Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 14 อาชีพช่างไฟฟ้า

บทที่ 14 อาชีพช่างไฟฟ้า

Published by ปาณิศา นิลเส็ง, 2021-05-25 07:57:30

Description: บทที่ 14 อาชีพช่างไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

บทท่ี 14 อาชีพชา งไฟฟา

ประเภทของไฟฟา มี 2 แบบ ดังนี 1. ไฟฟาสถิต ซงึ เกิดจากการเสยี ดสขี องวัตถุ 2 ชนดิ มาถู กัน เชน่ แท่งอําพนั กับผา้ ขนสตั ว์ 2. ไฟฟากระแส เกิดจากอิเล็กตรอนจากแหล่งกําเนดิ ไหล ผา่ นตัวนาํ ไปยงั ทีต้องการใชไ้ ฟฟา มี 2 แบบ ดังนี 1. ไฟฟากระแสตรง (Direct Current : DC) มที ิศทางการ ไหล และขนาดคงที เชน่ แบตเตอรี 2. ไฟฟากระแสสลับ (Alternating Current : AC) มี ทิศทางการไหลของ กระแสสลับไปสลับมา และขนาดเปลียนแปลงตลอดเวลา ใชภ้ ายในบา้ น เชน่ โทรทัศน์

วัสดอุ ุปกรณ์เครอื งมอื ชา่ งไฟฟา มดี ังนี 1. ไขควง มี 2 แบบ คือ ไขควงปากแบน และไขควงแบบฟลลิป หรอื ปากสแี ฉก 2. มดี ใชใ้ นการปอกสาย ตัด ฉนวนสายไฟฟา 3. คีม ใชใ้ นการบบี ตัด มว้ นสายไฟฟา มหี ลายแบบ คือ คีมตัด(ปากนกแก้ว) คีม ปากจิงจก คีมปากแบน คีมปากกลม และคีมปอกสายไฟฟา 4. สว่าน ใชเ้ จาะยดึ สกรู ยดึ อุปกรณไ์ ฟฟา มสี ว่าน 3 แบบ คือ สว่านขอ้ เสอื สว่านเฟอง และสว่านไฟฟา 5. ค้อน ใชต้ อกตะปู เพอื ยดึ เขม็ ขดั รดั สาย

วัสดอุ ุปกรณ์ทใี ชใ้ นวงจรไฟฟา มดี ังนี 1. สายไฟ เปนตัวนาํ ไฟฟา ได้แก่ สายไฟแรงสงู ทําด้วยอะลมู เิ นียม สายไฟทัวไป(สายไฟในบ้าน)ทําด้วย โลหะทองแดง สายทนความรอ้ นมเี ปลือกเปนฉนวนทนความร้อน สายคู่ ใชเ้ ดินในอาคาร สายเดียวใช้ เดินในท่อรอ้ ยสาย 2. ฟวส์ เปนอุปกรณต์ ัดวงจรไฟฟาอัตโนมตั ิ ไมใ่ หก้ ระแสไฟฟาไหลผา่ นมากเกินไป เชน่ ฟวสเ์ สน้ ฟวส์ แผน่ ฟวสก์ ระเบอื ง ฟวสห์ ลอด 3. สวิตช์ เปนอุปกรณต์ ัดหรอื ต่อวงจรไฟฟา มี 2 ประเภท คือ สวิตชท์ างเดียว สวิตช์ สองทาง 4. สะพานไฟ เปนอุปกรณต์ ัดหรอื ต่อวงจรไฟฟา จากมาตรไฟฟาเข้าสูว่ งจรไฟฟาภายในบา้ น 5. สตารต์ เตอร์ เปนอุปกรณต์ ัดหรอื ต่อวงจรอุ่นไสห้ ลอดไฟนอี อน 6. บลั ลาสต์ เปนอุปกรณเ์ พมิ ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา มี 2 ประเภท คือ บัลลาสต์ แมเ่ หล็กไฟฟา บลั ลาสต์ อิเล็กทรอนกิ ส์ 7. มเิ ตอรไ์ ฟฟา เปนอุปกรณว์ ัดกระแสไฟฟาในเสน้ ลวด มหี ลายประเภท ดังนี แกลแวนอมเิ ตอร์ (Galvanometer) เครอื งมอื วัดกระแสตรง แอมมเิ ตอร์ (Ammeter) เครอื งมอื วัดกระแสไฟฟา โวลท์มเิ ตอร์ (Voltmeter) เครอื งมอื วัดความต่างศกั ยไ์ ฟฟาระหว่าง 2 จุด มลั ติมเิ ตอร์ (Multimeter) เครอื งมอื วัดกระแสไฟฟา และความต่างศกั ย์ไฟฟา

การตอ วงจรไฟฟา มี 3 แบบ 1. แบบอนกุ รม เปนวงจรทีมอี ุปกรณไ์ ฟฟาเชอื มต่อกับแหล่งกําเนดิ ไฟฟา จากอุปกรณ์ หนงึ ไปยงั อุปกรณอ์ ืนๆโดยตรง มรี ูปแบบเปนวงจรเดียว ขอ้ เสยี คือ ถ้าอุปกรณใ์ ดเสยี ก็จะทําให้ กระแสไฟฟาหยุดไหล อุปกรณอ์ ืนๆจะไมส่ ามารถทํางานได้ ภาพ การต่อวงจรไฟฟาแบบอนกุ รม

2. แบบขนาน เปนวงจรไฟฟาทแี ยกอุปกรณ์แต่ละชนิดเชอื มต่อกันกับแหล่ง กําเนิดไฟฟา ขอ้ ดคี ือ ถ้าอุปกรณ์ใดเสยี อุปกรณ์อืนก็ยงั มกี ระแสไฟฟาไหลผา่ นได้ ภาพ การต่อวงจรไฟฟาแบบขนาน

3. แบบผสม เปนวงจรเปนวงจรทีนาํ เอาวิธกี ารต่อแบบ ภาพ การต่อวงจรไฟฟาแบบผสม อนกุ รม และวิธกี ารต่อแบบ ขนานมารวมใหเ้ ปนวงจรเดียวกัน ซงึ สามารถแบง่ ตาม ลักษณะของการต่อได้ 2 ลักษณะดังนี 3.1 วงจรผสมแบบอนกุ รม-ขนาน เปนการนาํ เครอื งใช้ ไฟฟาหรอื โหลดไปต่อกันอยา่ ง อนกุ รมก่อน แล้วจึงนาํ ไปต่อกันแบบขนานอีกครงั หนงึ 3.2 วงจรผสมแบบขนาน-อนกุ รม เปนการนาํ เครอื งใช้ ไฟฟาหรอื โหลดไปต่อกันอยา่ ง ขนานก่อน แล้วจึงนาํ ไปต่อกันแบบอนกุ รมอีกครงั หนงึ

วงจรไฟฟาภายในครวั เรอื นจะเปนการต่อแบบขนาน และเครอื งใชไ้ ฟฟาแต่ล่ะชนดิ รบั แรงดันไฟฟาขนาดเดียวกัน หากเครอื งใชไ้ ฟฟาชนดิ หนงึ เกิดขดั ขอ้ งเนอื งจากสาเหตุ ใดก็ตามเครอื งใชไ้ ฟฟาชนดิ อืนก็ยงั คงใชง้ านได้ตามปกติ ภาพการต่อวงจรไฟฟาภายในบา้ น

สาํ หรบั ประเทศไทย ไฟฟาทีใชใ้ นครวั เรอื นเปนไฟฟากระแสสลับทีมคี วามต่าง ศกั ยไ์ ฟฟา 220 โวลต์ (V) (ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา คือ พลังงานไฟฟาทีต่างกันระหว่างจุด 2 จุด)ความถี 50 เฮิรตซ์ (Hz) โดยใชส้ ายไฟ 3 เสน้ คือ 1) สายไฟ หรอื สาย L (Line) เปนสายทีมกี ระแสไฟไหลผา่ นไปยงั เครอื งใชไ้ ฟฟา มี ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา 220 โวลต์ 2) สายนวิ ทรลั หรอื สาย N (Neutral) เปนสว่ นหนงึ ของวงจร มหี นา้ ทีทําให้ กระแสไฟฟาไหลครบวงจร มคี วามต่างศกั ยไ์ ฟฟา 0 โวลต์ 3) สายดิน หรอื เรยี กว่า สาย G (Ground) เปนสายเสน้ ทีไมม่ กี ระแสไฟฟา ทําหนา้ ที รบั กระแสไฟฟาทีรวั มาจากเครอื งใชไ้ ฟฟา เพอื ปองกันกระแสไฟฟาลัดวงจร และปองกัน อันตรายแก่บุคคล อุปกรณไ์ ฟฟาและเครอื งใชไ้ ฟฟา

ภาพ การออกแบบการติดตังอุปกรณไ์ ฟฟาภายในบา้ น

กฎของโอหม์ คืออะไร กฎของโอหม์ กล่าวว่า กระแสไฟฟาทีไหลในวงจรจะแปรผนั ตรงกับแรงดันไฟฟา และแปรผกผนั กับความต้านทาน ไฟฟา เขยี นสมการ Current(I) = Voltage(V) / Resistance(R)

การเดินสายไฟฟา มี 2 แบบ คอื แบบเดินบนผนัง และแบบฝงในผนัง 1. เดินสายไฟบนผนัง การเดินสายไฟแบบนีจะมองเห็นสายไฟ อาจทําให้ดูไมเ่ รียบร้อย ไมส่ วยงาม หาก ชว่ งเดินสายไฟไมเ่ รียบตรง ยิงเสริมให้ดูไมเ่ รียบร้อยตกแต่งห้องให้ดูสวยงามยาก มีข้อดีที ค่าใช้จ่ายถูกกว่าแบบฝงในผนังสามารถตรวจสอบและซอ่ มแซมได้ง่าย 2. เดินสายไฟฝงในผนัง การเดินแบบฝงในผนังเปนการเดินสายไฟโดยร้อยสายผา่ นท่อสายไฟซึงฝงในผนัง อาคาร ทําให้ดูเรียบร้อยและตกแต่งห้องได้ง่ายเพราะมองไมเ่ ห็นสายไฟจากภายนอก การเดิน ท่อร้อยสายต้องทําควบคู่ไปพร้อมการก่อ-ฉาบ ไมค่ วรประหยัดหรือปล่อยให้มีการลักไก่ โดยการเดินสายไฟแบบฝงในผนังโดยไมร่ ้อยใสท่ ่อร้อยสายไฟ เพราะหากเกิดไฟรัวอาจเกิด อุบัติเหตุกับผู้อาศัยเมือไปสัมผัสกําแพง การติดตังมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบเดินสายบนผนัง การติดตังมีความยุง่ ยากและซับซ้อน การเปลียนแปลงและซอ่ มแซมภายหลังจากทีได้ติดตังไป แล้วทําได้ยากและเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบแรก

เพอ่ื ใหมคี วามปลอดภัยและไมเกิดอุบตั เิ หตจุ ากอาชีพชางไฟฟา - ก่อนปฏิบัติงานกับอุปกรณ์ไฟฟา ให้ตรวจวัดอุปกรณ์นันมีไฟฟาหรือไม่ - การทํางานกับอุปกรณ์ไฟฟาขณะปดสวิตช์แล้ว ต้องต่อสายอุปกรณ์ลงดิน - การจับอุปกรณ์ทีมีไฟฟา ต้องอาศัยเครืองมือ อุปกรณ์ และวิธีทีถูกต้อง - คีม ไขควง ต้องเปนชนิดทีมีฉนวนหุ้ม 2 ชันอยา่ งดี - ขณะทํางาน ต้องไมม่ ีสว่ นรา่ งกายหรือเครืองมือสัมผัสอุปกรณ์ทีมีกระแสไฟ

ขอ ควรระวงั ในการทาํ งานเกีย่ วกบั ไฟฟาท่วั ไป - เมือพบกล่องสวิตช์ชํารุด ควรรีบซอ่ มแซมทันที - รักษาความสะอาดพืนบริเวณติดตังสวิทช์ - ตรวจภายในตู้ควบคุมไฟฟา ไมใ่ ห้มีเศษผงโลหะนําไฟฟาอยู่ - ก่อนเปลียนฟวส์ ต้องสับสวิตช์ให้วงจรไฟฟาเปดก่อน - สวิตช์แต่ละอัน ควรมีปายบอกรายละเอียด การบริหารจัดการและการบริการทีดี คือ อะไร - ต้องสับสวิตช์ให้วงจรเปด เมือต้องการซอ่ มแซมเครืองจักร - อยา่ ปด-เปดสวิตช์ขณะมือเปยกนา - อุปกรณ์ไฟฟาชํารุด อยา่ ฝนใช้

ขอท่ีไมค วรกระทาํ ในการปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับไฟฟา - ไมถ่ อดปลักไฟ ด้วยการดึงสายไฟ - ไมค่ วรใชเ้ ครอื งมอื หรอื ปลักไฟ ทีชาํ รุด - ไมค่ วรต่อพว่ งไฟเกินกําลัง - ไมค่ วรต่อปลักผดิ ประเภท - ไมค่ วรซอ่ มแซมอุปกรณไ์ ฟฟาด้วยตนเอง หากไมม่ คี วามรูอ้ ยา่ งแท้จรงิ ความปลอดภัย เกียวกับตัวผปู้ ฏิบตั ิงาน ดังนี - การแต่งกาย ใชเ้ สอื ผา้ ทีอยูใ่ นสภาพเรยี บรอ้ ย ไมฉ่ กี ขาด เพราะอาจทําใหเ้ ขา้ ไปติดครอื ง จักรได้ - ไมค่ วรไว้ผมยาว ไมค่ วรใสเ่ ครอื งประดับ เชน่ สรอ้ ยคอ นา กิ า แหวน - ใสร่ องเท้าหมุ้ สน้ เพอื ปองกันโลหะ - ควรสวมหมวกปองกันศรี ษะขณะปฏิบตั ิงาน

โครงงานวิทยาศาสตรสูอาชีพ โครงงานวิทยาศาสตรส์ อู่ าชพี คือ อาชพี จําเปนมากในยุค ปจจุบนั และต้องปฏิบตั ิงานด้วยความรูค้ วามชาํ นาญ ยงั สามารถ สรา้ งสรรค์ผลงานได้มากมาย อาทิเชน่ ประดิษฐโ์ คมไฟ ตกแต่งในครวั เรอื น เครอื งเตือนภัยนาท่วม เปนต้น

คาํ ศัพทท างไฟฟา ไฟฟา (electricity) : การเคลือนทีของอิเล็กตรอนผา่ นตัวนาํ ไฟฟา ตัวนาํ ไฟฟา (conductor) : สสารทียอมใหก้ ระแสไฟฟาไหลผา่ น ฉนวนไฟฟา (insulator) : วัตถทุ ีมคี ณุ สมบตั ิต้านทานการไหลของกระแสไฟฟา กําลังไฟฟา (electric power) : อัตราการผลิตหรอื ใชพ้ ลังงานไฟฟาในหนงึ หนว่ ยเวลา วัตต์ (watt) : พลังงานไฟฟาทีอุปกรณแ์ ต่ละตัวในการทํางาน เชน่ หลอดไฟ 100 วัตต์ กิโลวัตต์-ชวั โมง (kilowatt-hour) : หนว่ ยวัดพลังงานไฟฟาในเวลา 1 ชวั โมง ตามบา้ นจะ วัดค่ามี หนว่ ยเปน กิโลวัตต์-ชวั โมง หรอื ยูนติ (unit) ไฟฟากระแสสลับ (alternating current) : ระบบไฟฟาทีอิเล็กตรอนวิงมที ิศทาง สลับไปมาตลอดเวลา สญั ญลักษณ์ AC

ไฟฟากระแสตรง (direct current) : ระบบไฟฟาทีอิเล็กตรอนวิงมที ิศทางเดียว ตลอดเวลา สญั ญลักษณ์ DC แอมแปร์ (ampare) : หนว่ ยวัดอัตราการไหลของไฟฟา สญั ญลักษณ์ A หรอื amp เฮิรท์ ซ์ (hertz) : หนว่ ยวัดความถีเปนรอบต่อวินาที ระบบไฟฟาบ้านมคี วามถี 50 เฮรต์ ซ์ สญั ญลักษณ์ Hz โอหม์ (ohm) : หนว่ ยความต้านทานไฟฟา สญั ลักษณ์ โอเมก้า (Ω) โวลต์ (volt) : หนว่ ยวัดแรงดันไฟฟา สญั ลักษณ์ V เชน่ พดั ลมไฟฟา AC 220V มลั ติมเิ ตอร์ (multimeter) : เครอื งมอื วัดแรงดันไฟฟา วัดกระแสไฟฟา และวัดความ ต้านทาน ในเครอื งเดียวกัน เซอรก์ ิตเบรกเกอร์ (circuit breaker) : อุปกรณจ์ ํากัดกระแสไฟฟาสงู สดุ ในวงจร ฟวส์ (fuse) : อุปกรณจ์ ํากัดกระแสไฟฟาสงู สดุ ในวงจร (เมอื กระแสเกินค่าจํากัดฟวส์ จะรอ้ นละลายขาดจากกัน)

ขอบคณุ คะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook