Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3104 2002 03

3104 2002 03

Published by jirotwatana1, 2020-06-12 03:13:22

Description: 3104 2002 03

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 3 เคร่ืองปอ้ งกนั กระแสเกนิ การออกแบบระบบไฟฟา้ จโิ รษม์ วฒั นา แผนกวชิ าชา่ งไฟฟา้ กำลงั วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ี

หน่วยที่ 3 เคร่ืองป้องกนั กระแสเกนิ 3.1 ฟิ วส์ป้องกนั กระแสเกนิ ฟิ วส์น้นั ทำจำกตวั นำไฟฟ้ำท่ีเป็นโลหะชนิดหน่ึง ประกอบดว้ ยเสน้ ลวดท่ีทำมำจำกวสั ดุท่ีมีจุดหลอม ละลำยต่ำโดยมีผงทรำยควอทซ์ล้อมรอบ และท้งั หมดจะบรรจุอยู่ในกระบอกฟิ วส์เซรำมิคเป็ นอุปกรณ์ ป้องกนั กระแสเกินโดยจะตดั วงจรท่ีมีปัญหำออกจำกระบบไฟฟ้ำ โดยตวั นำหรือไส้ฟิ วส์น้ีจะเป็ นทำงเดิน ของกระแสเมื่อมีกระแสไหลผำ่ นทำใหไ้ ส้ฟิ วส์ร้อนข้นึ 3.1.1 ฟิ วส์แบบไม่หน่วงเวลา (Non-Time-Delay Fuses) โดยทวั่ ไปฟิ วส์จะมีตวั เชื่อม(Link)ให้กระแสไหลผ่ำน โดยพิกัดของฟิ วส์จะข้ึนอยู่กับขนำดของ กระแสไฟฟ้ำ ซ่ึงคุณลกั ษณะของฟิ วส์ชนิดเด่ียวน้นั (Single-element fuse)อำจจะมีตวั เชื่อมเพียงชุดเดียวหรือ มำกกว่ำก็ได้ โดยจะทำกำรเช่ือมต่อทำงไฟฟ้ำของปลำยท้งั สองดำ้ นของฟิ วส์และถูกห่อหุ้มดว้ ยกล่องหรือ กระบอก ซ่ึงภำยในกระบอกหรือส่ิงห่อหุ้มดงั กล่ำวจะบรรจุสำรหรือวสั ดุช่วยกำรดบั กำรเกิดอำร์คไวด้ ้วย ปกติแลว้ กำรทำงำนของฟิ วส์เม่ือมีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนฟิ วส์เท่ำกบั หรือใกลเ้ คียงกบั พิกดั ของกระแสฟิ วส์ ฟิ วส์ดงั กล่ำวก็จะยงั คงนำกระแสอย่ำงต่อเน่ือง ดงั สำมำรถอธิบำยในรูปที่ 1 ถำ้ มีกำรเกิดกระแสไฟฟ้ำเกิน เกิดข้ึนในระยะเวลำหน่ึง อุณหภูมิที่ตวั เช่ือมจะค่อยๆสูงข้ึนจนถึงระดบั หรือถึงจุดท่ีทำให้ตวั เชื่อมหลอม ละลำยและทำให้เกิดช่องอำกำศข้ึนและทำให้เกิดกำรอำร์คของกระแสไฟฟ้ำเกิดข้ึน ซ่ึงกำรเกิดกำรอำร์ค ดงั กล่ำวก็จะเป็ นสำเหตุทำให้โลหะตรงจุดตวั เช่ือมขำดในที่สุดและทำให้กำรเกิดช่องอำกำศกวำ้ งข้ึนด้วย โดยค่ำควำมตำ้ นทำนทำงไฟฟ้ำของกำรเกิดกำรอำร์คจะมีค่ำสูงในระดบั หน่ึง ซ่ึ งก็จะทำให้เกิดกำรอำร์ค ดงั กล่ำวที่เกิดข้ึนดบั ในช่วงระยะเวลำอนั ส้ันดว้ ย จำกที่กล่ำวขำ้ งตน้ ฟิ วส์กจ็ ะตดั กระแสไฟฟ้ำที่สูงผิดปกติได้ อย่ำงสมบูรณ์ ซ่ึงกำรเกิดอำร์คดงั กล่ำวจะถูกเร่งกำรดบั อำร์คจำกวสั ดุท่ีบรรจุภำยในสิ่งห่อหุ้มหรือกระบอก ฟิ วส์นนั่ เอง

กระแสเกินพิกัดกับกำรเกิดกำรลัดวงจรไฟฟ้ำของฟิ วส์แบบ Single-element fuseในกรณีกำรเกิด กระแสไฟฟ้ำสูงเกิดพิกัดเนื่องจำกกำรลดั วงจรไฟฟ้ำ ซ่ึงจะมีค่ำสูงอยู่ระหว่ำง 1 เท่ำถึง 6 เท่ำของพิกัด กระแสไฟฟ้ำของฟิ วส์ ซ่ึงผลท่ีได้ทำให้กระแสไฟฟ้ำมีค่ำสูงและในบำงคร้ังอำจจะทำให้ฟิ วส์เกิดกำร ลดั วงจรมีค่ำกระแสไฟฟ้ำสูงถึง 30,000-40,000 แอมป์ หรือมำกกว่ำ สำหรับกำรตอบสนองของกำรจำกัด กระแสไฟฟ้ำของฟิ วส์จะเกิดข้ึนเป็นไปอยำ่ งรวดเร็ว โดยส่วนท่ีทำหนำ้ ที่ยบั ย้งั กระแสไฟฟ้ำของฟิ วส์จะเกิด กำรหลอมละลำยพร้อมๆกนั โดยเกิดข้ึนภำยในระยะเวลำที่นอ้ ยกวำ่ 1/2000 -1/3000 วนิ ำที จำกกำรเกิดกระแสไฟฟ้ำลดั วงจรขำ้ งตน้ ทำใหเ้ กิดคำ่ ควำมตำ้ นทำนสูงที่จุดกำรเกิดอำร์คพร้อมๆกนั หลำยจุด ก็จะทำให้เกิดกำรรวมกนั ดบั อำร์คไดอ้ ย่ำงรวดเร็ว ซ่ึงจะส่งผลให้กำรตดั กระแสไฟฟ้ำที่เกิดจำกกำรลดั วงจร ไดอ้ ย่ำงรวดเร็ว ดงั รูปที่ 1 กำรเกิดกระแสลดั วงจรจะใชใ้ นเวลำกำรตดั กระแสไฟฟ้ำนอ้ ยกว่ำคร่ึงคำบเวลำ (half-cycle) หรือมำกกวำ่ ก่อนท่ีค่ำกระแสลดั วงจรจะมีคำ่ สูงสุด

3.1.2 ฟิ วส์แบบหน่วงเวลาชนิดคู่ (Dual–element Time-Delay Fuses) ฟิ วส์แบบน้ีจะไม่เหมือนกบั ฟิ วส์ชนิดเด่ียว โดยฟิ วส์ชนิดคู่สำมำรถประยุกตใ์ ชก้ บั วงจรไฟฟ้ำของ มอเตอร์ที่มีกำรเกิดกระแสไฟฟ้ำเกินพิกดั ชวั่ ขณะไดแ้ ละยงั สำมำรถใชก้ บั วงจรไฟฟ้ำท่ีมีกำรเกิดกระแสพุ่ง ชวั่ ขณะ (Surge current) ไดเ้ พ่ือรองรับกำรทำงำนของวงจรไฟฟ้ำที่สมรรถนะสูงท้งั เกิดกำรลดั วงจรไฟฟ้ำ และกำรป้องกนั กระแสเกินพิกดั สำหรับกำรเพ่ิมขนำดพิกดั ของฟิ วส์ชนิดเพื่อขจดั ปัญหำกำรเปิ ดวงจรไฟฟ้ำ

(ฟิ วส์ขำด) โดยไม่จำเป็ นน้ันจะไม่มีควำมจำเป็ นเลยสำหรับฟิ วส์ชนิดน้ี ดังรูปที่ 2 ฟิ วส์ชนิดคู่จะมีกำร แบง่ เป็นสองส่วนอยำ่ งชดั เจน โดยท้งั สองจะถูกต่ออนุกรมกนั โดยส่วนแรกจะเป็นตวั เช่ือม (Link) ของฟิ วส์ จะมีลกั ษณะคลำ้ ยกบั ตวั เชื่อมที่ใช้ในฟิ วส์แบบไม่หน่วงเวลำเพื่อทำหน้ำที่ป้องกันกำรลดั วงจรไฟฟ้ำและ ส่วนที่สองจะมีหน้ำท่ีเพื่อใช้สำหรับป้องกนั กระแสไฟฟ้ำเกินพิกดั ในระดบั ต่ำๆหรือกำรเกิดกระแสไฟฟ้ำ เกินพกิ ดั มำกกวำ่ หำ้ เทำ่ ของพิกดั กระแสไฟฟ้ำของฟิ วส์เป็นเวลำอยำ่ งนอ้ ย 10 วนิ ำที เนื่องจำกสำเหตุกระแสเกินพิกัดกับกำรเกิดกระแสไฟฟ้ำลดั วงจรดังรูปที่ 3.4 ในส่วนของกำร ป้องกนั กระแสไฟฟ้ำเกินพิกดั จะประกอบดว้ ยแผน่ ทองแดงซบั ควำมร้อนและชุดสปริง โดยแผ่นซับควำม ร้อนจะถูกต่อแบบถำวรกบั จุดต่อซบั ควำมร้อนซ่ึงเป็นฉนวนทำงไฟฟ้ำและตวั เช่ือมของฟิ วส์ซ่ึงอยู่ดำ้ นปลำย ของฟิ วส์โดยจะมีกำรต่อกบั ตวั ต่อรูป S ของชุดสปริง ซ่ึงกำรต่อทำงไฟฟ้ำของตวั เช่ือมในส่วนป้องกนั กำร ลดั วงจรจะมีกำรต่อกบั แผน่ ซบั ควำมร้อนในส่วนของกำรป้องกนั กระแสไฟฟ้ำเกินพิกดั ดว้ ย ซ่ึงกำรต่อเชื่อม ดงั ที่ไดก้ ลำ่ วขำ้ งตน้ จะถูกต่อเช่ือมดว้ ยแผน่ Calibrated fusing alloy และเมื่อมีกระแสไฟฟ้ำเกินพิกดั เกิดข้ึนก็ จะเป็นสำเหตุเกิดควำมร้อนข้ึนที่ตวั เช่ือมของชุดลดั วงจรกบั ชุดสปริง ซ่ึงควำมร้อนจะถูกถ่ำยเทจำกตวั เช่ือม ชุดลดั วงจรไปยงั แผ่นซับควำมร้อนท่ีอยู่ส่วนกลำงของกระบอกฟิ วส์ซ่ึงควำมร้อนจะค่อยๆเพิ่มข้ึนอย่ำง ต่อเน่ืองและถำ้ กำรเกิดกระแสไฟฟ้ำเกินพิกดั มีข้นึ อย่ำงต่อเนื่องจนกระทง่ั อุณหภูมิท่ีเกิดข้นึ ถึงระดบั ท่ีทำให้ แรงดึงของชุดสปริงสำมำรถแยกจำกชุด Calibrated fusing alloy และทำใหจ้ ุดต่อเป็นอิสระจำกตวั เชื่อมของ ชุดลดั วงจรกบั แผ่นซับควำมร้อน จำกผลดงั กล่ำวตวั เชื่อมของชุดลดั วงจรจะถูกแยกจำกแผ่นซับควำมร้อน ดงั น้นั ฟิ วส์ก็จะถูกเปิ ดวงจรออกและกระแสไฟฟ้ำท่ีเกินพิกดั กจ็ ะถูกตดั ออกจำกวงจรเช่นกนั แต่สำหรับกำร เกิดกระแสเกินพิกดั เพียงชวั่ ขณะน้ันชุด fusing alloy ก็จะไม่มีกำรทำงำนแต่อยำ่ งใดและจะยงั คงสภำพของ คุณสมบตั ิของกำรป้องกนั กระแสเกินพิกดั ไดอ้ ยำ่ งสมบูรณ์เช่นเดิม สำหรับจุดประสงคห์ ลกั ของกำรนำฟิ วส์ แบบหน่วงเวลำชนิดคู่น้ีไปใชง้ ำนน้นั ไดแ้ สดงรำยละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี - ใชก้ บั กำรเกิดกระแสไฟฟ้ำเกินพกิ ดั ,กำรเกิดกระแสไฟฟ้ำลดั วงจรลงดินและกำรป้องกนั กระแสไฟฟ้ำลดั วงจรของมอเตอร์ - ใชเ้ พอ่ื เพมิ่ พิกดั ระดบั กำรป้องกนั กระแสลดั วงจรในวงจรใหส้ ูงข้ึนไดใ้ นกรณีที่วงจรมีกำรเกิด กระแสพงุ่ ชวั่ ขณะหรือกำรเกิดกระแสเกินพกิ ดั ข้นึ ชวั่ ครำวข้นึ - ช่วยทำใหก้ ำรจดั ควำมสัมพนั ธข์ องอุปกรณ์ป้องกนั ไฟฟ้ำง่ำยข้ึน

3.1.3 ชนดิ ของฟิ วส์ ฟิ วส์ป้องกนั กระแสเกินสำมำรถแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ประเภท ตำมลกั ษณะกำรใชง้ ำนและรูปร่ำง ภำยนอก คอื 3.1.3.1 ฟิ วส์ชนดิ เอช.อาร์.ซี ที่มำ http://npelectricalsystem.com/pro_detail.php?D=HVF003&P=D02 ขนำดกระแสพิกดั ของฟิ วส์ชนิด เอช.อำร์.ซี มีต้งั แต่ 2 ถึง 1250 แอมแปร์ รวมท้งั พกิ ดั ตดั กระแสสูง ถึง 200 กิโลแอมแปร์ 3.1.3.2 ฟิ วส์ชนดิ ดี (Diazed Type, D) กำรใชง้ ำนของฟิ วส์ชนิดน้ีเป็นแบบมีฝำครอบขนั เกลียว ซ่ึงส่วนใหญ่จะใชท้ ว่ั ไปในท่ีอยอู่ ำศยั ที่ฝำ ครอบน้นั จะมีช่องสำหรับมองดูหรือตรวจสอบไดว้ ำ่ ฟิ วส์ขำดหรือไม่ขนำดกระแสพกิ ดั มีต้งั แต่ 2 ถึง 100 แอมแปร์ โดยจะมี 5 ขนำด ส่วนประกอบและขนำดของฟิ วส์ชนิดดี ท่ีมำ https://th.rs-online.com/web/p/bottle-fuses/0397519/

3.1.3.3 ฟิ วส์ชนดิ ดีศูนย์ ลกั ษณะของกำรใชง้ ำนของงฟิ วส์ชนิดน้ีจะเหมือนกบั ชนิด ดี แตฟ่ ิ วส์ชนิด ดีศูนยจ์ ะมีควำมสะดวก ในกำรติดต้งั มำกกวำ่ เพรำะขนำดของฟิ วส์สอดคลอ้ งกบั ขนำดของเซอร์กิตเบรกเกอร์ ที่มำ https://ae.rsdelivers.com/product/siemens/5se2310/siemens-10a-d01-neozed-fuse-gg-400v-ac/6221051 3.1.3.4 ฟิ วส์ชนดิ ทรงกระบอก กำรใชง้ ำนและกระแสพิกดั ของฟิ วส์ชนิดน้ีเหมือนกบั ฟิ วส์ชนิด ดี และดีศูนย์ โดยชนิดน้ีจะเรียก ตำมลกั ษณะภำยนอกซ่ึงเป็นทรงกระบอก ที่มำ https://www.kpeco.co.th/price-list/circon/cartridge-fuse/

3.2 เซอร์กติ เบรกเกอร์ หมำยถึง อุปกรณ์ท่ีทำงำน เปิ ดและปิ ดวงจรไฟฟ้ำ แบบไมอ่ ตั โนมตั ิ แตส่ ำมำรถเปิ ดวงจรไดอ้ ตั โนมตั ิ ถำ้ มีกระแส ไหลผ่ำน เกินกว่ำค่ำที่กำหนด โดยไม่มีควำมเสียหำยเกิดข้ึน เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดนั ต่ำ หมำยถึง เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ใชก้ บั แรงดนั นอ้ ยกวำ่ 1000 V. แบง่ ออกไดห้ ลำยชนิด ไดแ้ ก่ โมลเคสเซอร์กิตเบรกเกอร์ (Mold case circuit breaker ) หมำยถึง เซอร์กิตเบรกเกอร์ท่ีถูกห่อหุ้มมิดชิดโดย mold 2 ส่วน มกั ทำด้วย phenolic ซ่ึงเป็นฉนวนไฟฟ้ำสำมำรถทนแรงดนั ใชง้ ำนได้ เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบน้ี มีหนำ้ ที่หลกั 2 ประกำร คือ ทำหนำ้ ที่เป็นสวิทซ์เปิ ด-ปิ ดดว้ ยมือ และเปิ ดวงจรโดยอตั โนมตั ิ เม่ือมีกระแสไหลเกิน หรือเกิดลดั วงจร โดย เซอร์กิตเบรกเกอร์จะอยใู่ นภำวะ trip ซ่ึงอยู่ก่ึงกลำง ระหว่ำง ตำแหน่ง ON และ OFF เรำสำมำรถ reset ใหม่ไดโ้ ดย กดคนั โยกให้อยู่ ในตำแหน่ง OFF เสียก่อน แลว้ ค่อยโยกไปตำแหน่ง ON กำรทำงำนแบบน้ี เรียกวำ่ quick make , quick break ลกั ษณะของ เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบน้ีที่พบเห็นโดยทว่ั ไปคือ ท่ีมำ https://www.kpeco.co.th/price-list/circon/molded-case-circuit-breaker/ โมลเคสเซอร์กิตเบรกเกอร์ (Mold case circuit breaker )ที่พบบอ่ ยในทอ้ งตลำดมี 2 ประเภทคอื 1. Thermal magnetic CB. 2. Solid state trip CB.

Thermal magnetic molded case circuit breaker เซอร์กิตเบรกเกอร์ แบบน้ีมีส่วนประกอบสำคญั 2 ส่วนคือ • Thermal unit ใชส้ ำหรับปลดวงจรเมื่อมีกระแสไหลเกินอนั เน่ืองมำจำกกำรใชโ้ หลดมำกเกินไป ลกั ษณะ กำรทำงำนดูไดจ้ ำกรูป ท่ีมำ http://www.sci-tech-service.com/article/CB/circuitbreaker.htm เม่ือ มีกระแสเกินไหลผำ่ นโลหะ bimetal (เป็นโลหะ 2 ชนิด ที่มีสัมประสิทธ์ิ ทำงควำมร้อน ไม่เท่ำกนั ) จะทำ ให้ bimetal โก่งตวั ไปปลดอุปกรณ์ทำงกล และทำให้ CB. ตดั วงจร เรียกวำ่ เกิดกำร trip กำรปลดวงจรแบบน้ี ตอ้ งอำศยั เวลำพอสมควร ข้ึนอยกู่ บั กระแสขณะน้นั และควำมร้อน ท่ีเกิดข้ึนจนทำให้ bimetal โก่งตวั ที่มำ http://www.sci-tech-service.com/article/CB/circuitbreaker.htm

• Magnetic unit ใช้ สำหรับปลดวงจรเมื่อเกิดกระแสลดั วงจรหรือมีกระแสค่ำสูงๆ ประมำณ 8-10 เท่ำข้ึนไป ไหลผ่ำน กระแสจำนวนมำก จะทำใหเ้ กิด สนำมแม่เหล็กควำมเขม้ สูง ดึงให้อุปกรณ์กำรปลดวงจรทำงำนได้ กำรตดั วงจรแบบน้ีเร็วกวำ่ แบบแรกมำก โอกำสที่ เซอร์กิตเบรกเกอร์จะชำรุดจำกกำรตดั วงจรจึงมีนอ้ ยกวำ่ Solid state trip or Electronic trip molded case circuit breaker เป็ น เซอร์กิตเบรกเกอร์ ชนิดหน่ึงท่ีมี อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ทำหนำ้ ที่วเิ ครำะห์ กระแสเพื่อสั่งปลดวงจร ท่ีมำ http://www.sci-tech-service.com/article/CB/circuitbreaker.htm จำก Diagram จะเห็นวำ่ มี CT อยภู่ ำยในตวั เซอร์กิตเบรกเกอร์ ทำหนำ้ ที่ แปลงกระแส ใหต้ ่ำลง ตำม อตั รำส่วนของ CT และมี microprocessor คอยวิเครำะห์กระแส หำกมีค่ำเกินกว่ำที่กำหนด จะสั่งให้ tripping coil ซ่ึงหมำยถึง solenoid coil ดึงอปุ กรณ์ทำงกลให้ CB. ปลดวงจร ที่ ดำ้ นหนำ้ ของเซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดน้ีจะมีป่ มุ ปรับคำ่ กระแสปลดวงจร , เวลำปลดวงจร และอื่นๆ นอกจำกน้ียงั สำมำรถติดต้งั อุปกรณ์เสริมท่ีเรียกวำ่ amp meter & fault indicator ซ่ึงสำมำรถแสดงสำเหตกุ ำร fault ของวงจรและคำ่ กระแสได้ ทำใหท้ รำบสำเหตขุ องกำรปลดวงจรได้

3.2.1 ประเภทของเซอร์กติ เบรกเกอร์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ใชง้ ำนจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื 3.2.1.1 เซอร์กิตเบรกเกอร์ขนำดยอ่ ย ที่มำ https://www.thianthong.com/schneider-qoh-x-1-pole-70a-80a-100a-6ka.html 3.2.1.2 เซอร์กิตเบรกเกอร์ขนำดใหญ่ ที่มำ https://www.kpeco.co.th/price-list/circon/molded-case-circuit-breaker/

3.2.2 พกิ ดั กระแสของเซอร์กติ แบรกเกอร์ 3.2.2.1 Ampere Trip (AT) เป็นพิกดั กระแส handle rating ซ่ึงบอกให้รู้วำ่ สำมำรถทนกระแสใช้งำน ในภำวะปกติไดส้ ูงสุดเท่ำใด มกั แสดงค่ำไวท้ ่ี name plate หรือดำ้ มโยกของเบรคเกอร์ ซ่ึงมำตรฐำนของ NEC 1990 paragraph240-6 กำหนดดงั น้ี 15 , 60 , 70 , 80 , 90 , 100 , 110 , 125 , 150 , 175 , 200 , 225 , 250 , 300 , 350 , 400 , 450 , 600 , 700 , 800 , 1000 , 1200 , 1600 , 2000 , 2500 , 3000 , 4000 , 5000 , 6000 A. 3.2.2.2 Ampere Frame (AF) พิกดั กระแสโครง ซ่ึงหมำยถึงพิกดั กำรทนกระแสสูงสุดของเบรคเกอร์ ในรุ่นน้นั ๆ Ampere Frame มีประโยชน์คอื สำมำรถเปลี่ยนพิกดั Ampere Trip ไดโ้ ดยที่ขนำด (มิติ) ของเบรค เกอร์ยงั คงเท่ำเดิม ค่ำ AF ตำมมำตรฐำน NEMA มีดงั น้ี 50 , 100 , 225 , 250 , 400 , 600 , 800 , 1000 , 1200 , 1600 , 2000 , 2500 , 4000 , 5000 AF 3.2.2.3 Interrupting Capacity (IC) เป็ นพิกดั กำรทนกระแสลัดวงจรสูงสุดโดยปลอดภยั ของเบรก เกอร์น้ันๆ โดยปกติกำหนดค่ำกำรทนกระแสเป็ น KA. ค่ำ IC จะบอกให้รู้ว่ำเบรคเกอร์ท่ีใช้น้ันมีควำม ปลอดภยั มำกน้อยเพียงใด กำรเลือกค่ำกระแส IC จะตอ้ งรู้ค่ำกระแสลดั วงจร ณ. จุดน้ันๆ เสียก่อน ตำม มำตรฐำน IEC947-2 นอกจำกท่ีไดก้ ล่ำวมำขำ้ งตน้ แลว้ เซอร์กิตเบรกเกอร์บำงชนิดสำมำรถใส่อุปกรณ์เสริมท่ีติดต้งั ร่วม เพือ่ เพิม่ ควำมปลอดภยั โหลดท่ีเรำตอ้ งกำรไดอ้ ีกคือ 1. Shunt Trip ใชต้ ิดต้งั ร่วมกบั เบรคเกอร์เพือ่ ควบคุมกำรปลดเบรคเกอร์จำกระยะไกล เป็นกำรควบคุมแบบ remote โดยไมต่ อ้ งเดินมำปลดวงจรที่ตวั เบรคเกอร์ ซ่ึงจะทำงำนเม่ือ coil shunt trip ไดร้ ับแรงดนั กระตุน้ จำกระบบอ่ืน 2. Undervoltage Release (Undervoltage Trip) ใชต้ ิดต้งั ร่วมกบั เบรคเกอร์เพื่อตรวจจบั แรงดนั ท่ีจ่ำยเขำ้ มำยงั เบรค เกอร์ ถำ้ ต่ำกวำ่ ท่ีกำหนดกจ็ ะส่ังปลดเบรคเกอร์ทนั ที ส่วนใหญจ่ ะใชร้ ่วมกบั under/over voltage relay ( อำจใช้ ร่วมกบั phase protector relay กไ็ ด้ ) 3. Auxiliary Contact ใชเ้ พื่อแสดงสถำนะของเบรคเกอร์ขณะน้นั วำ่ ON หรือ OFF / TRIP 4. Alarm Switch เป็นอุปกรณ์หนำ้ สัมผสั ช่วย ซ่ึงจะเปลี่ยนสถำนะเมื่อเบรคเกอร์ปลดวงจร (Trip) 5. Ground Fault Shunt Trip เป็นอุปกรณ์ท่ีใชส้ งั่ ปลดวงจรเมื่อมีกระแสรั่วไหลออกจำกระบบ เกินค่ำที่ต้งั ไว้ 6. Handle Padlock ใชล้ อ็ คเบรคเกอร์ให้อยใู่ นตำแหน่ง ON หรือ OFF 7. Cylinder Lock เป็นกญุ แจสำหรับลอ็ คเบรคเกอร์ไวใ้ นตำแหน่ง OFF เทำ่ น้นั เพื่อป้องกนั ไมใ่ หผ้ ไู้ มม่ ีกุญแจมำ ON เบรกเกอร์

3.3 เคร่ืองตัดไฟร่ัว ทม่ี า http://fullwatt.blogspot.com/2018/04/blog-post_84.html เคร่ืองตดั ไฟรั่วจะทำงำนโดยอำศยั หลกั กำรกระแสไหลเขำ้ กบั กระแสไหลออกตอ้ งมีค่ำเท่ำกนั ซ่ึงเป็นสภำพ กำรใชง้ ำนปกติ ในสภำพเช่นน้ีสนำมแม่เหลก็ ในแกนเหลก็ จะมีคำ่ เป็นศนู ย์ ซ่ึงจะไม่มีสัญญำณในวงจรขยำย เม่ือเกิด กระแสไฟฟ้ำร่ัวลงดิน หรือไฟดูดคนกระแสส่วนหน่ึงจะไหลผำ่ นคนและกลบั ไปทำงพ้ืนดินหรือสำยดินแลว้ แต่กรณี เป็นผลใหก้ ระแสท่ีไหลผำ่ นเคร่ืองตดั ไฟร่ัวท้งั 2 เส้น มีคำ่ ไม่เทำ่ กนั รูป แสดงกำรทำงำนเคร่ืองตดั ไฟรั่ว ท่ีมำ http://www.9engineer.com/ee_main/ee_12faq.asp

กำรติดต้งั ใช้งำนควรติดต้งั เฉพำะจุด เช่นวงจรเตำ้ รับในห้องครัว ห้องน้ำ ห้องเด็ก ๆ หรือวงจรเตำ้ รับของ สำยไฟที่ต่อไปใชง้ ำนนอกอำคำรท้งั ชว่ั ครำวและถำวรถำ้ จะติดต้งั รวมท่ีตูเ้ มนสวิตช์จะตอ้ งแยกวงจรที่มีค่ำไฟร่ัวตำม ธรรมชำติมำกออกไป เช่น อปุ กรณ์ป้องกนั ฟ้ำผำ่ เครื่องปรับอำกำศอุปกรณ์ท่ีมีโอกำสเปี ยกช้ืน เพอ่ื ตอ้ งกำรให้เคร่ือง ตดั ไฟร่ัวสำมำรถป้องกนั ทุกวงจรท่ีตูเ้ มนสวิตชเ์ ครื่องตดั ไฟฟ้ำรั่วใชไ้ ดเ้ ฉพำะระบบท่ีมีสำยดินเท่ำน้นั เนื่องจำกเป็น มำตรกำรเสริมป้องกนั อคั คีภยั และไฟฟ้ำดูด ส่วนวงจรท่ีมีค่ำไฟรั่วตำมธรรมชำติมำกใหใ้ ชข้ นำดต้งั แต่ 100 mA ข้ึน ไป โดยอำจเป็น 300 mA หรือ 500 mA ก็ได้ ข้ึนอยกู่ บั ปริมำณของกระแสไฟร่ัวตำมธรรมชำติ ประโยชน์ของเครื่อง ตดั ไฟร่ัว 1. ป้องกนั อนั ตรำยจำกไฟดูด (ตดั ไฟรั่วที่ไหลผำ่ นร่ำงกำย) 2. ป้องกนั อคั คีภยั (ตดั ไฟร่ัวที่ไหลลงดินท่ีอุปกรณ์ไฟฟ้ำ หรือสำยไฟฟ้ำ ในกรณีท่ีเครื่องป้องกนั กระแสเกิน เช่น ฟิ วส์หรือเบรกเกอร์ไม่ทำงำน หรือทำงำนชำ้ เนื่องจำกปริมำณกระแสไฟ รั่วมีค่ำต่ำ หำกปลอ่ ยทิ้งไวอ้ ำจทำใหเ้ กิดอคั คภี ยั ได)้ รูป แสดงกำรติดต้งั ไฟร่ัวที่ถูกวิธี รูป แสดงกำรติดต้งั ไฟรั่วท่ีผิดวธิ ี ท่ีมำ http://www.9engineer.com/ee_main/ee_12faq.asp


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook