Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IDPนิตยาปี63

IDPนิตยาปี63

Published by ครูนิด คิดเลข, 2020-09-02 05:26:12

Description: IDPรายบุคคลนิตยาปี63

Search

Read the Text Version

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการ มุ่งเน้นให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาตนเองโดยยึดหลักการ ประเมินสมรรถนะ (Competency Based Approach) จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้จุดเด่น จุดด้อยของ ความสามารถในการปฏิบัตงิ านของตน และสามารถพฒั นาตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการจาเปน็ ของ ของหน่วยงาน และของตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ ท้ังน้ี ครูจึงต้องมีการวางแผนการพัฒนาตนเองในการจัดห้องเรียนท่ีมีคุณภาพ (Individual Development Planning : IDP) เพ่ือเป็นการพัฒนาท่ีสนองตอบความต้องการแต่ละบุคคล สนอง ความสนใจในรูปแบบวิธีการพัฒนา ก็จะส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีมีประสิทธิภาพต่อไป และ เป็นการพัฒนาท่ีต่อเน่ืองจนทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีมีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในการปฏิบัติงาน อันนาไปสู่การพัฒนาตนเองให้เป็นครูมืออาชีพท่ีมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง สามารถตรวจสอบได้ และพฒั นาสูค่ วามเป็นวชิ าชีพตอ่ ไป นางสาวนติ ยา ชนิ ทะนา ตาแหนง่ ครู

แผนพัฒนำรำยบคุ คล ID PLAN : INDIVIDUAL DEVELOPMENT PLAN ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนบคุ คล ชอ่ื -สกุล นางสาวนิตยา ชนิ ทะนา อายุ ๓๓ ปี ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นบา้ นหนองใหญ่ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ เขต ๑ เข้ารับราชการวันที่ ๓ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ โรงเรียนบา้ นหนองใหญ่ การศกึ ษาระดบั ปริญญา 1. วุฒปิ รญิ ญาตรี ครุศาสตรบัณฑติ วชิ าเอก คณิตศาสตร์ จากสถาบนั การศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 2. วฒุ สิ ูงกว่าปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ วิชาเอก การบริหารการศึกษา จากสถาบันการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ปทมุ ธานี ภำรกิจ / บทบำทหน้ำทีใ่ นปีกำรศกึ ษำปจั จุบนั ๑. ดา้ นการเรยี นการสอน (กลมุ่ สาระการเรียนรู้ / รายวิชาทจ่ี ัดการเรยี นการสอน / ระดับช้นั ทท่ี าการสอน / จานวนห้องท่ีทาการสอน / จานวนนกั เรยี นท่รี บั ผดิ ชอบ / จานวนคาบการสอนต่อสัปดาห์ ปฏิบตั ิหนา้ ทคี่ รูผสู้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สอนรายวิชา คณติ ศาสตร์ จานวนคาบการ สอน 23 ชัว่ โมง / สัปดาห์ ดังน้ี ตารางแสดงรายวชิ า จานวนชั่วโมง/สปั ดาห์ ระดบั ช้นั และจานวนนักเรยี นทีส่ อน ท่ี ชอื่ รายวชิ า จานวนชม./ ช้นั จานวน สัปดาห์ ผู้เรียน(คน) 1 คณติ ศาสตร์ 4 ป.6 15 2 คณิตศาสตร์ 3 ม.1 25 3 คณิตศาสตร์ 3 ม.2 24 4 คณิตศาสตร์ 3 ม.3/1 17 5 คณิตศาสตร์ 3 ม.3/2 16 6 เลอื กเสรี คณติ ศาสตร์ 2 ม.1-3 9 7 ซอ่ มเสรมิ คณิตศาสตร์ 1 ป.6 15 รวม 7 วชิ ำ 19 5

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ตารางแสดงกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนทีร่ บั ผิดชอบ ที่ ชือ่ รายวิชา จานวนคาบ/ ชนั้ จานวนผู้เรยี น สปั ดาห์ (คน) 1 ชมุ นุม (D.I.Y.) 1 ม.1-3 10 2 กจิ กรรมแนะแนว 1 ม.1 25 3 ลูกเสือสารอง 2 ป.1-3 46 รวม 3 กจิ กรรม 44 สรปุ รวมวิชาหลกั ทส่ี อน ทัง้ หมด 7 วชิ า รวมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นที่สอน ทงั้ หมด 3 กจิ กรรม รวมจานวนช่วั โมงทีส่ อน ทั้งหมด 23 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ปฏิบัตหิ น้าที่ครูทีป่ รึกษา/ครปู ระจาช้นั /ครปู ระจากลุ่ม 1. ครทู ีป่ รกึ ษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 2. หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนทรี่ บั ผิดชอบ 1. กิจกรรมชุมนุม (D.I.Y.) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 2. กิจกรรมแนะแนว ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 3. กิจกรรมลกู เสอื สารอง (ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1-3) หน้าท่ีทไี่ ดร้ บั มอบหมายเป็นพิเศษ 1. รับผิดชอบหนา้ ทค่ี รอู นามัยโรงเรยี น 2. ครูเวรดแู ลความสะอาดภายในของโรงเรียนพร้อมทัง้ ระเบยี บวนิ ัยของนักเรยี นประจาวนั จันทร์ 3. หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (หลักสตู รและงานวิชาการ) 4. หัวหน้าฝา่ ยวัดและประเมินผลโรงเรียนบ้านหนองใหญ่ 5. คณะกรรมการกองลูกเสอื สารอง 6. ครรู ับผดิ ชอบหอ้ งพิเศษ (ห้องคณติ ศาสตร์, ห้องพยาบาลโรงเรยี น) 7. งานอ่นื ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากผู้บรหิ ารสถานศึกษา

ประวตั กิ ำรเขำ้ รบั กำรพัฒนำ (ในรอบ ๓ ปี ทผ่ี ่ำนมำ) วนั เดอื น ปี ระยะเวลำ หลักสูตร สถำบนั วัน สพป.พช1 26-27 พฤษภาคม 2560 อบรมเชิงปฏิบตั ิการยกระดับคณุ ภาพผเู้ รียนในการทดสอบ 2 ทางการศึกษาระดับชาติ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. สพป.พช1 24-25 การอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือ่ งมอื วัดและประเมินผล สพป.พช1 กรกฎาคา 2560 2 ในชั้นเรียน เพือ่ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ 26-27 ประชุมปฏิบัติการสร้างเครื่องมอื วดั และประเมินผลในชั้น กรกฎาคม 2560 2 เรียน เพือ่ การทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาติ ระยะที่ สพป.พช1 2 16 - 17 2 ครอสเวิรด์ เกม เอแมท็ คาคม และซโู ดกุ เพือ่ การเรียนการ สมาคมครอสเวิร์ด กนั ยายน 2560 สอนสาหรบั ครู เกม เอแมท็ คาคม และซูโดกุ แห่ง ประเทศไทย 7-8 ประชมุ เชิงปฎิบัติการเตรียมความพรอ้ มเพือ่ รบั การ สพป.พช1 เมษายน 2561 2 ประเมิน PISA 2018 ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ 3 อบรมหลกั สตู รการพฒั นาสมรรถนะครูคณิตศาสตร์ ใน ศูนย์บริการ 2 พฤศจกิ ายน 2561 1 การส่งเสริมทกั ษะการแก้ปัญหา โดยใช้แนวคิดการศกึ ษา วิชาการ ชั้นเรยี น (Lesson Study) มหาวิทยาลยั ศรี นครินทรวิโรฒ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริหารจดั การเพื่อ เขตสขุ ภาพ ที่ ๒ เด็กวัยเรียนสงู ดสี มส่วน เขตสขุ ภาพ ที่ ๒ 25-27 อบรมครูผู้สอนด้วยระบบทางไกล โครงการขบั เคลื่อนการ สพป.พช1 เมษายน 2562 3 จัดการเรยี นรู้สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) 23 กมุ ภาพันธ์ 2563 1 กรมหลักสูตรออนไลน์เรอ่ื งการวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ ชมรมนักวิจยั ทาง หลักสูตรและการ สอนแหง่ ประเทศ ไทย

วนั เดอื น ปี ระยะเวลำ หลกั สตู ร สถำบัน 3 มีนาคม 2563 วัน เครือขา่ ยสุจริต 26 เมษายน 2563 1 อบรมออนไลน์ผ่านหลกั สตู รสาหรับข้าราชการผ่านระบบ ไทย 7 พฤษภาคม 2563 e-learning สพป.ชย 1 สพฐ. 1 การอบรมบทเรียนออนไลน์เรอ่ื ง Active Learning 1 กรมการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 ผ่านระบบ การประชมุ ทางไกล ส่วนที่ ๒ ควำมต้องกำรในกำรพัฒนำ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ รำยวิชำคณติ ศำสตร์ ๒.๑ กำรพฒั นำงำน ๒.๑.๑ ประเดน็ กำรพฒั นำ กำรพัฒนำทักษะกำรแก้โจทย์ปญั หำคณิตศำสตร์ ๒.๑.๒ เหตุผลและควำมจำเปน็ ทักษะการแกโ้ จทย์ปัญหาคณติ ศาสตร์เป็นทักษะทสี่ าคญั ในการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ และเป็นพื้นฐานใน การเช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อน่ื ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะการแก้ปัญหาระคน ซ่ึงในปัจจุบันนักเรียน สว่ นใหญม่ ปี ญั หาในการแก้โจทยป์ ัญหา จึงทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตรอ์ ยูใ่ นเกณฑ์ต่า ๒.๑.๓ วตั ถุประสงค์ในกำรพฒั นำ เพอ่ื ให้ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนาความรไู้ ปพฒั นำทกั ษะกำรแก้โจทย์ปญั หำทำง คณติ ศำสตร์ ๒.๑.๔ เปำ้ หมำยในกำรพฒั นำ ครูผสู้ อนมคี วามรูค้ วามเข้าใจและสามารถนาความรู้ไปพัฒนำทกั ษะทักษะกำรแก้โจทยป์ ัญหำทำง คณิตศำสตร์ ผูเ้ รียนสำมำรถพฒั นำทักษะกำรแก้โจทย์ปัญหำทำงคณิตศำสตร์

๒.๑.๕ กระบวนกำรพฒั นำ การดาเนินการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ด้วยการวางแผนดาเนินการ กาหนดแนวทางปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ การกากับติดตาม การดาเนินการ เครื่องมือพัฒนาทักษะ การวัด ประเมินผลการพัฒนาทักษะ ตัวชี้วัดเกณฑ์การให้คะแนน ตามรูปแบบการพัฒนา โดยผู้เก่ียวข้องในการ จดั การเรียนรู้ในโรงเรียนน้ัน อนั ประกอบไปด้วยบทบาทการจัดการเรียนรู้ระดับโรงเรียน ระดบั ห้องเรียน และ ระดบั นักเรียน ๒.๑.๖ วธิ กี ำรตรวจสอบและประเมนิ ผล การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ มีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกันต้องดาเนินการ ต่อเนอ่ื งควบคู่กันไป เครื่องมือพัฒนาทักษะดังกล่าวน้ีจะตอ้ งมีรายละเอียดท่ีเกี่ยวกับทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ัญหา ทางคณิตศาสตร์ เป็นรูปแบบเอกสารสาเร็จรูปเป็นใบงานพัฒนาทักษะจัดทาโดยครู อาจารย์เพื่อให้เกิดความ เหมาะสมกบั เวลาทีจ่ ดั ตามความถนดั ของครู แตล่ ะกลมุ่ สาระท่ีดาเนนิ การในห้องเรยี น เคร่ืองมือพัฒนาทกั ษะนกั เรียนเป็น “แบบฝึกใบงานพฒั นาการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์” การ วัดประเมินผลการพัฒนาเป็นข้ันตอนสาคัญประการหนึ่งในการจัดการเรียนรู้ เนื่องด้วยจะทาให้ผู้เก่ียวข้อง ทราบถึงความเจริญก้าวหน้า เกิดการพัฒนาอยู่ในระดับใด การวัดประเมินผลการพัฒนา การแก้โจทย์ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แนวทาง หรือวิธีการประเมิน ต้องพิจารณาประเมินผล การ พฒั นาโดยรวมไปพร้อมๆ กัน การวัดประเมินผลการพฒั นาทักษะดังกล่าวได้กาหนดบทบาท ตัวชี้วดั เกณฑ์การ ให้คะแนน และการรายงานผลการพฒั นา ๒.๑.๗ ผลที่คำดวำ่ จะไดร้ บั ครูผู้สอนมคี วามรู้ความเข้าใจและสามารถนาความรู้ไปพฒั นำทกั ษะกำรแก้โจทย์ปัญหำทำง คณติ ศำสตร์ของผ้เู รยี นได้ ผูเ้ รยี นสำมำรถพฒั นำทักษะกำรแก้โจทย์ปญั หำทำงคณิตศำสตร์ มผี ลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรยี นร้ขู ้ึน ครูผู้สอนสามารถขยายผลการพฒั นำทักษะกำรแกโ้ จทย์ปัญหำทำงคณิตศำสตร์ไปสู่ครู และบคุ ลำกรทเ่ี กย่ี วข้องได้

๒.๒ กำรพัฒนำตนเอง ๒.๒.๑ สมรรถนะ / ควำมสำมำรถ การพฒั นาตนเองมีผลทีค่ าดว่าจะได้รับจากการวางแผนการพัฒนาตนเอง ๒ ด้าน คอื ด้าน สมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจาสายงาน ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี คือ ด้ำนสมรรถนะหลกั มกี ารพัฒนาตนเองใน ๔ ดา้ น คอื ๑. การมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ ไดแ้ ก่ ๑.๑ ความสามารถในการวางแผนการปฏบิ ัติงาน ๑.๒ ความสามารถในการปฏิบัติงาน ๑.๓ ผลการปฏิบตั งิ าน ๒. การบริการทดี่ ี ไดแ้ ก่ ๒.๑ ความสามารถในการสร้างระบบการใหบ้ ริการ ๒.๒ ความสามารถในการให้บริการ ๓. การพฒั นาตนเอง ไดแ้ ก่ ๓.๑ ความสามารถในการพัฒนาตนเอง ๓.๒ ความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพ่ือการส่อื สาร ๓.๓ ความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการแสวงหาความรู้ ๓.๔ ความสามารถในการติดตามความเคลอ่ื นไหวทางวชิ าการและวิชาชีพ ๓.๕ ความสามารถในการประมวลความรู้และนาความรู้ไปใช้ ๔. การทางานเปน็ ทมี ได้แก่ ๔.๑ ความสามารถในการวางแผนเพ่ือการปฏบิ ัตงิ านเปน็ ทมี ๔.๒ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านรว่ มกนั ด้ำนสมรรถนะประจำสำยงำน มีการพฒั นาตนเองใน ๕ ดา้ น คือ ๑. การจัดการเรียนรู้ ๑.๑ ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลกั สูตร ๑.๒ ความสามารถในเน้ือหาสาระที่สอน ๑.๓ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ๑.๔ ความสามารถในการใช้และพฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัด การเรยี นรู้ ๑.๕ ความสามารถในการวัด และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

๒. การพัฒนาผ้เู รียน ๒.๑ ความสามารถในการปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม ๒.๒ ความสามารถในการพฒั นาทักษะชวี ิต สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต ๒.๓ ความสามารถในการปลูกฝังความเปน็ ประชาธปิ ไตย ๒.๔ ความสามารถในการปลุกฝงั ความเปน็ ไทย ๒.๕ ความสามารถในการจดั ระบบดูแลและชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น ๓. การบริหารจัดการชน้ั เรียน ๓.๑ ความสามารถในการจัดบรรยากาศการเรียนรู้ ๓.๒ ความสามารถในการจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศและเอกสารฯ ๓.๓ ความสามารถในการกากบั ดแู ลช้นั เรียน ๔. การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และการวจิ ัย ๔.๑ ความสามารถในการวิเคราะห์ ๔.๒ ความสามารถในการสงั เคราะห์ ๔.๓ ความสามารถในการเขียนเอกสารทางวิชาการ ๔.๔ ความสามารถในการวิจยั ๕. การสร้างความรว่ มมือกับชมุ ชน ๕.๑ ความสามารถในการนาชุมชนมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมสถานศกึ ษา ๕.๒ ความสามารถในการเข้ารว่ มกจิ กรรมของชมุ ชน นอกจากน้ี จะต้องมีการพฒั นาดา้ นคณุ ลักษณะท่จี าเปน็ ในการพัฒนาวชิ าชีพ คือ ดำ้ นวนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยำบรรณในวชิ ำชพี ไดแ้ ก่ ๑. การมีวนิ ยั ๒. การประพฤติ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ๓. การดารงชีวติ อย่างเหมาะสม ๔. ความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ๕. ความรับผิดชอบในวชิ าชพี ๒.๒.๒ เหตุผลและควำมจำเป็น สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ท่ีเป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถ และ คณุ ลักษณะอน่ื ๆ ที่ทาให้บุคคลสามารถสร้างผลงานไดโ้ ดดเดน่ ในองคก์ ร “สมรรถนะ” เป็นสิ่งท่ีแยกกลุ่มคนท่ีมีผลการปฏิบัติงานโดดเด่น กับกลุ่มคนท่ีมีผลการปฏิบัติงานใน ระดับมาตรฐานท่ัวไปออกจากกัน นั่นคือ คนทางานท่ีเดียวกัน จบจากสถาบันเดียวกัน เรียนเก่งเหมือนกัน มี

ความรู้ ความสามารถใกล้เคียงกัน แต่มีสมรรถนะหรือคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมต่างกัน ทาให้แสดงพฤติกรรม ในการทางานไมเ่ หมือนกัน สดุ ท้าย ผลการทางานก็ออกมาแตกตา่ งกัน น่นั คือ คนหน่งึ อาจทางานได้ผลงานใน ระดับปานกลาง แตอ่ กี คนหน่ึงมีสมรรถนะเหมาะสมกับการทางานในองค์กรนัน้ หรอื มีสมรรถนะท่ีเหมาะสมกับ งานในตาแหน่งน้ัน ก็จะทางานได้ผลงานท่ีโดดเดน่ กว่า และยงั สง่ ผลต่อความกา้ วหน้าในหน้าท่ีราชการของแต่ ละบคุ คล ดังนน้ั จงึ มีความจาเปน็ ท่ีขา้ ราชการครจู ะตอ้ งพัฒนาสมรรถนะของตนเองอยา่ งสม่าเสมอ ๒.๒.๓ วิธกี ำรและรปู แบบกำรพฒั นำ อบรมพัฒนาเชิงปฏิบัติการมีรูปแบบการดาเนินงานที่เห็นชัดเป็นรูปธรรม และติดตามผล ประเมินผลหลังจากอบรม โดยจัดการอบรมให้ผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาได้มีความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง สามารถนาไปปฏิบตั ิและขยายผลต่อได้ ๒.๒.๔ ระยะเวลำกำรพฒั นำ ภำยใน ปี 2563 ซึง่ ควรเป็นวันเสำร์ – อำทิตย์ / ช่วงวันหยดุ นักขตั ฤกษ์ หรือช่วงปดิ ภำคเรียน เพอ่ื ไม่ใหก้ ระทบต่อกำรจดั กำรเรียนกำรสอน ๒.๒.๕ ประโยชน์ทคี่ ำดวำ่ จะได้รบั ๑. ผลท่ีเกดิ จำกกำรจัดกำรเรียนรู้ ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้กับนักเรียน โดยร่วมกับคณะครูจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา วิเคราะห์หลักสูตร จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และนาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ใน การจดั การเรียนการสอนใหก้ ับนกั เรียน มกี ารวัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ โดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงาน ชนิ้ งาน แบบฝกึ โดยการวดั ผลประเมินผลดังกล่าวครอบคลุมทุกๆดา้ น ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ทั้งนี้เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียน ให้เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุขตามเป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนมกี ารบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการสอนอย่างสม่าเสมอ ทงั้ น้เี พือ่ จะได้ชว่ ยแกไ้ ขข้อบกพร่องให้กบั นักเรยี นท่ีมีปญั หา ๒. ผลท่เี กดิ จำกกำรพฒั นำวชิ ำกำร ผลที่เกิดจากการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาการ ส่งผลให้ตนเองได้รับการปรับวุฒิการศึกษาให้ สูงขึ้นและผ่านประเมนิ พฒั นาอย่างเข้มเปน็ ตาแหน่ง ครู โดยพัฒนาผู้เรียนด้านคณุ ธรรม จริยธรรมความมีวนิ ัย ในตนเอง ซ่ึงมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ตลอดจนได้ร่วมพัฒนาบุคลากรในโรงเรียน โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลง ไปในทางท่ีดีขึ้นโดยบุคลากรในโรงเรียน และโรงเรียนเป็นท่ียอมรับของบุคคลทั่วไปและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีการเผยแพรผ่ ลงานทางดา้ นวิชาการ นอกจากน้ันโรงเรียนยังสนับสนนุ และส่งเสรมิ ให้บุคลากรไดพ้ ัฒนา ส่อื และนวัตกรรม

๓.ผลท่ีเกดิ กบั ผ้เู รียน การจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการให้นักเรียนได้ฝึกการ ปฏิบัติจริง เพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะต่างๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ความมีวินัยใน ตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย มี ความสามารถในการใช้ภาษาในการส่ือสาร และการมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นส่ิงท่ีผู้เรียน สามารถนาความรู้ความเข้าใจและทักษะไปบูรณาการและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเป็นการเพ่ิมพูน สมรรถนะตนเองให้มากข้ึนและส่งผลให้การใช้ชีวิตภายหน้า บนพื้นฐานคุณธรรม นาความรู้ และเศรษฐกิจ พอเพียง ตลอดจนการอยูร่ ่วมกันในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ๔.ผลทเี่ กิดกบั สถำนศกึ ษำ จากการที่สถานศึกษามีการวางแผนปฏิบัติราชการในการพัฒนา มีเป้าหมาย มีทิศทางในการ ดาเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรม โครงการต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่ง นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม ทาให้ผลการดาเนินงานเป็นท่ียอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน ทอ้ งถ่ิน

ภำคผนวก








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook