6) การระเบดิ 7) สารเคมแี ละวตั ถอุ ันตราย 8) การลอลวง ลักพาตวั 1.2 ภัยทเ่ี กิดจากอุบตั ิเหตุ (Accident) 1) ภัยธรรมชาติ 2) ภยั จากอาคารเรียน สงิ่ กอสราง 3) ภัยจากยานพาหนะ 4) ภัยจากการจัดกิจกรรม 5) ภัยจากเคร่อื งมือ อุปกรณ 1.3 ภยั ท่ีเกดิ จากการถูกละเมิดสิทธ์ิ (Right) 1) การถกู ปลอยปละ ละเลย ทอดท้ิง 2) การคกุ คามทางเพศ 3) การไมไดรบั ความเปนธรรมจากสังคม 1.4 ภยั ทีเ่ กดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) 1) ภาวะจิตเวช 2) ติดเกม 3) ยาเสพติด 4) โรคระบาดในมนุษย 5) ภัยไซเบอร 6) การพนนั 7) มลภาวะเปนพษิ 8) โรคระบาดในสัตว 9) ภาวะทพุ โภชนาการ 17
2. มาตรการความปลอดภัยสถานศึกษา มาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษามุงเนนใหเกิดความปลอดภัยตอนักเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา อยางย่ังยืน โดยเนนมาตรการทเี่ ขมงวดในมาตรการ 3 ป ดงั น้ี 2.1 การปองกัน หมายถึง การดาเนินการเพื่อไมใหเกิดปญหา อปุ สรรค หรอื ความไมปลอดภยั ตอนกั เรียน ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา โดยการสรางมาตรการปองกันจากปจจยั เสยี่ งที่อาจเกดิ ขน้ึ ท้ังในและนอกสถานศกึ ษา ดงั นี้ 1) การประเมนิ ปจจัยเส่ียงของสถานศกึ ษา 2) การกาหนดพ้นื ท่ีความปลอดภัย 3) การจดั ทาแผนความปลอดภยั สถานศกึ ษา 4) การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศของสถานศึกษา 5) การจัดโครงสรางบรหิ ารจัดการความปลอดภยั สถานศึกษา 6) การจัดโครงสรางขอมูลสารสนเทศความปลอดภยั สถานศกึ ษา 7) การสรางการมีสวนรวมของสถานศึกษาและภาคเี ครือขาย 8) การจัดระบบชองทางการส่ือสารดานความปลอดภยั สถานศึกษา 9) การจัดระบบคดั กรองและดแู ลชวยเหลอื นักเรยี น 10) การประเมินนักเรียนรายบุคคล ดานรางกาย จติ ใจ สงั คม สตปิ ญญา และความตองการชวยเหลอื 2.2 การปลกู ฝง หมายถึง การดาเนินการเกยี่ วกับการเสรมิ สรางความรู ความเขาใจ จิตสานกึ และเจตคตทิ ด่ี ี และ การสรางเสริมประสบการณเพื่อใหเกดิ ทักษะในการปองกันภัยใหแกนักเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ดังนี้ 1) การสรางจติ สานึก ความตระหนัก การรับรู และความเขาใจดานความปลอดภัยใหกับตนเองและผูอ่นื 2) การจดั กจิ กรรมสรางความรูความเขาใจ และพัฒนาองคความรูเกี่ยวกบั ความปลอดภัย ใหแกนกั เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูปกครอง 3) การจดั กิจกรรมเสริมสรางทกั ษะ ประสบการณ และสมรรถนะดานความปลอดภยั ใหแกนักเรียน 2.3 การปราบปราม หมายถงึ การดาเนนิ การจัดการแกไขปญหา การชวยเหลือ เยยี วยา ฟนฟู และดาเนินการ ตาม ขนั้ ตอนของกฎหมาย ไดแก 1) การจดั การแกไขปญหาความไมปลอดภยั ในสถานศกึ ษา 2) การชวยเหลือ เยยี วยา ฟนฟู จิตใจบคุ คลผูประสบเหตุความไมปลอดภยั 3) การดาเนนิ การตามข้นั ตอนของกฎหมายทเี่ ก่ยี วของ 18 18
มาตรการ 3 ป การปองกนั หมายถงึ การดาเนินการเพื่อไมใหเกิด ปญหา อุปสรรค หรอื ความไมปลอดภยั ตอนกั เรียน ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา โดยการสราง มาตรการปองกนั จากปจจยั เส่ยี งที่อาจเกดิ ข้ึนทั้งใน และนอกสถานศกึ ษา การปลกู ฝง หมายถึง การดาเนินการเกี่ยวกับการ เสรมิ สรางความรู ความเขาใจ จิตสานึก และ เจตคตทิ ดี่ ี และการสรางเสริมประสบการณเพื่อให เกิดทกั ษะในการปองกันภยั ใหแกนกั เรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษา การปราบปราม หมายถงึ การดาเนินการ จดั การแกไขปญหา การชวยเหลอื เยียวยา ฟนฟู และดาเนนิ การตามขนั้ ตอนของกฎหมาย 19
3. โครงสรางการบริหารจดั การความปลอดภยั สถานศึกษา ผูอานวยการสถานศกึ ษา เครอื ขายภาครฐั คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคเอกชน ภาค ขนั้ พนื้ ฐาน ประชาชน และผู รองผูอานวยการสถานศึกษา/ผูท่ไี ดรับมอบหมาย ปกครอง คณะทางานระดับสถานศึกษา ครูประจาชัน้ / ครูแนะแนว ครฝู า่ ยปกครอง สภานักเรียน ครทู ป่ี รกึ ษา 20
4. ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานความปลอดภยั สถานศกึ ษา การดาเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศึกษา มีข้นั ตอนดังน้ี 4.๑ การประเมนิ สภาพความเสย่ี งดานความปลอดภยั และจัดลาดบั ความเสี่ยง 4.2 การจัดทาแผนดาเนินการความปลอดภยั 4.3 การดาเนินการตามมาตรการ ๔.๔ การดาเนินการตามขอบขายความปลอดภยั ๔.๕ การกากบั ตดิ ตาม และประเมินผล มาตรการความปลอดภัย สถานศกึ ษา ใชหลกั 3 ป ไดแก่ การปองกัน ปลูกฝง และปราบปราม โดยมี รายละเอยี ด แนวทางการปฏิบตั ิและตวั ชีว้ ัดดังนี้ 1. การปองกัน ตาราง 1 การดาเนินการตามมาตรการการปองกนั เพ่ือใหเกดิ ความปลอดภัยในสถานศึกษา การปองกนั แนวทางการปฏบิ ัติ ตัวชีว้ ัด 1) กาหนดพนื้ ทค่ี วามปลอดภยั 1.1 ประชมุ ชแ้ี จง วางแผน การดาเนนิ - ส ถ า น ศึ ก ษ า ทุ ก แ ห ง มี ก าร งานดานความปลอดภัยสถานศึกษา กาหนดพื้นท่ี การควบคุมความ รวมกับ บุคลากร ภาคีเครือขาย และหนวยงาน ปลอดภัย ป ายสัญลักษณ และอุป องคกร ผูมีสวนเก่ยี วของ กรณ ควบคุมความปลอดภัยสวน 1.๒ กาหนดพื้นท่ีควบคุมความ บุคคล ปลอดภัย รวมถึงปายสัญลักษณ และอุป กรณควบคมุ ความปลอดภัยสวนบคุ คล 1.๓ จัดทาปายสัญลักษณแสดงความ เส่ียง ในพ้ืนท่ที ่มี คี วามเสี่ยง 1.๔ จั ด ท า ร ะ บ บ ข อ มู ล สารสนเทศดาน ความปลอดภัยของ สถานศึกษา 2) จดั ทาแผนความปลอดภัย 2.1 แ ต ง ต้ั ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ค ว าม - สถานศึกษาทกุ แหงมีแผนความ ของสถานศกึ ษา ปลอดภัย สถานศกึ ษา โดยการมสี วน ปลอดภยั สถานศึกษาทีค่ รอบคลมุ ทกุ รวมจากภาคีเครือขายและผูมีสวนเกย่ี วของ มติ ิ 2.2 เสนอแผนความปลอดภัยของ สถาน ศกึ ษาตอคณะกรรมการ สถานศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน 21 21
การปองกัน แนวทางการปฏิบัติ ตัวชีว้ ัด 2.3 กาหนดระยะเวลาการดาเนนิ งานและ ผูรับผิดชอบงาน 2.4 กาหนดนโยบายความปลอดภัยของ สถานศกึ ษา 2.5 เผยแพร ประชาสมั พันธนโยบาย และ แผนความปลอดภยั สถานศกึ ษา 3) การจดั สภาพแวดลอมและ 3.1 จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพภูมิ - สถานศกึ ษาทุกแหงจดั สภาพแวดลอม บรรยากาศของสถานศึกษา ทัศน หองเรียน หองปฏบิ ตั กิ าร หองนา้ และบรรยากาศท่ีมีความปลอดภยั ตอ 4) การจดั โครงสรางบริหาร จัดการความปลอดภัยสถาน หองพิเศษ และหองอืน่ ๆ ใหมีความ นกั เรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ศึกษา ปลอดภยั 3.๒ จัดทาแหลงเรยี นรูเพ่ือเสรมิ สราง ความปลอดภัยในสถานศึกษาทห่ี ลากหลาย ๔.1 สารวจและประเมนิ สภาพความเส่ยี ง - สถานศึกษาทุกแหงจัดระบบโครงสราง ดานความปลอดภัยสถานศกึ ษา ในการบริหารจัดการความปลอดภยั สถาน 4.๒ สถานศึกษาจัดทาโครงสรางบรหิ าร ศกึ ษา จดั การความปลอดภัยสถานศึกษา 4.๓ กาหนดบทบาทหนาท่ี ภาระงานของ คณะกรรมการ 4.๔ จัดทาปฏทิ ินการปฏิบัตงิ านของคณะ กรรมการความปลอดภัยสถานศึกษา 4.5 ประสานความรวมมือของคณะ กรรมการ ภาคเี ครือขาย และหนวยงาน ตนสงั กดั 5) การจัดทาขอมูลสารสนเทศ 5.1 แตงตงั้ คณะทางานเพือ่ จัดทาระบบ - สถานศึกษาทุกแหงมรี ะบบขอมูล ความปลอดภัยสถานศกึ ษา ขอมลู สารสนเทศความปลอดภัยของสถาน สารสนเทศความปลอดภัยสถานศึกษา ศึกษา 5.2 จัดหาเครื่องมอื วสั ดุ อุปกรณในการ เกบ็ รวบรวมขอมลู สารสนเทศ 5.3 เก็บรวบรวมขอมูลอยางครบถวน รอบดาน 5.4 วิเคราะหขอมูล จัดระบบหมวดหมู สารสนเทศ 5.5 จดั ทารายงานระบบขอมูล สารสนเทศและจดั เกบ็ อยางเปนระบบ 22
การปองกัน แนวทางการปฏิบตั ิ ตัวชีว้ ดั 6) การสรางการมสี วนรวมของ 6.1 ประสานความรวมมือในการสราง - สถานศึกษาทุกแหงมเี ครือขาย ความ สถานศกึ ษาและภาคเี ครือขาย เครอื ขายการมีสวนรวมในพื้นทแ่ี ละ รวมมอื ความปลอดภยั อยางนอย ๑ เครอื ภาคสวนตางๆ ขาย 6.2 มกี ารประชุมวางแผนเพื่อเสรมิ สราง ความปลอดภัยสถานศกึ ษารวมกนั 6.3 มกี ิจกรรมการดาเนินงานในการเสริม สรางความปลอดภัยสถานศกึ ษา 6.4 มกี ารประเมินผลรวมกัน 6.5 มกี ารเผยแพร ประชาสมั พนั ธความ รวมมอื ๖.๖ มกี ารยกยองชมเชยเครือขายภาคี ความรวมมือ 7) การจัดระบบชองทางการ 7.1 แตงต้งั คณะทางานดานการสือ่ สาร - สถานศึกษาทุกแหงมีชองทางการ ส่ือสารดานความปลอดภัยของ สถานศกึ ษา ประชาสมั พนั ธองคกร ส่อื สาร อยางนอย ๓ ชองทาง 7.2 กาหนดรูปแบบการส่อื สาร ประชา สมั พนั ธท่ีครอบคลมุ ทั้ง 3 ชองทาง ประ กอบดวย 1) On Ground ไดแก การจดั ปาย นิทรรศการ จดั ทาเอกสารประชาสัมพนั ธ การจัดกจิ กรรมรณรงคในวันสาคญั ตางๆ 2) On Line ไดแก การเผยแพร ประชา สัมพันธทางสือ่ สังคมออนไลนใน รปู แบบ ตางๆ เชน Facebook, Lineเปนตน 3) On Air ไดแก การประชาสมั พนั ธ ผาน ระบบเสียงตามสาย ท้ังในสถานศึกษา และชมุ ชน 7.3 ปรับรูปแบบระบบชองทางการ สอ่ื สาร ดานความปลอดภัยของ สถานศึกษาให สอดคลองกบั บรบิ ทและ สภาพการณของ สถานศึกษา 23
การปองกัน แนวทางการปฏิบตั ิ ตัวชวี้ ัด 8) การจดั ระบบดแู ลชวยเหลือ 8.1 แตงตง้ั คณะกรรมการระบบดแู ลชวย - สถานศกึ ษาทกุ แหงมรี ะบบดแู ลชวย นกั เรียน เหลือนกั เรยี นระดบั สถานศึกษา เหลอื นักเรยี น 8.๒ คดั กรองนกั เรียนแยกเปน 3 กลมุ ได อยางชัดเจน ประกอบดวย กลุมปกติ กลุ มเสี่ยง และกลุมมีปญหา 8.๓ เก็บขอมูลนักเรียนรายบุคคลดวย เครอ่ื งมือและวิธีการที่เหมาะสม เชน การ เยยี่ มบานนกั เรียน การสอบถาม การ สมั ภาษณ เปนตน 8.4 จดั กิจกรรมสาหรับเด็กกลุมตางๆ ได อยางเหมาะสม ดังนี้ - กลมุ ปกติ จัดกจิ กรรมสงเสริม ความสามารถตามปกติ - กลมุ เส่ียง จดั กิจกรรมปองกันปญหา - กลมุ มปี ญหา จัดกจิ กรรมแกปญหา และ ระบบสงตอ 8.5 สรุป รายงานผลการดาเนินงาน ระบบ ดแู ลชวยเหลือนักเรยี น 9) การประเมินนักเรยี น 9.1 มอบหมายใหครปู ระจาชั้น - นักเรยี นทุกคนไดรบั การประเมินอยาง รายบคุ คล ดานรางกาย จติ ใจ /ครทู ีป่ รกึ ษา มีหนาที่ในการประเมนิ รอบดาน สงั คม สติปญญา และความ ตอง นกั เรยี นรายบคุ คล การ 9.2 จดั ทาเครื่องมือวัดและประเมิน นักเรยี นรายบคุ คลทีค่ รอบคลุมทกุ ดาน 9. ๓ ครปู ระจาชน้ั /ครทู ่ปี รึกษา ดาเนนิ การ ประเมินนกั เรยี นรายบุคคล ๙.๔ จัดทาระบบขอมลู สารสนเทศ รายงาน ผลการประเมินนักเรยี นรายบุคคล 24 24
2. การปลูกฝงั ตาราง 2 การดาเนินการตามมาตรการการปลกู ฝงเพ่อื ใหเกิดความปลอดภัยในสถานศึกษา การปลกู ฝง แนวทางการปฏบิ ัติ ตวั ชี้วดั 1) การสรางจติ สานกึ 1.1 สารวจขอมูลดานความปลอดภยั สถานศกึ ษา - สถานศกึ ษาทกุ แหงมี ความตระหนักการรบั รู 1.2 จัดลาดับความรนุ แรง เรงดวนของ ความ หลกั สตู ร ความปลอดภัย และความเขาใจดาน ปลอดภยั สถานศึกษา สถานศกึ ษา ความ ปลอดภยั ใหแก 1.3 ปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยเพิ่ม ตนเองผูอื่น และสังคม เน้อื หาดานความปลอดภัย สถานศกึ ษาทีส่ อด - สถานศึกษาทกุ แหงมกี าร คลองกับความรุนแรง เรงดวน จดั กจิ กรรม เสรมิ สราง 2) การจัดกจิ กรรมสราง 1.4 จดั ทาคมู ือ/แนวทางวาดวย ความปลอดภัยใน ความรู ความเขาใจดาน ความรูความเขาใจ สถานศกึ ษา ความปลอดภยั สถานศึกษา พัฒนาองคความรู 1.5 จดั อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารดานความ ปลอดภยั ใหนกั เรียน ครู บคุ ลากร เก่ยี วกบั ความ ของสถานศกึ ษา ใหแก ครู บุคลากร ทางการศีกษา ทางการศึกษา และผู ปลอดภยั ใหแก นกั เรยี น และนักเรียน ปกครอง ครู บุคลากรทางการ 1.6 จัดทาศนู ยบรกิ ารส่อื ดานความปลอดภัยใน ศึกษา และผูปกครอง สถานศึกษา เพ่ือการศกึ ษา คนควาเพิม่ เติม 2.1 ประชมุ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือ ชี้แจงแนวทางเกยี่ วกับความปลอดภยั ใน สถานศกึ ษา 2.2 จดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรโดยบรู ณาการ เน้ือหาความปลอดภยั สถานศึกษาใน รายวชิ า ตาง ๆ ๒.๓ การจดั ทาส่ือประชาสมั พันธรูปแบบ ตางๆ เพื่อใหความรูแกผูปกครองและชุมชน ๒.๔ จดั กิจกรรมเสรมิ สรางความรูความเขาใจ เรอื่ งความปลอดภยั สถานศึกษาผานกิจกรรม Classroom meeting ระหวางสถานศึกษา กบั ผูปกครอง 25 25
การปลูกฝง แนวทางการปฏิบัติ ตวั ช้ีวัด 3) การจดั กิจกรรมเสรมิ สราง ๓.๑ จัดกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะประสบการณ - สถานศึกษาทุกแหงมีกจิ กรรมเสริม ทกั ษะ ประสบการณ และ ทีเ่ นนการลงมือปฏิบัตทิ ่เี ชื่อมโยงกับ การ ทักษะ ประสบการณ และสมรรถนะดาน สมรรถนะดานความ ปลอดภัยให ดาเนินชีวิตประจาวัน ใหแก เชน การปฐม ความ ปลอดภัยใหแกนกั เรียน แกนักเรยี น พยาบาลเบอ้ื งตนแก นกั เรียน ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๒ กจิ กรรมจัดกจิ กรรมสอดแทรกดาน ความปลอดภยั สถานศกึ ษาในกิจกรรมวัน สาคญั ตาง ๆ ๓.๓ สรรหาตนแบบผูจดั กิจกรรม และการ จดั กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะที่เปนเลิศ 3. การปราบปราม ตาราง 3 การดาเนนิ การตามมาตรการการปราบปรามเพื่อใหเกิดความปลอดภยั ในสถานศึกษา การปราบปราม แนวทางการปฏิบัติ ตัวชวี้ ัด 1) การจัดการแกไขปญหา 11.1 กาหนดแนวทางปฏิบัติการจดั การ - สถานศกึ ษาทุกแหงมรี ะบบ การแก กรณีเกิดเหตุความปลอดภยั ใน หรือการระงบั เหตุ การชวยเหลอื เม่ือเกดิ ปญหาดานความปลอดภัย สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา เหตใุ นสถานศึกษา และสรางการรับรู อยางมปี ระสิทธภิ าพ รวมกนั ทกุ ภาคสวน 1.2 จดั ตั้งคณะทางานเคล่ือนที่เรว็ (Roving Team) ทส่ี ามารถเขาระงับเหตุ ไดอยางทนั เหตุการณ 1.3 เตรยี มบคุ ลากร และเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ ท่ีพรอมรับสถานการณ 1.4 ติดตั้งระบบเตือนภยั เชน กลอง วงจรปด สามารถตรวจสอบขอเท็จจริงได 1.5. ซอมระงบั เหตุอยางตอเน่ือง เชน การดบั เพลงิ การซอมหนีไฟ การปฐม พยาบาลเบอ้ื งตน เปนตน 26
การปราบปราม แนวทางการปฏิบัติ ตวั ชี้วัด 2) การชวยเหลือ เยียวยา 1.6. ประสานงานเครือขายการมีสวน ฟนฟู จิตใจบคุ คลผูประสบเหตุ รวม เพ่ือใหความชวยเหลือไดทนั ความไมปลอดภยั เหตุการณ 1.7 สงตอผูประสบเหตุเพ่ือใหไดรับ 3) ดาเนินการตามขน้ั ตอนของ การชวยเหลอื ที่มีประสทิ ธิภาพ กฎหมาย 1.8 กากับ ตดิ ตาม ประเมินผล และ รายงาน 2.1 จัดทาขอมูลบุคคลและหนวยงาน ใน - สถานศึกษาทกุ แหงมีระบบการ พ้นื ทตี่ ัง้ ของสถานศึกษาทีส่ ามารถ ตดิ ตอ ชวยเหลอื เยยี วยา ฟนฟู จิตใจ ผูประสบ ประสานงานและใหการชวยเหลอื เยยี วยา เหตุความไมปลอดภยั ฟนฟู จิตใจไดอยางรวดเร็ว ทันทวงที 2.2 จัดตงั้ ศูนยชวยเหลือเยียวยา ฟนฟู และใหคาปรึกษา โดยการมีสวนรวม ของ เครอื ขายตางๆ 2.3 กาหนดหลักเกณฑและวิธกี าร ชวย เหลอื ท่เี หมาะสม 2.4 ประสานเครอื ขายการมีสวนรวม หนวยงาน องคกร เพ่ือใหการชวยเหลอื เยียวยา ฟนฟู 2.5 จดั ระบบประกนั ภัยรายบุคคลหรอื รายกลุมทส่ี ามารถใหการคุมครองสาหรบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาและ นกั เรยี น 2.6 สรางขวญั กาลังใจ โดยการตดิ ตาม เยี่ยมเยอื นอยางสม่าเสมอ 3.1 แตงต้ังคณะกรรมการดาเนินการดาน - ผปู ระสบเหตุทุกคนไดรบั การคมุ ครอง กฎหมาย ใหผูประสบเหตไุ ดรบั ความ ตามท่ีกฎหมายกาหนด คุมครองตามท่ีกฎหมายกาหนด 3.2 รายงานเหตุการณตอผูบังคบั บัญชา หนวยงานตนสงั กัด 27
การปราบปราม แนวทางการปฏิบัติ ตัวชว้ี ดั 3.3 ดาเนินคดี จาแนกประเภทของเหตุ ที่ เกิด ตดิ ตอประสานงานผูปกครอง เพ่ือ ดาเนินการหรอื ดาเนนิ การแทนผู ปกครอง 3.4 ใหการคมุ ครองนักเรียนใหอยู ในความ ปลอดภัย แนวทางการปฏิบัตขิ อบขายความปลอดภัยสถานศึกษา ขอบขายความปลอดภัยสถานศึกษาจาแนกเปน ๔ กลมุ ภัย โดยมีการดาเนินงานความปลอดภยั สถานศึกษาตาม มาตรการ ๓ ป ไดแก การปองกนั การปลกู ฝง และการปราบปราม ซงึ่ ในแตละมาตรการมแี นวปฏิบัตติ ามรายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ภยั ทีเ่ กิดจากการใชความรนุ แรงของมนษุ ย (Violence) 1.1 การลวงละเมดิ ทางเพศ แนวทางการปฏิบัติ การปองกัน 1) สารวจนักเรียนกลุมเส่ยี งและพืน้ ท่ีทเ่ี ปนจดุ เส่ียง 2) เฝาระวงั สังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น และพัฒนาพน้ื ท่ีเสี่ยงใหปลอดภัย 3) สรางเครอื ขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศึกษาและชุมชน 4) จดั ระบบการส่ือสารเพ่ือรับสงขอมลู ดานพฤติกรรมนักเรียนทงั้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน การปลูกฝง 1) จดั กิจกรรมสงเสรมิ ความตระหนกั รูและเหน็ คณุ คาในตนเอง 2) จัดกิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ 3) ฝกทกั ษะการปฏิเสธ และการเอาตวั รอดในสถานการณตาง ๆ การปราบปราม ๑) เผยแพรประชาสัมพันธชองทางในการขอความชวยเหลือ 2) แตงต้งั คณะทางานใหความชวยเหลอื เรงดวน ท่ีสามารถใหความชวยเหลือไดทันเหตุการณ 3) แตงตัง้ คณะทางานดานกฎหมายเพ่ือใหความชวยเหลือ 4) ประสานภาคเี ครือขายเพื่อการสงตอที่เหมาะสม 28 28
1.2 การทะเลาะววิ าท แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) จดั ทาระเบียบในการประพฤตปิ ฏิบตั ิตนในสถานศึกษา 2) ประชมุ ชแี้ จงทาความเขาในการปฏิบัตติ นตามระเบยี บ 3) เฝาระวัง สงั เกตพฤติกรรมทั้งในระดับชนั้ เรียน สถานศึกษา และชุมชน 4) สรางเครอื ขายเฝาระวงั ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 5) จดั ระบบตดิ ตอสอ่ื สารเพอ่ื ติดตามพฤตกิ รรมนักเรียนอยางตอเน่ือง การปลูกฝง 1) ใหความรูเรือ่ งการอยูรวมกันในสังคม และผลกระทบท่เี กดิ จากการทะเลาะววิ าท 2) จดั กิจกรรมสงเสรมิ การอยูรวมกันในสงั คม 3) จัดเวทกี ิจกรรมใหนักเรียนไดแสดงออกตามความสามารถอยางเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงตงั้ คณะทางานเพ่อื ระงบั เหตุทงั้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรวมเพ่ือรวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเกลย่ี ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 1.3 การกลน่ั แกลงรังแก แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกัน 1) สารวจนกั เรยี นกลุมเสย่ี งทั้งกลุมผูกระทาและผูถูกกระทา 2) จดั ทาระเบยี บขอตกลงรวมกัน ทั้งในระดับช้นั เรียนและระดบั สถานศึกษา 3) สรางเครอื ขายเฝาระวงั ทั้งในสถานศึกษาและชุมชน 4) จัดระบบการส่ือสารเพ่ือติดตามพฤตกิ รรมนกั เรยี น การปลกู ฝง 1) ใหความรูความเขาใจหลักในการอยูรวมกนั ในสังคม 2) จัดกิจกรรมใหนักเรยี นไดทารวมกนั อยางตอเน่ือง 3) จัดเวทีใหนักเรยี นไดแสดงออกตามความสามารถอยางเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงตง้ั คณะทางานเพ่อื ระงับเหตุ ท้ังในระดับช้ันเรยี น สถานศึกษา และชมุ ชน 2) ดาเนินการเอาโทษตามระเบียบขอตกลง โดยเนนการไกลเกล่ียประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไป หาหนกั 3) ตดิ ตาม เยยี่ มเยีอน ใหกาลังใจผูถกู กระทา และสรางความเขาใจกบั ผูกระทา 1.4 การชมุ นุมประทวงและการจลาจล แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกนั 1) สารวจนกั เรยี นกลุมเสย่ี ง 29
2) เฝาระวัง สงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น และพัฒนาพื้นทเี่ สี่ยงใหปลอดภัย 3) สรางเครอื ขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและในชุมชน 4) จดั ระบบการส่ือสารเพ่ือรับสงขอมูลดานพฤตกิ รรมนักเรยี นทัง้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจเก่ียวกบั ระเบยี บ กฎหมาย สทิ ธิและหนาที่พลเมือง 2) สรางองคความรูความเขาใจถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ จากการชมุ นมุ ประทวงและการจลาจล 3) จัดกจิ กรรมบาเพญ็ สาธารณประโยชนอยางสม่าเสมอ 4) จดั กิจกรรมสรางทัศนคตทิ ี่ถูกตองรวมกับผูปกครอง ชุมชน ในโอกาสท่ีเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงตงั้ คณะทางานเพื่อระงบั เหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรวมเพ่ือรวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเกลยี่ ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 1.5 การกอวินาศกรรม แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกนั 1) สารวจนกั เรยี นกลุมเสยี่ ง 2) เฝาระวงั สังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น 3) สรางเครือขายเฝาระวังท้ังในสถานศึกษาและในชมุ ชน 4) จดั ระบบการส่ือสารเพ่ือรับสงขอมลู ดานพฤตกิ รรมนักเรียนทง้ั ในสถานศึกษาและชุมชน การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงผลกระทบทเ่ี กิดจากการกอวินาศกรรม 2) จัดกิจกรรมสรางทศั นคติท่ีถกู ตองรวมกับผูปกครอง ชุมชน ในโอกาสที่เหมาะสม 3) จดั เวทใี หนกั เรยี นไดแสดงออกตามความสามารถอยางเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงต้งั คณะทางานเพ่อื ระงบั เหตุทง้ั ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรวม เพือ่ รวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การตามระเบยี บ กฎหมาย โดยเนนการไกลเกล่ยี ประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 1.6 การระเบดิ แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกัน 1) สารวจนักเรียนกลุมเส่ียง 2) สารวจขอมลู แหลงที่มาของวัตถปุ ระกอบระเบิด 3) สรางเครือขายเฝาระวังทั้งในสถานศึกษาและชมุ ชน 4) จัดระบบติดตอสื่อสารเพือ่ ตดิ ตามพฤติกรรมนักเรยี น 30 30
การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงผลกระทบที่เกดิ จากการใชระเบิด 2) จัดกิจกรรมสรางทศั นคติที่ถกู ตองรวมกับผูปกครอง ชุมชน ในโอกาสที่เหมาะสม 3) จัดเวทีใหนกั เรียนไดแสดงออกออกตามความสามารถอยางเหมาะสม การปราบปราม 1) แตงต้งั คณะทางานเพอื่ ระงบั เหตุทง้ั ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพอื่ รวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเกล่ียประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 1.7 สารเคมแี ละวัตถอุ นั ตราย แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) จัดทามาตรการและแนวปฏิบตั ใิ นการดาเนนิ การ ลด ละ เลกิ การใชสารเคมแี ละวตั ถุอันตราย ๒) จดั สถานทใี่ นการจดั เก็บสารเคมีและวตั ถอุ นั ตรายใหมิดชดิ ๓) สรางเครือขายเฝาระวงั การใชสารเคมีและวัตถุอันตรายทง้ั ในสถานศึกษาและชมุ ชน การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงผลกระทบทเี่ กิดจาการใชสารเคมแี ละวตั ถุอนั ตราย 2) จัดกจิ กรรมสงเสริมการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดาเนนิ ชีวติ 3) จดั กิจกรรมใหนักเรยี นไดเรยี นรูหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานที่จริงในพ้ืนท่ี การปราบปราม 1) ตดิ ตอประสานงานเครือขายการมีสวนรวมเพื่อรวมแกปญหา 2) ดาเนินการตามมาตรการและขอตกลงท่ีกาหนดรวมกนั 1.8 การลอลวง ลักพาตัว แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) สรางเครอื ขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศึกษาและชมุ ชน 2) จัดระบบการติดตอส่ือสารเพือ่ รบั สงขอมูลพฤติกรรมนักเรียน ผูใกลชิด และบุคคลภายนอก 3) จดั ทาขอมูลชองทางขอความชวยเหลือเผยแพร ประชาสัมพนั ธใหนักเรียนและชมุ ชน การปลกู ฝง 1) การจัดกจิ กรรมสงเสรมิ ความตระหนักรูและเห็นคณุ คาในตนเอง 2) จดั กจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ิตอยางรอบดาน 3) ฝกทกั ษะการปฏิเสธ และการเอาตัวรอดในสถานการณตาง ๆ การปราบปราม 1) แตงตง้ั คณะทางานใหความชวยเหลือเรงดวน ท่สี ามารถใหความชวยเหลอื ไดทนั เหตุการณ 2) แตงตั้งคณะทางานดานกฎหมายเพ่ือใหความชวยเหลอื 3) ประสานภาคีเครือขายเพ่ือรวมแกปญหา 31 31
2. ภยั ท่ีเกิดจากอบุ ตั ิเหตุ (Accident) 2.1 ภยั ธรรมชาติ แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกนั 1) สารวจขอมลู ความเสยี่ งทีเ่ กดิ จากภยั ธรรมชาติ 2) จัดทาแผนปองกันภัยทางธรรมชาติ 3) จดั ตรยี มวัสดุ อปุ กรณ เครื่องมือในการปองกนั ภัยธรรมชาติ 4) ซักซอมการเผชิญเหตุภัยธรรมชาติ การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงปญหาและผลกระทบทเี่ กิดจากธรรมชาตริ ูปแบบตาง ๆ 2) จัดกจิ กรรมฝกทักษะการเผชิญปญหาภยั ธรรมชาติ 3) จดั กิจกรรมสงเสรมิ การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม การปราบปราม 1) แตงตงั้ คณะทางานใหความชวยเหลอื เรงดวน ทสี่ ามารถใหความชวยเหลอื ไดทนั เหตุการณ 2) ตดิ ตอสือ่ สารเครือขายการมีสวนรวม เพ่อื รวมใหความชวยเหลือและแกปญหา 3) ประสานงานหนวยงาน องคกร เพื่อใหความชวยเหลือ เยยี วยา และฟนฟจู ติ ใจ 2.2 ภัยจากอาคารเรยี น สง่ิ กอสราง แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกนั 1) สารวจสภาพของอาคารเรียน อาคารประกอบ และส่งิ กอสราง 2) ตดิ ปายสัญลักษณในอาคาร หรือพน้ื ทีท่ ี่ไมแข็งแรงและมีความเส่ียง 3) ประชาสมั พนั ธใหนักเรยี นหลีกเล่ยี งการเขาพ้นื ทีเ่ ส่ียงอยางตอเน่ือง การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงหลักการสรางความปลอดภัยในการดาเนินชวี ิต 2) ฝกทักษะการสงั เกตและหลีกเลีย่ งพืน้ ทเี่ สย่ี ง 3) จดั กจิ กรรมฝกทกั ษะการเอาตัวรอดเมือ่ ประสบภยั จากอาคารเรยี น และส่ิงกอสราง การปราบปราม 1) สรางเครอื ขายการมสี วนรวมและดาเนินการชวยเหลอื และแกปญหาทีม่ ีประสทิ ธิภาพ 2) ประสานงานหนวยงานภาครัฐ และเอกชน เพอื่ ใหความชวยเหลอื 2.3 ภยั จากยานพาหนะ แนวทางการปฏิบัติ การปองกนั 1) สารวจขอมลู ยานพาหนะในสถานศึกษา 2) จัดระบบสัญจรในสถานศกึ ษาสาหรบั ยานพาหนะประเภทตาง ๆ และสาหรบั การเดนิ เทา 32 32
3) จดั ทาแผนใหความชวยเหลอื ผูประสบภยั จากยานพาหนะ 4) จัดเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ เครือ่ งมือ เพ่ือการชวยเหลอื 5) สงเสรมิ สนับสนุนการทาประกนั ภัย ประกันอุบัติเหตุ การปลูกฝง 1) จัดกจิ กรรมใหความรูเร่ืองการใชรถใชถนนและเครื่องหมายจราจร 2) จัดกิจกรรมฝกทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อประสบภัยจากยานพาหนะ 3) จดั กิจกรรมสงเสรมิ การสรางจิตสานึกในการปฏิบตั ติ ามกฎจราจร การปราบปราม 1) แตงต้งั คณะทางานใหความชวยเหลอื เรงดวน ที่สามารถใหความชวยเหลือไดทนั เหตุการณ 2) ตดิ ตอส่ือสารเครือขายการมีสวนรวม เพ่ือรวมใหความชวยเหลอื และแกปญหา 3) ประสานงานหนวยงาน องคกร เพื่อใหความชวยเหลอื เยยี วยา และฟนฟูจติ ใจ 2.4 ภัยจากการจดั กจิ กรรม แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) แตงตั้งคณะทางานประเมินความเส่ียงในการจัดกจิ กรรมตาง ๆ 2) จัดแยกกจิ กรรมตามระดับความเสยี่ ง 3) เสนอแนะแนวทางในการปองกนั ความเสยี่ งในกจิ กรรมตาง ๆ การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจในการปฏิบัติกจิ กรรมตาง ๆ ใหปลอดภัย 2) ฝกทักษะการเลือกปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตาง ๆ ทีเ่ หมาะสมกบั ตนเอง 3) จัดกจิ กรรมฝกทกั ษะการใหความชวยเหลือเม่อื ประสบภัยจากการปฏิบัติกจิ กรรม การปราบปราม 1) แตงต้ังคณะทางานใหความชวยเหลือเรงดวน ท่ีสามารถใหความชวยเหลือไดทนั เหตุการณ 2) ตดิ ตอส่ือสารเครือขายการมีสวนรวม เพื่อรวมใหความชวยเหลือและแกปญหา 3) ดาเนินการสงตอเพ่ือการชวยเหลอื ท่มี ีประสิทธิภาพ 2.5 ภัยจากเคร่อื งมือ อปุ กรณ แนวทางการปฏิบัติ การปองกนั 1) สารวจขอมลู เครื่องมือ อุปกรณ จัดแยกสวนท่ีชารุดและสวนท่ใี ชงานได 2) จัดทาคมู ือการใชเครอื่ งมือ อุปกรณใหปลอดภัย 3) ดาเนนิ การซอมแซม บารุงรกั ษาและการจดั เก็บเครื่องมือ อปุ กรณ ใหเปนระบบ การปลกู ฝง 1) จดั กิจกรรมสรางความรูความเขาใจ หลักการใชเคร่ืองมือ อปุ กรณ ใหปลอดภัย 2) ฝกทักษะการใช การบารุงรักษา การจดั เก็บเครื่องมือ อุปกรณ 3) จัดกิจกรรมสรางจติ สานึกในคุณคาของเครื่องมือ อุปกรณ 33 33
การปราบปราม 1) แตงต้งั คณะทางานใหความชวยเหลอื เรงดวน ท่ีสามารถใหความชวยเหลือไดทนั เหตุการณ 2) ประสานเครือขายความรวมมอื เพื่อใหความชวยเหลือ 3) ดาเนินการสงตอเพื่อการชวยเหลือท่ีมีประสิทธิภาพ 3. ภัยทเี่ กดิ จากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) 3.1 การถกู ปลอยปละ ละเลย ทอดทง้ิ แนวทางการปฏิบัติ การปองกนั 1) สรางเครือขายเฝาระวงั ท้ังในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) จัดระบบการติดตอสื่อสารเพื่อรับสงขอมลู พฤตกิ รรมนักเรียน และผูใกลชดิ 3) จัดทาขอมูลชองทางขอความชวยเหลอื เผยแพร ประชาสัมพันธใหนักเรียนและชุมชน การปลกู ฝง 1) จดั กิจกรรมสงเสริมความตระหนกั รูและเหน็ คุณคาในตนเอง 2) จดั กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ติ อยางรอบดาน 3) ฝกทกั ษะการปฏเิ สธการเอาตวั รอด และการขอความชวยเหลอื การปราบปราม 1) แตงต้ังคณะทางานใหความชวยเหลือเรงดวน ทีส่ ามารถใหความชวยเหลอื ไดทันเหตุการณ 2) แตงตัง้ คณะทางานใหความชวยเหลือดานกฎหมาย 3) ประสานภาคเี ครือขายเพื่อรวมแกปญหา 4) ติดตามเยีย่ มเยีอนใหกาลังใจอยางสม่าเสมอ 3.2 การคุกคามทางเพศ แนวทางการปฏิบัติ การปองกัน 1) สารวจนกั เรียนกลุมเสี่ยงและพืน้ ทเ่ี ปนจุดเส่ยี ง 2) เฝาระวงั สงั เกตพฤติกรรมนกั เรยี น และพฒั นาพืน้ ท่เี สยี่ งใหปลอดภัย 3) สรางเครือขายเฝาระวังท้ังในสถานศกึ ษาและในชมุ ชน 4) จดั ระบบการสื่อสารเพื่อรับสงขอมูลดานพฤตกิ รรมนักเรยี นทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน การปลกู ฝง 1) จดั กิจกรรมสงเสรมิ ความตระหนักรูและเห็นคณุ คาในตนเอง 2) จดั กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวติ รอบดาน 3) ฝกทักษะการปฏเิ สธ การเอาตวั รอดในสถานการณตาง ๆ 34 34
การปราบปราม 1) เผยแพรประชาสัมพนั ธชองทางในการขอความชวยเหลอื 2) แตงต้ังคณะทางานใหความชวยเหลือเรงดวน ทสี่ ามารถใหความชวยเหลือไดทนั เหตุการณ 3) แตงตงั้ คณะทางานใหความชวยเหลอื ดานกฎหมาย 4) ประสานภาคีเครือขายเพ่ือการสงตอที่เหมาะสม 5) สรางขวญั กาลงั ใจโดยการตดิ ตามเยยี่ มเยีอนอยางสม่าเสมอ 3.3 การไมไดรับความเปนธรรมจากสังคม แนวทางการปฏิบัติ การปองกนั 1) สารวจขอมูลนกั เรียนรายคน 2) วิเคราะหสภาพปญหาความตองการ ความขาดแคลน ของนกั เรยี นรายคน 3) จัดทาแผนใหความชวยเหลอื นักเรียนท่ตี ามความขาดแคลน 4) สรางเครอื ขายการมีสวนรวม เพอื่ ประสานความชวยเหลอื การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงสิทธิ หนาท่ี และความรับผิดชอบตอสงั คม 2) บรกิ ารใหคาปรึกษาสาหรับนักเรยี นกลุมเสย่ี ง 3) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การสรางจิตสานกึ ในความเสมอภาค เอื้อเฟอเผื่อแผตอกัน การปราบปราม 1) แตงตั้งคณะทางานใหความชวยเหลือเรงดวน ท่ีสามารถใหความชวยเหลือไดทันเหตุการณ 2) ประสานภาคเี ครือขายเพื่อรวมแกปญหา 3) ตดิ ตามเยี่ยมเยีอนใหกาลงั ใจอยางสม่าเสมอ 4. ภยั ทเ่ี กดิ จากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) 4.1 ภาวะจติ เวช แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) สารวจขอมูลนกั เรียนกลุมเสี่ยง 2) ตดิ ตอประสานเครือขายการมสี วนรวมเพอ่ื ประเมินภาวะจติ 3) จดั หลกั สตู รการเรยี นการสอนพิเศษรายคน 4) สรางเครือขายเฝาระวังทั้งในสถานศึกษาและชุมชน 5) จดั ระบบติดตอส่ือสารเพื่อรบั สงขอมลู พฤติกรรมอยางตอเนือ่ ง 35 35
การปลูกฝง 1) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรูรวมกนั ของนักเรียน 2) จดั เวทีใหนักเรียนไดแสดงออกตามความสามารถ 3) จัดกิจกรรมสงเสริมการตระหนักรูและเหน็ คุณคาในตนเองและผูอ่นื การปราบปราม 1) แตงตง้ั คณะทางานเพ่ือระงับเหตุทงั้ ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพอ่ื รวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเกลี่ยประนปี ระนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 4) ประสานการสงตอเพ่ือใหความชวยเหลือที่มปี ระสทิ ธภิ าพ 4.2 ติดเกม แนวทางการปฏิบัติ การปองกนั 1) สารวจขอมลู นกั เรยี นกลุมเสย่ี ง 2) สารวจขอมลู พ้นื ทีแ่ หลงใหบริการรานเกม 3) กาหนดขอตกลงเพ่ือปฏิบตั ิรวมกนั 4) สรางเครอื ขายเฝาระวังท้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน 5) จัดระบบตดิ ตอสื่อสารเพ่อื รบั สงขอมลู พฤติกรรมอยางตอเนอ่ื ง การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงผลกระทบท่เี กดิ จากการติดเกม 2) จดั กจิ กรรมสงเสรมิ การการคดิ วเิ คราะห และใชเวลาวางใหเปนประโยชน 3) จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรทสี่ นองตอความสนใจของนักเรียนอยางหลากหลาย การปราบปราม 1) แตงตัง้ คณะทางานเพ่อื ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรวม เพอื่ รวมแกปญหา 3) ดาเนินการเอาผิดตามขอตกลงท่ีกาหนดไวรวมกนั 4) ติดตามเยีย่ มเยีอนเพื่อสรางขวัญกาลงั ใจ 4.3 ยาเสพติด แนวทางการปฏิบัติ การปองกัน 1) สารวจขอมูลนกั เรยี นกลุมเสีย่ ง 2) วเิ คราะหนักเรียนรายบุคคล 3) กาหนดขอตกลงเพ่ือปฏบิ ตั ิรวมกนั 4) สรางเครือขายเฝาระวังทั้งในสถานศกึ ษาและชุมชน 5) จัดระบบตดิ ตอสอ่ื สารเพอื่ รับสงขอมลู พฤติกรรมอยางตอเนอ่ื ง 36 36
การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงโทษภยั และผลกระทบของการติดยาเสพติด 2) จดั กิจกรรมตอตานยาเสพติดในวนั สาคัญตาง ๆ อยางสม่าเสมอ 3) จัดกิจกรรมสงเสริมการการคิด วเิ คราะห และใชเวลาวางใหเปนประโยชน 4) จัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรทส่ี นองตอความสนใจของนักเรียนอยางหลากหลาย การปราบปราม 1) แตงต้งั คณะทางานเพือ่ ระงบั เหตุทัง้ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพ่ือรวมแกปญหา 3) ดาเนินการตามระเบียบ กฎหมาย โดยเนนการไกลเกลยี่ ประนีประนอม ตามมาตรการจากเบาไปหาหนัก 4) ประสานการสงตอเพื่อใหความชวยเหลอื ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 4.4 โรคระบาดในมนษุ ย แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกนั 1) สารวจขอมูลดานสขุ ภาพของนักเรียนรายคนและบคุ คลใกลชิด 2) จัดทาแผนในการปองกันโรคระบาดในมนษุ ย 3) บรกิ ารวัสดุ อุปกรณในการปองกันโรคระบาดในมนุษย 4) สรางเครอื ขายเฝาระวงั ทั้งในสถานศึกษาและชมุ ชน 5) จดั ระบบตดิ ตอส่ือสารเพื่อติดตามขอมูลดานสุขภาพอยางตอเนื่อง การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคระบาดในมนุษย 2) จัดกจิ กรรมฝกทักษะการปฏบิ ัตติ น เพื่อความปลอดภัยจากโรคระบาดในมนษุ ย 3) จัดกจิ กรรมสรางจติ สานึกในความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและสังคม การปราบปราม 1) แตงตั้งคณะทางานเพ่ือระงับเหตทุ ง้ั ในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรวม เพ่ือรวมแกปญหา 3) ดาเนินการตามมาตรการที่กฎหมายกาหนด 4) ประสานการสงตอเพ่อื ใหความชวยเหลอื ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ 4.5 ภยั ไซเบอร แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกัน 1) สารวจขอมลู การใชงานระบบไซเบอรของนักเรยี นรายคน 2) กาหนดขอตกลงเพ่ือปฏิบัตริ วมกนั 3) สรางเครือขายเฝาระวงั ทั้งในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 4) จัดระบบติดตอสอ่ื สารเพอื่ รบั สงขอมูลพฤติกรรมอยางตอเนอื่ ง 37 37
การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงผลกระทบที่เกิดจากการใชงานระบบไซเบอรโดยขาดวจิ ารณญาณ 2) จดั กิจกรรมสงเสริมการการคดิ วิเคราะห และใชเวลาวางใหเปนประโยชน 3) จดั กิจกรรมเสริมหลักสูตรทีส่ นองตอความสนใจของนักเรียนอยางหลากหลาย การปราบปราม 1) แตงต้งั คณะทางานเพ่อื ระงับเหตุทง้ั ในสถานศึกษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพอื่ รวมแกปญหา 3) ดาเนินการเอาผดิ ตามขอตกลงทีก่ าหนดไวรวมกัน 4) ติดตามเย่ียมเยีอนเพ่ือสรางขวญั กาลงั ใจ 4.6 การพนนั แนวทางการปฏบิ ัติ การปองกนั 1) สารวจขอมูลนักเรียนกลุมเสยี่ ง 2) สารวจพน้ื ทท่ี ีเ่ ปนแหลงการพนนั 3) กาหนดขอตกลงเพื่อปฏิบตั ิรวมกัน 4) สรางเครือขายเฝาระวังทั้งในสถานศึกษาและชมุ ชน 5) จัดระบบติดตอส่อื สารเพอื่ รับสงขอมลู พฤติกรรมอยางตอเน่อื ง การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงผลกระทบที่เกดิ จากการพนนั 2) จดั กิจกรรมสงเสริมการการคิด วเิ คราะห และใชเวลาวางใหเปนประโยชน 3) จัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รท่สี นองตอความสนใจของนักเรยี นอยางหลากหลาย การปราบปราม 1) แตงตัง้ คณะทางานเพือ่ ระงับเหตุทั้งในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมสี วนรวม เพือ่ รวมแกปญหา 3) ดาเนินการเอาผดิ ตามขอตกลงทก่ี าหนดไวรวมกัน 4) ติดตามเยีย่ มเยีอนเพ่ือสรางขวัญกาลงั ใจ 4.7 มลภาวะเปนพิษ แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกัน 1) สารวจขอมลู พ้นื ท่ีทีเ่ กิดมลภาวะเปนพษิ ในสถานศึกษาและชุมชน 2) จดั ทาปายสัญลักษณแสดงพ้ืนทม่ี ลภาวะเปนพิษ 3) จดั ทาแผนในการแกปญหามลภาวะเปนพิษรวมกัน 4) กาหนขอตกลงในการปฏบิ ัตริ วมกนั 38 38
การปลูกฝง 1) สรางความรูความเขาใจถึงสาเหตุและผลกระทบท่ีเกิดจากมลภาวะเปนพิษ 2) จดั กิจกรรมทีส่ งเสริมการแกปญหาและการลดมลภาวะเปนพษิ 3) จดั กิจกรรมสงเสรมิ การสรางจิตสานกึ ในการลดมลพิษรวมกบั ชุมชน การปราบปราม 1) แตงตัง้ คณะทางานเพ่ือระงบั เหตุท้ังในสถานศกึ ษาและชุมชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพือ่ รวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การเอาผิดตามขอตกลงที่กาหนดไวรวมกัน 4) ติดตามเยี่ยมเยีอนเพอ่ื สรางขวัญกาลังใจ 4.8 โรคระบาดในสตั ว แนวทางการปฏบิ ตั ิ การปองกนั 1) สารวจขอมลู สัตวเล้ียงของนักเรียนรายคน 2) จดั ทาแผนในการปองกันโรคระบาดในสัตว 3) บรกิ ารวัสดุ อปุ กรณในการปองกนั โรคระบาดในสตั ว 4) สรางเครอื ขายเฝาระวังทั้งในสถานศึกษาและชุมชน 5) จดั ระบบตดิ ตอสอ่ื สารเพ่อื ตดิ ตามขอมลู สตั วเล้ียงอยางตอเนอ่ื ง การปลกู ฝง 1) สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกบั โรคระบาดในสตั ว 2) จัดกิจกรรมฝกทกั ษะการปฏิบัตติ น เพื่อความปลอดภัยจากโรคระบาดในสัตว 3) จัดกิจกรรมสรางจติ สานึกในความรับผดิ ชอบตอตนเองและสังคม การปราบปราม 1) แตงตั้งคณะทางานเพือ่ ระงับเหตุทง้ั ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน 2) ประสานเครือขายการมีสวนรวม เพื่อรวมแกปญหา 3) ดาเนนิ การตามมาตรการท่ีกฎหมายกาหนด 4) ประสานการสงตอเพ่ือใหความชวยเหลอื ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ 4.9 ภาวะทุพโภชนาการ แนวทางการปฏิบตั ิ การปองกัน 1) การสารวจและจดั กลุมนักเรียนกลุมเสยี่ งและกลุมที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2) เสริมสรางความรวมมือระหวางโรงเรยี น ครอบครวั ชมุ ชน และผูมสี วนเกยี่ วของ 3) จดั ทาสอื่ ประชาสมั พนั ธใหความรูดานโภชนาการแกผูปกครอง 4) จดั ทาฐานขอมูลเพื่อตรวจสอบพฒั นาการและความกาวหนาในการลดภาวะทุพโภชนาการ ๕) จัดหาอุปกรณกีฬาใหเพยี งพอ ๖) การดแู ลอาหารกลางวนั อาหารเสรมิ และอาหารวางทถี่ ูกตองตามหลกั โภชนาการ 39 39
การปลกู ฝง 1) จัดกิจกรรมใหความรูดานโภชนาการแกนักเรยี น 2) จัดกิจกรรมออกกาลงั กาย และวิธีการรกั ษาสุขภาพใหกับนักเรียน 3) การบูรณาการความรูดานโภชนาการในการจัดการเรียนการสอน การปราบปราม 1) การเผยแพรประชาสัมพันธชองทางในการขอความชวยเหลอื 2) แตงตัง้ คณะทางานใหความชวยเหลือเรงดวน ทสี่ ามารถใหความชวยเหลือไดทันเหตุการณ 3) แตงตงั้ คณะทางานกองทนุ อาหารกลางวนั สาหรบั นกั เรียนที่มปี ญหาดานเศรษฐกิจ 4) ประสานภาคเี ครือขายเพ่ือการสงตอที่เหมาะสม 40
สวนท่ี ๔
1. ชองทางการติดตอสื่อสาร 1. ระบบ MOE Safety Platform 2. Website Online 3. E-mail 4. Facebook 5. Line 6. จดหมาย 7. โทร 1579 หรอื โทรศนู ยความปลอดภัย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร 02 – 628 – 9169 , 02 -628 – 9166 , 02- 628-9182 และ 02 – 628 – 9160 8. ติดตอดวยตนเอง 42
2. หนวยงานท่เี กี่ยวของ สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ 1. กองบังคบั การปราบปรามการกระทาความผิดเก่ยี วกับการคามนุษย กองบญั ชาการตารวจสอบสวนกลาง ถ.แขวงจอมพล เขตจตจุ ักร กทม. 10900 โทร. 0 – 2513 -3213 โทรสาร 0 – 2513 - 7117 Website : www.ccsd.go.th E-mail : [email protected] 2. งานพทิ กั ษเด็ก เยาวชน และสตรี สานักงานตารวจแหงชาติ ถ.พระราม 1 เขตปทุมวนั กทม. 10330 โทร. 0-2205-3421-3 ตอ 26 Website : www.Office.police.go.th E-mail : [email protected] 3. ศูนยสวสั ดภิ าพเด็ก เยาวชน และสตรี กองบัญชาการตารวจนครบาล เลขที่ 1 ถ.ราชดาเนนิ นอก แขวงวดั โสมนัส เขตปอมปราบศตั รูพาย กทม. 10100 โทร. 0-2281-1449 Website : www.korkorsordor.com หนว่ ยงานภาคเอกชน 1. มลู นิธิศนู ยพทิ ักษสิทธเิ ด็ก 979 ซ.จรญั สนทิ วงศ 12 ถ.จรญั สนิทวงศ แขวงทาพระ เขตบางกอกใหญ กทม. 10600 โทร. 0-2412-0739, 0-2415-1196 โทรสาร 0-2412-9833 Website : www.thaichildrights.org E-mail : cpcrheadoffl[email protected] 2. มลู นธิ ิพฒั นาการคุมครองเดก็ Fight Against Child Exploithion Foundation (FACE) ตู ปณ. 178 คลองจนั่ กทม. 10240 โทร. 0-2509-5782 โทรสาร 0-2519-2794 E-mail : [email protected] 43
3. มลู นิธิเพือ่ นหญิง 386/61-62 ซ.รชั ดาภเิ ษก 44 (ซอยเฉลิมสุข) ถ.รชั ดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กทม. 10900 โทร. 0-2513-1001 โทรสาร 0-2513-1929 Website : [email protected] E-mail : [email protected] 4. องคกรพิทกั ษสตรใี นประเทศไทย 328/1 สานกั กลางนักเรยี นคริสเตรียน ถ.พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 โทร. 0-2214-5157-8 โทรสาร 0-2513-1929 Website : www.afesip.ord 5. มลู นธิ ศิ ุภนิมติ รแหงประเทศไทย 582/18-22 ซ.เอกมยั สขุ ุมวทิ 63 แขวงคลองตัน เขตวัฒนา กทม. 10110 โทร. 0-2381-8863-5 ตอ 111 โทรสาร 0-2381-5500 Website : www.worldvision.or.th E-mail : [email protected] 6. เครือขายสงเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน 25/17-18 หมบู านมหาชยั เมอื งทอง ถ.สหกรณ ต.บางหญาแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 โทร. 0-3443-4726, 09-0948-4678 7. โครงการบานพิทักษและคุมครองสิทธเิ ดก็ ชนเผาลุมน้าโขง 294/1 ม.3 ต.ทาสุด อ.เมือง จ.เชยี งราย 57100 โทร. 0-6185-6603 โทรสาร 0-5378-7328, 0871-9075 Website : www.depde.org E-mail : [email protected] 8. ศนู ยขอมลู คนหาย มูลนิธกิ ระจกเงา 8/12 ซ.วภิ าวดี 44 ถ.วภิ าวดี−รงั สิตแขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร. 0-2941-4194-5 ตอ114 โทรสาร 0-2642-7991-2, 0-2941-4194 ตอ109 Website : www.becktohome.org , www.notforsale.or.th, www.miror.or.th E-mail : [email protected] 44
9. ศูนยชวี ิตใหม 49/9 ซ.3 ต.ทงุ โฮเตล็ อ.เมือง จ.เชยี งใหม 50000 โทร. 0-5335-1312, 08-5326-3010 โทรสาร 0- 5338-0871 Website : www.newlifecenterfoundation.org E-mail : [email protected] 10. สภาทนายความ 7/89 อาคาร 10 ถ.ราชดาเนนิ กลางแขวงบวรนิเวศเขตพระนคร กทม. 10200 โทร. 0-2629-1430 11. หนวยประสานงานเพื่อตอตานการคามนุษย ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย ศาลากลางจังหวดั เชียงใหม ชัน้ 5 ถ.โชตนา ต.ชางเผอื ก อ.เมือง จ.เชยี งใหม 50300 โทร. 0-5311-2643-4 12. คลนิ กิ นิรนาม สภากาชาดไทย สภากาชาดไทย กรุงเทพมหานคร 104 ถ.ราชดาริ แขวงปทมุ วัน เขตปทมุ วนั กทม. 10330 โทร. 02-252-2568 กด 1, 02-256-4107-9 โทรสาร 02-254-7577 13. โครงการสงเสรมิ ศกั ยภาพหญงิ แรงงานขามชาติ (ซปี อม) 120 ม.15 ต.รอบเวยี ง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 โทร. 0-5375-6411 โทรสาร 0-5375-6411 E-mail : [email protected] 14. บานแสงใหม 258 ม.5 ต.รอบเวยี ง อ.เมอื ง จ.เชียงราย 57000 โทร. 0-5371-4772 โทรสาร 0-5371-7098 E-mail : [email protected] 15. บานเอ้ืออารี 343/22 ซ.ขางธนาคารกสิกรไทย ถ.พหลโยธิน สะพานใหม แขวงอนเุ สาวรยี เขตบางเขน กทม. 10200 โทร. 0-2972-4992 โทรสาร 0-2972-4993 E-mail : [email protected] 45
16. มูลนิธเิ ขาถงึ เอดส สานกั งานกาญจนบรุ ี 64/3 ถ.แสงชโู ต ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 57000 โทร. 0-5371-6212, 0-5371-7897 Website : www.aidaccress.com E-mail : [email protected] 17. UNIAP โครงการความรวมมอื สหประชาชาติ วาดวยการตอตานการคามนษุ ย ประจาประเทศไทย อาคารสหประชาชาติ ชั้น 7 ถ.ราชดาเนนิ นอก กทม. 10200 โทร. 0-2288-1746 โทรสาร 0-2288-1053 Website : www.no_trafficking.org E-mail : [email protected] 46
หน่วยงานในพ้นื ท่ี จ.ตราด 1. สถานอี นามัยอนามัยตาบลท่าโสม ที่อยู่ 208 หมู่ 1 ซอย รร วัดท่าโสม ตาบลทา่ โสม อ4าเ6ภอเขาสมิง จังหวดั ตราด 23150 โทรศัพท:์ 039-546209 2. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลท่าโสม ท่ีอยู่ 199/9 หมู่ 1 ตาบลท่าโสม อาเภอเขาสมิง จงั หวัดตราด 23150 เบอรโ์ ทรศัพท์ สานักปลัด 039-599879 3. สถานดี ับเพลิงเทศบาลตาบลแสนตงุ้ ที่อยู่: 260 หมู่ 1 ต ตาบล แสนตุ้ง อาเภอเขาสมงิ ตราด 23150 โทรศพั ท์: 039-696449 4. สถานตี ารวจภธู รเขาสมิง ท่ีอยู่ 51 ซอยเทศบาล 6 ตาบล เขาสมิง อาเภอเขาสมงิ จังหวัดตราด 23130 โทรศพั ท์: 039-599100 5. สถานีตารวจภธู รแหลมงอบ ทีอ่ ยู่ 15/3-4 หมู่ 1 ตาบลแหลมงอบ อาเภอแหลมงอบ จังหวดั ตราด 23120 โทรศพั ท:์ 039-597253 ,แฟกซ:์ 039-597033 6. สานกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดตราด ที่อยศู่ าลากลางจังหวัด ถนนราษฎรน์ ยิ ม ตาบลบางพระ อาเภอเมอื งตราด จังหวดั ตราด 23000 โทรศัพท:์ 039-511588 ,แฟกซ:์ 039-511588 7. ท่วี า่ การอาเภอเขาสมงิ เลขท่ี 229 หมู่ท่ี 1 ถนนสขุ ุมวทิ ตาบลเขาสมงิ อาเภอเขาสมงิ จังหวัดตราด 23130 โทรศพั ท:์ 039-599107 ,แฟกซ:์ 039-599436 8. กลุ่มสง่ เสริมการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกประถมศึกษาตราด โทรศัพท์ ๐๓๙-๕๒ ๒๘๑๖ ตอ่ ๑๐๕ โทรสาร: ๐๓๙-๕๑๑๒๗๘ www.trat-edu.go.th 9. องค์การบริหารสว่ นตาบลบางปดิ ทอี่ ยู่ 97 หมู่ 3 ตาบลบางปดิ อาเภอแหลมงอบ จงั หวดั ตราด 23120 โทรศัพท:์ 039-547290-1 47
สวนท่ี ๕
สถานศึกษาดาเนินการกากบั ตดิ ตาม และประเมินผล การดาเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา โดยการมีสวน รวม ของภาคเี ครอื ขาย ตามแนวดาเนินการ มาตรการ แนวทางปฏบิ ัติ โดยยดึ ตัวชว้ี ัดในการดาเนนิ การในทุก ประเดน็ มกี ารจัดทา เครื่องมือในการกากับ ตดิ ตาม และประเมินผล ที่มคี ุณภาพและครอบคลมุ มีการจัดทา แผนการกากบั ติดตาม และประเมนิ ผล กาหนดปฏิทินดาเนนิ การ คดั เลือกสถานศึกษาท่มี ผี ลการดาเนินการ ประสบผลสาเรจ็ เปนที่ประจักษ ยกยองเชิดชูเกียรติ สรุป รายงาน และเผยแพรผลการดาเนินงานอยางเป นระบบ โดยดาเนนิ การ ดงั นี้ 1) แตงตัง้ คณะกรรมการกากับติดตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานความปลอดภัยของ สถานศกึ ษาโดยการมสี วนรวม จากทุกภาคสวน 2) ศึกษาแนวดาเนินการ มาตรการ แนวทางการปฏบิ ตั ิ และตวั ชวี้ ดั การดาเนินงานความปลอดภัย ของสถานศึกษา 3) จดั ทาแผนการกากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การดาเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา 4) กาหนดปฏทิ ินในการดาเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษา อยางนอยภาคเรียนละ 1 คร้งั 5) จัดทาเคร่อื งมือในการกากับ ตดิ ตาม และประเมินผล การดาเนนิ งานความปลอดภัยของ สถานศกึ ษาทีส่ อดคลอง กับตัวชีว้ ดั ในการดาเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศึกษา 6) ดาเนินการกากบั ตดิ ตาม และประเมินผล การดาเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศึกษา 7) สรุปผลการดาเนินงานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ใหขอเสนอแนะประเดน็ ที่เปนจดุ เดน จุด ควรพัฒนา พรอมแนวทางในการพัฒนาในปการศกึ ษาตอไป 8) คดั เลือกสถานศึกษาทีม่ ีผลการดาเนนิ การประสบผลสาเรจ็ เปนทีป่ ระจักษ 9) ยกยองเชิดชูเกียรติสถานศึกษาที่มผี ลการดาเนินการประสบผลสาเรจ็ เปนทป่ี ระจักษ 10) เผยแพรประชาสัมพนั ธผลการดาเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษาในชองทางที่หลากหลาย 49
Search