โดย นางสาวแววมณี กระต่ายเผือก
ชีวิตกับสังคมไทย 1.1 วิวัฒนาการของสงั คมมนุษย์ 1.2 ประวตั ิศาสตรส์ ังคมมนุษย์ 1.3 ความหมายของสงั คมมนุษย์ 1.4 ความสาคัญของสงั คมมนุษย์ 1.5 องคป์ ระกอบของสงั คมมนุษย์ 1.6 ประเภทสังคมมนุษย์
ชีวิตกับสังคมไทย 1.7 หน้าทขี่ องสงั คมมนุษย์ 1.8 การเปล่ียนแปลงทางสงั คม 1.9 แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงทางสังคมไทยยุคใหม่ 1.10 การเปลยี่ นแปลงสงั คมไทยสู่ประชาคมอาเซียน 1.11 ภาวะวิกฤติในสงั คมไทย
ชีวิตกบั สงั คมไทย วิวัฒนาการ (Evolution) คือ กระบวนการเปล่ียนแปลงหรือการพฒั นาอย่างมีระบบตาม ธรรมชาติ ผลกระทบของสง่ิ แวดลอ้ มในสภาวะนนั้ ๆ ไปสฐู่ านะท่ีดขี นึ้ เจรญิ ขนึ้ เป็นการเปล่ียนแปลงจากสิ่ง ท่ีงา่ ย ๆ ไปสู่ สิ่งที่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ นมากขนึ้ ววิ ัฒนาการของมนุษย์
ชีวิตกับสงั คมไทย ยอ้ นกลบั ไปเมื่อประมาณ 20 ลา้ นปี ที่แลว้ เกิดการ เปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ มมีทุ่งหญ้าเกิดขึน้ มาทดแทน ป่าไมท้ ่ีอุดมสมบรู ณ์ ทาให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิดมีวิวฒั นาการ มาดารงชวี ิตบนพนื้ ดินมากขนึ้ หุ่นจาลองลซู่ ่ี ฟอสซลิ อายุ 3.2 ลา้ นปี
ชีวิตกบั สังคมไทย 1.1.1 ปัจจยั สาคัญทที่ าให้มนุษยอ์ ยู่ร่วมกัน “มนษุ ยเ์ ป็นสตั วส์ งั คม” (Man is a Social Animal) จากคากลา่ วชใี้ หเ้ ห็นวา่ มนุษยต์ อ้ งอยรู่ วมกบั บคุ คลอื่น ทาใหเ้ กิดเป็นสงั คมมนษุ ยข์ นึ้ นน้ั กเ็ นื่องมาจากสภาพโดยธรรมชาติของมนุษย์ ซ่ึงมีปัจจยั สาคญั หลายประการที่ทาให้มนุษยไ์ ม่สามารถดารงชีวิตอยูอ่ ยา่ งโดดเด่ียวหรืออย่ตู ามลาพงั ได้ จึงตอ้ งมาอยู่ รว่ มกบั บคุ คลอ่ืนเพอื่ ความอยรู่ อด ไดแ้ ก่ 1. มนุษย์เป็ นสัตว์เลอื ดอุ่นเลีย้ งลกู ด้วยนม 2. มนุษย์มีความต้องการด้านปัจจัยทีม่ ีความสาคัญย่ิงต่อการดาเนินชีวิต 3. มนุษย์แตล่ ะคนมีความสามารถและศักยภาพไม่เท่าเทยี มกนั 4. มนุษย์มีสตปิ ัญญาและสามัญสานึกทาให้แยกแยะผิดชอบชั่วดีได้
ชวี ติ กับสังคมไทย 1.1.2 การดารงชีวิตของมนุษยใ์ นแตล่ ะยุค 1. การอยู่เยี่ยงเดรัจฉาน (Savagery) เป็นยุคที่มนุษยล์ ่าสตั ว์และแสวงหาพืชผักผลไมเ้ ป็น อาหารตามธรรมชาติ ใชถ้ า้ เป็นท่ีอยอู่ าศยั เร่ิมรูจ้ กั การใชไ้ ฟและภาษาในการส่อสาร มีการประดิษฐ์ธนูและ ลกู ศร ใชห้ นงั สตั วท์ ี่ลา่ มาไดเ้ ป็นเคร่อื งนุง่ หม่ 2. การอยู่อย่างป่ าเถอื่ น (Babarism) เป็นยุคที่มนุษยร์ ูจ้ กั การใช้โลหะทาเครื่องมือ มีการทา เครื่องป้ันดินเผา ทาการเกษตรกรรม ทอผา้ สงั คมในยคุ นีม้ ีระบบทาส เพศชายมีภรรยาไดห้ ลายคนและทา หนา้ ท่ี ปกครอง สว่ นเพศหญิงทาหนา้ ที่ดแู ลบา้ น 3. การอยู่อย่างมีอารยธรรม (Civilization) เป็นยคุ ท่ีมนุษยร์ ูจ้ กั การประดิษฐ์เคร่ืองทุ่นแรงมี การใชต้ วั อกั ษรในการส่อื ความหมายสงั คมเปลยี่ นจากเกษตรกรรมเป็นอตุ สาหกรรม
ชวี ิตกับสงั คมไทย 1.2.1 ประวัตศิ าสตรส์ มัยโบราณ เร่ิมตง้ั แต่แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมอียิปต์โบราณ และอารยธรรมกรีกโรมัน จนกระท่งั สนิ้ สดุ ลงเมอื่ กรุงโรมซ่งึ เป็นศูนย์กลางของจกั รวรรดถิ ูกตแี ตกโดยพวกอารยชนในปี พ.ศ. 1019 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย คาว่า “เมโสโปเตเมีย” เป็นภาษากรีกมาจากคาว่า “Mesos” หมายถึง “ดนิ แดนระหว่างแม่นา้ ” (Land Between the Rivers) พนื้ ที่นีต้ ง้ั อยทู่ างทิศตะวันตกเฉียงใตข้ อง เอเชยี ในบรเิ วณท่ีเช่อื มตอ่ ระหว่างทวีปเอเชีย ยโุ รป และพนื้ ท่ีของแหลง่ อารยธรรมทงั้ หมด คืออาณาบริเวณ จากทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียนไปสอู่ า่ วเปอรเ์ ซยี ครอบคลมุ ดนิ แดนบางสว่ นในประเทศอิรกั และซเี รีย
ชีวิตกับสงั คมไทย ชาวสเุ มเรียนซงึ่ เป็นผคู้ ดิ ประดษิ ฐต์ วั อกั ษรขึ้นเป็นครง้ั แรก ในโลก เรียกว่า “อักษรรูปล่ิม” เพื่อบันทึกเรื่องราวต่า งๆ โดยการใชไ้ ม้ หรอื โลหะแหลมจารลงบนแผน่ ดนิ เหนียว ผลงานสถาปัตยกรรมท่ีสาคญั และถือว่าเป็นสง่ มหัศจรรย์ ของโลกคอื “สวนลอยแห่งเมืองบาบิโลน” (The Hanging Gardens of Babylon) ซงึ่ เป็นสวนท่ีมีถนนกวา้ ง ปดู ว้ ยแผน่ หินลาดดว้ ยยาง มะตอย ภาพวาดสวนลอยบาบโิ ลน มีการบัญญัติกฎหมายบังคับใช้เรียกว่า “ประมวล กฎหมายแหง่ ฮมั มรู าบี” (Code of Hammurabi) โดยกษัตริย์ “ฮมั มู ราบ”ี กฎหมายนีม้ ีลกั ษณะการลงโทษแบบตาตอ่ ตาฟันตอ่ ฟัน
ชวี ิตกับสังคมไทย 2. อารยธรรมอียิปต์ เป็นอารยธรรมท่ีรูจ้ ักกันอย่างกว้างขวาง เน่ืองจากมีมรดกท าง สถาปัตยกรรม เชน่ พรี ะมิด มีแนวความคิดความเชอ่ื เกี่ยวกบั ศาสนาและปรชั ญา อียปิ ตเ์ ป็นดนิ แดนที่อุดมสมบรู ณเ์ นื่องจากมีพนื้ ที่ตงั้ อยบู่ นสองฝ่ังแม่นา้ ไนล์ มีผลต่อการดาเนิน ชีวิตของชาวอียิปตโ์ บราณเป็นเสน้ ทางคมนาคมสายหลกั และเป็นเสมือนเข็มทิศในการเดินทาง โด ยใช้ รว่ มกบั ทิศทางการขนึ้ และตกของดวงอาทิตย์ มหาสฟิ งซแ์ ละพรี ะมดิ
ชีวติ กับสงั คมไทย 3. อารยธรรมเปอรเ์ ซยี เม่ือประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสตกาล มีถ่ินฐานเดิมอยู่บริเวณ ทางเหนือของทะเลดาไดก้ ่อตวั และขยายอานาจครอบครองอารยธรรมโบราณอ่ืนๆ ภายใตก้ ารปกครอง ของพระเจา้ ไซรสั มหาราช พระองคไ์ ดด้ าเนินนโยบายขยายดนิ แดน ของเปอรเ์ ซียออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง ชาวเปอรเ์ ซียมีความเช่ือเก่ียวกบั เทพ เจา้ อารยธรรมเปอรเ์ ซียจงึ ไดพ้ ฒั นาความคิดความ เช่อื เก่ียวกบั เทพเจา้ ขนึ้ เป็นระบบศาสนาคือ“ศาสนา โซโรอสั เตอร”์ (Zoroaster) ท่ีสอนให้นับถือบูชาเทพ เจา้ สงู สดุ ชอ่ื วา่ “อหุระ มาสดา” (Ahura Mazda) เป็นเทพแหง่ ปัญญาและผสู้ รา้ ง พระเจ้าไซรสั มหาราช กษัตรยิ แ์ หง่ เปอรเ์ ซยี
ชวี ิตกับสงั คมไทย 4. อารยธรรมลุ่มแม่น้าสนิ ธุและอินเดีย เป็น อารยธรรมเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละเอเชียตะวันออกอารย ธรรมอินเดียโบราณหรืออารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ มีอายุ ประมาณ 3,000–2,500 ปีก่อนครสิ ตกาล มีการคน้ พบ เมืองโม เฮนโจดาโร (Mohenjo–daro) และเมืองฮารปั ปา (Harappa) ซง่ึ เป็นศนู ยก์ ลางของวัฒนธรรมนีพ้ บว่ามีความเจริญอยา่ งยิ่ง ในดา้ นการวางผงั เมืองอยา่ งเป็นระบบระเบยี บ เมืองโมเฮนโจดาโร
ชีวติ กับสงั คมไทย 5. อารยธรรมจนี ยุคโบราณเร่ิมก่อตัวที่บรเิ วณลุ่มแม่น้าฮวงโห เมื่อประมาณ 5,000 ปี ก่อนครสิ ตกาล โดยเป็นชมุ ชนเกษตรกรรม บรเิ วณนีพ้ บหมู่บา้ นเกษตรกรรมแห่งแรกเรยี กว่า Ban Po ใกลเ้ มอื งซีอาน มีการเลยี้ งสตั ว์ การทาเครื่องป้ันดินเ า การเลีย้ งตวั หม่อนเพือ่ นามาทอ า้ ไหม มีศูนยก์ ลางการปกครองอยู่ประมาณ 403–221 ปีกอ่ นครสิ ตกาล บรเิ วณใกลเ้ มืองซอี านใน ปัจจุบันจนกระท่ัง 256 ปี ก่อนคริสตกาล และ สถาปนาตนเองเป็นจ๋ินซฮี อ่ งเตม้ กี ารสรา้ งกาแพงเมือง จีนขึ้น ซ่ึงจัดเป็ นส่ิงมหัศจรรย์ของโลกมาจนถึง ปจั จุบนั กาแพงเมืองจนี
ชีวติ กบั สงั คมไทย 6. อารยธรรมกรกี เป็นคาท่ีชาวโรมนั ใชเ้ รียกแตช่ าวกรีกจะเรียกตนเองว่า “เฮลลีนส”์ และ เรียกความเจริญท่ีตนสรา้ งสรรคว์ า่ “เฮเลนนิค” (Hellenic) ตน้ กาเนิดของอารยธรรมตะวนั ตก ชาวกรกี มีเทพเจา้ หลายองค์ สว่ นมาก มีความเก่ี ยวเนื่ องกับธรรมชาติ เช่น Zeus ควบคมุ ท้องฟ้าพายุ และฝน เทพ Poseidon ควบคมุ ทะเล เทพ Aphrodite เทพแห่งความรกั เป็นตน้ วิหารพารเ์ ธนอน (Parthenon)
ชวี ติ กับสงั คมไทย 7. อารยธรรมโรมัน เป็นผคู้ ิดการปกครองแบบสาธารณรฐั ทาใหอ้ าณาจกั รโรมนั มีความ เจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นกฎหมายและการเมืองกว่าชาติอื่นๆ กฎหมายจะมีลกั ษณะยืดหยุ่น เ ริ่มดว้ ย กฎหมาย 12 โต๊ะ โดยสภาซีเนต สถาปัตยกรรมสว่ นใหญ่จะไดร้ บั แบบอยา่ งมาจากกรีก ดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ โรมนั เป็นชนชาตแิ รกที่สามารถทาคลอดทารกโดยวิธี ผา่ ตดั ทางหนา้ ทอ้ ง วิธีดงั กลา่ วเรียกวา่ ศลั ยกรรมแบบซีซาร์ นอกจากนี้ ยงั มีความรูค้ วามสามารถในการ ผา่ ตดั โรคคอพอก และน่ิว ทาใหโ้ รมนั เป็นชาตแิ รกท่ีใหก้ าเนิดโรงพยาบาลแหง่ แรกในยโุ รป
ชวี ิตกับสังคมไทย โคลอสเซยี ม โรมนั เป็นชาตแิ รกทท่ี าคอนกรีตขนึ้ ใชจ้ ึงทาใหส้ ถาปัตยกรรมโรมนั สว่ นใหญ่เนน้ ทป่ี ระโยชน์ใช้ สอย มีขนาดใหญโ่ ตและแขง็ แรง มีความสงา่ งามดว้ ยการแกะสลกั ตกแตง่ ประดบั ประดาอยา่ งหรูหรา โออา่ ตวั อยา่ งสถาปัตยกรรมท่ีมีช่อเสียงของโรมัน ไดแ้ ก่ วิหารพาร์เธนอน หลงั คารูปโดมในกรุงโรม อฒั จรรย์ สาหรบั ดกู ฬี าโคลอสเซียมซ่ึงจุ ูช้ มไดถ้ งึ 4,500 คน สรา้ งในสมยั จักรพรรดติ ตี สุ เมื่อ ค.ศ. 80
ชีวิตกับสงั คมไทย 1.2.2 ประวัตศิ าสตรส์ มัยกลาง เริ่มภายหลงั จากท่ีกรุงโรม (จกั รวรรดิโรมันตะวนั ตก) ถูกพวกอนารยชนเยอรมันเผ่าวิสิกอธ (Visigoth) ตีแตกในปี พ.ศ.1019 จนกระท่งั ในปี พ.ศ.1996 สมยั กลางจงึ สนิ้ สดุ ลงเมื่อชนชาตเิ ติรก์ ที่นบั ถือ ศาสนาอิสลามเข้าโจมตีกรุงคอนสแตนติโนเปิ ล (จกั รวรรดิโรมันตะวันออก) สมัยกลางหรือยุคกลาง (Middle Ages) คอื ชว่ งเวลาตรงกลางของกระบวนการเปล่ยนผา่ นในประวตั ิศาสตรต์ ะวนั ตก คือ สมัย คลาสสิก สมยั กลาง และสมยั ใหม่ นอกจากนี้ สมยั กลางยงั ถกู แบง่ ออกเป็น 3 ชว่ งเวลา คือ ▪ ตน้ สมยั กลาง (Early Middle Ages) ▪ สมยั กลางหรอื ยคุ รุง่ โรจน์ (High Middle Ages) ▪ ปลายสมยั กลาง (Late Middle Ages) จกั รพรรดคิ อนสแตนตนิ (Constantion)
ชีวิตกับสังคมไทย ยคุ กลางเร่มิ ตน้ เม่ือจกั รวรรดโิ รมนั ตะวนั ตกลม่ สลายลงจากการโจมตี สภาพท่วั ไปของกรุงโรม เตม็ ไปดว้ ยความวุ่นวาย การเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมอ่อนแอ ประชาชนอดอยาก ขาดท่ีพงึ่ ทา ใหม้ ี ปัญหาเร่อื งโจร นกั ประวตั ศิ าสตรส์ มยั ก่อนจงึ เรียกชว่ งสมยั นีอ้ ีกชือ่ หนง่ึ วา่ ยคุ มืด (Dark Ages) หลงั จากนน้ั ศนู ยก์ ลางของอานาจยโุ รปไดย้ า้ ยไปอยทู่ ี่เมืองไบแซนติอุมี (Byzantium) ปัจจบุ นั อยใู่ นประเทศตรุ กี โดยจกั รพรรดคิ อนสแตนตนิ (Constantion) เป็นผสู้ ถาปนาจกั รวรรดิแห่งใหม่ที่มีความ เจรญิ รุง่ เรอื ง ซง่ึ ตอ่ มาเป็นที่รูจ้ กั กนั ในช่อื คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople) เป็นสมยั ที่ตะวนั ตกไดร้ บั อิทธิพลอยา่ งมากจากคริสตศ์ าสนาทั้งทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและศลิ ปวฒั นธรรม สงั คมสมยั กลางยงั มีลกั ษณะเป็นสงั คมในระบบฟิ วดลั (Feudalism) หรือสงั คม ระบบศกั ดนิ าสวามิภกั ด์ิ ที่ขุนนางมีอานาจครอบครองพนื้ ท่ี และไดเ้ กิดเหตกุ ารณส์ าคญั คอื สงครามครูเสด ซงึ่ เป็นสงครามความขดั แยง้ ระหวา่ งคริสตก์ บั ศาสนาอิสลาม
ชวี ติ กบั สงั คมไทย 1.2.3 ประวัตศิ าสตรส์ มัยใหม่ เร่ิมหลังจากท่ีกรุงคอนสแตนติโนเปิ ลถูกตีแตก เมื่อปี พ .ศ. 1996 เป็นต้นมา จนสิ้นสุด สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ในปี พ.ศ. 2488 มีเหตกุ ารณส์ าคญั ในยคุ นีห้ ลายประการ เชน่ การปฏิรูปศาสนา การ เกิดลทั ธิหรอื แนวความคิดแบบเสรนี ิยมประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ ดา้ นเศรษฐกิจมีการขยายตวั ของ การคา้ ทางเรอื สาเภา การแสวงหาดินแดนใหม่และการปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม มีความเจริญกา้ วหน้าทางด้านความคิด และการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการต่างๆ มีการสารวจและ ขยายดินแดนออกไปกวา้ งไกลจนเกิดเป็นยคุ ล่าอาณา นิคม ซ่ึงต่อมานาไปสู่ความขัดแยง้ ระหว่างประเทศ กลายเป็นสงครามใหญ่ที่เรียกว่า สงครามโลกถึง 2 ครงั้ เครอื่ งจกั รไอนา้ ยุคปฏวิ ัตอิ ุตสาหกรรม
ชีวติ กับสังคมไทย คาว่า “มนุษย”์ (Man) เป็นภาวะที่ประกอบดว้ ยรูปกับนาม เรียกกันท่วั ไปว่า “คน” เพราะ มนุษยเ์ ป็นสตั วส์ งั คมท่ีมีลกั ษณะพิเศษท่ีเจริญกว่าสตั วโ์ ลกชนิดอ่ืน ในเรื่องความคิดสรา้ งสรรค์ มีสมอง ขนาดใหญ่ มีความฉลาด รูจ้ กั พิจารณาไตรต่ รองดว้ ยหลกั แห่งเหตผุ ล เรียนรูจ้ ากประสบการณ์เพ่ือใหม้ ี ชีวิตรอดปลอดภยั มีสติสมั ปชญั ญะ มีจิตสานึกแยกแยะผิดชอบช่วั ดี ต้องการความรกั ค วามอบอุ่น ความสาเรจ็ ในชวี ิตการยอมรบั จากผอู้ ่ืน เป็นตน้ • มนษุ ยต์ ามรูปศพั ทจ์ งึ แปลว่า “ผมู้ ีจติ ใจสงู มีคณุ ธรรม” (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2525 : 615) • มนุษยม์ าจากคาวา่ มนะ หรือ มโน ซึ่งแปลว่า ใจ นาไปสนธิกบั คาว่า อุษย์ ซ่ึงแปลว่า สูง มนะ + อุษย์ หมายถงึ มนษุ ย์
ชีวิตกับสงั คมไทย สรุปความหมายของคาว่า “สงั คมมนษุ ยห์ รอื สงั คม” ไดว้ ่าเป็นการรวมกนั ของคน หรือกลมุ่ คน ที่อยู่รว่ มกนั ต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป โดยอาศยั อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวก มีอาณาเขตหรือบริเวณท่ีอยู่อัน แนน่ อนเป็นระยะเวลานานพอสมควร มีการติดต่อสอื่ สารและมีปฏิสมั พนั ธซ์ ่งึ กนั และกนั การประชุม
ชีวติ กบั สงั คมไทย มนุษย์เป็ นสัตว์สังคมอาศัยอยู่ร่วมกันเป็ นกลุ่มขนาดใหญ่ มีระบบการสื่อสารเพื่อ แสดงความรู้สึกของตน มีการแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ การจัดระบบระเบียบการอยู่ร่วมกัน ทา ให้มีโครงสร้างทางสงั คมทีซ่ ับซ้อน ซึง่ ประกอบด้วยหลายกลมุ่ ทาหน้าทีแ่ ตกต่างกันไป
ชีวิตกบั สงั คมไทย 1. การอยู่ร่วมกันเป็ นกลุ่ม เพราะธรรมชาติของมนุษยช์ อบอยูร่ วมกนั เนื่องจากมนุษยเ์ ป็น สตั วส์ งั คม 2. อาณาบรเิ วณหรอื ดนิ แดน ตอ้ งมีดนิ แดนหรอื อาณาบรเิ วณท่ีแนน่ อนชดั เจน 3. การรู้ว่าใครเป็ นพวกของตนหรอื ใครไม่ใช่พวกของตน สงั คมเดียวกันจะทราบว่าใคร เป็นพวก 4. ความสมั พนั ธแ์ ละการกระทาตอ่ กัน ตอ้ งมีความสมั พนั ธแ์ ละการกระทาต่อกัน มีการทา ความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกนั 5. การแบ่งหน้าท่แี ละร่วมมือกัน สงั คมจะตอ้ งมีการแบ่งหน้าที่ทางานให้แก่สมาชิกตาม ความชานาญ เฉพาะดา้ น และจะตอ้ งมีการรว่ มมือชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั จงึ เป็นสงั คมท่ีสมบรู ณ์ 6. ระบบ ความคดิ ความเช่ือ ค่านิยม บรรทัดฐาน คลา้ ยคลงึ กันเพราะสมาชิกไดร้ ับการ อบรม ส่งั สอนมาอยา่ งเดยี วกนั
ชวี ติ กบั สังคมไทย 1.6.1 การแบ่งตามลกั ษณะขั้นความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ การแบง่ ตามลกั ษณะขนั้ ความเจริญทางเศรษฐกิจ แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คอื 1. สงั คมทม่ี รี ะบบเศรษฐกจิ แบบดง้ั เดมิ มนุษยผ์ กู พนั อยกู่ บั จารตี ประเพณีอยา่ งมาก ผลผลิต จงึ มีนอ้ ย ครอบครวั เป็นหนว่ ยสงั คมที่สาคญั ท่ีสดุ 2. สงั คมเตรยี มการพฒั นา เป็นระยะท่ีสงั คมไดม้ ีการตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั สงั คมภายนอก 3. สังคมเข้าสู่กระบวนการพฒั นา ที่สงั คมมีการตืน่ ตวั ดา้ นการเกษตร อตุ สาหกรรม พาณิชยก รรม การศกึ ษา 4. สงั คมทะยานเข้าสภู่ าวะของความอุดมสมบูรณ์ มีการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีตา่ ง ๆ การ จดั สรรทรพั ยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ 5. สังคมอุดมสมบูรณ์ วิถีชีวิตส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ประชาชนจะมี ความรูส้ กึ ม่นั คง
ชวี ติ กับสงั คมไทย 1.6.2 การแบ่งตามเครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ การแบง่ ตามเครอื่ งมือเครอ่ื งใชเ้ ป็นการแบ่งสงั คมตามประเภทของโบราณวตั ถตุ ่าง ๆ ท่ี คน้ พบ แบง่ เป็น 3 ประเภท คอื 1. สังคมยุคหนิ เป็นสงั คมที่เครื่องใชข้ องมนุษยท์ าดว้ ยหิน มีความเป็นอยู่แบบง่าย ๆ พง่ึ พา ธรรมชาติเป็นหลกั โครงสรา้ งและความสมั พนั ธข์ องคนไมซ่ บั ซอ้ น 2. สังคมยุคสารดิ เป็นสงั คมท่ีมนษุ ยร์ ูจ้ กั ประดิษฐ์เคร่อื งมือเครอื่ งใชด้ ว้ ยโลหะสาริด เริ่มปรบั ตวั ที่จะเอาชนะธรรมชาติ กิจกรรมทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง 3. สังคมยุคเหล็ก เป็นสงั คมที่มนุษยร์ ูจ้ กั นาเหลก็ มาใชป้ ระโยชนท์ าใหเ้ ครื่องมือเคร่ืองใชม้ ี คณุ ภาพมากขนึ้ มีการพฒั นาประสิทธิภาพของการผลิตทางเศรษฐกิจอย่างมาก ทงั้ ทางดา้ นเกษตรกรรม และอตุ สาหกรรม
ชีวติ กบั สงั คมไทย 1.6.3 การแบง่ ตามขนาดของสงั คม แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. สังคมระดับต่ากว่าชาติ เป็นสงั คมขนาดเล็กกระจายอยู่ท่วั ไป เชน่ สงั คมชนบท สงั คม เมือง สงั คมของพวกชนกลมุ่ นอ้ ยเผา่ ตา่ ง ๆ ที่มีลกั ษณะวฒั นธรรมเฉพาะของตนเอง 2. สังคมชาติ เป็นสงั คมท่ีเกิดจากการรวมตวั ของสงั คมเลก็ ๆ หลายสงั คม ดว้ ยกระบวนการ ทางการเมืองการปกครอง มีอาณาเขตที่แน่นอน มีบรรทัดฐาน มีการควบคุมทางสงั คมในแบบของตน สงั คมชาติ ก็คือประเทศตา่ ง ๆ น่นั เอง 3. สงั คมโลก เป็นสงั คมท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสดุ หมายถงึ สงั คมมนุษยชาตทิ ง้ั มวล ไม่ว่าจะอยูใ่ น สว่ นใดของโลกตา่ งลว้ นมีความเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธก์ ันไม่ทางตรงก็ทางออ้ ม จึงถือว่าโลกเป็นสงั คมของ มนษุ ยท์ ง้ั มวล
ชวี ิตกับสงั คมไทย 1.6.4 การแบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชิกในสังคม เป็นการจดั ประเภทของสงั คมที่นัก สงั คมวิทยานิยมใชก้ นั มาก แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สงั คมชนบท เป็นสงั คมที่อยใู่ นเขตชนบท มีความหนาแน่นของประชากรน้อย สมาชิกมี ความสมั พนั ธ์ที่ดีตอ่ กัน มีชีวิตความเป็นอยู่คลา้ ยคลึงกนั ยดึ ม่นั ในขนบธรรมเนียมประเพณี มีอาชีพ เกษตรกรรม หรืออาชพี ที่เก่ียวขอ้ งกบั เกษตรกรรม 2. สังคมเมือง เป็นสงั คมที่มีความหนาแน่นของจานวนประชากรและอาคารบา้ นเรอื น มีความ เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีสิ่งแวดลอ้ มที่มนุษย์สร้างขึ้นมากกว่า ส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ อาชีพมีหลากหลายและสว่ นใหญ่เก่ียวขอ้ งกบั อตุ สาหกรรม การคา้ ขายและการ บริการ
ชีวติ กบั สังคมไทย สงั คมประกอบดว้ ยมนุษย์ที่มีความหลากหลายทง้ั เพศและวยั ท่แี ตกต่างกนั จงึ ตอ้ งมีหนา้ ที่ความ รบั ดิ ชอบ ทีแ่ ตกต่างกนั ไปเพอ่ื ความเจรญิ กา้ วหนา้ และการดารงอยู่ของสงั คม ดงั นี้ 1. การรกั ษาสภาพทางชีวภาพของมนุษย์ เพอ่ื ใหม้ นุษยม์ ีชีวิตสบื เน่ืองต่อกันโดยไม่ขาดสาย สงั คม จงึ ตอ้ งใหบ้ รกิ ารและสวสั ดิการดา้ นตา่ ง ๆ แก่สมาชกิ 2. การผลติ สมาชกิ ใหม่ เน่ืองจากมนุษยท์ กุ คนจะตอ้ งตาย ดงั น้ันสงั คมจงึ ตอ้ งทาหน้าท่ีผลิต สมาชกิ ใหมข่ นึ้ มาเพอ่ื ทดแทนสมาชกิ เก่าที่จะตอ้ งตายไป การเพ่มิ สมาชกิ ใหม่ใหก้ บั สงั คม 3. การผลติ และการแจกแจงสนิ ค้าและบริการ สมาชิกในสงั คมจะมีชีวิตและมีสภาพความ เป็นอยทู่ ่ีดี จาเป็นที่จะตอ้ งอาศยั เครอ่ื งอปุ โภคบริโภคและบรกิ ารตา่ ง ๆ หลายอยา่ ง
ชวี ติ กับสงั คมไทย 4. การอบรมส่ังสอนสมาชิกใหม่ให้เรยี นรู้ระเบียบทางสังคม จาเป็นตอ้ งมีกระบวนการ ถ่ายทอดวฒั นธรรม การอบรมสง่ สอนใหแ้ ก่สมาชิกเพอ่ การอยรู่ อดของตนเองและการดารงอยขู่ องสังคม 5. การกาหนดและการรักษาระเบยี บกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ใหม้ ีผลบงั คบั ใชเ้ พ่ือการอยู่ร่วมกนั ของมนษุ ย์ ในสงั คมเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิรว่ มกนั จงึ ตอ้ งสรา้ งระเบยี บกฎเกณฑแ์ ละขอ้ บังคบั เหลา่ น้นั ใหม้ ีผลบงั คบั ใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในสงั คมจงึ จะเกิดขนึ้ ได้ 6. การสรา้ งความรูส้ กึ ค่านิยมและแรงจงู ใจใหส้ มาชกิ ในสังคม ทาใหเ้ กิดความรูส้ ึกว่าเขา มีความหมาย มีความสาคญั ต่อการดารงอยแู่ ละความเจริญรุ่งเรืองของสังคม ก็จะนาไปสู่ การมีความ รบั ผดิ ชอบและการปฏิบตั ิ
ชีวติ กบั สังคมไทย การเปล่ียนแปลงทางสังคมเป็ นส่ิงท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงจะส่ง ลกระทบต่อมนุษย์และสงั คมท้ังระบบ นกั สงั คมวิทยาไดใ้ หค้ วามหมายไวอ้ ย่างหลากหลาย เชน่ “การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม” เป็นส่ิงที่เกิด ขนึ้ อยู่ตลอดเวลา และมีความต่อเนอ่ื งเพราะเทคโนโลยีที่มนุษย์ใชส้ ติปญั ญาสรา้ งสรรค์ หรือใชค้ วามรู ้ จดั การกบั ส่งิ ตา่ งๆ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม ยงั เป็นกลไกสาคญั ที่เกดิ ขนึ้ จากการกระทาทางสงั คมหรอื การปะทะทาง สงั คม เรยี กวา่ “การปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม” โดยมีการสรา้ งกรอบแนวคิดที่เป็นระเบียบวิธีปฏิบตั ิต่อกัน และกนั และนามาใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือประคบั ประคองสงั คม เรยี กว่า “บรรทดั ฐานทางสงั คม”
ชวี ิตกับสงั คมไทย ดงั นนั้ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม จงึ หมายถงึ การเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขึน้ กับสงั คมในทุกดา้ น ทงั้ เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การศกึ ษา ระบบนเิ วศวทิ ยา ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของเทคโนโลยตี ่าง ๆ ลว้ น สง่ ลกระทบต่อมาตรฐานการอยู่รว่ มกนั ของโครงสรา้ งสงั คมทงั้ ภายในและภายนอก ทุกระดับชนชนั้ ของ สงั คม ทง้ั ระดบั บคุ คลกบั บคุ คล บคุ คลกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ทที่ าใหเ้ กดิ การกระทาทางสงั คม ❖สาเหตุของการเปลยี่ นแปลงทางสังคม 1. การสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมใหม่ มนษุ ยม์ ีความเฉลยี วฉลาด มีความคิดริเริ่มเรียนรูส้ ิ่งตา่ ง ๆ ตลอดเวลา เพอ่ื ใหเ้ กิดความสะดวกสบายและเหมาะสมตอ่ การดารงชีวิต 2. การเปลยี่ นแปลงทางธรรมชาติ เชน่ สภาพภมู ิอากาศ การพงั ทลายและการเคลื่อนตวั ของ เปลือกโลก นา้ ทว่ ม ฝนไม่ตกตามฤดกู าล ความแหง้ แลง้ ทาให้มนุษยต์ อ้ งคิดประดิษฐ์ส่ิงตา่ ง ๆ เพื่อความ อยรู่ อด
ชีวติ กบั สงั คมไทย 3. ความเจรญิ กา้ วหน้าของเทคโนโลยี การที่มนุษยม์ ีเครือ่ งมือเครื่องใชท้ ่ีทนั สมยั ทาใหก้ าร ดาเนินชีวิตมีความสะดวกสบายรวดเร็วทนั เวลา ตอบสนองความตอ้ งการได้ สง่ ผลใหว้ ิถีชีวิ ตเปลยน แปลงไป 4. การแลกเปลยี่ นวัฒนธรรมจากตา่ งชาติ สืบเนื่องจากความกา้ วหนา้ ดา้ นโทรคมนาคม และ การส่อื สาร มีการเดินทางติดต่อกนั ไดส้ ะดวกรวดเรว็ เช่น วัฒนธรรมการแต่งกาย อาหารกา รกิน เป็นตน้ 5. การเปลี่ยนแปลงตามความต้องการของมนุษย์ โดยมนุษยร์ ูจ้ กั ใชส้ ติปัญญาในการ คดิ คน้ สง่ิ ตา่ งๆ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการท่ีเพม่ิ มากขนึ้ 6. การเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ เป็นผลมาจากความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ทา ใหก้ ารผลิตสินคา้ และบรกิ ารเพ่มิ มากขนึ้ และกระจายไปสผู่ บู้ ริโภคทาไดส้ ะดวกรวดเรว็ ระบบเศรษฐกิจ เจรญิ เตบิ โตและขยายตวั อยา่ งมาก
ชวี ิตกับสังคมไทย 1. ระดับบุคคล เกิดความรูส้ กึ แปลกแยกไดง้ ่าย เพราะการแข่งขันในสงั คมสมัยใหม่ถื อเป็น กลไกสาคญั เพื่อความอยรู่ อด 2. ระดบั ชุมชน เกิดความเหลื่อมลา้ ความไม่เท่าเทียมในชีวิตและความเป็นอยู่ เพราะรฐั ไม่ สามารถบรกิ ารไดค้ รอบคลมุ 3. ระดับสงั คม เกิดปัญหาสงั คมที่ยากแก่การควบคมุ เชน่ ครอบครวั ทาหนา้ ที่ไมส่ มบรู ณ์ เกิด การลอกเลียนแบบ การฝ่าฝืนกฎระเบียบ การกอ่ อาชญากรรม การเกิดชอ่ งวา่ งทางสงั คมมากขนึ้ 4. ระดบั ชาติ เกิดการสรา้ งเง่ือนไขในระดบั รฐั ท่ีนาไปสคู่ วามขดั แยง้ ระหว่างประเทศเกิดความ ไม่เทา่ เทียมในการบรกิ ารสาธารณะ นโยบายไม่ครอบคลมุ แก่การพฒั นาและชว่ ยเหลือไดเ้ ตม็ ท่ี มีระบบ ผกู ขาด อานาจทางการเมืองแบบเบด็ เสรจ็ การเกิดลทั ธิก่อการรา้ ยมากขนึ้
ชีวิตกบั สงั คมไทย การเปลีย่ นแปลงจากอดีตมาถึงปัจจุบนั อย่างมากมาย (เกษม วัฒนชัย 2549 : 125–129) ได้แก่ 1. จากธรรมนิยมเป็ นทุนนิยม ในอดีตชุมชนเขม้ แข็งเพราะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบา้ น วัด มสั ยดิ โบสถ์ มีความใกลช้ ิดกนั 2. จากธรรมชาตินิยมและทาลายธรรมชาติ คนไทยขาดจิตสานึกในการรกั และหวงแหน ทรพั ยากร ธรรมชาตมิ ีแตจ่ ะกอบโกยประโยชน์ จนเกิดผลสะทอ้ นกลบั มา 3. จากไทยนิยมเป็ นเทศนยิ ม เราจงึ พบเห็นคนลมุ่ หลงแฟช่นั เกาหลี หรือแม้แตอ่ าหารการกิน ในชวี ิตประจาวนั ก็ผดิ เพยี้ นไปจากเดมิ หนั ไปกินอาหารเสริมจนรา่ งกายกลบั กลายเป็นโรคสับสนสารอาหาร 4. จากสาธารณนิยมเป็ นปัจเจกนิยม คนไทยขาดจิตสาธารณะมากขึน้ มีลกั ษณะนิสยั แลง้ นา้ ใจมากขึน้ ไม่เห็นความจาเป็นหรือความสาคญั ของส่วนรวม มองความสาคญั และความจา เป็นของ ตนเองเป็นใหญ่
ชีวติ กบั สังคมไทย 1.10.1 การเป็ นสงั คมพหวุ ัฒนธรรม ประชาคมอาเซียนทงั้ 10 ประเทศนนั้ มีโครงสรา้ งสงั คมและวฒั นธรรมที่หลากหลาย ทั้งความ เช่อื คา่ นิยม ภาษาสอ่ื สาร อุดมการณ์ จงึ จาเป็นตอ้ งมีการศกึ ษาหาความรูแ้ ละทาความเข้าใจ ในแบบแผน วิถีชวี ิตเพือ่ การตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ ัน และในความเป็นสงั คมพหุวฒั นธรรมจะตอ้ งทาใหเ้ กิ ดเป็น “สงั คมแห่ง ความรู”้ เปิดโอกาสและชอ่ งทางใหค้ นสามารถเรยี นรูไ้ ดต้ ลอด 1.10.2 การสร้างคุณลกั ษณะพลเมอื งสู่สังคมประชาธปิ ไตย สงั คมไทย เป็นสงั คมที่มีอิสรภาพและเสรีภาพ มีโครงสรา้ งสงั คมแบบหลวมๆ แต่ ซบั ซ้อน ผคู้ นมี จิตใจเออ้ อาทรซงึ่ เป็นทั้งข้อดีและขอ้ ดอ้ ยในเชิงการพฒั นา แต่สภาวการณ์สงั คมท่ีเจริญเติบโต ไปตาม แนวคิดทนุ นิยมอยา่ งหนกั แน่น ทาใหส้ งั คมเกิดความเสยี สมดลุ ทางสงั คม
ชีวติ กับสังคมไทย ❖ คุณลกั ษณะพลเมืองในสงั คมประชาธปิ ไตย ท่ีถกู ตอ้ ง มีองคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ 1. การเคารพหลักการของเหตผุ ล 2. การรู้จักการประนีประนอม 3. มีระเบียบวินัยและปฏิบตั ิตามค่านิยม 4. การมีความรับผิดชอบตอ่ สว่ นรวม 5. การรู้จักมีสว่ นรว่ มสร้างการปกครอง จดุ สาคัญของสังคมประชาธิปไตย ก็คือ การมีสว่ นร่วมของประชาชนท้งั หมดที่จะดาเนินการให้ เป็นไปตามขอ้ ตกลงที่เสนอและยอมรบั รว่ มกนั ซงึ่ ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วนน้ั ตอ้ งตง้ั อยบู่ นเงื่อนไข 2 ลกั ษณะ คือ 1. ต้องมีการบรหิ ารจัดการสงั คมทด่ี ี 2. ต้องคานงึ ถงึ หลักสทิ ธมิ นุษยชน
ชวี ิตกบั สงั คมไทย 1.10.3 การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ ขอ้ มูลจากศูนย์ข่าวสารอาเซียน, กรมประชาสมั พนั ธ์. (2559). รายงานว่า ลจากการความ ตกลงดา้ นการคา้ ของอาเซยี นและดา้ นการลงทนุ ของอาเซยี น อาจนาความเปลยี่ นแปลงมาสู่ภาคเศรษฐกิจ ตา่ งๆ ของไทยดงั นี้ 1. ผบู้ ริโภคหรือประชาชนท่วั ไป สามารถซอื้ สนิ คา้ จากประเทศสมาชิกอาเซียนราคาตา่ ลง สง่ ผล ใหเ้ กิดการขยายตวั ทางการคา้ ภายในกลมุ่ อาเซยี นมากขนึ้ 2. นกั ลงทนุ ไทยสามารถลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียนตา่ ง ๆ ไดง้ ่ายขึน้ โดยเฉพาะสาขาท่ี ระบไุ วใ้ นความตกลง ไดแ้ ก่ สาขาเกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และบรกิ ารที่เก่ียวขอ้ ง 3. ผสู้ ง่ ออกสินคา้ สามารถส่งสินคา้ ไปยงั ประเทศสมาชิกต่าง ๆ ไดง้ ่ายขึน้ และผู้นาเข้าไทย สามารถนาเขา้ สนิ คา้ จากประเทศสมาชกิ อาเซียนดว้ ยตน้ ทนุ ที่ตา่ ลง 4. ภาครฐั บาล จะเป็นผเู้ สยี รายไดจ้ ากการเก็บภาษีสินคา้ เขา้ จากประเทศสมาชิกอาเซียน
ชีวิตกบั สงั คมไทย ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2560 เศรษฐกจิ ไทยมีการขยายตัวเพ่ิมสงู ขึน้ ตามการการส่งออกสินค้า และการทอ่ งเทีย่ วและมีแนวโน้มขยายตวั อย่างต่อเนื่อง แต่เมือ่ ปลายปี พ.ศ. 2561 ได้เกิดสงคราม ทางการค้าระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกาส่งผล ให้เศรษฐกิจของประเทศไทยและประเทศสมาชิก อาเซียนมีภาวะชะลอตัว รัฐบาลไทยได้ออกมาตรการตา่ ง ๆ เพอื่ กระต้นุ เศรษฐกิจภายในประเทศ เช่น ลดค่าครองชีพผู้มีรายได้น้ อยผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ มาตรการ “ชิม ช็อป ใช้ “ การ สนับสนุนการเข้าถงึ แหล่งเงินทนุ ของ SMEs เป็ นต้น เศรษฐกิจไทยในปี พ.ศ. 2563 เร่ิมมีความเสี่ยงทีจ่ ะเข้ าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยทาง เทคนิคมากขึ้น เนื่องจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา และการส่งออกของไทยมีแนวโน้ ม ได้รับผลกระทบมากทีส่ ุด รองลงมา คือด้านการค้ าระหว่างประเทศทาให้ประเทศไทยสูญเสีย รายได้จานวนมาก
ชวี ติ กบั สังคมไทย 1.10.4 ความสามารถในการแข่งขันทางเทคโนโลยเี พอื่ การสอื่ สารและโทรคมนาคม ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่ีไดม้ ีการสารวจและ ประเมินระดบั การรูเ้ ทา่ ทนั สอ่ สารสนเทศของประชาชน ปรากฏ ลคะแนนเฉลย่ี 68.1 คะแนน ซ่งึ จดั อยู่ในระดับ “ดี” ตามกาหนดกรอบการวดั สถานภาพการรูเ้ ท่าทันส่ือและสารสนเทศขององค์การ การศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ซ่ึงสานกั งานคณะกรรมการ ดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สดช.) เป็น หน่วยงานที่ดาเนนิ การ
ชวี ติ กับสงั คมไทย 1.10.5 การแพร่กระจายของเชอื้ โรคอย่างไม่คาดหวัง ในภูมภิ าคอาเซียนถอื วา่ เป็นพืน้ ที่ท่ีเอือ้ อานวยแก่การเจริญเติบโตของส่งิ มีชีวิตขนาดเล็ก เชน่ เชือ้ ไวรสั เชือ้ รา เชือ้ แบคทีเรีย เป็นต้น ประกอบกับการคมนาคมที่เจริญก้าวหนา้ และพืน้ ฐานการ สาธารณสุข ที่ไม่ทัดเทียมกัน ทาใหข้ าดความเอาใจใส่ควบคุมดูแลสุขอนามัยบุคคล ชุมชน มีการ เคลอื่ นยา้ ยไปมาหาสกู่ นั ไดส้ ะดวกขนึ้ ทาใหค้ นในสงั คมตอ้ งเ ชญิ กบั ภาวะโรคตา่ ง ๆ ทง้ั โรคอุบตั ิซา้ และ โรคอบุ ตั ิใหม่ หนว่ ยงานสาธารณสขุ ของประเทศไทย ตอ้ งสรา้ งความรว่ มมือในการศึกษาและวิจัยโรคติดต่อ ตามแนวชายแดนหรอื เชอโรคประจาถ่ิน เพอ่ื กาหนดแนวทางการพฒั นายาและวคั ซีนรองรบั ไวล้ ่วงหนา้ ควรมกี ารสง่ เสรมิ การดูแลปอ้ งกนั และรกั ษาสขุ ลกั ษณะพืน้ ฐาน เช่น การดูแลสขุ ลกั ษณะชุมชน การสวม หนา้ กากอนามยั ในทส่ี าธารณะ การหม่นั ลา้ งมือ หรอื เชด็ ดว้ ยแอลกอฮอล์ การตรวจรา่ งกายเป็นประจาทุก 6 เดือน หรอื 1 ปี เป็นตน้
ชีวิตกับสงั คมไทย 1.10.6 การรกั ษาสมดลุ ทางธรรมชาตเิ ชิงบรู ณาการ ในปี พ.ศ. 2560 ไดม้ ีการจดั ทานโยบายและแผนการส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม แห่งชาติฉบบั ที่ 2 (พ.ศ.2560–2579) ซง่ึ จะถา่ ยทอดเป็นแผนการปฏิบตั ิระยะกลาง 5 ปี คือ แผนจดั การ คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม พ.ศ.2560–2564 โดยการน้อมนาพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหารา บรมนาถบพิตร และหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น แนวทางในการจดั การและรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย 4 ยทุ ธศาสตรส์ าคญั ไดแ้ ก่ ➢ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มอยา่ งสมดุลและเป็นธรรม ➢ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การจดั การคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มทดี่ ี ไดร้ บั การปอ้ งกนั บาบดั และฟื้นฟู ➢ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอย่างคุม้ ค่า และย่งั ยืน ➢ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สรา้ งศักยภาพ เพ่ือรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย ธรรมชาติ และสง่ เสรมิ ความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศ
ชีวิตกับสังคมไทย ในปี พ.ศ. 2561 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้จัดทา (ร่าง) แผน ยุทธศาสตรก์ ารจัดการขยะพลาสติก พ.ศ 2561–2573 เพอื่ ใช้เป็ นกรอบและทศิ ทางในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการจดั การขยะพลาสติกของประเทศ ได้แก่ เป้าหมายท่ี 1 การลดและเลกิ ใชพ้ ลาสติกเปา้ หมายดว้ ยการใชว้ สั ดทุ ดแทนท่ีเป็นมิตรต่อส่ิง แวดลอม โดยในปี พ.ศ. 2562 เลกิ ใชพ้ ลาสตกิ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ พลาสติกผสมสารออ็ กโซ (Oxo) พลาสติก หมุ้ ฝาขวดนา้ ดมื่ และไมโครบดี เป้าหมายท่ี 2 การนาขยะพลาสตกิ เปา้ หมายกลบั มาใชป้ ระโยชน์ได้ รอ้ ยละ 100 ภายในปี พ.ศ. 2570 โดยจะมีการศกึ ษาและกาหนดเปา้ หมายของพลาสตกิ ท่ีนากลบั มาใชป้ ระโยชน์และส่วนที่เป็น ของเสยี ก็จะถกู นาไปกาจดั ใหถ้ กู วิธี โดยตงั้ แตว่ ันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ห้างสรรพสินคา้ ศนู ยก์ ารคา้ ซูเปอรม์ ารเ์ ก็ต รา้ นสะดวกซอื้ กว่า 90 บริษัทท่วั ประเทศ ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการงดใช้ ถงุ พลาสตกิ
ชวี ติ กับสงั คมไทย ป้ายประชาสัมพันธ์ งดแจกถุงพลาสตกิ ตามนโยบายการจดั การขยะพลาสตกิ
ชีวติ กับสังคมไทย แมเ้ ศรษฐกิจจะเจริญกา้ วหน้าประชาชนมีชีวิต ท่ี สะดวกสบายขนึ้ แต่ปญั หาสงั คมก็มีมากขนึ้ และรุนแรงย่ิงขึ้น เช่น ปญั หามลภาวะเป็นพิษ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหา เยาวชน ปัญหาครอบครวั ปัญหายาเสพติด ปัญหาความ เส่ือมโทรมดา้ นศีลธรรมจริยธรรมและค่านิยม ในยุคของ โลกาภิวตั น์ ซ่งึ เป็นโลกไรพ้ รมแดน ทาใหส้ งั คม มีการพฒั นา เจรญิ กา้ วหนา้ ไป ปัญหาในสงั คมไทย
ชวี ิตกบั สงั คมไทย นอกจากนี้ ยังตอ้ งส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมใชอ้ ย่างมีสติรูเ้ ท่าทนั ร่วมกัน ปลูกฝังใหค้ นไทยมี จิตใจทเ่ี ขม้ แขง็ ยดึ ม่นั และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมของศาสนาก็ จะสามารถแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและ เหมาะสม ปัญหาในสงั คมไทย
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: