Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ch_01_Software Development Environment

Ch_01_Software Development Environment

Published by kingphorn9, 2017-03-21 01:01:19

Description: Ch_01_Software Development Environment

Search

Read the Text Version

02/02/54บริษัท Software Development Software Development Environment โลโก • แนวคิดเกยี่ วกบั ระบบ (System Concepts) • ระบบธรุ กจิ (Business System) Environment • การแบ่งแยกระหว่างขอ้ มูลและกรรมวธิ ที ่ใี ช้จดั การกบั ข้อมลู 4014301 Systems Analysis and Design – การแบ่งแยกระหว่างฐานข้อมลู และระบบงาน Thanawit Rattanakietkhajorn • บทบาทของนักวิเคราะหแ์ ละบุคลากรในหน่วยงานอื่นขององคก์ ารทีร่ บั ผิดชอบในโครงการพฒั นา Software Development Environment ระบบ • องค์กรและระบบสารสนเทศ• การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศ (Information Systems Analysis and Design) • ชนดิ ของระบบสารสนเทศ (Types of Information Systems) เปน็ กระบวนการทส่ี ลบั ซับซอ้ นและทา้ ทายซ่งึ ทีมบคุ ลากรภายในหน่วยงานต่างๆ ขององคก์ รใช้ • คณุ สมบัติของสารสนเทศทดี่ ี เพ่อื พัฒนาและบาํ รงุ รกั ษาระบบงานคอมพวิ เตอร์ • การวเิ คราะหร์ ะบบ (System Analysis) • การพัฒนาระบบสารสนเทศและวงจรการพฒั นาระบบงาน• Information Technology ไมไ่ ด้เปน็ แรงผลกั ดนั ทาํ ใหเ้ กดิ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ สารสนเทศ แตเ่ ป็นความตอ้ งการของหน่วยงานหรือกลมุ่ คนทาํ งานในหน่วยงานหรอื องค์กร Software Development Environment• การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบสารสนเทศเปน็ กระบวนการปรบั ปรุงองคก์ รในรปู แบบหนึ่งท่ี • รากฐานของการวเิ คราะหและออกแบบระบบสารสนเทศตองทาํ ความเขาใจกบั วตั ถปุ ระสงค จะส่งผลให้ IT ภายในองค์กรถกู สร้างหรือพฒั นาซ้ําแลว้ ซ้าํ อีกเพอ่ื ให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดกับ โครงสราง และกระบวนการการทํางานขององคกร รวมทงั้ มคี วามรเู กย่ี วกบั การประยุกตใช องคก์ ร เทคโนโลยีสารสนเทศ• ผลประโยชน์ที่องคก์ รจะไดร้ บั เกดิ จากการเพิม่ มลู ค่าใหก้ ับสนิ ค้าและบรกิ ารในระหว่าง • แนวโนม การทําธรุ กจิ โดยใชเทคโนโลยี Internet โดยเฉพาะ WWW มีมากขนึ้ เชน กระบวนการผลติ หรอื การให้บริการขององคก์ ร การทาํ ตลาดบนเวบ็ ของธุรกิจคาปลกี เชน Amazon.com แตระบบงานบนเวบ็ ท่ีธรุ กจิ สว นมากใชจะเปน การใชเ พอื่ ระบบงานระหวา ง ธรุ กจิ กับธุรกจิ (Business-to-Business Application) ซงึ่ มกั จะ ครอบคลมุ ระบบงานทกุ อยา งของธรุ กจิ เชน – การจดั ทาํ คาํ สงั่ เพอ่ื จัดสง ไปยงั suppliers – การชาํ ระหน้คี าสินคา และวตั ถุดบิ ใหก ับ suppliers – การรับคําส่งั ซื้อของลูกคาและเกบ็ เงนิ คา สินคา และบรกิ ารจากลกู คา เปนตน 1

02/02/54 Software Development Environment Software Development Environment• ดงั นน้ั ความเขาใจในธรุ กิจและวถิ ีทางในการดาํ เนินธรุ กจิ ยังคงเปน กุญแจสําคญั ทจี่ ะนําไปสู • ผลลพั ธท ี่สาํ คัญของการวิเคราะหแ ละออกแบบระบบ คอื Application Software ที่ ความสาํ เร็จของการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร ถกู ออกแบบมาเพ่ือใชสนับสนนุ หนาท่กี ารทาํ งานของงานใดงานหนง่ึ โดยเฉพาะ เชน – การบริหารจดั การสนิ คา คงคลงั• วชิ าชพี การพฒั นาระบบงานคอมพวิ เตอร เปน วชิ าชีพหนึ่งในไมม วี ิชาชพี ทส่ี ามารถสง ผลอยาง – การจายคาจา งและเงนิ เดอื นรวมทง้ั ผลตอบแทนอืน่ ๆใหแกพนกั งาน มากตอ การดาํ เนนิ ธรุ กิจในอนาคต – การวเิ คราะหต ลาด• การวเิ คราะหเปนงานท่ีใชเวลาหลายปก วาท่จี ะทาํ ไดสําเรจ็ เมื่อเปรียบเทยี บกบั เวลาท่ีใชในการ • ผลลพั ธอ ื่น เชน ทํางานของวชิ าชพี อนื่ ๆ – Hardware• ทาํ ไมถงึ มาเรียน IT , ทําไมถึงตอ งเรยี น SA (System Analysis)หรอื SAD – System Software (System Analysis and Design) – เอกสารแบบฟอรม ตา งๆทใ่ี ชท ํางานกับระบบ – เอกสารประกอบระบบ – เอกสารประกอบการอบรม Software Development Environment Software Development Environment• แกนของกระบวนการทํางานทาง Software Engineer ทเี่ ปน • ระเบียบวธิ (ี Methodologies) เปน ขน้ั ตอนและวิธีการตางๆ ทีใ่ ห แบบอยา งของการพฒั นากระบวนการทาํ งานของนกั วเิ คราะหแ ละ แนวทางแกนักวเิ คราะหและออกแบบในการทํางานพัฒนาระบบเพอื่ ใหไดงาน ออกแบบระบบ ไดแ ก ระบบสารสนเทศ (IS: Information System) ท่มี ีคณุ ภาพ ระเบยี บวิธี (Methodologies) • โดยท่ัวไประเบยี บวธิ กี ารพฒั นาระบบท่ีเปน ที่ยอมรับขององคกรใดองคก รหนง่ึ มกั จะสอดคลองกบั รปู แบบการบริหารงานโดยทัว่ ไปของผบู รหิ ารในองคกรนั้นๆ Organizational เชน องคก รที่มีขนบธรรมเนยี มในการบริหารงานแบบประชามติ มักจะมอี ทิ ธพิ ล Approach to สง ผลใหเกิดการเลอื กใชระเบียบวิธกี ารพฒั นาระบบสาํ หรบั แตล ะโครงการ Systems แตกตา งกนั ได ระเบยี บวธิ ีการพฒั นาระบบโดยสว นมากมกั ประกอบดว ยเทคนคิ ที่ Analysis and ใชใ นการทาํ งานหลายๆ เทคนคิ ดว ยกนั Designเทคนคิ (techniques) เครอ่ื งมอื (tools) 2

02/02/54 Software Development Environment Software Development Environment• เทคนิค (Techniques) เปนกรรมวิธเี ฉพาะท่ีใชเ พอื่ ให • เครื่องมือ (Tools) เปนโปรแกรมคอมพวิ เตอรทถ่ี ูกสรา งขึ้นเพ่ือให นักวเิ คราะหสามารถแนใ จวา งานท่ีทาํ ไดม คี วามสมบรู ณ มกี ารคดิ นักวเิ คราะหส ามารถใชป ระโยชนจ ากเทคนคิ ตา งๆ ไดง า ยขน้ึ รวมทงั้ ทบทวนอยา งถถ่ี ว นรอบคอบ และอยูใ นรูปแบบที่คนอน่ื ๆ ที่อยูใ น เพือ่ ใหนักวเิ คราะหสามารถปฏบิ ัติตามแนวทางการพัฒนาระบบทถ่ี ูก ทีมงานพฒั นาระบบดวยกันสามารทําความเขาใจและตดิ ตามงานที่ทําได กําหนดไวใ นแตละระเบยี บวิธีไดอยางเครงครดั โดยเทคนิคท่พี ฒั นาขึ้นน้นั สามารถชวยสนบั สนนุ การทํางานในหลาย งานของกระบวนการพัฒนาระบบ เชน • เพ่ือใหเ กิดประโยชนสูงสดุ ทง้ั เทคนคิ และเครื่องมือท่เี ลอื กใชจ ะตอ ง สอดคลอ งกับระเบยี บวิธกี ารพัฒนาระบบที่องคกรเลือกใชดวย – การสมั ภาษณเพ่ือหาขอ กาํ หนดวา ระบบทจี่ ะพัฒนาควรจะทาํ อะไรไดบ า ง – การวางแผนและบรหิ ารจัดการกจิ กรรมตา งๆ ในโครงการพัฒนาระบบงาน Software Development Environment – การวาดแผนภาพที่แสดงถงึ เงอื่ นไขของการทํางานภายในระบบ – การออกแบบรายงานท่ีเปน ผลลพั ธข องระบบ เปนตน เพิ่มพูนคณุ ประโยชนตา งๆ IT Software Development Environment สรา งผลกาํ ไรใหแ กองคกร• ระบบสารสนเทศ (Information System : IS) เปนสิ่ง สาํ คญั ตอผลสาํ เรจ็ สาํ หรบั องคก รธุรกจิ สมัยใหม และพงึ สงั เกตไดว า ผูคนยุคใหมในปจจบุ ันไดตระหนกั ถึงความสาํ คญั• ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบงานที่มกี ารนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) เขามาใชงานเพ่ือการ จดั เกบ็ ขอ มลู ประมวลผล และเรยี กดูขอ มูล 3

02/02/54Software Development Environment System Concepts การวเิ คราะหระบบ เปน กระบวนการหน่งึ ทีต่ อ งทาํ การศึกษาให • ความหมายของระบบ(System Analysis) เขาใจถึงรายละเอียดของปญ หา พจิ ารณาถงึ • ภาพรวมของระบบ ระบบวา ตอ งทาํ อะไรบา ง เพอ่ื แกไ ขปญ หา • ประเภทของระบบ ดงั กลา วได การออกแบบระบบ เปน การพัฒนาระบบสารสนเทศในแตล ะ(System Design) สวนวาตองการทําอยา งไร IS ท่พี ัฒนาขน้ึ มาจะสามารถดาํ เนนิ การแกไ ขปญ หาให ลลุ ว งไปไดอยางไร ดวยการมุง เนน การ พฒั นาระบบในเชิงกายภาพ(Physical) เพอ่ื ใหเ กิดระบบงานจรงิ ไวใ ชงาน System Concepts System Concepts• ระบบ (System) คือ กลุมขององคป ระกอบตางๆ ทมี่ ีความสัมพันธ เอ... ทาํ ไมโปรแกรม ระบบงานทม่ี ีองคประกอบบางสว นขาดประสทิ ธภิ าพ กัน โดยแตละองคประกอบจะทํางานรวมกัน เพอื่ จุดประสงคเ ดียวกนั ถงึ ประมวลผลชามาก แตผ มใชไมเปน – เชน ระบบงานทางคอมพวิ เตอร ประกอบดว ยองคป ระกอบหลกั 3 สว น 80486 ดวยกัน คอื Hardware, Software , Peopleware ทง้ั 3 สว นทาํ งานรวมกนั เพอื่ จุดประสงคใ นการประมวลผล เพอื่ ใหไ ดผ ลลัพธท ต่ี รง ตามความตองการ Hardware เราคอื Mainframe Computer ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสูง Software Peopleware 4

02/02/54 ภาพรวมของระบบ ภาพรวบของระบบ• ระบบถกู กําหนดดวยขอบเขต (System Boundary) โดย • แตละ Sub System จะมกี ารสื่อสารดวยการสง ขาวสารและ ขอบเขตจะประกอบดว ยองคป ระกอบตา งๆ ที่เรียกวา ระบบยอ ย สงผลยอนกลบั (Feedback) ระหวา งกัน (Sub System) • Sub System มกี ารตรวจสอบ (Monitoring) เพ่ือให• Sub System เปนสว นหนึ่งของระบบสามารถเปลี่ยนแปลงได ระบบสามารถดาํ เนนิ การไปสเู ปาหมาย (Goal) ที่ตองการ ในระหวา งข้ันตอนการออกแบบระบบ • ระบบที่ดีจะตองไดร บั การออกแบบ Sub System ใหมีความ• System Environment : ส่ิงตา งๆ ที่อยูภายนอกขอบเขต เปนอสิ ระตอกันมากท่สี ดุ ดวยการลดจาํ นวนเสนทางการไหลของขอมูล ระบบ เปนปจจยั หนึ่งที่มอี ิทธิพลและสง ผลกระทบตอระบบได (Flow)ระหวางกนั เทา ที่จะเปนไปได• ระบบทดี่ ีควรมี Sub System ท่มี ีความสมบูรณในตัวภาพรวมของระบบ ภาพรวมของระบบ Feedback EnvironmentSubsystem Subsystem Monitoring SubsystemBOUNDARY/ORGANIZATION 5

02/02/54 ประเภทของระบบ ประเภทของระบบ• คุณลักษณะของระบบ แบบเปน 2 ประเภท • ระบบปด (Close System) – ระบบปด (Close System) – เปน ระบบทไี่ มม ปี ฏสิ มั พนั ธก บั สงิ่ แวดลอ ม มจี ดุ มงุ หมายในการทาํ งานภายใน – ระบบเปด (Open System) ตัวเอง โดยจะไมยงุ เกีย่ วหรอื ไมร ับขอมลู จากสงิ่ แวดลอ มใดๆ เขา มา – เปนระบบที่มกี ารควบคุมการทาํ งาน และ การแกไ ขดวยตวั ของระบบเอง ระบบน้ตี องมี มาตรฐาน (Standards) รองรบั อยู เชน การทํางานของ เคร่อื งพมิ พท ี่มตี วั เซนเซอร 1-21 1-22Close System ประเภทของระบบ • ระบบเปด (Open System) – เปน ระบบทมี่ ปี ฏสิ มั พนั ธก บั สง่ิ แวดลอ มดว ยการแลกเปลย่ี น หรอื การรับสง ขอ มลู จากสภาพแวดลอ มเขา มาในระบบเพ่ือนํามาประมวลผลรวม – เปน ระบบทตี่ อ งอาศยั ปจจยั ภายนอกมาชวยควบคุมการทาํ งาน เชน • เซน็ เซอรตรวจจับความหนาแนนของรถยนตท ีว่ งิ่ ผา นบนทองถนนแตล ะแยก • คําแนะนาํ จากลูกคา 1-24 6

Open Systemสัง่ การเพ่ือควบคุม การควบคมุ ระบบ 02/02/54 7สญั ญาณจราจรอัตโนมตั ิ • การควบคุม (System Control) ขบวนการตรวจสอบระบบวา ระบบปฏบิ ตั ิงานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพตคู วบคมุ สญั ญาณไฟจราจร และไดผ ลตามวัตถุประสงค ระบบท่ดี ตี องมีการควบคมุ การทาํ งาน เซน็ เซอรส งขอมลู ไปยังตคู วบคมุ • การควบคุมประกอบดวย ภาพการควบคุมระบบ – มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard) – การวัดผลการปฏบิ ตั งิ านจรงิ (Measuring) Actual ... System Components... – การเปรยี บเทยี บระหวา งการปฏบิ ตั งิ านจริง กบั มาตรฐาน (Comparing)performance – การปอนกลับของผลการเปรยี บเทียบ (Feedback) OUTPUT INPUT 1-26 1-27 Actual Standard การควบคมุ ระบบ Means of Comparison • ตัวอยาง การควบคมุ ของระบบเปด Feedback of result of comparison – บรษิ ทั ขายสนิ คา หรอื บรกิ าร ในราคาสงู แตค ณุ ภาพตา่ํ ยอดขาย คอื ตวั Feedback จําเปนตองมีการปรับปรุงสนิ คา หรือ วธิ กี ารผลติ • ตัวอยาง การควบคมุ ของระบบปด – บรษิ ัทมกี ารควบคมุ การส่ังซ้อื สินคา โดย เม่อื สินคา ในมอื มจี ํานวนตํา่ กวา ที่ กําหนด จะออกรายการส่งั ซ้ือสินคา ทนั ที การควบคุมระบบปด ท่ีดตี อ งมกี าร ตรวจในตวั เอง(Self regulation) และการปรับปรุงในตวั (Self adjustment) 1-28

02/02/54 ระบบธุรกจิ (Business System) Business System• ระบบธรุ กิจ Business System – ระบบธรุ กิจสว นใหญป ระกอบดว ยระบบยอ ยพน้ื ฐานตา งๆ ทส่ี าํ คญั เชน ระบบ Purchased parts THE FIRM การตลาด ระบบขาย ระบบการผลติ ระบบขนสง ระบบการเงนิ ระบบบญั ชี ระบบสินคา คงคลังและระบบบริหารทรัพยากรบคุ คล เปน ตน SUPPLIER – แตละสว นมรี ะบบยอ ย (Subsystem) ภายในอีก เชน ระบบบญั ชี มเี จาหน้ี Orders to supplier Finished goods ลูกหนี้ Product Production Sales Delivery Service – แตล ะสว นทาํ งานรว มกนั เพอื่ หวงั กาํ ไร design orders Product 1-29 design Finished goods Business System Service requests• ระบบการผลติ ของบรษิ ทั แหงหน่ึง ประกอบดวยระบบยอยๆ 5 ระบบ คอื – การออกแบบผลิตภณั ฑ (Production Design) – การสรางผลิตภณั ฑ (Production) – การขาย (Sales) – การสง มอบ (Delivery) – การบรกิ าร (Service) Preferences CUSTOMER Equipment information 8

02/02/54 Business System Business System• ตัวบรษิ ทั (The Firm) คือ ขอบเขตของระบบ (System Boundary) • สง่ิ แวดลอ้ มภายนอกมีอทิ ธพิ ลตอ่ การดําเนนิ การของระบบธรุ กจิ• Environment ไดแ้ ก่ Supplier และ Customer วกิ ฤตการณต์ า่ งๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบธรุ กจิ ไดท้ ง้ั ภายใน• ระบบยอ่ ยแตล่ ะส่วนลว้ นแต่มีความสมั พนั ธก์ นั และภายนอก โดยมรี ายละเอียดคือ• การวิเคราะหร์ ะบบการตลาด จาํ เปน็ ต้องพจิ ารณาระบบสว่ นอ่นื ๆท่ี 1. ผลกระทบภายในระบบ (Internal Environment) เกี่ยวข้องดว้ ย ไดแ้ ก่ ระบบงานการเงนิ ระบบซือ้ ระบบการผลิต และ ระบบการจดั จาํ หนว่ ย • ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภายในองค์กรทสี่ ่งผลกระทบต่อองคก์ ร Business System 2. ผลกระทบภายนอกระบบ (External Environment)• ผลกระทบภายในระบบ (Internal Environment) • ผลกระทบท่เี กดิ ข้นึ ภายนอกองคก์ รท่ีสามารถเกดิ ข้นึ ไดท้ กุ เวลา โดยท่อี งคก์ รไมส่ ามารถ หลีกเล่ียง และยากตอ่ การควบคมุ หรอื บางครงั้ อาจควบคุมไม่ได้เลย – ตน้ ทนุ การผลติ สงู ขนึ้ – ปญั หาความขัดแย้งระหว่างพนักงาน Business System – ปญั หาการบงั คบั บัญชาในองคก์ ร – ปญั หาการขาดพนกั งานในตาํ แหน่งหนา้ ท่ี • ผลกระทบภายนอกระบบ (External Environment) – ปัญหาการขาดงาน – คู่แขง่ ทางการคา้ – นโยบาย กฎระเบยี บของรัฐ – ภัยจากธรรมชาติ – ความต้องการของลกู ค้า – เทคโนโลยี 9

02/02/54 ส่ิงที่ควรพจิ ารณาในการศกึ ษาระบบงาน สิง่ ท่คี วรพจิ ารณาในการศกึ ษาระบบงานWhat? How? • อะไร (What)When? Who? – วตั ถปุ ระสงคข์ องระบบคอื อะไร มแี ผนขน้ั ตอนอะไรบา้ ง ทจ่ี ะนาํ พาไปสู่ ความสาํ เรจ็ (Goal) • อย่างไร (How) – มวี ิธีการทาํ งานอย่างไร ต้องใชเ้ ครอื่ งมอื ใดเพื่อใหง้ านสําเร็จไดอ้ ย่างรวดเร็ว สิ่งที่ควรพิจารณาในการศกึ ษาระบบงาน องคก์ รและระบบสารสนเทศ• เมอื่ ไร (When) • องคก์ ร (Organization) เป็นโครงสร้างทางสังคมทเ่ี ปน็ ทางการและอย่ตู วั มกี ารนาํ ทรพั ยากรจากสภาพแวดลอ้ มภายนอกมาผา่ นกระบวนการผลติ – เรม่ิ ดาํ เนนิ งานเมอื่ ไร และผลสาํ เรจ็ ของงานจะสาํ เรจ็ ลุลว่ งไดเ้ มอ่ื ไร ควรมกี าร เพ่อื ให้ได้ผลผลติ ออกมา จัดการตารางงานอยา่ งมีระบบ • องคก์ รต้องมกี ระบวนการบรหิ ารทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ตลอดจนการรูจ้ ัก – การทาํ งานโดยไมม่ กี ารจัดตารางการทาํ งานทแ่ี นน่ อน อาจส่งผลให้ระบบงาน เทคนิควิธกี ารต่างๆ ท่ีจะนําพาองคก์ รไปสู่เป้าหมาย ยดื เยอ้ื หรอื ไมส่ ามารถปดิ งานได้ตามกาํ หนดเวลา • องค์กรท่มี ีระบบงานท่ดี ี ผู้บริหารดี พนักงานดี มกี ารประสานการทํางานท่ี• ใคร (Who) ดี ยอ่ มก่อให้เกิดผลสําเร็จไปส่เู ปา้ หมาย – หมายถึง การมีบุคคลหรือทีมงานทที่ ําหนา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบในขอบเขตของตนที่ 10 แนน่ อน รวมท้ังความสามารถในการับมอบหมายงานหรือสานงานตอ่

02/02/54 องคก์ รและระบบสารสนเทศ องคก์ รและระบบสารสนเทศ• องค์กรธุรกิจ มเี ป้าหมายสว่ นใหญ่ คือ ผลกําไร หรือ ผลตอบแทนจาก • ผลตอบแทนท่ีสามารถประเมินค่าได้ (Tangible) คอื ผลตอบแทนที่ การดาํ เนนิ งาน สามารถประมาณคา่ ในตวั เองได้• ผลตอบแทนแบ่งออกเปน็ – การเพิม่ ยอดขาย – การลดคา่ ใช้จา่ ยเอกสารสาํ นกั งาน 1. ผลตอบแทนทสี่ ามารถประเมินคา่ ได้ (Tangible) – การลดค่าลว่ งเวลาทาํ งาน 2. ผลตอบแทนทไ่ี มส่ ามารถประเมินค่าได้ (Intangible) – การประหยดั พลงั งาน – การเพม่ิ ชอ่ งทางการตลาด และโอกาสในการเพม่ิ ยอดขาย องคก์ รและระบบสารสนเทศ Data and Information• ผลตอบแทนท่ีไมส่ ามารถประเมินคา่ ได้ (Intangible) คือ ผลตอบแทนที่ไม่ สามารถประมาณคา่ ไดโ้ ดยตรง ซ่ึงยากตอ่ การประเมนิ มลู คา่ ในรปู ของตวั ขอ มูล การประมวลผล สารสนเทศ เงนิ แต่เป็นผลตอบแทนท่ีมีผลทางออ้ มตอ่ ธรุ กจิ (Data) (Process) (Information) – ทศั นะคตขิ องลกู ค้าทม่ี ตี อ่ องคก์ รดีขนึ้ – ผลติ ภณั ฑ์มคี ุณภาพสงู ข้นึ – พนกั งานมขี วญั และกาํ ลงั ใจในการทํางานดขี นึ้ – เพ่มิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล – มีความนา่ เช่ือถือมากข้นึ – การนาํ เสนอสารสนเทศตรงเวลามากขึ้น 11

02/02/54 ระบบสารสนเทศ (Information System : IS) ระบบสารสนเทศ (Information System : IS)• การแกไ้ ขปญั หาให้กบั ระบบธรุ กจิ ในปัจจุบัน จําเปน็ ต้องใช้ระบบ • เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology: IT) จะเปน็ การ สารสนเทศ ผสมผสานการทาํ งานระหวา่ งเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (Hardware, Software) กับเทคโนโลยกี ารส่ือสารโทรคมนาคม (ขอ้ มลู ภาพ เสยี ง และ• ระบบสารสนเทศ จะประกอบดว้ ยสว่ นประกอบตา่ งๆ ทส่ี ัมพนั ธ์กัน เพื่อให้ เครือข่าย) เกิดการประมวลผลให้เป็นสารสนเทศตามทีต่ อ้ งการ โดยจะมกี าร เตรียมการดา้ นบคุ คล ขอ้ มลู กระบวนการ รวมถึงการใช้เทคโนโลยี 1-46 สารสนเทศสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานในแตล่ ะวันของธุรกจิ การนําเสนอ รายงานแก่ผู้บรหิ าร เพือ่ นาํ ไปใช้ในประโยชนใ์ นการตดั สนิ ใจ ระบบสารสนเทศ (Information System : IS)• ระบบสารสนเทศ เปน็ ระบบที่สนบั สนุนการทํางานของทุกระบบ และ 1. Hardware 2. Software ทุกระบบในธุรกิจ ส่วนประกอบของ ระบบสารสนเทศ (Information System : IS) ระบบสารสนเทศ• IT หมายถงึ การนาํ เทคโนโลยีระบบคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม (เพอ่ื การตดิ ตอ่ สอ่ื สาร) มาใชร้ ว่ มกนั เพอ่ื ใชใ้ นกระบวนการ รวมรวบขอ้ มลู จดั หา จดั เก็บ สรา้ งและเผยแพร่ระบบสารสนเทศตา่ งๆ ที่ มคี วามถกู ตอ้ ง ความแม่นยาํ ความรวดเร็วให้ทนั ตอ่ การนําไปใชป้ ระโยชน์ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3. Data 5. Procedure : กระบวนการทาํ งาน 4. Peopleware 12

02/02/54 Types of Information Systems Transaction Processing Systems : TPS1. Transaction Processing Systems: TPS • ระบบประมวลผลรายการประจําวัน / ระบบการประมวลผลด้วย2. Management Information Systems: MIS รายการเปลย่ี นแปลง / ระบบประมวลผลเชงิ รายการ3. Office Information System/Office Automation Systems: OIS/OAS4. Decision Support System : DSS • TPS เป็นระบบสารสนเทศท่ถี ูกออกแบบและพฒั นาขึ้นเพอ่ื ทํางานที่5. Executive Support System : ESS เกยี่ วขอ้ งกับการดาํ เนนิ งานประจําวันหรอื สนับสนนุ การทํางานในระดบั6. Expert System : ES ปฏิบตั ิงาน (อาจเรยี กวา่ ระบบปฏบิ ตั ิงาน [Operational Systems]) เชน่ Transaction Processing Systems : TPS ระบบการลงทะเบยี น การออกใบเสรจ็ รับเงนิ (Receipt) การทําใบสัง่ ซื้อ (Purchase Order) ระบบการขนสงสนิ คาคุณลักษณะของระบบ TPS การบนั ทึกยอดขายสินคาประจําวัน ระบบการจา ยเงนิ เดือน1. การแยกประเภท (Classification) เป็นการรวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี ข้ามาใน การออกใบกาํ กับสนิ คา (Invoice) ใหกบั ลกู คา ระบบบญั ชตี างๆ การฝากเงนิ ระบบแลว้ นํามาจดั แยกประเภทใหเ้ ป็นหมวดหมู่2. การคาํ นวณ (Calculation) เชน่ คํานวณค่าลงทะเบียนเรียน การ Transaction Processing Systems : TPS คาํ นวณ GPA คณุ ลักษณะของระบบ TPS3. การจดั เรยี ง (Sorting) เชน่ ออกใบรายการสนิ คา้ โดยเรยี งตาม 4. การสรปุ ผล (Summarization) เช่น การออกใบกาํ กับภาษี การออก รหัสสนิ ค้า หรือแสดงประวัติลูกค้าโดยเรยี งตามวันที่ซอ้ื สินคา้ ใบรายงานสินคา้ หรือ สรุปรายชอื่ นกั ศึกษาท่ีลงทะเบยี นเรยี นวิชาต่างๆ 5. การจดั เกบ็ (Storage) เป็นการจัดเกบ็ สารสนเทศท่เี กิดขนึ้ ประจําวนั เพอ่ื จะไดน้ ําไปใชง้ าน สามารถนํามาใชส้ ําหรับการปรบั ปรงุ ขอ้ มูล (เพมิ่ แกไ้ ข/เปลีย่ นแปลง ลบ) 13

02/02/54 Transaction Processing Systems : TPS Transaction Processing Systems : TPS• ลกั ษณะขอ้ มลู ที่ใช้ประมวลผล • โดยทว่ั ไป TPS มักจะเป็นระบบปฏิบัตกิ ารทางธุรกจิ เชน่ – มปี รมิ าณมาก – ระบบจา่ ยเงนิ เดอื น – รายการเปลยี่ นแปลงมลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกนั – ระบบบันทกึ คาํ สง่ั ซื้อ – ขบวนการเปลยี่ นแปลง และประมวลผลเป็นแบบคงที่ และ ชดั เจน – ระบบส่ังซือ้ สนิ ค้า – มเี งอ่ื นไขยกเวน้ เพยี งเลก็ นอ้ ย – ระบบสนิ ค้าคงคลงั – ระบบรับและส่งสนิ คา้ 1-53 – ระบบใบกาํ กับสนิ ค้า – ระบบบญั ชีลกู หนีแ้ ละเจา้ หน้ี หรือ ระบบบญั ชแี ยกประเภทท่ัวไป • ทีไ่ ด้นาํ ระบบคอมพิวเตอรม์ าช่วยในการดําเนินงานทางธุรกจิ ใหเ้ ปน็ ไป อย่างมีประสิทธภิ าพตวั อยา่ ง : การประมวลผลเชงิ รายการ Management Information System : MISลกู ค้า ระบบ • ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ (MIS) / ระบบสารสนเทศในเชิง ใสห่ มายเลขบญั ชี ตรวจสอบหมายเลขบญั ชี วเิ คราะหผ์ ล ใสร่ หสั ลับ ใสย่ อดเงนิ ถอน ตรวจสอบรหสั รับ • MIS เปน็ ระบบที่นําสารสนเทศมาช่วยในการจัดทํารายงานตา่ งๆ เพอ่ื ช่วย ตรวจยอดเงินถอนกบั ยอดจํากดั การถอน ให้ผบู้ ริหารนาํ ไปใชส้ ําหรบั การวางแผน ควบคุม และแกป้ ัญหาตา่ งๆ ใน รบั เงนิ และใบรายการ ตรวจยอดเงินถอนกบั ยอดเงนิ ในบญั ชี ระบบธุรกจิ บนั ทกึ รายการเปลยี่ นแปลงจา่ ยเงนิ ออกใบรายการเปลยี่ นแปลงอยา่ งยอ่ เตรยี มรบั รายการเปลยี่ นแปลงต่อไป 1-55 14

02/02/54 Management Information System : MIS Management Information System : MIS• ระบบสารสนเทศท่นี าํ เอาข้อมลู ระดบั ปฏิบัตงิ านมาประมวลผลให้ได้ คณุ ลักษณะของ MIS สารสนเทศท่ีสามารถนาํ มาตดั สนิ ใจ เพ่ือใหก้ ารปฏบิ ตั ิ การบรรลถุ งึ 1. การรวบรวมขอ้ มูล ประมวลผลข้อมลู และจดั ทาํ เปน็ สารสนเทศทมี่ ี เปา้ หมาย และ วัตถปุ ระสงคข์ ององค์กร ลักษณะเป็นรายงาน ทม่ี าจากฐานข้อมลู ทม่ี กี ารเกบ็ ขอ้ มูลจากแหลง่• สารสนเทศทีเ่ กิดจากการวเิ คราะห์เปน็ ระยะ (อาทิตย์ เดือน ไตรมาส) โดย ตา่ งๆ หรอื จาก TPS แล้วจัดทําเป็นรายงานหรอื เอกสารสําหรับชว่ ยใน เปรียบเทียบระหวา่ งผลลัพธ์ กับ ความคาดหวัง สามารถนํามาทําการ การตดั สินใจท่ีเกย่ี วข้องกบั การบริหาร ปรบั เปลยี่ นแผนการดาํ เนนิ การ(ระยะกลาง) และ แกไ้ ขปญั หาระดบั กลาง 2. สารสนเทศทเ่ี กดิ ขึ้น มีอยู่ในรูปแบบต่างๆ คอื ได้ พรอ้ มสรา้ งขอ้ มูลเพือ่ ชว่ ยพยากรณผ์ ลลัพธท์ ี่อาจเกดิ ขึ้นในอนาคต 1. สารสนเทศแบบรายละเอยี ด (Detailed Information) 1-57 2. สารสนเทศแบบสรปุ (Summary Information) 3. สารสนเทศแบบกรณเี ฉพาะ (Exception Information) Management Information System : MIS Management Information System : MIS• สารสนเทศแบบรายละเอียด (Detailed Information) – จะแสดงรายละเอยี ดตา่ งๆ ทใี่ ชเ้ พ่อื การจดั การและควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านที่ เกดิ ข้นึ ในแตล่ ะวนั• สารสนเทศแบบสรปุ (Summary Information) – เกดิ จากการรวบรวมข้อมูลดิบ เพื่อนําไปใช้สําหรับการวิเคราะห์และศกึ ษาถึง ความเปน็ ไปไดข้ องปัญหาดา้ นต่างๆ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้• สารสนเทศแบบกรณีเฉพาะ (Exception Information) – เปน็ สารสนเทศท่เี กดิ จากการกรองข้อมลู ตามกฎหรอื เง่อื นไขทีผ่ ใู้ ชต้ อ้ งการ แล้วนาํ ไปสรา้ งรายงานกรณเี ฉพาะตอ่ ไป 15

02/02/54 Management Information System : MIS Management Information System : MISสําหรบั รายงานทเ่ี กดิ ข้ึนจากระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ แบ่งได้ดังน้ี TPS MIS• รายงานตามตาราง (Schedule Report) เชน่ รายงานประจาํ วนั MIS FILES ประจําสัปดาห์ ประจําไตรมาส หรอื ประจําปี เป็นต้น• รายงานตามความตอ้ งการ (Demand Report) เช่น รายงานเกีย่ วกับ Order Processing สินคา้ คงคลงั เพ่อื ไปใชส้ ําหรับการส่งั ซอื้ สนิ ค้า• รายงานตามกรณเี ฉพาะ (Exception Report) เชน่ รายงานแสดง System รายช่อื ลกู ค้าทค่ี ้างชาํ ระ รายงานแสดงรายชอ่ื พนักงานทท่ี ํางานล่วงเวลา Order File Sales Data MIS Reports Managers จํานวนมาก• รายงานพยากรณ์ (Predictive Report) เชน่ รายงานประมาณยอดขาย General Ledger Expense Data ทเี่ พมิ่ ข้นึ ในปหี น้า รายงานประมาณการการผลติ สินค้า เป็นต้น System Management Information System : MIS Accounting File• ตัวอยา่ ง: MIS Office Information System / Office Automation System : OIS/OAS – MIS นาํ ขอ้ มลู ระดบั TPS มาจัดทาํ รายงานเงนิ ฝาก เงนิ ถอน ของแตล่ ะสาขา เพือ่ สามารถควบคุมสดั ส่วนการกู้ ยอดเงนิ สํารอง ดอกเบยี้ จา่ ย และ อนื่ ๆ • ระบบสารสนเทศสาํ นักงาน / ระบบสาํ นกั งานอัตโนมตั ิ – MIS วเิ คราะห์กําไร ขาดทนุ จากขายแตล่ ะเดือน กบั ยอดเปา้ หมายทก่ี ําหนดไว้ – เปน็ ระบบสารสนเทศทอ่ี อกแบบมาเพอ่ื ใชก้ บั งานในสาํ นกั งาน เพอ่ื เพม่ิ ผลผลติ หากผลไมต่ รงตามเปา้ ตอ้ งหาสาเหตุ เพอื่ ทาํ การแก้ไข หรอื สง่ เสรมิ และประสทิ ธภิ าพของการปฏบิ ตั ิงานในสํานกั งาน รวมท้ังอํานวยความสะดวกใน การปฏิบตั ิงานและการตดิ ตอ่ สอื่ สารขอ้ มลู ระหว่างพนกั งานภายในหนว่ ยงาน 1-63 หรอื องคก์ รเดยี วกนั ไมว่ า่ จะอยทู่ ่ไี หนกต็ ดิ ตอ่ กันไดต้ ลอดเวลา – ชว่ ยพนกั งานประมวลผลดา้ นเอกสาร • E-mail, Spreadsheet, Word processor • Desktop publishing program • Phone system ,Conference system • Database, Presentation, Graphic Design • Web Browser, Groupware 1-64 16

02/02/54 Office Information System / Decision Support Systems : DSS Office Automation System : OIS/OAS • ระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ / ระบบสารสนเทศและขา่ วสารเพื่อคุณลักษณะของ OIS/OAS สนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ• มกี ารรวบรวมขอ้ มลู หรอื สารสนเทศตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกบั บุคลากรในแตล่ ะ • DSS เปน็ ระบบสารสนเทศทีจ่ ัดเตรยี มขอ้ มูลไวส้ าํ หรับผใู้ ชร้ ะบบ เพือ่ ชว่ ย กลมุ่ ไว้เพอ่ื ใชง้ านและพฒั นางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ ในการตัดสินใจแกป้ ัญหาหรือแนวทางเลอื กท่ีเป็นไปได้• ช่วยการทํางานอตั โนมตั ิดา้ นดา่ งๆ เช่น การประมวลผลคาํ การสง่ E-mail • ระบบนี้ถกู ออกแบบมาเพือ่ สนับสนุนการตดั สนิ ใจทไ่ี มม่ โี ครงสรา้ ง การกําหนดงานร่วมกนั เป็นกลมุ่ เป็นตน้ (Unstructured Decisions) หรอื แบบก่งึ โครงสร้าง (Semi-• มกี ารประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยรี ว่ มกนั ระหวา่ ง TPS กบั OIS Structured Decisions) ซงึ่ ยากตอ่ การหาแนวทางรองรบั หรอื การ แกป้ ัญหาทเ่ี กดิ ข้ึน Decision Support Systems : DSS Decision Support Systems : DSS• ระบบสารสนเทศสําหรบั ชว่ ยผ้บู ริหารทตี่ ้องตดั สินใจโดยอาศัยแนวคดิ ที่ ซบั ซ้อน มกี ารประเมนิ เหตกุ ารณด์ ว้ ยความยงุ่ ยาก เรียกวา่ เปน็ ระดบั การ TPS External ตัดสินใจแบบแนวทางไม่แนน่ อน Data• DSS ตอ้ งมีความยดื หยนุ่ เพียงพอท่ีจะตอบสนองความตอ้ งการของ ผใู้ ช้ DSS Database กลุ่มนี้ สาเหตุท่ตี อ้ งมคี วามยดื หยุ่นเพราะขอ้ มลู ที่ใชต้ ดั สนิ ใจ สว่ นใหญไ่ ม่ ชดั เจน และต้องอาศัยขอ้ มลู อนื่ ๆจากภายนอก DSS Software System Models OLAP Tools 1-67 Datamining Tools User Interface User 17

02/02/54 Decision Support Systems : DSS Decision Support Systems : DSS• ระดับการตัดสนิ ใจ • ระดบั การตดั สนิ ใจ – Structured : เปน็ ลกั ษณะการตดั สนิ ใจแบบตรงไปตรงมา โดยใช้ที่ขอ้ มลู – Unstructured : การตัดสินใจท่ตี อ้ งอาศยั แนวความคดิ ทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น ตอ้ งมี เด่นชดั (ข้อมลู จากภารกจิ ประจําวัน) จึงงา่ ยตอ่ การตดั สนิ ใจ เชน่ ตดั สินสง่ั ซอ้ื การประเมินเหตกุ ารณ์ด้วยความยุ่งยาก ดงั นน้ั การตดั สนิ ใจตอ้ งอาศยั ความ สินค้าโดยมรี ายงานยอดสนิ คา้ ในมอื เป็นขอ้ มูล ชาํ นาญ ความนึกคิด ไม่มเี หตุทช่ี ดั เจนเพยี งพอ ท่จี ะช่วยการตัดสินใจจึงตอ้ ง อาศัยข้อมลู และข่าวสารหลากหลายชนดิ – Semi-Structured : การตดั สินใจทีต่ ้องวเิ คราะห์หาเหตุผล เชน่ การตดั สินใจ ขยายธรุ กิจเน่ืองจากเห็นช่องทาง โดยมีขอ้ มลู ภายใน และวเิ คราะห์เหตุการณว์ ่า – ตวั อย่างเชน่ รบั ผจู้ ัดการใหม่ ได้ข้อมูลจากการสัมภาษณแ์ ละคาํ แนะนาํ จากคน มีโอกาสดี หรอื การตดั สนิ ใจหาแหลง่ เงนิ ทนุ โดยวเิ คราะหว์ า่ ตน้ ทนุ ตา่ํ ร้จู กั 1-69 1-70Executive Support Systems : ESS Executive Support Systems : ESS• ระบบสนบั สนุนผู้บริหารระดับสูง / ระบบสารสนเทศเพอ่ื ผู้บรหิ าร คณุ ลกั ษณะของ ESS (Executive Information system : EIS) 1. สนบั สนุนการวางแผนยทุ ธศาสตร์ (Strategic-planning Support)DSS ESS EIS มคี วามรใู้ นเรอื่ งกลยทุ ธ์ทางธรุ กจิ และการวางแผนทางยุทธศาสตร์ 2. เช่อื มโยงกับสภาพแวดล้อมภายนอกองคก์ ร (Externalตอบสนองความต้องการของผู้บรหิ าร มักใช้พยากรณ์ เป็นการตดั สนิ ใจในระดบั กลยุทธ์และนโยบายของ Environment Focus)และการทาํ นายเป็นสว่ นใหญ่ ใชป้ ระกอบการ ผ้บู ริหารระดบั สงู 3. ความสามารถในการคาํ นวณ (Broad-Based Computingตัดสนิ ใจผูบ้ ริหารระดับกลาง Capabilities) การคํานวณท่ีผบู้ ริหารต้องการมีลักษณะง่ายๆ ไม่ ซบั ซอ้ นมากนกั ตรงประเด็น เปน็ รูปธรรม เชน่ การเรียกใช้ข้อมูลแลว้ลักษณะการตัดสินใจแบบมโี ครงสร้าง (Structure การตัดสนิ ใจแบบไม่มีโครงสรา้ ง (Unstructured แสดงในลกั ษณะกราฟหรอื ภาพ ตารางเปรยี บเทยี บ แบบจาํ ลองแสดงDecision) และการตัดสนิ ใจแบบก่ึงโครงสรา้ ง Decision) เหตกุ ารณ์(Semi-Structure Decision) 18

02/02/54 Executive Support Systems : ESS Executive Support Systems : ESSคณุ ลกั ษณะของ ESS EIS •Menus4. งา่ ยตอ่ การเรยี นร้แู ละการใช้งาน (Exceptional Ease of Learning Workstation •Graphics •Communications and Users) •Local Processing5. เปน็ ระบบเฉพาะผบู้ ริหาร (Customization) เช่น การเรียกใช้งาน EIS Internal data External data EIS ลักษณะกราฟกิ กับผใู้ ช้ (GUI) ผ่านเมาส์ หรือ การสั่งงานด้วยภาษาพูด Workstation •TPS/MIS data •CNN Workstation หรือ ขัน้ ตอนไมซ่ บั ซ้อนจนเกิดไป •Financial data •Dow Jones •Office systems •Standard Poll •Menus Expert System : ES •Modeling/analysis •Graphics •Communications• ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ •Menus •Local Processing• เปน็ ระบบสารสนเทศทถ่ี ูกพฒั นาข้ึนมาโดยการรวบรวมความรูเ้ กี่ยวกับ •Graphics •Communications ปญั หาเฉพาะเร่ือง ความเชี่ยวชาญหรอื ประสบการณใ์ นการแกป้ ญั หาจรงิ •Local Processing และกระบวนการอนมุ าฯ แลว้ ทาํ เป็นแบบจาํ ลอง (Simulate) กระบวนการใช้เหตุผลและความคิด เพอ่ื ใช้แกป้ ัญหาและเลือกแนว Expert System : ES ทางการตดั สนิ ใจ เชน่ คุณลกั ษณะของ ES – ระบบวนิ จิ ฉยั โรค 1. ฐานความรู้ (Knowledge Base) เปน็ ส่วนเก็บความรทู้ ี่ไดจ้ ากความ – การสาํ รวจทางธรณวี ทิ ยา – ระบบผ้เู ชย่ี วชาญด้านการควบคุมคณุ ภาพอาหาร เปน็ จริงหรอื จากประสบการณข์ องผ้เู ช่ยี วชาญ ซึง่ มกี ารกาํ หนดกฎ – ระบบการให้เครดิต (Rule) และโครงสร้างข้อมลู (Data Structure) ให้เหมาะสมกบั การ นาํ ไปใชง้ าน การนาํ เสนอความร้จู ะอยใู่ นลกั ษณะ ถา้ ...แลว้ (If…Then) 2. เครื่องอนมุ าน (Interface Engine) เป็นระบบทคี่ วบคุมการใช้ความรู้ ในฐานความรู้ เพื่อวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ขปัญหา 1-76 19

02/02/54 Expert System : ES Expert System : ESคุณลักษณะของ ES ฐานความรู้ ระบบยอ่ ยใน3. ระบบยอ่ ยในการหาความรู้ (Knowledge Acquisition System) การหาความรู้ เปน็ สว่ นท่ใี ชส้ ําหรับดึงความรจู้ ากเอกสาร ตํารา ฐานข้อมูล หรือจาก เครอ่ื งอนมุ าน สว่ นอธบิ าย ผเู้ ชี่ยวชาญ โดยผู้พฒั นาระบบและวศิ วกรความรู้ (Knowledge Engineer) จะนําขอ้ มูลท่หี ามาได้เกบ็ ในฐานความรู้เพอ่ื นาํ ไปใช้งาน ผู้ใช้ระบบ ผเู้ ชีย่ วชาญ ต่อไป4. สว่ นอธบิ าย (Explanation Facility) เปน็ ส่วนท่อี ธิบายถึง ระบบสารสนเทศ และ การประมวลผลขอ้ มลู รายละเอยี ดของข้อสรุป หรือคาํ ตอบทไี่ ดม้ านัน้ มาจากอะไร DSS 1-77 MIS TPS Expert System : ES DATA PROCESSING• ES เป็นสาขาหนึ่งในระบบปญั ญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence : AI) DATABASE ทีน่ ยิ มนาํ มาใชง้ านในภาคธรุ กจิ AI เปน็ การพฒั นาระบบคอมพวิ เตอรใ์ หม้ ี ลักษณะเลยี บแบบมนษุ ย์ 1-80 – Natural Language – Robotics – Visual and Oral Perception Systems – Intelligent Machines – Neural Networks – Fuzzy Logic – Genetic Algorithms 20

02/02/54 การใชส้ ารสนเทศของผู้บรหิ ารระดับตา่ งๆ การใช้สารสนเทศของผู้บริหารระดบั ตา่ งๆ• ผู้บริหารแต่ละระดบั มกี ารนําสารสนเทศไปใช้งานแตกต่างกัน ระดบั การบรหิ าร ผลสรุปของสารสนเทศ• ผู้บรหิ ารแบง่ เปน็ 3 ระดบั สูง ผลสรุปสารสนเทศ ผู้บริหารระดบั สงู จากแหลงภายใน ผบู้ ริหารระดับกลาง องคก ร ผ้บู ริหารระดับลา่ ง กลาง รายละเอยี ด สารสนเทศจาก ลาง ภายในองคก รการใชส้ ารสนเทศของผูบ้ ริหารระดบั ตา่ งๆ การใชส้ ารสนเทศของผู้บริหารระดบั ตา่ งๆระดบั การบรหิ าร แหลงทมี่ าของสารสนเทศ การ ความต้องการชนิด ตัดสินใจ ของระบบสารสนเทศ ลําดบั ชั้น ความรบั ผิดชอบสงู สารสนเทศจาก ผ้บู ริหารระดับสูง พฒั นาแผนระยะยาว กําหนด ไมม่ ีโครงสร้าง ESS, MIS, DSS, OIS เป้าหมาย วางแผนและกลยทุ ธ์ แหลง ภายนอกองคกร ผู้บริหารระดับกลาง พัฒนาแผนระยะสัน้ กาํ หนด กง่ึ โครงสรา้ ง MIS, DSS, OISกลาง เปา้ หมาย วางแผนและกลวธิ ี สารสนเทศจาก ผ้บู ริหารระดบั ลา่ ง พฒั นางานแบบวันต่อวัน วางแผน มโี ครงสรา้ ง MIS, OIS แหลง ภายในองคกร และควบคมุ ดแู ลการปฏบิ ตั ิงานลาง พนักงานปฏิบัตงิ าน งานในหนา้ ท่ปี ระจาํ วนั มีโครงสร้าง TPS, OIS 21

การใชส้ ารสนเทศของผ้บู ริหารระดบั ตา่ งๆ คณุ สมบตั ขิ องสารสนเทศท่ีดี 02/02/54 22รูปแบบการตัดสินใจ 1. ตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevance)1. การตดั สินใจแบบมโี ครงสร้าง (Structured Decision) 2. ทนั เวลาต่อการนําไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ (Timeliness) 3. มคี วามเท่ยี งตรง (Accurate) – รลู้ ว่ งหน้าว่าเหตุการณน์ น้ั จะตอ้ งเกิดข้ึน แล้วกม็ แี นวทางท่ีชัดเจนสาํ หรบั การ 4. ประหยดั (Economy) ตัดสนิ ใจไวแ้ ล้ว 5. มปี ระสิทธิภาพ (Performance)2. การตัดสนิ ใจแบบกง่ึ โครงสร้าง (Semi-Structured Decision) System Analysis – สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ แตก่ ใ็ ช่วา่ จะสามารถระบุไดช้ ดั เจนลงไปอยา่ งเช่น เหตผุ ลสาํ คัญในการวเิ คราะหร์ ะบบ การตัดสินใจแบบมโี ครงสรา้ ง 1. ปรบั ปรุงบรกิ ารแกล่ กู ค้า 2. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการทํางาน3. การตดั สนิ ใจแบบไม่มีโครงสรา้ ง (Unstructured Decision) 3. เพม่ิ กระบวนการควบคุมการทํางาน 4. ลดต้นทุนการดําเนนิ การ – ไมส่ ามารถคาดเดาเหตุการณล์ ว่ งหน้าได้เลย และไมร่ ู้ว่าเหตกุ ารณ์นนั้ จะเกดิ ขนึ้ 5. ต้องการสารสนเทศมากขึน้ หรอื เกดิ ขน้ึ เมอ่ื ไหร่ System Analysis• การวเิ คราะหร์ ะบบ เป็นการศึกษาถึงปัญหาที่เกดิ ขึ้นในระบบงานปจั จบุ นั (Current System) เพอ่ื ออกแบบระบบการทาํ งานใหม่ (New System)• นอกจากนี้ เปา้ หมายในการวิเคราะหร์ ะบบคือตอ้ งการปรบั ปรงุ และแกไ้ ข ระบบงานเดิมใหม้ ที ิศทางทด่ี ขี ึ้น

02/02/54 System Analyst : SA System Analyst : SA• นักวิเคราะหร์ ะบบ คือ ผ้ทู ่ีทาํ หน้าทศ่ี กึ ษาปัญหาและความตอ้ งการของ • วิเคราะห์ระบบ (System Analysis) องคก์ ร ดว้ ยการนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาชว่ ยแกไ้ ขปญั หาทางธรุ กจิ – เปน็ วธิ กี ารศกึ ษา วเิ คราะห์ และแยกแยะถงึ ปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในระบบ พรอ้ มทง้ั• บคุ คลท่ีศึกษาถงึ ปัญหาของระบบ พรอ้ มทงั้ แยกแยะปัญหา อยา่ งมี เสนอแนวทางแกไ้ ขตามความต้องการ (Requirement) และความเหมาะสมที่จะ หลักเกณฑ์ และ ใชป้ รับปรุงระบบใหม่ เปน็ ไปได้• หนา้ ทีห่ ลักของนกั วเิ คราะหร์ ะบบ คือ • ออกแบบระบบ (System Design) – วเิ คราะหร์ ะบบ (System Analysis) – เป็นวิธกี ารออกแบบและกําหนดคณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ โดยการนาํ ระบบ – ออกแบบระบบ (System Design) คอมพิวเตอรม์ าประยกุ ตใ์ ช้ เพื่อแก้ปญั หาที่ไดว้ ิเคราะห์มาแลว้ 1-89 System Analyst's Work System Analyst : SA • ลกั ษณะงานของนักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst's Work) Management – วิเคราะหร์ ะบบอยา่ งเดยี ว (Systems Analysis Only) ศกึ ษาถึงระบบทม่ี อี ยู่ รวบรวมข้อมูล และความต้องการขององคก์ ร ไมต่ อ้ งออกแบบระบบ • เรียกตาํ แหนง่ นว้ี า่ นกั วเิ คราะหส์ ารสนเทศ (Information Analysts) – วเิ คราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analysis and Design) ศกึ ษา ระบบทม่ี อี ยทู่ ัง้ หมด รวบรวมข้อมลู และความต้องการขององคก์ ร รวมถงึ ออกแบบระบบใหมด่ ว้ ย • เรยี กตําแหนง่ นว้ี า่ นกั ออกแบบระบบหรือผ้พู ฒั นาโปรแกรมประยุกต์ (Systems Designers, Applications Developers)User Programmer System Analyst 23

02/02/54 System Analyst's Work System Analyst’s Responsibilities• ลกั ษณะงานของนักวเิ คราะห์ระบบ (System Analyst's Work) หนา้ ที่ของ SA 7. จัดทาํ เอกสารและคมู่ ือประกอบการ ใช้ – วเิ คราะห์ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม (Systems Analysis, Design and 1. เปน็ ผปู้ ระสานงาน Programming) ทาํ หนา้ ที่ในการวิเคราะห์ ออกแบบระบบ และเขยี นโปรแกรม 8. บาํ รุงดแู ลรกั ษาและประเมนิ ผลการ ตามทอ่ี อกแบบไว้ 2. รวบรวมข้อมูลและสารสนเทศตา่ งๆ ปฏิบัตงิ าน ของระบบเดิม • เรยี กตาํ แหนง่ นว้ี ่า นกั วิเคราะห์และเขยี นโปรแกรม (Programmer Analysts) 9. เป็นผแู้ ทนการเปลย่ี นแปลง 3. ออกแบบระบบ 4. สรา้ งแบบจําลอง Æ ตน้ แบบ 10. เปน็ ผใู้ หค้ าํ ปรกึ ษา (Prototype) 5. ทดสอบโปรแกรมหรอื ระบบ 6. ทาํ การติดตั้งและปรบั เปลยี่ นระบบSystem Analyst : SA System Analyst : SAคณะกรรมการอาํ นวยการ เจา้ ของระบบ ผจู้ ัดการและผู้ใช้ระบบ คุณสมบตั ิของ SA นกั วิเคราะหร์ ะบบ 1. มคี วามรทู้ างดา้ นระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Workingผู้ขายและผ้จู ัดจาํ หน่าย นักเขยี นโปรแกรม Knowledge of Information Systems and Technology) 2. ความเชยี่ วชาญและประสบการณใ์ นการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ผเู้ ชย่ี วชาญด้านเทคนคิ ฐานข้อมูลและเครอื ขา่ ย (Computer Programming Experience and Expertise) 3. มคี วามรทู้ วั่ ไปดา้ นธรุ กจิ (General Business Knowledge) 4. มคี วามสามารถในการแกไ้ ขปัญหา (Problem-Solving Skills) 5. มที ักษะของการตดิ ตอ่ ส่อื สารและมมี นษุ ยส์ มั พันธ์ (Interpersonal Communications and Relations Skills) 24

02/02/54 System Analyst : SA ความรู้และทักษะของ SAคณุ สมบตั ขิ อง SA จากคุณสมบัติของ SA สามารถแบ่งความรแู้ ละทกั ษะของ SA ได้เป็น 46. ความยดื หยุน่ และการปรบั ตวั ได้ (Flexibility and Adaptability) ทักษะ คือ7. จริยศาสตร์ (Ethics)8. มีความเป็นผู้นํา (Leadership Skills) • ทักษะและความรทู้ างเทคนิค (Technical Knowledge and Skills)9. มีประสบการณใ์ นการทานดา้ นวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ (System • ทกั ษะและความรทู้ างธุรกิจ (Business Knowledge and Skills) • ทกั ษะและความรดู้ า้ นคนและทมี งาน (People Knowledge and Skills) Analysis and Design Skills) • ความซอื่ สตั ยแ์ ละจรรยาบรรณในอาชพี (Personal Integrity and Ethics) ความรู้และทกั ษะของ SA การแบ่งแยกระหว่าง Data และ Process ทีใ่ ช้จดั การกบั ข้อมลู ทักษะและความรดู้ ้านคนและทีมงาน • ระบบสารสนเทศทกุ ระบบประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลักทีส่ าํ คญั คือ – ขอ้ มลู (Data) – กระแสขอ้ มลู (Data Flow) – เงอ่ื นไขการประมวลผล (Process Condition)การคิด การเรยี นรู้ ผลกระทบตอ่ การ การส่ือสาร(Think) (Learn) (Communicate) เปลี่ยนแปลง งาน (Work) (React to change) 25

02/02/54 แบบฝกหัด แบบฝก หดั1. จงอธบิ ายความหมายของคําวา่ ระบบ และระบบทีด่ คี วรมีลกั ษณะอยา่ งไร 8. จงใหเ้ หตผุ ลว่า ทาํ ไมปจั จบุ นั ระบบสารสนเทศจงึ มบี ทบาทสาํ คัญตอ่ ธรุ กิจมาก2. จงยกตวั อยา่ งระบบการทาํ งานภายในรา่ งกายของมนษุ ยว์ า่ มีการทาํ งานใดบา้ งท่ี 9. จงบอกความแตกตา่ งระหวา่ งคาํ วา่ ขอ้ มลู และสารสนเทศ พรอ้ มยกตวั อยา่ ง ทํางานเป็นระบบ ประกอบ3. ส่ิงแวดลอ้ มภายนอก มบี ทบาทสาํ คญั ต่อระบบธุรกจิ อยา่ งไร 10. ระบบสารสนเทศประกอบดว้ ยส่วนสําคญั อะไรบา้ ง4. การออกแบบระบบทด่ี ี ควรออกแบบใหร้ ะบบมีความซับซ้อนน้อยท่สี ดุ อยา่ งทราบ 11. จงอธิบายถงึ ชนิดตา่ งๆ ของระบบสารสนเทศ 12. การตดั สินใจแบบมโี ครงสรา้ ง กงึ่ โครงสรา้ ง และไม่มโี ครงสรา้ งมคี วามแตกต่างกนั ว่าต้องดาํ เนินการอยา่ งไร5. ระบบธุรกจิ ในปจั จบุ นั มกั เปน็ ระบบปดิ หรอื ระบบเปิด เป็นเพราะอะไร อยา่ งไร และการตดั สนิ ใจของแตล่ ะวธิ เี หมาะกบั ผบู้ รหิ ารระดบั ใด6. จงวิเคราะห์ว่าระบบสารสนเทศของสถาบันการศกึ ษา ควรประกอบดว้ ยระบบย่อย 13. สารสนเทศทดี่ ี ควรมคี ณุ สมบัตอิ ยา่ งไร 14. จงบอกความแตกต่างระหว่างคําวา่ การวเิ คราะหร์ ะบบ และนกั วเิ คราะห์ระบบ อะไรบา้ ง 15. ขัน้ ตอนการแกไ้ ขปญั หาของนกั วิเคราะห์ระบบ ประกอบด้วยขน้ั ตอนใดบา้ ง7. ในการศกึ ษาเกยี่ วกบั ระบบงานใดก็ตาม จะตอ้ งดําเนนิ การพิจารณาเก่ียวกับมุมมอง 4 ประการ อยากทราบวา่ มอี ะไรบ้าง จงอธบิ าย แบบฝกหัด16. “ทําไมตอ้ งวิเคราะหร์ ะบบใหย้ งุ่ ยากด้วย...เขยี นโปรแกรมใช้งานทนั ทกี ไ็ ดน้ ี่ !” จาก คํากลา่ วขา้ งตน้ นกั ศกึ ษามคี วามคดิ เหน็ อย่างไร และเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่เหน็ ดว้ ย อยา่ งไร17. แนวทางในการวเิ คราะห์ระบบ หมายถงึ การพัฒนาระบบใหมเ่ พื่อใชง้ านทดแทน ระบบเดิมเพยี งประการเดยี วใชห่ รอื ไม่ จงอธบิ าย18. จงบอกลกั ษณะงานของนักวเิ คราะหร์ ะบบ19. นกั วเิ คราะหร์ ะบบ จาํ เปน็ ต้องมคี วามรแู้ ละทกั ษะดา้ นใดบา้ ง20. จากผงั โครงสร้างองคก์ รส่วนงานบรกิ ารสารสนเทศแบบดั้งเดมิ หรอื แบบรวมศนู ย์ กบั ผังโครงสร้างองคก์ รแบบยุคใหมท่ ่ที มี งานจะมกี ารขับเคลื่อนอยเู่ สมอ หรือ เรยี กวา่ แบบกระจายนั้น นกั ศกึ ษาคดิ ว่าผงั โครงสร้างองคก์ รแบบใดดกี วา่ สาํ หรบั การนํามาใช้กบั หน่วยงานบรกิ ารสารสนเทศในปจั จบุ นั เพราะสาเหตใุ ด จงอธบิ าย 26


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook