Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำบลควนศรี

ตำบลควนศรี

Published by Vladimir Putin, 2021-11-28 18:56:12

Description: ตำบลควนศรี

Search

Read the Text Version

อาจารย์เสาวนั นท์ ข วั ญ แ ก้ ว นางสาวคณาพร อิ น ท ร์ เ ท พ น า ง ส า ว เ ก ศ สุ ด า ผุ ด ผ า ด น า ง ส า ว ปิ ย ะ ช า ติ ไ ส ย เ กิ ด น า ย เ กี ย ร ติ พ ง ศ์ เ ช็ก นายชวกร รั ต น มุ ณี นางสาววนิ ศรา เพชรทอง น า ง ส า ว สุ ธิ ด า สิ ทธิโอน น า ย ป ร เ ม ศ ร์ หาดทราย น า ง ส า ว ว ริ ส ร า รั ต น า น า ง ส า ว ธั ญ ลั ก ษ ณ์ ชัย ท อ ง นางสาวเบญจพร เ กิ ด เ มื อ ง เ ล็ ก นางสาวมานิ ตา ศ รี ขำ กุ ล นางสาวชนนิ กานต์ สุ ข ศ รี น า ย ช า ญ ณ ร ง ค์ นิ ลอนั นต์ น า ย ส า โ ร จ น์ รั ต น ภิ ร ม ย์ น า ง ส า ว แ ก้ ว ก า น ด า ห อ ม เ อี่ ย ม น า ง ส า ว พั ช ร ว ร ร ณ ก ล า ง ถิ่ น นางสาวณั ฐวดี จั น ท ร์ ร่ ม น า ย ธี ร ภั ท ร เ ท ศ แ ก้ ว น า ง ส า ว ว ร ร ณ วิ ษ า ไกร น า ย พ ช ร พ ง ศ์ มี เ ด ช น า ง ส า ว พั ฒ น ว ร ร ณ ท อ ง ถึ ง นางสาวณิ ชนั นท์ ช่ว ย จิ ต ร น า ย ปิ ย พ ง ษ์ ศ รี ล ะ มั ย น า ง ส า ว ก น ก ก า ญ จ น์ ปั ญ ญ า ดี น า ง ส า ว จิ ร สุ ต า เ ก ลี ย ด สู น า ย พ น า เ ว ท ย์ แ ม้ น พิ กุ ล อาจารย์ที่ปรึกษาประจำตำบลควนศรี และทีมวิศวกรสั งตำบลควนศรี

คำนำ หนั งสื อเล่มนี้ จัดทำขึ้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึ กษาความรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ในตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งในหนั งสื อเล่มนี้ มีเนื้ อหาเกี่ยวกับข้อมูล พื้นฐานตำบล โครงสร้างของชุมชน โครงสร้างเศรษฐกิจและ อาชีพ สถานที่สำคัญในตำบล และประวัติศาสตร์ของตำบล หนั งสื อเล่มนี้ สามารถดำเนิ นประสบความสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วย ดี เนื่ องจากได้รับความอนุเคราะห์และสนั บสนุนเป็นอย่างยิ่ง จากอาจารย์ที่ปรึกษาประจำตำบลควนศรี อาจารย์เสาวนั นท์ ขวัญแก้ว ที่ได้สละเวลาอันมีค่าแก่คฯะผู้จัดทำ ให้คำปรึกษาและ แนะนำด้วยความเอาใจใส่ เป็นอย่างยิ่งจนหนั งสื อเล่มนี้ สมบูรณ์ คณะผู้จัดทำขอ กราบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ ขอขอบคุณเพื่อนร่วมงานที่ช่วยเหลือและให้กำลัง ใจใน การจัดทำหนั งสื อครั้งนี้ จนประสบความสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ข อ ข อ บ คุ ณ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ตำ บ ล ต ล อ ด จ น อำ น ว ย ค ว า ม สะดวกในการลงพื้นที่รวมทั้งประสบการณ์ ที่ได้ทำร่วมกับชุมชน สุดท้ายนี้ คณะผู้จัดทำหวังว่าหนั งสื อเล่มนี้ คงเป็น ประโยชน์ สำหรับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจศึ กษาต่อไป คณะผู้จัดทำ

สารบัญ 1-2 3-6 ขนาดที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ 7 การคมนาคม 8-9 ประวัติชุมชน โครงสร้างชุมชน 10 ด้านประชากร 11 ด้านการศึกษา 12 ศาสนา 13 การประมง 14 ความเชื่อประเพณี พิ ธีกรรม 15-16 สถานที่สำคัญ 17 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม 18 การดำเนินงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจ 19 และสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ 20 การพั ฒนาประเทศ ผลผลิต การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริหารชุมชน 21 การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม 22-24 25

1 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลควนศรี อำเภอ บ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี 55 กิโลเมตร มีเนื้ อที่ประมาณ 39 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 24375 ไร่ มีหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน

8 หมู่บ้านใน 2 ตำบลควนศรี หมู่ที่ 1 บ้านควนมหาชัย หมู่ที่ 5 บ้านมอเก็ต หมู่ที่ 2 บ้านควนศรี หมู่ที่ 6 บ้านควนเนี ยง หมู่ที่ 3 บ้านโคกเหรียง หมู่ที่ 7 บ้านควนพรุพี หมู่ที่ 4 บ้านวังใหญ่ หมู่ที่ 8 บ้านควนวัด

3 ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของตำบลควนศรี เป็นที่ราบ 1 ใน 2 ของพื้นที่ทั้งหมด

4 แม่น้ำสำคัญ แม่น้ำสำคัญของตำบลควนศรี คือ แม่น้ำตาปี

5 ภูมภิูอมิาอกากาาศศ ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้น มี 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและฤดูแล้ง ในฤดูฝนมีฝน ตกชุกปริมาณมากจนทำให้เกิดน้ำท่วมใน บางหมู่บ้าน ส่วนในฤดูแล้งอากาศร้อน อบอ้าว

6 ทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากตำบลควนศรีมีแม่น้ำตาปีตัดผ่าน จึงทำให้ อุดมสมบูรณ์ไปด้วย ทรัพยากรประมง ทรัพยากร ทางน้ำ ทรัพยากรป่าไม้ นอกจากนั้นแล้วพื้ นที่ของ ตำบลควนศรี มีดินที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การทำ เกษตร กรีดยาง สวนผลไม้ เช่น เงาะนาสาร ซึ่ง เป็นเอกลักษณ์ของอำเภอบ้านนาสารที่ใครได้มา จำเป็นต้องแวะซื้อกลับบ้านหรือเป็นของฝากจาก สุราษฎร์ธานี และอื่นๆ

7 การคมนาคม ตำบลควนศรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอบ้านนาสาร ห่างจากที่ว่าการอำเภอบ้านนาสาร ประมาณ 19 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดสุราษฎร์ธานีประมาณ 61 กิโลเมตร โดยมีถนน สายหลักดังต่อไปนี้ - ทางหลวงแผ่นดิน จำนวน 1สาย - ทางหลวงจังหวัด จำนวน 1 สาย - ถนนหมู่บ้าน จำนวน 24 สาย - ทางหลวงชนบท จำนวน 1 สาย

8 ประวัติความเป็นมาชุมชน ใช้ชื่อควนศรีซึ่งเป็นชื่อของวัด ที่มีหลวงพ่ อคงแก้วที่ศักดิ์สิทธ์เป็นที่เคารพบูชาเป็นศูนย์รวม น้ำใจของชาวตำบลควนศรี เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เดิมอยู่ ในเขตการปกครองของตำบลพรุพี อำเภอบ้านนาสาร กระทวงมหาดไทยได้ประกาศแบ่งแยก เขตการปกครองใหม่เมื่อปี 2529

ประวัติความเป็นมาชุมชนต่อ 9 ตั้งแต่ครั้งบรรพชน โดยมีประวัติเล่าต่อมายาวนานครั้งศึกเก้าทัพ พม่ายกทัพขึ้นจากระนอง และหัว เมืองรายทางมาทางใต้และผู้นำชุมชนต่างๆพาชาวบ้านหลบหนี ไปซ่อนตัวในชุมชนอื่นๆจนเมืองถลาง ไป พ่ ายแพ้ แก่ทัพคุณหญิงมุข คุณหญิงจัน ขณะนั้นพ่ อท่านคงแก้ว เป็นเจ้าอาวาสอยู่วัดชื่อ วัดวนศรี ได้มี นายทหาร หลายคน เช่น ขนวัง นายสุด นายคงเข้ามาใช้บริเวณวัดควนศรีเป็นที่มั่น เมื่อแพ้ สงคราม พวกทหารซึ่งเป็นผู้นำ ได้ฆ่าตัวตาย วัดควนศรีกลายเป็นวัดร้าง ปกคลุมไปด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่กลาย เป็นป่า มองไม่เห็นวัด สมัยต่อมาซนรุ่นหลังอพยพ เข้ามาก่อตั้งถิ่นฐานใหม่ไปพบร่องรอยวัดเก่าจึงได้ บูรณาการณ์ขึ้นมาใหม่ มีเหตุการณ์ ประหลาดเกิดขึ้นในวันหนึ่งขณะที่ชาวบ้านกำลังช่วยกันถางหญ้า มี ช้างตกมันเชือกหนึ่งไม่ทราบว่ามาจากไหนใช้งาแทงบริเวณต้นไทรจนเอน ทำให้มองเห็นพระพุ ทธรูป ที่มี รากไทรทั้งต้นไทรงอกโอบปิดเอาไว้ และทำให้เศียรและแขนพระพุ ทธรูปหัก จนกลายเป็นสัญลักษณ์หลวง พ่ อคงแก้ว แห่งวัดควนศรีจนทุกวันนี้ และเป็นที่เลื่องลือถึงความศักดิ์สิทธิ์อีกมากมาย ปัจจุบันจะมีงาน ประเพณีบวงสรวงหลวงพ่ อคงแก้ว ในทุกปี ต้องมีมโนราห์มารำแก้บนในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 และ ขึ้น1 ค่ำเดือน5 เรียกว่า\"โนราห์\" พ่ อท่าน โดยต้องมีมโนราห์ 2 โรงรำแข่งกัน เทศบาลตำบลควนศรี เป็น หน่วยงานราชการบริหารส่วนท้องถิ่นโดยได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นองค์การ บริหารส่วนตำบล ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 23 กุมภาพั นธ์ 2540 ซึ่งอยู่ในการกำกับดูแลของ นายอำเภอ ผู้ว่าราชการ จังหวัดและกระทรวงมหาดไทย โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้บริหารสูงสุด มีภารกิจอำนาจ หน้าที่ภายใต้ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ และมติ ครม. ที่เกี่ยวข้อง ต่อมาได้ยกฐานะเป็น เทศบาลตำบลควนศรี ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน 2556 โดยปัจจุบันมีนายกธีระ โพธิ์เพชร ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรี ปัจจุบันเทศบาลตำบลควนศรีมี 8 หมู่บ้าน ประกอบไปด้วย หมู่ที่ 1 บ้านควนมหาชัย หมู่ที่ 2 บ้านควนศรี หมู่ที่ 3 บ้านโคกเหรียง หมู่ที่ 4 บ้านวังใหญ่ หมู่ที่ 5 บ้านมอเก็ต หมู่ที่ 6 บ้านควนเนียง หมู่ที่ 7 บ้านควนพรุพี หมู่ที่ 8 บ้านควนวัด

10 โครงสร้างของชุมชน ด้านการปกครอง เป็นการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น (รูปแบบทั่วไป)มีเทศบาลตำบล 1 แห่ง ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน โดยได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 23 กุมภาพั นธ์ 2540 ซึ่งอยู่ในการกำกับดูแลของ นายอำเภอ ผู้ว่า ราชการจังหวัดและกระทรวงมหาดไทย โดยมี นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้บริหาร สูงสุด มีภารกิจอำนาจหน้าที่ภายใต้ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ และมติ ครม. ที่เกี่ยวข้อง ต่อมาได้ยกฐานะเป็น เทศบาลตำบลควนศรี ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน 2556 โดยปัจจุบันมีนายกธีระ โพธิ์เพชร ดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรี

11 ด้านประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 4,834 คน 1,487 หลังคาเรือน แยกเป็นชาย 2,372 คน คิดเป็นร้อยละ 49.06 หญิง 2,462 คน

12 ด้านการศึกษา (1.) โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง ประกอบไปด้วย โรงเรียนบ้านควนมหาชัย โรงเรียนวัดควนศรี โรงเรียนบ้านควนพรุพี (2.) ที่อ่านหนังสือพิ มพ์ ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน จำนวน 3 แห่ง (3.) ศูนย์พั ฒนาเด็กเล็กประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง

13 ด้านศาสนา ส่วนใหญ่ประกอบเกษตรกรรม เช่นทำสวนยางพารา สวนปาล์ม ปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยงปลาใน กระชัง ค้าขาย รับจ้าง ธุรกิจส่วนตัว และทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้การประกอบ อาชีพยังต้องพึ่ งพาอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากอาชีพโดยส่วนใหญ่ของประชาชน ในตำบลควนศรีเป็นอาชีพที่ยึดเอาทรัพยากรธรรมชาติเป็นวัตถุดิบเป็นสำคัญ สำหรับอาชีพ นอกภาคเกษตรกรรม ได้แก่ การรับจ้างและการค้าขาย ซึ่งการรับจ้างเป็นการรับจ้างแรงงาน ภายในตำบลและตำบลใกล้เคียง สำหรับการค้าขายเป็นไปตามลักษณะการขายของเบ็ดเตล็ด ภายในหมู่บ้าน หรือรับซื้อผลผลิตทางเกษตรภายในตำบล และตำบลใกล้เคียงมาจำหน่าย

14 การประมง มีประชาชนบางส่วนมีอาชีพทำประมงจับปลา จากแหล่งแม่น้ำตาปี และมีการเลี้ยงปลาในบ่อ อาทิเช่น ปลาดุก หอย เป็นต้น 9.3.การปศุสัตว์ มีกลุ่มอาชีพเลี้ยงไก่ไข่ ไก่พื้ นเมือง เป็นอาชีพเสริม 9.4.การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ ส่วนใหญ่ประกอบเกษตรกรรมเช่นทำสวนยางพารา สวนปาล์ม ปลูกผัก ผล ไม้ เลี้ยงปลาในกระชัง ค้าขาย รับจ้าง ธุรกิจส่วนตัว และทำงานในโรงงาน อุตสาหกรรม ทั้งนี้การประกอบอาชีพยังต้องพึ่ งพาจากธรรมชาติเป็นส่วน ใหญ่เนื่องจากอาชีพโดยส่วนใหญ่ ของตำบลควนศรีเป็นอาชีพที่ยึดเอา ทรัพยากรธรรมชาติเป็นวัตถุดิบเป็นสำคัญ

15 . ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม พ่ อท่านคงแก้ว ท่านเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัดในด้านครอบครัวหรือ เครือญาติ รู้เฉพาะท่านมีนามว่า คงแก้ว เป็นภิกษุ ในฐานะสมภารวัดควนศรีในอดีตซึ่งวัดควนศรี เป็นวัด เก่าแก่ตั้งแต่ยุคศรีวิชัยแต่ไม่ทราบนามเดิมของวัด ท่านเป็นผู้สร้างวัดพร้อมกับตาปะขาว สหายผู้ร่วม สร้างวัด ปัจจุบันวัดควนศรีตั้งอยู่ที่หมู่8 ต.ควนศรี อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ธานี พ่ อท่านคงแก้วมีศิษย์ เอกที่เป็นฆาราวาสขมังเวทย์อยู่สองคน คือ ตาสุด ศิษย์ผู้เป็นเลิศทางปัญญามักนุ่งขาวห่มขาว ตาคง ศิษย์ผู้เป็นเลิศทางอิทธิฤทธิ์ปาฎิหาริย์มักใช้ผ้าขาวม้าพั นคอ ท่านทั้งสองมักแสดงอภินิหารให้ประจักษ์แก่ สายตาผู้คนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจุบัน แสดงให้เห็นว่า พ่ อท่านคงแก้วครั้งยังดำรงกายสังขารอยู่ คงเปี่ ยม ด้วยบุญฤทธ์สูงส่ง อันเป็นอาจารย์ของศิษย์เอกทั้งสอง ท่านอยู่ในยุคที่มีสงครามพม่าและมรณภาพลงใน ช่วงนั้นซึ่งมิอาจจะทราบข้อมูลที่ชัดเจนได้มากนัก 100 ปีเศษมาแล้ว ชาวบ้านควนศรีหนีโรคฝีดาษ ณ ใต้ต้นไทร ชาวบ้านแตกตื่นวิ่งตามไป ชายชราในอาการประทับทรงจึงพู ดขึ้นว่า พ่ อชื่อคงแก้ว เป็นอดีต สมภารวัดนี้ในอดีต ไม่ต้องหนีไปไหน ให้สร้างวัดขึ้น ณ ที่แห่งนี้ พ่ อจะช่วยรักษาโรคเอง หลังจากเกิด เหตุการณ์นั้นชาวบ้านจึงถากถาง ณ โคนไทรมีพระพุ ทธรูปหินศิลาแลงลักษณะพระกรหักสองข้าง และพระ ศอ เอว หักไป มีรากไทรโอบอยู่หน่าแน่น และทราบว่านั้นคือพระพุ ทธรูปตัวแทนแห่งพ่ อท่านคงแก้ว นอกจากนี้ยังพบพระพุ ทธรูปอีกมากมาย และแบบแตกหักก็มีอยู่มาก พบร่องรอยซากเก่าของวัด ชาวบ้าน จึงถมซากเก่า สร้างวัดขึ้น ณ บนซากเก่า หลังจากนั้นโรคฝีดาษก็หายขาดไปจากหมู่บ้านทำให้ชาวบ้านไม่ ต้องอพยพไปไหนอีก พระพุ ทธรูปนี้ชาวบ้านได้รวบรวมไว้ในศาลาอดีตตั้งอยู่ภายในสวยยางพาราของวัด ภายหลังมีการปลูกมณฑปขึ้นจึงเคลื่อนย้ายมาไว้ในบริเวณวัด

16 . ความเชื่อ ประเพณีและพิ ธีกรรม ประเพณี งานเดือน 4 เป็นประเพณี ประจำปีโดยชาวตำบลควนศรีให้ความสำคัญใน การจัดงานวัดเป็นประจำทุกปีเพื่อเป็นการบวงสรวง พ่อท่านคงแก้ว ในทุกปี โดย ต้องมีมโนราห์มารำแก้บนในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 4 และ ขึ้ น 1 ค่ำ เดือน 5 เรียกว่า โนราห์พ่อท่าน โดยต้องมีมโนราห์ 2 โรงรำแข่งกันประชาชนชมโรงไหนมากให้ ถือว่าโรงนั้ นชนะและรำเงินรางวัลไปพิเศษนอกเหนื อจากค้าจ้าง ในช่วงเวลากลาง คืนจะมีการแสดงหนั งตะลุง เพื่อถวายพ่อท่านคงแก้วและเป็นการแสดงเพื่อความ บันเทิงให้กับชาวตำบลควนศรี ประเพณี สารทเดือนสิ บ วันสารทเดือนสิ บ หรือภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “วันชิงเปรต” นั้ น ในเดือนสิ บ (กันยายน) คือ การทำบุญกลางเดือนสิ บ เพื่อนำเครื่องอุปโภคและ เครื่องบริโภคไปถวายพระ อุทิศส่ วนกุศลแก่บรรพบุรุ ษของตน ประเพณี นี้ เป็นความ เชื่อของพุทธศาสนิ กชน ที่เชื่อว่าบรรพบุรุ ษอันได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย และญาติพี่น้ อง ที่ล่วงลับไปแล้ว หากทำความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานใน อเวจี และจะต้องอาศั ยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่ วนกุศลให้แต่ละปีมายังชีพ ดังนั้ นใน วันแรม 1 ค่ำ เดือนสิ บ เปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์ เพื่อมาขอส่ วนบุญ จากลูกหลานญาติพี่น้ อง และจะกลับไปนรกในวันแรม 15 ค่ำ เดือนสิ บ ในโอกาสนี้ เองลูกหลานและผู้ยังมีชีวิตอยู่จึงนำอาหารไปทำบุญที่วัด เพื่ออุทิศส่ วนกุศลให้แก่ผู้ที่ ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีในงานบุญสารทเดือนสิ บ

17 สถานที่สำคัญ วัดควนศรี เดิมชื่อ \"วัดควนศรีแก้วประเสริฐ\" ชาวบ้านเรียก วัดควน เป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่ยุค ศรีวิชัย วัดควนศรีเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 8 ตำบลควนศรี อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2435 รับวิสุงคามสีมาเมื่อ 20 กันยายน พ.ศ. 2542 เดิมเป็นวัดร้างมีแค่ซากปรักหักพั ง มีการบูรณฟื้ นฟู และขึ้นทะเบียนวัด ในปีพ.ศ. 2474 มีการฝังลูกนิมิตครั้งแรก พ.ศ.2544 ฝังลูกนิมิตครั้งที่ 2 ซึ่งวัดควนเป็น สถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวตำบลควนศรี

18 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม สั งคมไทยก็เหมือนกับสั งคมมนุษย์ทั้งหลายในโลกที่ไม่หยุดอยู่นิ่ งๆ หากมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสั งคมอื่นๆ ในระดับเดียวกัน แล้ว ก็อาจกล่าวได้ว่า มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนคนส่ วนใหญ่ ในสั งคม ปรับตัวเองไม่ทัน จนเกิดปัญหาทาง วัฒนธรรมที่ต้องมีการแก้ไขกันตลอดมา ทั้งนี้ ก็เพราะแต่เดิม สั งคมไทยเป็นสั งคมเกษตรกรรม ประชาชนส่ วนใหญ่อยู่ ในชนบทที่มีการทำนา และการเพาะปลูกเป็นอาชีพหลัก การผลิตแต่เดิม ก็เป็น แต่เพียงให้พอมีพอกิน ไม่ได้ผลิตอย่าง ใหญ่โตเพื่อส่ งออกไปค้าขายกับต่าง ประเทศ จึงไม่มีความจำเป็นในการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีแต่อย่างใด แต่ ในปัจจุบันสั งคมเปลี่ยนมาเป็นสั งคมอุตสาหกรรม ที่มุ่งหวังผลิตสิ่ งต่างๆ เพื่อ ส่ งออกไปขายนอกประเทศ การผลิตผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งแต่เดิมผลิตเพื่อ เลี้ยงตัวเอง ด้วยเทคโนโลยีง่ายๆ แบบดั้งเดิม ดั้งเดิม ก็เปลี่ยนมาเป็นการผลิตเป็นจำนวนมากโดยอาศั ยเทคโนโลยี ที่ก้าวหน้ า ทันสมัยเข้ามาช่วย มีการลงทุน และการใช้ที่ดิน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ การใช้ที่ดินก็มีการขยายเขตการเพาะปลูกพืชพันธุ์นานาชนิ ด ไปตามบริเวณ ต่างๆ โดยเฉพาะที่ดอน และที่ตามป่าเขา ก่อให้เกิดการรุ กล้ำป่าสงวน และการ ทำลายสภาพแวดล้อมอย่างกว้างขวาง การผลิตแบบที่เป็นแบบเกษตร อุตสาหกรรมที่ ชาวบ้านธรรมดาทั่วไปซึ่งไม่มีศั กยภาพทั้งใน ด้านเงินทุน กำลัง คน และเทคโนโลยี จะทำได้ จึงเป็นเรื่องของบุคคลร่ำรวยที่เป็นนายทุน

19 การดำเนิ นงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสั งคมรายตำบล แบบบูรณาการ 13.1. ชื่อโครงการ/กิจกรรมในการดำเนิ นการ (เน้ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาสั มมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสิ นค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) การนำ องค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) และการ ส่ งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ ชุมชน) ให้แก่ชุมชน) โครงการ \"ส่ งเสริมเศรษฐกิจ แหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ในชุมชนตำบล ควนครี อำเภอ บ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล\" Project \"Promoting the economy, tourist attractions, and local products in the Khuan Si community at Ban Na San District, Suratthani Province, by using innovation and digital technology \" วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนิ นการ (1.) เพื่อยกระดับสิ นค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสิ นค้า OTOP ของตำบลควนศรี (2.) เพื่อยกระดับแหล่งท่องเที่ยว และส่ งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่ ง แวดล้อมชุมชน โดย ชุมชน เพื่อชุมชน ตำบลควนศรี (3.) เพื่อพัฒนาสั มมาชีพใหม่ สร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน ตำบลควนศรี (4.) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี การใช้สื่ อออนไลน์ และโซเซียล ให้มีประสิ ทธิภาพ

การพัฒนาอาชีพ 20 ประเภทกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนิ นการในพื้นที่ (ระบุร้อยละของกิจกรรม) (1.) การพัฒนาสั มมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสิ นค้า OTOP/อาชีพอื่นๆ) คิดเป็นร้อยละ 45 ของกิจกรรมทั้งหมด (2.) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) คิดเป็นร้อยละ 30 ของกิจกรรมทั้งหมด (3.) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) คิดเป็นร้อยละ 15 ของกิจกรรมทั้งหมด (4.) การส่ งเสริมด้านสิ่ งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ ชุมชน) คิดเป็นร้อยละ 10 ของกิจกรรมทั้งหมด 13.4. รู ปแบบกิจกรรมที่จะเข้าไปดำเนิ นการในพื้นที่ (1.) การจ้างงานตามภารกิจต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย จำนวน 20 อัตรา งบประมาณ 2,640,000 บาท (2.) การวิเคราะห์ข้อมูลศั กยภาพตำบล การกำกับ ติดตามและประเมินผล ระดับ Nationa System Integrator งบประมาณ 25,800 บาท (3.) การวิเคราะห์ข้อมูลศั กยภาพตำบล การกำกับ ติดตามและประเมินผล ระดับ Regiona System Integrator งบประมาณ 34,400 บาท (4.) การสนั บสนุนการดำเนิ นกิจกรรมของโครงการรายตำบล (ระดับ System Integrator) งบประมาณ 43,000 บาท (5.) เพื่อยกระดับสิ นค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสิ นค้า OTOP ของตำบลควนศรี โดยใช้ ดิจิตอลในการสื่ อสาร งบประมาณ 141,920 บาท (6.) เพื่อยกระดับแหล่งท่องเที่ยว และส่ งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่ งแวดล้อมชุมช โดย ชุมชน เพื่อชุมชน ตำบลควนศรี งบประมาณ 263,380 บาท (7.) เพื่อพัฒนาสั มมาชีพใหม่ สร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน ตำบลควนศ งบประมาณ 182,700 บาท (8.) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี การใช้สื่ อออนไลน์ และโซเซียล ให้มี ประสิ ทธิภาพ งบประมาณ 108,300 บาท

21 ผลผลิต ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ/กิจกรรมในการดำเนิ นการ (อธิบายถึงผลผลิตและผลลัพธ์ที่ เกี่ยวข้องกับการยกระดับสิ นค้า OTOP /การยกระดับการท่องเที่ยวการบริการชุมชน หรือการเพิ่มราย ได้รู ปแบบอื่นให้แก่ชุมชน ที่มีความชัดเจน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) (1.) เชิงปริมาณ 1.1) จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ (ผู้รับการถ่ายทอดความรู้) รวมทั้งสิ้ น 120 คนประกอบด้วย - ผู้รับการถ่ายทอดเพื่อยกระดับสิ นค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชน และสิ นค้า OTOP ของตำบลควนศรี จำนวน 40 คน ต่อรุ่น จัดทั้งหมด 3 รุ่น รวมทั้งสิ้ น 120 คน - เพื่อยกระดับแหล่งท่องเที่ยว และส่ งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อมชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน ตำบลควนศรี จำนวน 40 คน ต่อรุ่น จัดทั้งหมด 3 รุ่น รวมทั้งสิ้ น 120 คน - พัฒนาสั มมาชีพใหม่ เพื่อสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชนตำบลควนศรี จำนวน 40 คน ต่อรุ่น จัดทั้งหมด 2 รุ่น รวมทั้งสิ้ น 80 คน - เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี การใช้สื่ อออนไลน์ และโซเซียล ให้มีประสิ ทธิภาพ จำนวน 40 คน ต่อรุ่น จัดทั้งหมด 2 รุ่น รวมทั้งสิ้ น 80 คน (หมายเหตุ: 1 คน สามารถรับการถ่ายทอดได้มากกว่า 1 เรื่อง) - จำนวนครั้งที่ดำเนิ นโครงการ/กิจกรรม 10 ครั้ง - ผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในกระบวนการครบถ้วนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้ นสุดอย่างน้ อย 60-80% 2.1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในกระบวนการจัดโครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 60-80 2.2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้ หลังการอบรม ร้อยละ 60-80 2.3) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถต่อยอด และถ่ายถอดองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่น ได้ 2.4) มีผลิตภัณฑ์ชุมชน มีตลาดชุมชน และมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อมเพิ่มขึ้ นในชุมชน

22 การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริหารชุมชน การทำแยมมังคุด เดิมมังคุดเป็นผลไม้ที่คนในชุมชนมักจะนำเปลือกมาทำเป็นสบู่ ส่วนเนื้อของมังคุดคนในชุมชนมักจะนำมารับประทาน ทางวิศวกร ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของมังคุด เพราะมังคุดเป็นผลไม้ที่ สามารถนำมาแปรรูปเป็นอาหารได้หลากหลาย วิศวกรจึงเลือกใน ส่วนของเนื้อเพื่ อที่จะนำเนื้อของมังคุดมาทำเป็นแยมมังคุดเพื่ อ สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน และสร้างแพ็ คแก็ทที่ดึงดูดความ สนใจของผู้บริโภค และสารมารถสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนและ เป็นการนำวัตถุดิบในพื้ นที่มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น

23 การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริหารชุมชน การส่งเสริมอาชีพการทำกัมมี่เงาะ การทำกำมี่ถือเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ชาวควนศรีเลือกเพื่ อหารายได้ ในการเพิ่ ม รายได้จากเดิม เพราะโดยส่วนมากนั้นชาวตำบลควนศรีทำอาชีพเกษตรกร ปลูกเงาะ ปลูกผลไม้ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าเดิมชาวบ้านเก็บผลเงาะสดไปขายอย่าง เดียว ทางวิศวกรสังคม ตำบลควนศรีจึงเห็นความสำคัญมีการวางแผนจัด กิจกรรมอบรมความรู้เพื่ อเพิ่ มมูลค่าให้กับเงาะโดยได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้ ทางด้านการแปรรูปผลไม้ มาให้ความรู้ในการนำเงาะมาแปรรูปเป็นกัมมี่เงาะ เพื่ อเป็นอีกทางเลือกให้แก่ผู้บริโภคและเพิ่ มรายได้ให้กับชุมชนได้ และชาวบ้าน สามรถทำเป็นอาชีพเสริม เพื่ อ เพิ่ มรายได้เข้ามาหมุนเวียนในชุมชนเพิ่ มมากขึ้น

24 การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริหารชุมชน . การเพาะเชื้อเห็ด ในปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้หลายครอบครัวไม่สามารถที่ จะดำรงชีวิตประจำวันได้ อย่างมีความสุข เนื่องจากมีรายได้ต่อเดือนไม่สมดุล กับรายจ่าย กล่าวคือ รายจ่ายที่ต้องจ่ายในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การ\"เพาะเห็ด\" เป็นอีกหนึ่งอาชีพที่น่าสนใจ สามารถสร้างรายได้ที่ดีและยังมี การลงทุนไม่สูง ทั้งในเรื่องของสถานที่ที่ใช้ก็ไม่จำเป็นต้องมีมาก เพี ยงแค่โรง จอดรถ ในบ้านก็สามารถบันดาลให้เป็นที่เพาะเห็ดได้แล้ว แค่ผ่านการอบรมใน เรื่องของการเพาะเห็ดอย่างถูกต้องตามหลักการก็ สามารถทำการเพาะเห็ดได้ การส่งเสริมให้เกษตรกร\"เพาะเชื้อเห็ด\"และ\"เพาะเห็ด\"จำหน่ายในท้องถิ่น ของ ตนเอง โดยเฉพาะเห็ดที่ทำการเพาะในถุงพลาสติกเช่น เห็ดนางฟ้า โดยเน้น ปฏิบัติจริงมากกว่าทฤษฏีเพื่ อให้ ชาวเกษตรกรสามารถกลับไปประกอบอาชีพ การเพาะเห็ดด้วยตัวเองได้เป็นอย่างดีดังนั้นจึงได้มีการจัดกิจกรรม การอบรม การเพาะเห็ดโดยได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้มาช่วยแนะนำ ให้ความรู้ในเรื่องการ เพาะเห็ด และในการอบรมครั้งนี้ถือว่าประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก เนื่องจาก มีการตอบรับที่ดี และชาวบ้านให้ความสนใจกันอย่างมาก และชาวบ้านได้ปฏิบัติ จริงและเป็นทางเลือกในการประกอบอาชีพทั้ง

25 การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม (1.) พั ฒนาชุมชนให้มีสมรรถนะในการจัดการสูง (2.) ช่วยให้เกิดการจัดการทรัพยากรอย่างเป็นระบบ (3.) ช่วยในการสร้างสัมมาอาชีพในพื้ นที่ (4.) ส่งเสริมเกษตรพอเพี ยงและอาหารปลอดภัย (5.) ช่วยจัดการวิสาหกิจชุมช (6.) การฝึกอบรมด้านสังคมคำนวณพื้ นที่ (หน่วย : ตารางเมตร) กว้าง 4 เมตร ยาว 55 เมตร คิดเป็นพื้ นที่ทั้งหมด 220 ตารางเมตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook