Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จปฐ._ManualBook

จปฐ._ManualBook

Published by Perzskart _Clothes, 2020-01-27 23:37:24

Description: จปฐ._ManualBook

Keywords: จปฐ.

Search

Read the Text Version

คู่มือ การจดั เกบ็ ข้อมูลความจำ� เป็นพ้นื ฐาน ปี 2560 – 2564 จัดทำ� โดย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คณะกรรมการอำ� นวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (พชช.)



คานา ด้วยกระทรวงมหำดไทย ได้กำหนดเป็นนโยบำยของกระทรวงมหำดไทยในกำรจัดเก็บข้อมูล ควำมจำเป็นพ้ืนฐำน (จปฐ.) ของครัวเรือนเป็นประจำทุกปี และสนับสนุนให้ทุกหน่วยงำนในสังกัด ตลอดจน หน่วยงำนอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องได้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนำคุณภำพชีวิตของประชำชนให้ดีข้ึน เช่น กำหนดนโยบำย วำงแผนกำรพัฒนำทุกระดับ อนุมัติแผนงำนโครงกำร ติดตำมและประเมินผลกำรพัฒนำ เป็นต้น กรมกำรพัฒนำชุมชนได้จัดทำคู่มือกำรจัดเก็บข้อมูลควำมจำเป็นพ้ืนฐำนเล่มน้ี เพื่อสนับสนุนกำร บริหำรกำรจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล จปฐ. ช่วงแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี 12 (ปี 2560-2564) ซง่ึ จะจดั เกบ็ ขอ้ มลู ควำมจำเปน็ พ้ืนฐำน (จปฐ.) จำกทกุ จงั หวดั ทง้ั ในเขตชนบทและเขตเมอื ง เนื้อหำในคู่มือกำรจัดเก็บข้อมูลควำมจำเป็นพื้นฐำน ปี 2560 – 2564 เล่มนี้ ประกอบด้วย หลักกำร วัตถุประสงค์ แนวคิดและประโยชน์ของข้อมูล เคร่ืองช้ีวัดและเจ้ำภำพตัวช้ีวัดควำมจำเป็นพ้ืนฐำน ประเด็นช้ีแจงภำยในเล่มแบบสอบถำม กำรตรวจสอบควำมถูกต้องและควำมสมเหตุสมผลของข้อมูล รวมท้ัง ตัวเล่มแบบสอบถำม ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมควำมรู้ควำมเข้ำใจ และกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลควำมจำเป็นพื้นฐำน (จปฐ.) ให้มีประสิทธภิ ำพมำกย่งิ ขน้ึ กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กรกฎำคม 2559



สารบญั หนา้ คานา 1 1. ข้อมูลควำมจำเป็นพนื้ ฐำน 1 2. หลกั กำรของขอ้ มลู ควำมจำเป็นพ้ืนฐำน 1 3. วตั ถุประสงคข์ องขอ้ มูลควำมจำเปน็ พื้นฐำน 1 4. แนวคิดและควำมเป็นมำของข้อมูลควำมจำเป็นพน้ื ฐำน 2 5. กำรกำหนดเครื่องชี้วดั ควำมจำเป็นพ้ืนฐำน 2 6. ประโยชน์ของขอ้ มลู ควำมจำเป็นพน้ื ฐำน 3 7. เครือ่ งช้วี ัดข้อมลู ควำมจำเปน็ พน้ื ฐำน 5 8. เจ้ำภำพตวั ช้วี ัดข้อมูลควำมจำเป็นพน้ื ฐำน ระดับกระทรวง 10 9. คำอธบิ ำยตัวชวี้ ดั ข้อมลู ควำมจำเปน็ พนื้ ฐำน 26 10. ประเดน็ ชแ้ี จงภำยในเลม่ แบบสอบถำมขอ้ มลู ควำมจำเป็นพืน้ ฐำน 35 11. กำรตรวจสอบควำมถูกตอ้ งและควำมสมเหตสุ มผลของข้อมูลควำมจำเป็นพ้ืนฐำน ภาคผนวก แบบสอบถำมขอ้ มลู จปฐ. ปี 2560 – 2564 แนวทำงกำรเบกิ จำ่ ยค่ำตอบแทนบุคคลภำยนอกในกำรจดั เก็บและบนั ทึกข้อมูล จปฐ. คำส่ังกระทรวงมหำดไทย ที่ 673/2555 ลงวนั ที่ 21 พฤศจกิ ำยน 2555



1. ข้อมลู ความจาเป็นพ้ืนฐาน ขอ้ มูลความจาเปน็ พื้นฐาน (จปฐ.) คือ ขอ้ มลู ในระดับครวั เรอื นท่ีแสดงถงึ สภาพความจาเป็นพ้นื ฐานของคน ในครัวเรือนในด้านตา่ งๆ เกี่ยวกบั คุณภาพชวี ิตท่ไี ด้กาหนดมาตรฐานขน้ั ต่าเอาไวว้ ่า คนควรจะมีคุณภาพชีวิตในแตล่ ะเร่อื ง อยา่ งไรในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลท่ีแสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์ มาตรฐานข้ันต่าของเครื่องชี้วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ากว่าระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเองว่าในขณะน้ีคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้าน/ชุมชน อยู่ในระดับใด มีปัญหาท่ีจะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว และสงั คม อนั เป็นนโยบายสาคญั ในการพฒั นาประเทศ 2. หลกั การของขอ้ มูลความจาเป็นพื้นฐาน 2.1 ใช้เคร่ืองช้ีวัดความจาเป็นพื้นฐานเป็นเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน เพอ่ื ให้ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเปน็ อยู่ของตนเองและหมบู่ ้าน/ชุมชนว่าบรรลุตามเกณฑ์ความ จาเป็นพ้นื ฐานแล้วหรอื ไม่ 2.2 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา โดยผ่านกระบวนการความจาเป็นพ้ืนฐาน นับต้ังแต่การ กาหนดปัญหาความต้องการท่ีแท้จริงของชุมชน ค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหา ตลอดจนการประเมินผลการดาเนินงาน ท่ีผ่านมา 2.3 ใชข้ อ้ มลู ความจาเป็นพน้ื ฐานเปน็ แนวทางในการคัดเลือกโครงการ กิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาท่ีแท้จริงของหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มกี ารประสานระหว่างสาขาในดา้ นการปฏบิ ัตมิ ากขึน้ 3. วตั ถปุ ระสงค์ของข้อมูลความจาเป็นพนื้ ฐาน \"เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง และครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างนอ้ ยผ่านเกณฑ์ความจาเปน็ พ้นื ฐาน โดยมเี คร่อื งชวี้ ัดความจาเป็นพ้นื ฐานเปน็ เคร่ืองมอื \" 4. แนวคิดและความเปน็ มาของข้อมลู ความจาเป็นพื้นฐาน ข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน ท่ีได้มีการจัดเก็บโดยประชาชน ด้วยความสนับสนุนของคณะทางานบริหารการ จัดเกบ็ ขอ้ มูลฯ ระดับตาบลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะทาให้ทราบว่า แต่ละครัวเรือนมีปัญหาอะไร หมู่บ้าน/ ชุมชนและตาบลมีปัญหาอะไร และเมื่อทราบแล้วส่วนใดสามารถแก้ปัญหาเองได้ ครัวเรือนแต่ละครัวเรือน และ คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชนก็ต้องช่วยกันดาเนินการแก้ไข ส่วนใดที่ไม่สามารถดาเนินการได้เองก็ให้ขอรับการ สนับสนุนบางส่วนหรือทั้งหมดจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด (อบจ.) ส่วนราชการในภมู ภิ าค (อาเภอ, จงั หวดั ) ส่วนราชการส่วนกลาง (กรม, กระทรวง) หรอื ในระดบั รัฐบาลตอ่ ไป ปี 2525 แนวความคิดเกิดข้ึนครั้งแรก สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กาหนดรูปแบบลักษณะของสังคมไทยและคนไทยที่พึงประสงค์ในอนาคต โดยกาหนดเป็นเครื่องช้ีวัดความจาเป็น พนื้ ฐานของคนไทย ซึ่งได้ขอ้ สรุปว่า \"การมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีของคนไทยจะต้องผ่านเกณฑค์ วามจาเปน็ พนื้ ฐานทุกตัวชว้ี ัด\" ปี 2528 คณะรัฐมนตรีเหน็ ชอบและอนมุ ตั ิ เมอื่ วันที่ 20 สิงหาคม 2528 ใหม้ กี ารดาเนินการโครงการปรี ณรงค์ คุณภาพชีวิตและประกาศให้เป็น \"ปีรณรงค์คุณภาพชีวิตของประชาชนในชาติ (ปรช.)\" (20 สิงหาคม 2528 –31 ธันวาคม 2530) โดยใช้เคร่ืองช้ีวัดความจาเป็นพ้ืนฐาน 8 หมวด 32 ตัวช้ีวัด เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้วัดคุณภาพชีวิตของคนไทย ว่าอยา่ งนอ้ ยคนไทยควรมคี ณุ ภาพชวี ติ ในเร่อื งอะไรบ้างและควรมีระดบั ไหนในช่วงระยะเวลาหนงึ่ ๆ 1 1

ปี 2531 คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มีมติให้สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติมอบโครงการปีรณรงค์ให้กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ดาเนนิ งานต่อ ภายใต้ชอ่ื งานวา่ \"งานพฒั นาคุณภาพชวี ิตของประชาชนในชนบท (พชช.)\" ปี 2533 กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐานเป็น ประจาทุกปี และมกี ารปรบั ปรุงเครอื่ งชวี้ ดั ทกุ 5 ปี ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ปี 2555 อยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) มีเคร่ืองชี้วัด 5 หมวด 30 ตัวช้ีวัด ปี 2560 อยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) มีเคร่ืองช้ีวัด 5 หมวด 31 ตัวชี้วดั 5. การกาหนดเครอื่ งชีว้ ดั ความจาเป็นพ้ืนฐาน ข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน บริหารการจัดเก็บโดยคณะกรรมการอานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน (พชช.) ประธานคณะกรรมการ ได้แก่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย และ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็น เลขานกุ าร คณะกรรมการประกอบดว้ ยผู้แทนส่วนราชการตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งน้ี ทุกๆ 5 ปี คณะกรรมการอานวยการฯ (พชช.) จะแต่งต้ังและมอบหมายให้คณะทางานปรับปรุงเคร่ืองชี้วัด คุณภาพชีวิตของประชาชน ได้ปรับปรุง หรือพัฒนาเคร่ืองชี้วัดความจาเป็นพ้ืนฐานให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติท่ีกาหนดขึ้นใหม่ คณะทางานประกอบด้วยผู้แทนส่วนราชการต่างๆ ที่เก่ียวข้อง โดยมี กรมการพัฒนาชุมชนเปน็ ฝ่ายเลขานกุ าร ซง่ึ จะรว่ มกนั กาหนดเครื่องชี้วัด ตัวชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดความจาเป็นพ้ืนฐาน และ หน่วยงานเจา้ ภาพตวั ช้ีวดั ความจาเป็นพ้นื ฐานที่ต้องรบั ผดิ ชอบนาผลการจดั เก็บข้อมูล จปฐ. ไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ติ ของประชาชน 6. ประโยชน์ของขอ้ มลู ความจาเปน็ พื้นฐาน 6.1 ประชาชน จะได้ทราบข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิตของตนเอง และครัวเรือน และสามารถปรับปรุง คุณภาพชวี ิตใหด้ ีขึ้นได้ด้วยตนเอง ตัวอย่างเช่น การดูแลสุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ และความปลอดภัยของสมาชิก ครัวเรอื น ฯลฯ 6.2 ประชาชน สามารถเข้าถึงและได้รับสวัสดิการด้านต่างๆ จากรัฐ โดยเฉพาะการช่วยเหลือ สนับสนุนจาก ภาครฐั อยา่ งทันทว่ งที เมื่อได้รบั ผลกระทบจากสาธารณภัยหรอื ภัยพิบัติ เพราะได้ให้ข้อมลู ของตนเองไวก้ บั ภาครัฐ 6.3 ชุมชน โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน องค์กร หรือกลุ่มภายในหมู่บ้าน/ชุมชน จะได้ทราบและมีข้อมูล สถานการณ์คุณภาพชีวิตของประชาชน ครัวเรือน และหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อจะได้นาไปใช้ในการ วางแผน กาหนดกิจกรรมพัฒนาหมบู่ ้าน/ชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน 6.4 องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ หรือภาครฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง จะได้ทราบและมีข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิตของ ประชาชน ครัวเรือน ชุมชน ตาบล อาเภอ จังหวัด ตลอดจนภาพรวมในระดับประเทศ เพ่ือนาไปใช้กาหนดนโยบาย วางแผนปฏิบตั กิ าร กาหนดกิจกรรม เพ่ือแก้ไขปญั หา และยกระดับคุณภาพชวี ติ ของประชาชน 6.5 ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กลุ่ม องค์กร หรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึง ประชาชนทกุ กลมุ่ เปา้ หมายตามสภาพปัญหาได้อยา่ งทว่ั ถึง ทุกพ้ืนที่ เขตชนบทหรือเขตเมือง ท้ังในกรณีปกติและกรณี เร่งดว่ น 6.6 ภาคเอกชน สามารถนาข้อมูลในภาพรวมระดับหมู่บ้าน/ชุมชนขึ้นไป ไปใช้ในการตัดสินใจ และวางแผน ทางธุรกิจ ซงึ่ จะมสี ่วนสนับสนนุ ส่งเสริมการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนอกี ทางหนงึ่ 2 2

7. เครื่องชีว้ ดั ข้อมูลความจาเปน็ พนื้ ฐาน ช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เคร่ืองชี้วดั ขอ้ มูลความจาเป็นพน้ื ฐาน ที่ใช้ในการจัดเกบ็ ข้อมูลชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มี 5 หมวด 31 ตวั ชี้วดั ดังน้ี หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชว้ี ดั หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตวั ช้วี ัด หมวดท่ี 3 การศึกษา มี 5 ตวั ชวี้ ดั หมวดท่ี 4 การมงี านทาและรายได้ มี 4 ตัวช้วี ัด หมวดที่ 5 คา่ นยิ ม มี 8 ตวั ชวี้ ดั หมวดท่ี 1 : สขุ ภาพ มี 7 ตัวชวี้ ัด หน่วย ที่ ตัวชว้ี ดั ปี 2560 – 2564 คน 1 เดก็ แรกเกดิ มนี ้าหนัก 2,500 กรัม ขึ้นไป คน 2 เดก็ แรกเกดิ ได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างนอ้ ย 6 เดือนแรกตดิ ต่อกนั คน 3 เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ได้รบั วคั ซนี ป้องกนั โรคครบตามตารางสรา้ งเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค ครวั เรือน 4 ครัวเรอื นกินอาหารถูกสุขลกั ษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐาน ครัวเรือน 5 ครัวเรือนมกี ารใช้ยาเพ่อื บาบัด บรรเทาอาการเจ็บปว่ ยเบือ้ งต้นอยา่ งเหมาะสม คน 6 คนอายุ 35 ปขี ึ้นไป ได้รบั การตรวจสุขภาพประจาปี คน 7 คนอายุ 6 ปีข้ึนไป ออกกาลงั กายอย่างน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที หมวดท่ี 2 : สภาพแวดลอ้ ม มี 7 ตัวชว้ี ดั หนว่ ย ท่ี ตวั ช้วี ัด ปี 2560 – 2564 ครัวเรอื น 8 ครวั เรือนมีความมั่นคงในทอ่ี ยอู่ าศยั และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน 9 ครัวเรือนมีน้าสะอาดสาหรบั ดื่มและบริโภคเพยี งพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 5 ลติ รตอ่ วัน ครัวเรือน 10 ครวั เรือนมนี า้ ใชเ้ พียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวนั ครวั เรอื น 11 ครวั เรือนมีการจัดบ้านเรอื นเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย สะอาด และถกู สุขลักษณะ ครัวเรือน 12 ครวั เรอื นไม่ถูกรบกวนจากมลพษิ ครัวเรอื น 13 ครวั เรอื นมกี ารป้องกันอบุ ัตภิ ัยและภัยธรรมชาตอิ ยา่ งถูกวธิ ี ครัวเรอื น 14 ครวั เรอื นมคี วามปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ หมวดที่ 3 : การศกึ ษา มี 5 ตวั ชว้ี ดั หนว่ ย ที่ ตวั ชีว้ ัด ปี 2560 – 2564 คน 15 เดก็ อายุ 3 - 5 ปี ไดร้ บั บริการเลย้ี งดเู ตรียมความพรอ้ มก่อนวยั เรียน คน คน 16 เด็กอายุ 6 -14 ปี ไดร้ ับการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี คน 17 เดก็ จบชัน้ ม.3 ได้เรยี นต่อชน้ั ม.4 หรอื เทียบเท่า คน 18 คนในครัวเรอื นทีจ่ บการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ทีไ่ มไ่ ดเ้ รียนต่อและยังไมม่ งี านทา ได้รบั การ ฝึกอบรมดา้ นอาชพี 19 คนอายุ 15 - 59 ปี อา่ น เขยี นภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งงา่ ยได้ 3 3

หมวดท่ี 4 : การมีงานทาและรายได้ มี 4 ตัวช้วี ดั หนว่ ย ท่ี ตวั ชว้ี ดั ปี 2560 – 2564 คน 20 คนอายุ 15 - 59 ปี มีอาชพี และรายได้ คน 21 คนอายุ 60 ปีขนึ้ ไป มอี าชพี และรายได้ บาท 22 รายไดเ้ ฉลี่ยของคนในครัวเรือนตอ่ ปี ครัวเรือน 23 ครัวเรือนมกี ารเกบ็ ออมเงิน หนว่ ย หมวดที่ 5 : คา่ นยิ ม มี 8 ตัวชวี้ ัด คน ท่ี ตัวชว้ี ัด ปี 2560 – 2564 คน 24 คนในครัวเรือนไม่ดื่มสรุ า คน 25 คนในครัวเรอื นไมส่ บู บหุ ร่ี คน 26 คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ปฏิบัตกิ ิจกรรมทางศาสนาอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั คน 27 ผูส้ ูงอายุ ได้รบั การดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน คน 28 ผพู้ กิ าร ได้รบั การดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ครัวเรอื น 29 ผปู้ ว่ ยโรคเรือ้ รงั ได้รบั การดแู ลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ครัวเรอื น 30 ครัวเรอื นมสี ่วนร่วมทากจิ กรรมสาธารณะเพื่อประโยชนข์ องชมุ ชน หรือทอ้ งถ่นิ 31 ครอบครวั มคี วามอบอนุ่ 4 4

8. เจา้ ภาพตัวชีว้ ดั ขอ้ มูลความจาเปน็ พ้ืนฐาน ระดับกระทรวง ช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 (ปี พ.ศ. 2560 - 2564) มี 5 หมวด 31 ตัวช้ีวดั ดงั น้ี หมวด/ตัวชี้วัด หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ หมวดที่ 1 สขุ ภาพ มี 7 ตวั ช้ีวัด หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานร่วม 1. เดก็ แรกเกิดมนี ำ้ หนัก 2,500 กรัม ขนึ ไป - กระทรวงสำธำรณสขุ - สถำบันพัฒนำกำรสำธำรณสขุ 2. เดก็ แรกเกิดได้กนิ นมแม่อย่ำงเดยี วอย่ำงน้อย 6 เดอื นแรกติดตอ่ กัน อำเซยี น 3. เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ไดร้ บั วคั ซีนป้องกนั โรคครบตำมตำรำงสร้ำงเสรมิ ภูมคิ ุ้มกนั โรค - หนว่ ยบญั ชำกำรทหำรพัฒนำ 4. ครัวเรอื นกนิ อำหำรถูกสุขลกั ษณะ ปลอดภยั และไดม้ ำตรฐำน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5. ครัวเรือนมีกำรใช้ยำเพ่ือบำ้ บดั บรรเทำอำกำรเจ็บปว่ ยเบืองตน้ อยำ่ งเหมำะสม - กระทรวงมหำดไทย 6. คนอำยุ 35 ปีขนึ ไป ได้รับกำรตรวจสุขภำพประจ้ำปี 7. คนอำยุ 6 ปีขึนไป ออกก้ำลงั กำยอย่ำงน้อยสัปดำห์ละ 3 วนั ๆ ละ 30 นำที - กระทรวงกำรท่องเท่ียวและกฬี ำ - กระทรวงศึกษำธิกำร 55

หมวด/ตวั ช้ีวัด หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ หมวดท่ี 2 สภาพแวดลอ้ ม มี 7 ตวั ช้วี ดั 8. ครัวเรอื นมีควำมมนั่ คงในท่ีอย่อู ำศยั และบ้ำนมสี ภำพคงทนถำวร หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานร่วม 9. ครวั เรือนมีน้ำสะอำดส้ำหรับดมื่ และบริโภคเพียงพอตลอดปี อย่ำงน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน - กระทรวงกำรพฒั นำสังคม - กระทรวงมหำดไทย และควำมม่นั คงของมนษุ ย์ - กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและ สง่ิ แวดล้อม - กระทรวงมหำดไทย (สถ.) - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงสำธำรณสขุ - หนว่ ยบัญชำกำรทหำรพัฒนำ - กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและ สง่ิ แวดล้อม - กระทรวงสำธำรณสุข 10. ครัวเรือนมีนำ้ ใชเ้ พียงพอตลอดปี อย่ำงนอ้ ยคนละ 45 ลิตรตอ่ วนั - กระทรวงมหำดไทย (สถ.) - กระทรวงคมนำคม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หนว่ ยบัญชำกำรทหำรพัฒนำ - กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและ 11. ครัวเรอื นมกี ำรจัดบำ้ นเรือนเปน็ ระเบียบเรยี บร้อย สะอำด และถูกสขุ ลักษณะ - กระทรวงสำธำรณสุข สิง่ แวดล้อม 12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจำกมลพิษ - กระทรวงมหำดไทย 13. ครวั เรือนมีกำรปอ้ งกนั อุบัติภัยและภยั ธรรมชำติอย่ำงถูกวิธี - กระทรวงอุตสำหกรรม - กระทรวงสำธำรณสุข - กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสงิ่ แวดล้อม - กระทรวงมหำดไทย - กระทรวงสำธำรณสุข - ส้ำนักนำยกรัฐมนตรี - กระทรวงคมนำคม - กระทรวงมหำดไทย (ปภ.) - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - สำ้ นกั งำนตำ้ รวจแห่งชำติ 66

14. ครัวเรอื นมีควำมปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ นิ - ส้ำนักงำนตำ้ รวจแหง่ ชำติ - กระทรวงมหำดไทย หมวด/ตัวชี้วดั หนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบ หมวดที่ 3 การศกึ ษา มี 5 ตวั ช้ีวัด หน่วยงานหลกั หนว่ ยงานร่วม 15. เดก็ อำยุ 3 - 5 ปี ไดร้ ับบรกิ ำรเลยี งดูเตรียมควำมพร้อมกอ่ นวยั เรยี น - กระทรวงศึกษำธกิ ำร - กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและควำม 16. เด็กอำยุ 6 -14 ปี ไดร้ ับกำรศึกษำภำคบังคับ 9 ปี - กระทรวงมหำดไทย (สถ.) มน่ั คงของมนุษย์ 17. เด็กจบชัน ม.3 ไดเ้ รียนต่อชนั ม.4 หรือเทียบเท่ำ 18. คนในครวั เรือนท่ีจบกำรศึกษำภำคบงั คับ 9 ปี ท่ีไมไ่ ด้เรียนต่อและยังไม่มงี ำนท้ำ ได้รับกำรฝึกอบรม - กระทรวงศึกษำธกิ ำร - กระทรวงมหำดไทย ดำ้ นอำชีพ - กระทรวงศึกษำธกิ ำร - กระทรวงมหำดไทย 19. คนอำยุ 15 - 59 ปี อ่ำน เขียนภำษำไทย และคดิ เลขอยำ่ งง่ำยได้ - กระทรวงศึกษำธกิ ำร - กระทรวงอุตสำหกรรม - กระทรวงแรงงำน - กระทรวงมหำดไทย 77

หมวด/ตวั ชี้วดั หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ หมวดท่ี 4 การมีงานทาและรายได้ มี 4 ตวั ชี้วดั 20. คนอำยุ 15 – 59 ปี มอี ำชพี และรำยได้ หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานรว่ ม 21. คนอำยุ 60 ปีขึนไป มีอำชีพและรำยได้ - กระทรวงแรงงำน - กระทรวงมหำดไทย 22. รำยไดเ้ ฉล่ยี ของคนในครัวเรือนต่อปี - กระทรวงอุตสำหกรรม - กระทรวงแรงงำน - กระทรวงพำณิชย์ 23. ครัวเรอื นมกี ำรเกบ็ ออมเงิน - กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ควำมมัน่ คงของมนุษย์ - หนว่ ยบัญชำกำรทหำรพัฒนำ - กระทรวงมหำดไทย (พช.) - หนว่ ยบญั ชำกำรทหำรพัฒนำ - กระทรวงพำณชิ ย์ - กระทรวงวฒั นธรรม - กระทรวงอตุ สำหกรรม - กระทรวงศึกษำธิกำร - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและ ควำมมัน่ คงของมนุษย์ - กระทรวงแรงงำน - กระทรวงกำรพฒั นำสังคมและ ควำมมั่นคงของมนษุ ย์ - กระทรวงมหำดไทย (พช.) - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 88

หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ หมวด/ตัวชี้วดั หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานรว่ ม หมวดท่ี 5 คา่ นิยม มี 8 ตัวช้ีวดั 24. คนในครวั เรือนไมด่ ่ืมสุรำ - กระทรวงสำธำรณสขุ - ส้ำนักงำนพระพทุ ธศำสนำแหง่ ชำติ 25. คนในครัวเรือนไม่สบู บหุ รี่ - กระทรวงวัฒนธรรม 26. คนอำยุ 6 ปขี นึ ไป ปฏิบตั ิกิจกรรมทำงศำสนำอย่ำงน้อยสปั ดำห์ละ 1 ครัง - กระทรวงสำธำรณสขุ - กระทรวงมหำดไทย 27. ผู้สงู อำยุ ได้รบั กำรดแู ลจำกครอบครัว ชมุ ชน ภำครฐั หรอื ภำคเอกชน - กระทรวงวัฒนธรรม - สำ้ นักงำนพระพทุ ธศำสนำแห่งชำติ 28. ผู้พกิ ำร ไดร้ ับกำรดูแลจำกครอบครวั ชมุ ชน ภำครัฐ หรอื ภำคเอกชน - สำ้ นกั งำนพระพุทธศำสนำ - กระทรวงมหำดไทย 29. ผ้ปู ่วยโรคเรือรงั ไดร้ ับกำรดแู ลจำกครอบครัว ชุมชน ภำครฐั หรือภำคเอกชน - กระทรวงศึกษำธกิ ำร 30. ครวั เรอื นมีส่วนร่วมท้ำกจิ กรรมสำธำรณะเพ่ือประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถ่ิน - กระทรวงมหำดไทย 31. ครอบครวั มีควำมอบอนุ่ - กระทรวงสำธำรณสขุ - กระทรวงวฒั นธรรม - กระทรวงกำรพฒั นำสงั คม - กระทรวงมหำดไทย 99 และควำมมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงมหำดไทย (พช.) - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติ - กระทรวงศึกษำธกิ ำร และสงิ่ แวดลอ้ ม - กระทรวงสำธำรณสุข - หนว่ ยบัญชำกำรทหำรพฒั นำ - กระทรวงกำรพัฒนำสงั คม - กระทรวงสำธำรณสขุ และควำมม่ันคงของมนุษย์ - กระทรวงมหำดไทย - กระทรวงวฒั นธรรม

9. คำอธบิ ำยตวั ช้วี ัดควำมจำเปน็ พน้ื ฐำน คณะผู้บริหารการจัดเก็บข้อมูล และผู้จัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพื้นฐานทุกท่าน จะต้องทาความเข้าใจกับวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย และความหมายของแต่ละตัวชี้วัด ให้ชัดเจน จึงจะสามารถดาเนินการจัดเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไปน้ีคือความหมาย และคาอธิบายเพ่ิมเติม สาหรับตัวชี้วัดข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน ปี 2560 – 2564 ทงั้ 5 หมวด 31 ตวั ชว้ี ดั ดังนี้ หมวดที่ 1 สขุ ภำพ มี 7 ตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ดั ควำมหมำยตัวชวี้ ัด คำอธิบำยเพิม่ เตมิ 1 . เ ด็ ก แ ร ก เ กิ ด  เด็กแรกเกิดท่ีสมบูรณแ์ ข็งแรง จะต้องมี  ปกติเด็กทารกที่มีน้าหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม อัตราการเกิด และมีชีวิตรอดจะสูงกว่าเด็กทารกที่มี มนี า้ หนัก 2,500 กรัม นา้ หนกั ตวั เมื่อแรกเกดิ 2,500 กรัม น้าหนักน้อยกวา่ 2,500 กรมั นอกจากนี้ยังมผี ลตอ่ การพัฒนาท้ังร่างกายและสมองของเด็กทารกด้วย ขน้ึ ไป ขนึ้ ไป  หากเด็กแรกเกิดท่ีเป็นฝาแฝดก็ให้ใช้เกณฑ์น้าหนักเดียวกันน้ี โดยไม่สามารถยกเว้นได้ เพราะน้าหนัก ของเด็กแรกเกิดทุกคนเป็นน้าหนักเฉพาะของตัวเด็กแรกเกิดแต่ละคน ดังนั้น เด็กแรกเกิดจึงต้องใช้ เกณฑน์ า้ หนักมาตรฐานเดียวกนั คือ ไมน่ ้อยกว่า 2,500 กรัม  เด็กคนใดทม่ี นี า้ หนกั แรกเกดิ น้อยกว่า 2,500 กรมั ถือวา่ ไมผ่ ่านเกณฑ์ 2. เด็กแรกเกดิ ได้กนิ  เด็กแรกเกิด ถึง 6 เดือน ได้กินนมแม่  กนิ นมแมอ่ ย่ำงเดียว หมายถึง การให้เด็กกินเฉพาะนมแม่อย่างเดียวเท่านั้น โดยไม่ให้กินอย่างอ่ืนแลย นมแม่อย่างเดยี วอย่างน้อย อยา่ งเดยี ว เป็นเวลาติดตอ่ กันอย่าง แม้กระท่งั นา้ เพราะนมแม่มปี รมิ าณนา้ เพยี งพอสาหรับทารก มีภูมิคุ้มกันโรคและคุณค่าทางโภชนาการ 6 เดือนแรกติดต่อกัน น้อย 6 เดอื นแรก โดยไม่ใหก้ ินอาหาร ครบถว้ น เหมาะสมกับการเจริญเตบิ โตสาหรบั ทารก ถ้าให้ทารกด่ืมน้าหรืออาหารอื่นร่วมด้วย จะทาให้ อย่างอื่นเลยแม้แตน่ ้า กล้วย หรอื ข้าวบด เดก็ กินนมแม่ไดน้ อ้ ยลง เด็กจะได้รบั สารอาหารไม่เพียงพอ และนมแม่ยังมีสารป้องกันการเกิดเช้ือราใน ปาก (ฝา้ ในปาก) จึงไม่ควรดมื่ นา้ ตามหลังกนิ นม (ท่ไี ม่ใชน่ มแม่) กนิ กล้วยบด ข้าวบด หรอื น้าขา้ วก็ไมไ่ ด้  กล่มุ เปำ้ หมำยในกำรสำรวจ มี 2 กลมุ่ ดงั น้ี - เด็กทมี่ ีอายนุ ้อยกวา่ 6 เดอื น มีวัตถุประสงคเ์ พอื่ เน้นการเฝา้ ระวังติดตามในการดื่มนมแม่ตดิ ต่อกัน จนถงึ วันทส่ี ารวจ - เด็กท่ีมอี ายุ 6 เดือนถึง 1 ปี มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื การวดั ผลการเล้ยี งลกู ด้วยนมแม่ตามมาตรฐานสากล เพ่อื ความปลอดภัยในชีวติ และการเจริญเติบโตที่มคี ุณภาพของเด็กทารกต่อไป  เดก็ อำยนุ ้อยกวำ่ 6 เดือน ทกุ คน ไดก้ ินนมแมอ่ ยา่ งเดียว ตง้ั แตแ่ รกเกิดเป็นเวลาติดตอ่ กนั จนถึงวันที่สารวจ  เดก็ อำยุตงั้ แต่ 6 เดอื นถงึ 1 ปี ทุกคน ไดก้ ินนมแมอ่ ยา่ งเดยี วเปน็ ระยะเวลา 6 เดือนแรกตดิ ตอ่ กัน 10 10

ตัวชวี้ ัด ควำมหมำยตัวชวี้ ดั คำอธิบำยเพม่ิ เตมิ 3. เด็กแรกเกิด  การได้รับวัคซีนครบตามชนิด จานวน  กำรไดร้ ับวคั ซีนปอ้ งกนั โรคครบตำมตำรำงสร้ำงเสริมภูมิคุ้มกันครบ หมายถึง การได้รับวัคซีนครบตาม ถึง 12 ปี ได้รับวัคซีน และ ช่วงอายุ ตามที่กาหนดไว้ในตาราง จานวน ชนดิ และช่วงอายทุ ก่ี าหนดไวใ้ นตารางสร้างเสริมภูมิคมุ้ กนั โรค คอื ป้ อ ง กั น โ ร ค ค ร บ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากสมุดบันทึก อำยุ วัคซนี ทใ่ี ช้ ต า ม ต า ร า ง ส ร้ า ง สขุ ภาพดี (สมดุ สชี มพู) แรกเกิด • ฉดี วัคซนี ปอ้ งกนั วัณโรค • ฉีดวคั ซนี ปอ้ งกนั ตับอักเสบบี เสรมิ ภูมิคมุ้ กนั โรค  สาหรับการประเมินเด็กอายุ 1 ปี ถึง 2 ปี เตม็ ใหป้ ระเมินเด็กท่ีเกิดในวัน/เดือน/ปีที่ 1 เดอื น • ฉดี วคั ซีนปอ้ งกนั ตับอักเสบบี (เฉพาะรายที่เดก็ คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะของไวรสั ตับอักเสบบ)ี 2 เดือน • ฉีดวคั ซีนรวมปอ้ งกันคอตบี ไอกรน บาดทะยกั ตับอกั เสบบี ครั้งที่ 1 • กนิ วคั ซีนป้องกันโรคโปลโิ อ ครงั้ ท่ี 1 สารวจย้อนหลัง 1-2 ปีท่ีผ่านมา เช่น 4 เดอื น • ฉีดวัคซนี รวมปอ้ งกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยกั ตับอกั เสบบี คร้งั ท่ี 2 • กินวัคซีนปอ้ งกนั โรคโปลโิ อ ครง้ั ท่ี 2 สารวจวันที่ 25 ม.ค. 2560 เด็กอายุ 1 ปี • ฉีดวัคซีนปอ้ งกันโรคโปลโิ อ 1 ครงั้ ถงึ 2 ปีเตม็ คอื เดก็ ท่ีเกิดระหว่างวันที่ 25 6 เดอื น • ฉีดวคั ซีนรวมปอ้ งกนั คอตบี ไอกรน บาดทะยกั ตับอกั เสบบี คร้ังท่ี 3 • กนิ วัคซีนป้องกันโรคโปลโิ อ ครัง้ ท่ี 3 ม.ค. 2558 ถึง 25 ม.ค. 2559 (ถ้า 9-12 เดอื น • ฉดี วคั ซนี รวมปอ้ งกันโรคหัด หัดเยอรมนั คางทมู คร้งั ที่ 1 ครัวเรือนไม่สามารถตอบคาถามได้ให้ • ฉดี วัคซีนป้องกนั โรคไข้สมองอักเสบเจอี (ชนิดเช้ือตาย) คร้ังที่ 1 และ 2 ห่างกนั 1 เดือน หรือ ฉีดวคั ซีนปอ้ งกนั โรคไข้ ตรวจสอบจากทะเบียนของเจ้าหน้าที่ 1 ปี สมองอักเสบเจอี (ชนิดเชอื้ เปน็ ) ครั้งที่ 1 สาธารณสขุ หรอื อสม.) 1 ปี 6 เดอื น • ฉีดวัคซีนรวมปอ้ งกันคอตีบ ไอกรน บาดทะยกั คร้งั ท่ี 4 • กินวัคซนี ปอ้ งกนั โรคโปลโิ อ คร้งั ท่ี 4 • ฉีดวคั ซีนรวมปอ้ งกันโรคหัด คางทูม หดั เยอรมนั คร้งั ท่ี 2 2 ปี 6 เดือน • ฉดี วัคซนี ป้องกันโรคไข้สมองอกั เสบเจอี (ชนดิ เชื้อตาย) ครง้ั ที่ 3 หรือ ฉดี วัคซีนปอ้ งกนั โรคไข้สมองอักเสบเจอี (ชนดิ เชื้อเปน็ ) ครั้งที่ 2 4 ปี • ฉดี วัคซีนรวมปอ้ งกนั คอตีบ ไอกรน บาดทะยกั คร้งั 5 • กนิ วคั ซีนปอ้ งกันโรคโปลิโอ ครั้งที่ 5 • ฉดี วัคซนี ป้องกนั โรคหัด หดั เยอรมนั ครง้ั ที่ 2 (ตรวจสอบประวตั ิและใหใ้ นรายที่ได้รบั ไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์) 7 ปี • ฉดี วัคซนี ปอ้ งกนั โรคคอตบี บาดทะยกั • กนิ วคั ซนี ปอ้ งกันโรคโปลิโอ (ตรวจสอบประวัติและใหใ้ นรายที่ได้รบั ไม่ ครบถว้ นตามเกณฑ์) • ฉีดวัคซนี ป้องกนั วัณโรค (ในกรณีที่ไมม่ หี ลักฐานวา่ เคยไดร้ บั เมือ่ แรกเกิดและไม่มแี ผลเป็น) 12 ปี • ฉดี วคั ซีนป้องกนั คอตีบและบาดทะยกั (ทุกคน) 11 11

ตัวช้วี ดั ควำมหมำยตัวชว้ี ัด คำอธิบำยเพม่ิ เตมิ 4. ครัวเรือนกินอาหาร  ทุกคนในครัวเรือนได้ปฏิบัติเก่ียวกับการกินอาหารที่มี  ถ้ากนิ อาหารตามขอ้ 1) ถงึ 3) ต้องปฏิบตั ใิ หค้ รบตามท่ีกาหนด (ถ้าไม่ได้กินให้ถือ ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย คุณภาพ ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐานครบท้ัง ว่าปฏบิ ัติ) และไดม้ าตรฐาน 4 เรอื่ ง ดงั ตอ่ ไปนี้  สาหรับขอ้ 4) ทกุ คนต้องปฏบิ ัติ  ถ้าทุกคนในครัวเรือนปฏิบัติตามข้อ 4) และปฏิบัติตามข้อ 1) ถึง 3) เฉพาะข้อที่ 1) ถ้ากินอาหารบรรจุสาเร็จ ต้องมีเคร่ืองหมาย อย. เช่น เกลือ กินกถ็ อื วา่ ปฏิบัติครบทุกขอ้ แต่ถา้ ปฏิบตั ไิ มค่ รบทกุ คน และหรือปฏิบัติไม่ครบทุก เสริมไอโอดีน น้าปลา น้าส้มสายชู อาหารกระป๋อง นม ขอ้ กถ็ ือวา่ \"ไม่ผา่ นเกณฑ์\" อาหารกล่อง เปน็ ต้น 2) ถา้ กินเน้ือสัตว์ ตอ้ งทาให้สุกด้วยความรอ้ น 3) ถ้ากนิ ผัก ตอ้ งเป็นผักปลอดสารพิษ หรือได้ทาการแช่ด้วยน้า ผสมด่างทับทิม หรือ น้ายาล้างผักแล้วล้างด้วยน้าสะอาด หลาย ๆ ครัง้ 4) ก่อนกินอาหารทุกครั้งต้องล้างมือให้สะอาด และในการกิน อาหารร่วมกันต้องใช้ชอ้ นกลางในการตักอาหารทุกคร้ัง 5. ครัวเรือนมีการใช้ยา  ทุกคนในครวั เรอื นเม่ือมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยหากไม่ได้ไป  ยำสำมญั ประจำบ้ำน คือ ยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาคัดเลือกว่าเป็น เ พ่ื อ บ า บั ด บ ร ร เ ท า รับการรักษาที่สถานีอนามัย คลินิก หรือโรงพยาบาล แต่ ยาปลอดภัย เป็นยาท่ีเหมาะสมที่จะให้ประชาชนซ้ือมาใช้ด้วยตนเอง เพ่ือการ อาการเจ็บป่วยเบ้ืองต้น เลือกที่จะใช้ยาเพ่ือบาบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบ้ืองต้น ดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่มักเกิดข้ึนได้ สามารถสังเกตได้จากบริเวณ อย่างเหมาะสม ดว้ ยตนเอง โดยได้ปฏบิ ัติครบท้งั 4 เร่อื ง คอื ภาชนะบรรจุจะมีคาว่า “ยาสามญั ประจาบา้ น” พิมพ์อยู่ ซึ่งมีทั้งยาแผนปัจจุบัน 1) ใชย้ าสามัญประจาบ้าน และยาแผนโบราณ 2) ไม่กนิ ยาชดุ ที่ซอ้ื จากรา้ นขายของชา  ทกุ คนในครวั เรือนต้องปฏบิ ตั คิ รบท้งั 4 เร่อื ง ถา้ ไม่ครบถอื ว่า \"ไม่ผา่ นเกณฑ\"์ 3) ไม่กินยาสมนุ ไพรหรือยาแผนโบราณท่ีไมไ่ ด้ปรุงขึน้ เฉพาะ สาหรบั ตน (ยกเว้นยาสามญั ประจาบ้านแผนโบราณ) 4) ไมก่ นิ ผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหารที่อวดอ้างสรรพคณุ เกนิ จริง โดยแสดงสรรพคุณเป็นยาเพ่ือบาบัดบรรเทา รักษาโรค ซ่ึงไม่ตรงกับทแ่ี สดงในฉลาก (หากขาดข้อใดข้อหน่ึงให้ ถือว่า \"ปฏบิ ัตไิ มค่ รบ\") 12 12

ตัวช้ีวดั ควำมหมำยตัวชี้วดั คำอธบิ ำยเพม่ิ เตมิ 6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป  คนอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน  กำรตรวจสขุ ภำพประจำปี หมายถึงการตรวจสุขภาพหลายอยา่ ง เพือ่ ประเมินสุขภาพของบุคคลเป็นประจา ได้รับการตรวจสุขภาพ ในครัวเรือนทั้งชายและ อย่างน้อยปลี ะ 1 คร้งั ไดแ้ ก่ การตรวจรา่ งกายทว่ั ไป การตรวจเลอื ด การตรวจปสั สาวะ การตรวจอุจจาระ ประจาปี หญิ ง ไ ด้ รั บ ก า ร ต ร ว จ การเอ็กซเรย์ปอด เป็นตน้ สขุ ภาพประจาปี  กลุม่ เปำ้ หมำยในกำรสำรวจมี 2 กลมุ่ ดงั นี้ - กำรตรวจสุขภำพหลำยอย่ำงเพ่ือประเมนิ สขุ ภำพของบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนท่ีมีอายุตั้งแต่ 35 ปขี ้ึนไป ได้แก่ การตรวจรา่ งกายท่ัวไป การตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะ การตรวจอจุ จาระ การเอ็กซเรยป์ อด เปน็ ประจา อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 ครัง้ เป็นต้น - กำรตรวจคดั กรองควำมเส่ยี งตอ่ โรคเบำหวำนและควำมดันโลหิตสูง เนอื่ งจากคนอายตุ ัง้ แต่ 35 ปีขน้ึ ไป เปน็ กลุม่ ท่ีมีความเสย่ี งต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหติ สูง ไขมนั ในเลอื ดสงู  การตรวจสุขภาพประจาปี ไม่ใช่การไปพบแพทย์เพ่ือตรวจรักษาโรคประจาตัว หรือตรวจรักษาเม่ือเจ็บไข้ได้ป่วย ธรรมดาท่ัวไป แต่มุ่งเน้นถึงการตรวจสุขภาพหลายอย่างที่ไม่เจาะจงโรค เช่น การตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะ การตรวจอจุ จาระ การเอ็กซเรยป์ อด เปน็ ต้น  ถ้าไม่ได้ตรวจตามทกี่ าหนดน้ี ถอื วา่ \"ไม่ผา่ นเกณฑ์\"  คนในครวั เรือนมปี ระกัน  คนในครัวเรือนมีประกันสุขภาพหรือสิทธิรักษาพยาบาล เช่น ประกันสุขภาพ สิทธิข้าราชการ สิทธิประกันสังคม สขุ ภาพและสทิ ธิรักษา บัตรทอง ฯลฯ (ข้อน้ตี อบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) พยาบาล  สถานพยาบาลท่ีคนใน  เม่ือต้องการใช้บริการสถานพยาบาล คนในครัวเรือนจะไปใช้บริการสถานพยาบาลประเภทใด เช่น สถานีอนามัย ครัวเรอื นใช้บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต) โรงพยาบาลของรัฐ โรงพยาบาลของเอกชน เป็นต้น โดยสมาชิกใน ครัวเรอื น แต่ละคนสามารถใชบ้ ริการสถานพยาบาลไดห้ ลายประเภท 13 13

ตัวชี้วดั ควำมหมำยตัวชวี้ ัด คำอธิบำยเพ่มิ เตมิ 7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป  คนอายุต้ังแต่ 6 ปีข้ึนไป  กำรออกกำลังกำย หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายตามรูปแบบท่ีกาหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างเสริม ออกกาลังกายอย่างน้อย ทุกคน ได้ออกกาลังกาย สมรรถภาพ อย่างใดอย่างหนงึ่ หรือทั้งหมด เปน็ กจิ กรรมที่คอ่ นขา้ งหนัก เช่น เดินจา้ วิ่ง/ว่ิงเหยาะ ป่ันจักรยาน เต้น สัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 แอโรบิค ว่ายน้า กระโดดเชือก กรรเชียงเรือ เล่นกีฬาประเภทฝึกความอดทน (สมรรถภาพทางกาย) ฯลฯ วันละ 30 นาที 30 นาที วันๆ ละ 30 นาที หรือ อยา่ งนอ้ ยสัปดาห์ละ 3 วัน อ อ ก แ ร ง / อ อ ก ก า ลั ง  กำรออกแรง/ออกกำลัง หมายถึง การออกแรง/ออกกาลัง (ไม่ใช่ยืนหรือนั่งทางานเฉยๆ) ทางานประกอบอาชีพ ติดต่อกันอย่างน้อย 10 นาที (หาบขนมขาย ขนของข้ึนลง ถีบสามล้อ เก่ียวข้าว รับจ้าง แบกหาม ฯลฯ) หรือทางานบ้าน งานสวน งานสนาม ขน้ึ ไป รวมกนั ท้ังวนั วันละ ในบริเวณบ้าน (เข็ดถูกระจก ล้างขัดพื้น ถูบ้าน ทาสวนครัว ฯลฯ) หรือเดินทาง (เดิน หรือ ป่ันจักรยานไปทางาน 3 0 น า ที อ ย่ า ง น้ อ ย หรือทาธุระ ฯลฯ) หรือออกกาลังกาย เล่นกีฬาอย่างน้อยทาให้รู้สึกเหนื่อยบ้าง หายใจเร็วขึ้น ติดต่อกันอย่างน้ อย สัปดาหล์ ะ 5 วนั 10 นาทขี นึ้ ไป รวมกันท้ังวนั 30 นาที อย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 5 วนั 14 14

หมวดท่ี 2 สภำพแวดลอ้ ม มี 7 ตัวชวี้ ดั ตวั ช้ีวดั ควำมหมำยตัวช้ีวดั คำอธบิ ำยเพิม่ เตมิ 8. ครัวเรือนมีความ  ครัวเรือนมีความม่ันคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพ  ควำมม่ันคงในท่ีอยู่อำศัย หมายถึง สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีปัญหาเร่ือง ม่ันคงในท่ีอยู่อาศัย และ คงทนถาวร คือ อยูไ่ ด้โดยไมต่ ้องกังวลว่าจะมีปัญหาเรื่อง ท่ีพักอาศัย เช่น ไม่อยู่ในที่สาธารณะหรือเขตป่าสงวน ไม่อยู่ในเขตท่ีประสบภัยน้าท่วม บา้ นมสี ภาพคงทนถาวร ทพี่ กั อาศัย เช่น ถูกไลท่ ี่ และบา้ นมีสภาพคงทนถาวร อยา่ งรา้ ยแรง ไม่ถกู ไล่ที่ เปน็ ตน้  สภำพคงทนถำวร หมายถึง บ้านมีโครงสร้างบ้าน มีหลังคามุงกระเบื้องหรือสังกะสี และ มีฝาครบทั้ง 4 ด้าน มปี ระตูหน้าตา่ งทีอ่ ยู่ในสภาพดี แข็งแรง ไม่ชารุด อยู่คงทน สามารถ อยตู่ ่อไปไดไ้ มน่ ้อยกว่า 5 ปี 9 . ค รั ว เ รื อ น มี น้ า  ครัวเรือนมีน้าสะอาดสาหรับดื่ม และบริโภคเพียงพอ  น้ำสะอำดสำหรับด่ืมและบริโภค หมายถึง น้าฝน น้าประปา และน้าบาดาล ท่ีผ่าน สะอาดสาหรับดื่มและ ตลอดปี อยา่ งนอ้ ยคนละ 5 ลิตรตอ่ วนั เกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ท่ีสาธารณสุขตาบลตรวจสอบแล้วว่าใช้ดื่มได้ ถ้าเป็น บริโภคเพียงพอตลอดปี น้าจากแหล่งธรรมชาติต้องนามาต้มเสียก่อน หรือแกว่งสารส้มแล้วเติมคลอรีน จึงจะ อย่างน้อยคนละ 5 ลิตร จัดว่าเป็นน้าสะอาด หรือน้าท่ีผ่านเคร่ืองกรองน้าที่ได้มาตรฐาน หรือน้าบรรจุขวด ต่อวนั (ต้องมเี ครือ่ งหมาย อย.)  คนละ 5 ลติ รตอ่ วัน หมายถึง ใชส้ าหรบั ดืม่ 2 ลติ ร และอื่น ๆ อีกจานวน 3 ลิตร เช่น ใชป้ ระกอบอาหาร ล้างหนา้ บ้วนปาก และแปรงฟัน เป็นต้น 10. ครัวเรือนมีนา้ ใช้  ครัวเรือนมีน้าใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตร  น้ำใช้ หมายถึง น้าที่ใช้ในครวั เรอื น เช่น อาบน้า ซักผา้ ทาความสะอาด เป็นตน้ เพียงพอตลอดปี อย่างน้อย (ประมาณ 2 ป๊ีบ) ต่อวนั คนละ 45 ลติ รต่อวนั 15 15

ตวั ชี้วัด ควำมหมำยตัวชีว้ ัด คำอธิบำยเพ่มิ เตมิ 11. ครัวเรือนมีการจัด  ครัวเรือนมีการจัดบริเวณบ้านและภายในบ้าน โดยมีท่ี  กำรจัดบรเิ วณบ้ำนและภำยในบ้ำนเป็นระเบียบ สะอำด และถูกสขุ ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ บ้านเรือนเป็นระเบียบ ประกอบอาหาร มีที่เก็บน้าสะอาด ไม่มีแหลง่ เพาะพันธ์ุ 1) สภาพในบา้ นสะอาด ห้องนอนลมพดั ผา่ นสะดวก ไม่มฝี นุ่ ละอองและกลนิ่ เหม็นอบั ชืน้ เรียบร้อย สะอาด และ สัตว์/แมลงนาโรค มีอุปกรณ์กาจัดขยะมลู ฝอย สภาพใน ทห่ี ลับนอนข้าวของเคร่อื งใชส้ ะอาด มกี ารจัดเกบ็ เปน็ ระเบยี บ ไม่รกรงุ รงั ถกู สขุ ลักษณะ บ้านสะอาด ไม่มีแหล่งน้าเสียขัง มีส้วมถูกสุขลักษณะ 2) ท่ีประกอบอาหารสะอาดเปน็ ระเบียบ มตี ูก้ ับข้าวหรือฝาชี มีอุปกรณล์ า้ งมือที่ใชง้ านไดด้ ี เป็นระเบยี บ ครบทุกเรือ่ ง (เช่น สบู่หรอื น้ายาลา้ งจาน) และมีการกาจดั ไขมนั ก่อนลา้ ง 3) ทเ่ี กบ็ น้าสะอาดเพอื่ การอุปโภคบริโภคสภาพดี มีฝาปิด 4) มกี ารกาจัดสัตว์ แมลงทีเ่ ป็นพาหะนาโรค ไดแ้ ก่ ยุงลาย หนู แมลงวนั แมลงสาบไม่พบ แหล่งเพาะพนั ธ์ุ และท่ีหลบซอ่ นอาศัยภายในบา้ นหรอื บริเวณบ้าน 5) มีการจดั การขยะ ดงั นี้ (1) มีอปุ กรณ์ อาทิ ไม้กวาด ถังขยะ ถงุ ใสข่ ยะ (2) มกี ารคดั แยกขยะออกเปน็ 4 ประเภท (1.ของเสยี อันตราย 2.ขยะรีไซเคลิ 3.เศษอาหาร 4.ขยะอ่นื ๆ) (3) มกี ารกาจัดขยะ เชน่ ส่งให้ อปท. กาจัด หรือการฝังหลุม 6) มีร่องระบายน้าอยู่ในสภาพดี ไม่มีแหล่งนา้ เสยี ขังในบริเวณบา้ น และไมม่ ีการปลอ่ ย น้าเสียลงแหลง่ นา้ สาธารณะ 7) มีสว้ มใช้ที่มีสภาพแขง็ แรงใช้งานไดส้ ะอาด มกี ารระบายอากาศท่ีดี ไมม่ ีรอยแตกร้าว ที่หวั สว้ ม พ้ืนทีถ่ ังส้วม และฝาปดิ และมอี ุปกรณ์ทาความสะอาด 8) มีการจัดเกบ็ และแยกสารเคมีที่เป็นอันตรายออกจากเคร่อื งใชอ้ นื่ ๆ โดยจดั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บและวางใหพ้ ้นมอื เดก็ 16 16

ตัวชี้วัด ควำมหมำยตัวชี้วดั คำอธิบำยเพ่ิมเตมิ 1 2 . ค รั ว เ รื อ น  ครั วเรือนไม่ถู กรบกวนจากเสียง ดั ง  กำรถกู รบกวน หมายถงึ เกดิ จากกิจกรรม การกระทา หรือสภาพสง่ิ แวดล้อมที่มีตอ่ คนในครัวเรอื น ไ ม่ ถู ก ร บ ก ว น จ า ก สั่นสะเทือน ฝุ่นละออง กล่ิน ความเหม็น โดยสง่ิ ทเ่ี ปน็ ตน้ เหตรุ บกวนจะต้องมีลักษณะอยา่ งใดอย่างหน่งึ คอื มลพิษ มลพิษทางอากาศ น้าเสีย ขยะ หรือของ 1) เกดิ ขน้ึ ซา้ ๆในชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึง หรือมคี วามต่อเน่ืองทงั้ ในเวลากลางวันและกลางคืน เสียอันตราย ที่อาจเป็นอันตรายต่อ (เวลา 18.00-06.00 น. ของวนั รุง่ ข้นึ ) โดยเกิดขน้ึ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ครัง้ ต่อวนั หรอื ต่อเน่อื ง สขุ ภาพอยา่ งใดอย่างหนงึ่ หรือหลายอยา่ ง นานกว่า 1 สัปดาหข์ นึ้ ไป 2) เกิดข้นึ ในขณะใดขณะหน่งึ ซง่ึ มผี ลทาใหเ้ กดิ อาการเจบ็ ปว่ ยอยา่ งเฉียบพลนั รวมทั้งก่อใหเ้ กิด ความตื่นตระหนก ความเครยี ด วิตกกังวล จนไม่สามารถทางานได้อยา่ งปกติ  วธิ กี ำรสังเกตเบือ้ งตน้ วำ่ ครัวเรอื นถูกรบกวน คือ 1) เสียงดัง อาจสังเกตจากคนที่ยืนหา่ งกนั 1 เมตร พูดคุยกนั แล้วคนฝา่ ยหน่งึ ไม่ไดย้ นิ ว่าคนอกี ฝ่าย พดู อะไร หรือ ความรสู้ ึกของบคุ คลวา่ มเี สียงดงั เกิดขนึ้ จากสภาพปกติของพนื้ ทน่ี ัน้ ๆ 2) ความสน่ั สะเทือน โดยจากความรู้สึกหรือการส่ันไหวของวัสดุ หรอื ภาชนะ ส่ิงของต่าง ๆ ในครัวเรอื น 3) ฝุน่ ละออง (1) ฝุ่นขนาดใหญ่ โดยการมองด้วยตาเปลา่ และ (2) ฝุน่ ขนาดเล็ก สงั เกตจากการ สะสมของฝนุ่ บนพ้ืนผวิ หน้าของภาชนะ อปุ กรณ์ เคร่ืองใชภ้ ายในบ้าน 4) กลิน่ เหม็น โดยสอบถามจากความรู้สกึ สัมผัสของบุคคลตั้งแต่ 3 คนข้ึนไป ที่รูส้ กึ ไมส่ บาย เช่น วิงเวียนศรี ษะ คลนื่ ไส้ ทาให้เกิดความวิตกกงั วล รสู้ กึ อดึ อัด เครยี ด เปน็ ตน้ 5) นา้ เสยี โดยการสังเกตจากกล่นิ และสขี องนา้ ผิดไปจากธรรมชาติ 6) ขยะและของเสียอันตราย (หลอดไฟ กระปอ๋ งสเปรย์ ถา่ นไฟฉาย ฯลฯ) โดยการมองเห็นหรอื สังเกต เชน่ ปรมิ าณขยะล้นจากภาชนะรองรับขยะ กลนิ่ เหมน็ จากขยะ ของเสียอนั ตรายไมม่ ี การแยกทง้ิ อย่างถูกต้อง  หากครัวเรือนมีปญั หาตามข้อใดขอ้ หน่ึงใน 6 ข้อย่อยขา้ งต้น ให้ระบุว่าครัวเรือนต้งั อยใู่ กลแ้ หล่ง อุตสาหกรรม แหล่งเกษตรกรรม หรอื อนื่ ๆ 17 17

ตวั ชว้ี ัด ควำมหมำยตัวชี้วัด คำอธิบำยเพมิ่ เติม 13 . ครัว เรือน มี  ค รัว เรือ น เมื่ อ มี ก าร ขั บ ข่ี ย าน พ าห น ะ  กำรป้องกันอบุ ัติภยั และภยั ธรรมชำติอย่ำงถูกวิธี ไดแ้ ก่ การป้องกันอุบัติภัย ใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า หรือในการประกอบอาชีพ 1) การปฏิบัตติ ามกฎหมายในการขบั ขย่ี านพาหนะทกี่ าหนด เช่น สวมหมวกกันนอ็ ก คาดเขม็ ขดั นริ ภัย และภัยธรรมชาติอย่าง ไดม้ ีการปอ้ งกนั อุบัตภิ ยั อย่างถกู วิธี เปน็ ตน้ ถูกวิธี  ครัวเรือนมีการเตรียมความพร้อมรับมือกับ 2) มีการตรวจซอ่ มแซมอปุ กรณเ์ ครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ในบ้านให้อยูใ่ นสภาพดี เช่น สายไฟฟ้า ปล๊กั หรือ ภัยธรรมชาติ และการจัดการความเสี่ยงจาก สวิตซไ์ ฟ พัดลม หม้อหงุ ข้าว เป็นตน้ ภัยพิบตั ิ 3) มีการป้องกนั อันตรายหรอื อุบตั เิ หตจุ ากการประกอบอาชพี เชน่ ปฏิบัตติ ามคาแนะนาในการใช้ สารเคมี การใช้อุปกรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล (การสวมแวน่ ตา หน้ากากหรือ ผา้ ปิดจมูก ถงุ มือยาง ฯลฯ) 4) การเตรยี มพรอ้ มรับมอื การปอ้ งกนั อุบัตภิ ยั และภัยธรรมชาติอย่างถกู วธิ ี คือ การทีป่ ระชาชน ในชมุ ชน/หมบู่ ้านมีความตระหนัก มีความรู้ มีความเขา้ ใจในการบริหารจัดการภัยพบิ ตั ิ โดย การมสี ่วนรว่ มของคนในชมุ ชน รว่ มคดิ ร่วมทา ร่วมวางแผน “การจัดการความเสยี่ งจากภัยพบิ ตั ิ โดยอาศัยชุมชนเป็นฐาน”  ภยั ธรรมชำติ หมายถงึ ภยั อันตรายต่างๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ตามธรรมชาตแิ ละมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ ของมนษุ ย์ เชน่ อุทกภยั วาตภัย อัคคีภยั แผ่นดนิ ไหว ดินโคลนถล่ม เปน็ ตน้  กำรประสบภยั ธรรมชำติ ใหร้ ะบุว่าครวั เรือนได้ประสบภยั ธรรมชาติ ในรอบปีที่ผา่ นมาหรือไม่ ด้านใด (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ด้าน)  ควำมเจ็บปว่ ยจำกกำรทำงำนจนเป็นเหตใุ หต้ อ้ งหยดุ งำน ให้ระบวุ า่ คนในครัวเรอื นไดร้ ับความ เจบ็ ป่วยจากการทางาน จนเปน็ เหตุให้ต้องหยดุ งาน หรือไม่ จานวนกค่ี น 14 . ครัว เรือน มี  ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนไม่มีคนประสบเหตุ ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สนิ หมายถงึ สภาพท่ีปราศจากภยั หรอื พน้ จากสถานการณ์ท่ี ความปลอดภัยในชีวิต ดังต่อไปนี้ ถูกฆ่าตาย ถูกทาร้ายร่างกาย จะกอ่ ให้เกิดภัยอันตรายต่อชีวติ (เช่น การฆ่า ข่มขืน กระทาอนาจาร กระทาชาเรา การบุกรุกที่ และทรพั ยส์ ิน ก ร ะ ท าอ น าจ าร ข่ ม ขื น ก ร ะ ท าช าเร า อยู่อาศัย เป็นต้น) และทรัพย์สิน (การประทุษร้ายต่อทรัพย์ เช่น การลกั ทรัพย์ การวง่ิ ราวทรัพย์ ถูกประทุษร้ายต่อทรัพย์ (ลักทรัพย์ ว่ิงราว ปลน้ ทรัพย์ และหลอกลวงใหเ้ สยี ทรพั ย์ เป็นต้น) ทรัพย์ ปล้นทรัพย์ หลอกลวงให้เสียทรัพย์) ถูกบุ กรุกท่ี อยู่ อาศั ย อ าช ญ าก ร รม อ่ื น ๆ ท่เี ก่ียวกับชีวิตและทรัพยส์ ิน อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอยา่ ง 18 18

หมวดท่ี 3 กำรศึกษำ มี 5 ตัวช้วี ัด ตัวชี้วัด ควำมหมำยตัวชี้วัด คำอธิบำยเพ่มิ เติม 15. เด็กอายุ 3 – 5 ปี  เดก็ อายุ 3 - 5 ปี ไดร้ ับการบรกิ ารเล้ียงดู  เด็กอายุ 3 - 5 ปี ซ่ึงเป็นวัยท่ีมีความสาคัญมากต่อการเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาต่อไป ได้รับการบริการเลี้ยงดู และมีการเตรียมความพรอ้ มก่อนวยั เรยี น การได้รับการบริการเล้ียงดู หรือได้เข้าร่วมกิจกรรมการเตรียมความพร้อมของเด็กก่อนวัยเรียน เตรียมความพร้อมก่อน หรือไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมเกี่ยวกบั การเตรยี ม ทกุ คน จะสง่ ผลดีต่ออนาคตการศึกษาและการแสดงออกของเด็กทุกคน วยั เรยี น ความพร้อมของเด็กกอ่ นวยั เรยี นทกุ คน  เป็นการชว่ ยแบ่งเบาภาระของพอ่ แม่ และผ้ปู กครองในการดแู ลเพื่อไปประกอบอาชีพ  สถานที่ที่ใช้เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เคล่ือนที่ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ก่อนเกณฑ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถาบนั ศาสนา อนุบาล ชนบท โรงเรียนอนบุ าล เปน็ ต้น 16. เด็กอายุ 6 – 14 ปี  เด็กอายุ 6 ปี – 14 ปี ทุกคนได้เข้าเรียน  เดก็ ท่ีมีอำยุมำกกว่ำ 5 ปี และเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 ให้ถือวา่ เปน็ เด็กอายุ 6 ปี ได้ รั บ ก าร ศึ ก ษ าภ า ค การศกึ ษาในระดับช้ัน ป.1 - ม.3 (การศึกษา  กำรศึกษำภำคบังคับ 9 ปี หมายถึง การศึกษาในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 (ป.1) ถึงชั้น บงั คบั 9 ปี ภาคบังคับ 9 ป)ี มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 (ม. 3)  เด็ ก อ ายุ 6 ปี – 1 4 ปี ท่ี ได้ เข้ า เรีย น  กำรออกกลำงคัน หมายถึง การท่ีนักเรียนถูกนาช่ือออกจากสถานศึกษาในขณะที่ยังไม่สาเร็จ การศึกษาในระดับช้ัน ป.1 - ม.3 (การศึกษา ภาคบังคับ 9 ปี ) แล้วออ ก จาก ระ บ บ การศึกษา โดยไม่ไดม้ ีสาเหตจุ ากการยา้ ยสถานศกึ ษา การศึกษากลางคัน ได้เข้าเรียนต่อใน กศน. - ใหร้ ะบวุ ่าเด็กที่ออกกลางคัน ไดเ้ รยี นตอ่ หรอื ทางาน หรือไม่ การศกึ ษาผใู้ หญ่ หรือ ทางาน - ใหร้ ะบจุ านวนช่ัวโมงตอ่ สบั ดาห์ ที่เดก็ อายุ 6 - 14 ปี ใช้ในการศึกษาหาความรู้  กำรศึกษำหำควำมรู้จำกส่ือต่ำงๆ เช่น การอ่านหนังสือ การดูข่าวสาร สารคดี การใช้อินเทอร์เน็ต  การศกึ ษาหาความรู้จากสื่อต่าง ๆ เพอื่ หาความรู้ เป็นต้น 17. เด็กจบช้ัน ม.3  เด็กจบช้นั ม.3 (การศึกษาภาคบังคบั 9 ปี)  มัธยมศึกษำตอนปลำยหรอื เทยี บเท่ำ หมายถึง ได้เรียนต่อช้ัน ม.4 หรือ ได้เรียนต่อในมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - - การศกึ ษาในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 (ม.4) ถึงช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 (ม.6) สาหรับสายสามัญ เทียบเทา่ ม.6) หรือเทียบเทา่ ซ่งึ รวมถงึ การไดเ้ รียนตอ่ - การศึกษาในระดับชัน้ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) สาหรับสายอาชีพ ในสายอาชพี ด้วย  กำรออกกลำงคนั เดก็ ที่เข้าเรียนมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) หรอื เทียบเท่า แลว้ ลาออก  เดก็ จบชนั้ ม.3 (การศึกษาภาคบงั คับ 9 ป)ี ได้ เรียนต่อในมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) จากโรงเรียนกอ่ นท่ีจะสาเร็จการศกึ ษา แล้วออกจากระบบการศกึ ษากลางคัน ไดเ้ ข้า - ใหร้ ะบวุ า่ เดก็ ทีอ่ อกกลางคัน ไดเ้ รียนต่อหรอื ทางาน หรือไม่ เรียนต่อใน กศน. การศึกษาผู้ใหญ่ หรอื ทางาน - ให้ระบุจานวนชวั่ โมงต่อสับดาห์ ที่เด็กอายุ 15- 18 ปี ใช้ในการศกึ ษาหาความรู้  การศึกษาหาความรจู้ ากส่ือต่าง ๆ  กำรศึกษำหำควำมรู้จำกส่อื ต่ำงๆ เช่น การอา่ นหนงั สือ การดูข่าวสาร สารคดี การใช้ อนิ เทอร์เนต็ เพ่ือหาความรู้ เปน็ ตน้ 19 19

ตวั ชวี้ ัด ควำมหมำยตัวชีว้ ัด คำอธิบำยเพ่ิมเติม 18. คนในครวั เรือนทจ่ี บ  คนในครัวเรอื นท่ีจบช้ัน ม.3 (การศึกษาภาค  กำรฝกึ อบรมดำ้ นอำชพี หมายถึง การฝึกอบรมดา้ นอาชีพตา่ ง ๆ ทห่ี น่วยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี บังคับ 9 ปี) ที่ไม่ได้เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา หรือเอกชนจัดขึ้นอย่างน้อย 1 อาชีพ จะนับรวมท้ังหมด ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้น เช่น ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่ ตอนปลาย (ม.4 ถึง ม.6) หรือเทียบเท่า (เช่น 3 ชัว่ โมง หรอื 1 วัน เปน็ ต้น หรือหลกั สูตรระยะยาว เช่น 3 เดือน หรอื 1 ปี เป็นต้น มีงานทา ได้รับการฝึกอบรม ปวช.) และยังไม่มงี านทาและมีความตอ้ งการท่ี  คนที่ไมไ่ ด้รบั กำรฝึกอบรมด้ำนอำชพี มี 2 กลุ่ม ดังนี้ ด้านอาชพี จะฝึกอาชีพ ทุกคนได้รับการฝึกอบรมด้าน - ผทู้ ่จี บ ม. 3 ในรอบปีทผี่ า่ นมา อาชีพต่าง ๆ ท่ีหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ - ผ้ทู ีจ่ บ ม. 3 ในปอี น่ื ๆ หรือเอกชนจัดขึน้ อยา่ งนอ้ ย 1 อาชพี  ควำมต้องกำรฝึกอบรมดำ้ นอำชีพ ใหร้ ะบจุ านวนคนทต่ี ้องการฝึกอบรม 19. คนอายุ 15 - 59 ปี  คนไทยทุกคนควรจะต้องสามารถอ่าน เขียน  อ่ำน เขียน ภำษำไทย เช่น การอ่านฉลากยา สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาซื้อขาย ป้ายโฆษณา อ่าน เขียนภาษาไทย และ ภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ทุกคน ปา้ ยจราจร เปน็ ต้น คดิ เลขอยา่ งงา่ ยได้ โดยเฉพาะคนอายุ 15 – 59 ปี เป็นกลุ่มคน  คิดเลขอย่ำงง่ำย เช่น สามารถบวก ลบ จานวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100,000 ได้ ท่ีจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปีแล้ว และยัง และสามารถคณู หรอื หารเลขไม่เกนิ 2 หลักได้ เป็นตน้ อยู่ในช่วงของวัยทางาน  อำ่ น เขียนภำษำอังกฤษ เช่น การอ่าน การเขียน การส่อื ความ ในระดับเบ้ืองต้น เช่น ประโยค สนทนาทกั ทาย การใช้ประโยคบอกเล่า คาถามในชวี ติ ประจาวันได้  กำรอ่ำน เขยี นภำษำอังกฤษ ไม่นามารวมเป็นเกณฑต์ วั ชีว้ ัดน้ี . 20 20

หมวดที่ 4 กำรมีงำนทำและรำยได้ มี 4 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวดั ควำมหมำยตัวชีว้ ัด คำอธบิ ำยเพม่ิ เตมิ 20. คนอายุ 15–59 ปี  คน อา ยุ 1 5–59 ปี ทุ กค น มีก า ร  กำรประกอบอำชีพและมีรำยได้ หมายถึง การทางานที่เป็นงานประจาทั้งท่ีอยู่ภายในครัวเรือน มอี าชีพและรายได้ ประกอบอาชีพและรายได้ และ/หรือนอกครวั เรอื น โดยมีรายได้ทีเ่ กดิ จากการทางานดังกล่าว ท้ังในลักษณะรายวัน รายสัปดาห์  ยกเว้นผู้ที่กาลังศึกษาอย่างเดียว โดย รายเดอื น รายชิ้นงาน หรอื งานเหมา ไม่ได้ประกอบอาชีพ หรือคนพิการท่ี  ให้ระบจุ ำนวนคนทไ่ี มไ่ ด้ประกอบอำชีพและมรี ำยได้ (ไม่มงี านทา) เป็น 2 กลุ่ม ไมส่ ามารถชว่ ยตนเองได้ - กลมุ่ ท่ี 1 คนที่ไม่มอี าชพี และรายได้ - กลุ่มท่ี 2 คนที่ไม่มีอาชพี แต่มรี ายได้  ควำมสมัครใจที่จะประกอบอำชพี ใหร้ ะบจุ านวนคนอายุ 15 - 59 ปี ท่สี มัครใจจะประกอบอาชพี 21. คนอายุ 60 ปีขึ้นไป  คนอายุ 60 ปีขนึ้ ไป ทกุ คน มีการ  คนอำยุ 60 ปีเต็มขึ้นไป ในปัจจุบันหลายคนยังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถประกอบอาชีพ มอี าชพี และรายได้ ประกอบอาชีพและมรี ายได้ และทางานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเป็นหลกั ของครอบครวั ดว้ ย  ยกเว้นคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือ  กำรประกอบอำชีพและมีรำยได้ (การมีงานทา) จะต้องมีทั้งอาชีพและรายได้ที่เกิดข้ีนจากการ ตนเองได้ ประกอบอาชีพนั้น ท้ัง 2 องคป์ ระกอบควบคู่กนั  ใหร้ ะบุจำนวนคนทีไ่ ม่ได้ประกอบอำชีพและมีรำยได้ (ไม่มีงานทา) เปน็ 2 กลมุ่ ดงั น้ี - กลุม่ ที่ 1 คนที่ไมม่ อี าชพี และรายได้ - กล่มุ ท่ี 2 คนทีไ่ ม่มีอาชีพแต่มรี ายได้  ควำมสมคั รใจที่จะประกอบอำชีพ ให้ระบจุ านวนคนอายุ 60 ปีเต็มขึ้นไป ท่สี มคั รใจจะประกอบอาชพี 21 21

ตวั ชี้วัด ควำมหมำยตัวชวี้ ัด คำอธิบำยเพม่ิ เติม 22. รายไดเ้ ฉล่ียของ คนในครัวเรอื นต่อปี  รายได้ทั้งหมดนี้เป็นรายได้  วธิ ีคิดรำยได้ ให้คิดจากรายไดท้ ้งั หมดของทุกคนในครวั เรอื น โดยแยกเปน็ ทั้งที่เป็นตัวเงินและรายได้ 1) รายไดจ้ ากอาชพี หลัก 23. ครัวเรือนมีการ ท่ีเกิดจากการทา การปลูก 2) รายได้จากอาชพี รอง อาชพี เสรมิ เก็บออมเงิน การเล้ยี ง และการหาไว้กนิ เอง 3) รายไดอ้ น่ื ๆ เชน่ ลูกหลานส่งเงนิ ให้ คา่ เชา่ ดอกเบ้ยี เงินฝาก เงินปันผลหุน้ /สหกรณ์ บานาญ เบี้ยยังชีพ ฯลฯ แลว้ คานวณเปน็ จานวนเงนิ 4) รายได้ทเี่ กิดจากการทา การปลูก การเล้ยี งและการหาไวก้ ินเอง แล้วคิดคานวณเปน็ จานวนเงนิ  คนในครัวเรือนสามารถ เขา้ ถงึ แหลง่ เงินทุนได้ รายได้ในท่นี ้ี ไม่นบั รวมเงินกู้ หรอื เงนิ ยืม  รายได้จากการสอบถามนี้ จะนาไปใช้เพ่ือวางแผนแก้ไขปัญหาในเรื่องการประกอบอาชีพและการมีงานทาของ ประชาชนเทา่ นนั้ ไม่เกย่ี วขอ้ งกับเรอื่ งภำษแี ตอ่ ย่ำงใด  รำยจ่ำยของครัวเรอื น ในแต่ละด้าน มดี งั น้ี 1) รายจ่ายท่เี ป็นต้นทนุ การผลติ ได้แก่ ค่าพันธ์พุ ชื พันธุ์สตั ว์ คา่ ปุ๋ย/ยาฆ่าแมลง ค่าจ้าง/แรงงาน ค่าเชา่ คา่ เคร่ืองจกั ร ค่านา้ มัน เป็นต้น 2) รายจา่ ยในการอปุ โภคบรโิ ภคท่จี าเปน็ ได้แก่ คา่ อาหาร เสื้อผา้ ท่ีอยอู่ าศยั ค่ายา/รักษาพยาบาล คา่ ใช้จา่ ย ดา้ นการศกึ ษา คา่ เดนิ ทาง คา่ น้า ค่าไฟฟา้ และคา่ ใช้จา่ ยสว่ นบุคคล (สบู่ ยาสีฟัน ฯลฯ) เปน็ ตน้ 3) รายจา่ ยในการอุปโภคบริโภคทไ่ี ม่จาเป็น ได้แก่ ค่าบันเทงิ หวย การพนัน บุหร่ี เหล้า ยาดอง นา้ อดั ลม ขนม กนิ เล่น สินคา้ ฟุม่ เฟือย คา่ โทรศพั ทม์ ือถือทเี่ กนิ ความจาเป็น และคา่ เลน่ เกมส์ เป็นต้น 4) รายจา่ ยในการชาระหน้ีสิน  กำรเข้ำถึงแหลง่ เงนิ ทนุ คือ การท่ีสมาชกิ ในครวั เรือนสามารถขอกเู้ งินและได้รบั เงนิ ทุนจากแหลง่ เงนิ ทุนตา่ งๆ  หนี้นอกระบบ คือ หน้ีท่ีกู้ยืมจากบุคคล และสถาบันต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ธนาคาร หรือสถาบันการเงินที่ถูกต้องตาม กฎหมาย เช่น นายทุน พ่อคา้ หรอื กลุ่มบคุ คลท่ีปลอ่ ยเงินกู้ ดอกเบีย้ สูงกวา่ ทกี่ ฎหมายกาหนด  ครวั เรอื นมกี ารเก็บออมเงิน  กำรเก็บออมเงนิ หมายถึง การนารายได้ท่ีเหลอื จากการใชจ้ ่ายในการอุปโภคบรโิ ภค หรือการกันรายไดส้ ว่ นหนึ่ง มาเก็บไว้เพ่ือใช้จ่ายในยามเจ็บป่วย หรือมีเหตุฉุกเฉินเกิดข้ึน หรือเมื่อแก่ชรา หรือเพ่ือใช้จ่ายในกิจการอื่นใดที่ สมควร ทั้งในรูปแบบที่เป็นเงินสด หรือทรัพย์สินต่าง ๆ เช่น เงินสดท่ีเก็บออมไว้เอง เงินฝากธนาคาร เงินฝากกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลิต เงินฝากกลุ่มสจั จะ เงินฝากสหกรณ์ เงินฝากกองทุนหมู่บา้ น เงนิ ฝากกองทุนตา่ ง ๆ การทาประกันชีวิต การซอ้ื พันธบัตร การซอื้ ทองคา การซอ้ื บา้ น หรือการซ้ือทด่ี ิน เป็นต้น 22 22

หมวดที่ 5 : ค่ำนิยม มี 8 ตวั ช้ีวดั คำอธิบำยเพ่ิมเตมิ ตัวชี้วดั ควำมหมำยตัวช้วี ัด 24. คนในครัวเรือน  คนในครัวเรอื นทุกคน ไม่ด่ืมสรุ า  ไมด่ ่มื สุรำ หมายถึง ไม่มกี ารดื่มเครอ่ื งด่มื ทีม่ แี อลกอฮอลผ์ สมอยู่ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ ไมด่ ืม่ สุรา ยาดอง กระแช่ สาโท หรือที่ผลิตจากผัก หรือผลไม้ เช่น มันฝรั่ง ข้าว น้าองุ่น โดย การนาวัตถุดบิ ดงั กลา่ ว มาหมักและเติมยีสต์ลงไป 25. คนในครัวเรือน  คนในครัวเรอื นทุกคน ไมส่ ูบบหุ รี่ ยาสบู หรอื ยามวน ไม่สูบบหุ ร่ี  โทษของกำรด่ืมสุรำ ทาให้คนติดสุราอาจเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจวาย มะเร็งกระเพาะ อาหาร ตับแข็งและเส้นเลือดในสมองแตก คนเมาท่ีขับรถจะขาดการควบคุม สตสิ มั ปชัญญะ ทาให้เกิดอุบตั เิ หตุ หญงิ มคี รรภ์อาจแท้งลูก หรือเด็กท่ีคลอดออกมาจะ มรี ่างกายสตปิ ัญญาท่ีบกพร่อง รวมทงั้ การดื่มสุราทาใหเ้ กดิ ปัญหาต่อตนเอง ครอบครัว และสงั คม  โทษของกำรสูบบุหร่ี ทาให้เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฟันเหลือง ตาแดง เล็บเขียว มีกลิ่นตัวและกล่ินปากรุนแรง ส่งผลร้ายต่อคนรอบข้าง เป็นมะเร็งช่องปากรวมถึงฟัน และลิ้น เป็นมะเร็งหลอดลมและหลอดอาหาร มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งปอด มีโอกาส เป็นโรคมากกวา่ ผทู้ ไ่ี ม่สบู ถึง 20 เท่า ถุงลมโป่งพองจนไม่สามารถหดตัวกลับได้ มีผลทา ให้หายใจติดขดั หอบ จนถึงตายได้ เป็นโรคกระเพาะอาหารเป็นแผล โรคตับแข็ง โรค ปริทันต์ โรคโพรงกระดูกอักเสบ โรคความดันโลหิตสูง ประสาทในการรับรสแย่ลง และมอี าการไอเรื้อรงั มเี สมหะมาก บางครั้งไอถี่มากจนไมส่ ามารถนอนหลบั ได้ นอกจากน้ียังทาให้บุคคลข้างเคียงได้รับอันตรายด้วย เช่น เด็กป่วยด้วยโรค หลอดลมอักเสบ ปอดบวม หอบหืด หูช้ันนอกอักเสบ หญิงมีครรภ์มีโอกาสแท้ง คลอด ก่อนกาหนด ตกเลือดระหว่างคลอดและหลังคลอด มากเป็น 2 เท่าของหญิงต้ังครรภ์ ทวั่ ไป เดก็ ท่ีคลอดออกมาอาจจะมนี ้าหนักและความยาวน้อยกว่าปกติ และพัฒนาการ ทางดา้ นสมองช้ากว่าปกติ 23 23

ตัวชีว้ ัด ควำมหมำยตัวชีว้ ัด คำอธบิ ำยเพม่ิ เติม 26. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป  ในรอบปีที่ผ่านมา คนในครัวเรือนที่อายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปทุกคน  กจิ กรรมทำงศำสนำ หมายถงึ การได้ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาตามแต่ละ ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ได้ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ศาสนาท่ีครัวเรือนนับถือ เช่น การร่วมพิธีกรรมทางศาสนา ทาบุญ อ ย่ า ง น้ อ ย สั ป ด า ห์ ล ะ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เช่น การร่วมพิธีกรรมทางศาสนา ตักบาตร ทาสมาธิ สวดมนต์ ฟังเทศน์ ฟังธรรม หรือการทาละหมาด 1 ครงั้ ทาบุญ ตักบาตร ทาภาวนา/สมาธิ สวดมนต์ ฟังเทศน์ ฟังธรรม และการเขา้ โบสถ์คริสต์ เปน็ ต้น หรือการทาละหมาด และการเขา้ โบสถ์คริสต์ เป็นต้น 27. ผู้สงู อายไุ ด้รับการ  ผู้สูงอายุทุกคน ได้รับการดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความเป็นอยู่ ด้าน  ผู้สงู อำยุ หมายถึง คนทม่ี ีอายุ 60 ปีข้ึนไป ดูแลจากครอบครัว ชุมชน อาหารการกิน เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม และได้รับการดูแลเมื่อยามเจ็บ  ผู้สูงอำยุได้รับกำรดูแลเอำใจใส่ หมายถึง คนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่ถูก ภาครฐั หรือภาคเอกชน ไข้ได้ป่วย การดูแลเอาใจใส่ด้านสภาพจิตใจจากคนในครัวเรือน ทอดท้ิง มีครอบครัวดูแล/ได้รับความเอาใจใส่จากคนในครัวเรือน หรือ หรือหมู่บ้าน/ชุมชน รวมท้ังได้รับสวัสดิการชุมชน เบ้ียยังชีพจาก หมู่บ้าน/ชุมชน รวมท้ังได้รับสวัสดิการชุมชน เบ้ียยังชีพจากภาครัฐ หรือ ภาครัฐ หรอื ความช่วยเหลือจากภาคเอกชน ความชว่ ยเหลือจากภาคเอกชน 28. ผู้พิการได้รับการ  ผู้พิการทุกคน ได้รับการดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความเป็นอยู่  ผู้พิกำร หมายถึง คนพิการทางร่างกายและ/หรือสมองจนไม่สามารถ ดูแลจากครอบครัว ชุมชน ด้านอาหารการกนิ เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม และได้รับการดูแลเม่ือยาม ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ ได้แก่ คนพิการหรือคนที่ตาบอด 2 ข้าง ตาบอดข้าง ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน เจ็บไข้ไดป้ ่วย การดูแลเอาใจใส่ด้านสภาพจิตใจจากคนในครัวเรือน เดียวและอีกข้างเลือนราง หูหนวกเป็นใบ้ อัมพาต (เป็นความพิการแต่ หรือหมู่บ้าน/ชุมชน รวมทั้งได้รับสวัสดิการชุมชน เบี้ยความพิการ กาเนิด หรือความพิการท่ีมาจากโรค) ไม่มีฝ่ามือ ไม่มีฝ่าเท้า ปัญญาอ่อน จากภาครฐั หรือความชว่ ยเหลอื จากภาคเอกชน ออทิสติก วิกลจริต เป็นต้น ทั้งนี้ นับท้ังผู้พิการแต่กาเนิดและผู้พิการจาก โรคหรืออบุ ตั ิเหตดุ ้วย ผพู้ กิ าร ที่ยังไม่มีบตั รประจาตัวคนพิการ ควรไปลงทะเบียนคนพิการ เพ่ือใหไ้ ดร้ บั สวัสดกิ ารชว่ ยเหลอื จากภาครัฐ 29. ผู้ป่วยโรคเร้ือรัง  ผู้ป่วยที่เป็นโรคเร้ือรังทุกคน ได้รับการดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความ  โรคเร้ือรัง หมายถึง โรคที่เม่ือเป็นแล้วจะมีอาการ หรือต้องรักษาติดต่อกันนาน ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล จ า ก เปน็ อยู่ ด้านอาหารการกิน เส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม และได้รับการดูแล เป็นแรมเดอื นแรมปหี รอื ตลอดชีวิต ได้แก่ โรคไม่ติดเช้ือเป็นส่วนใหญ่ เช่น ครอบครัว ชุมชนภาครัฐ เมื่อยามเจ็บไข้ได้ป่วย การดูแลเอาใจใส่ด้านสภาพจิตใจจากคนใน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพาต โรคหัวใจ โรคหืด หลอดลม หรอื ภาคเอกชน ครัวเรือน หรือหมู่บ้าน/ชุมชน รวมท้ังได้รับสวัสดิการชุมชน เบี้ย อกั เสบเรอ้ื รัง ถุงลมโปง่ พอง ตบั แขง็ มะเรง็ เป็นต้น ยงั ชพี จากภาครัฐ หรือความชว่ ยเหลือจากภาคเอกชน 24 24

ตวั ชีว้ ัด ควำมหมำยตัวช้วี ัด คำอธบิ ำยเพิ่มเตมิ 30. ครัวเรือนมีส่วน  ในรอบปีท่ีผ่านมา คนในครัวเรือนอย่างน้อย 1 คน  กำรมีส่วนร่วมทากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชนหรือท้องถ่ิน สามารถ ร่วมทากิจกรรมสาธารณะ ไดเ้ คยเขา้ ร่วมทากิจกรรมสาธารณะของหมู่บ้าน โดยการ กระทาได้โดยการแสดงความคิดเห็น การออกแรงงาน การบริจาค/สมทบเงิน และ เพื่อประโยชน์ของชุมชน ออกแรงงาน เงิน หรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น สร้าง/ การบรจิ าคสมทบวัสดุอปุ กรณ์ต่างๆ เปน็ ต้น หรือทอ้ งถน่ิ ซ่อมแซมถนน ลอกคลอง การกาจัดขยะ มูลฝอย และ น้าเสีย แปรรูปผลผลิต เป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง 31. ครอบครัวมีความ  ในรอบปีท่ีผ่านมา ครัวเรือนมีโอกาสอยู่พร้อมหน้ากัน ลกั ษณะของครอบครวั อบอุ่น หมายถงึ อบอุ่น มีความเคารพนับถือซึ่งกันและกัน มีการปรึกษาหารือ กรณมี ีสมาชิก 2 คนขึ้นไป อยู่ในครัวเรอื นเดยี วกนั สมาชิกในครัวเรือนไม่เคยหนีออกจากบ้าน คนท่ีอาศัยอยู่ 1) สมาชิกในครอบครวั มีเวลาอยพู่ รอ้ มหน้าและไดท้ ากิจกรรมรว่ มกนั อยา่ งน้อย คนเดยี วอยไู่ ดอ้ ยา่ งมคี วามสุข สัปดาห์ละ 1 คร้งั หรอื อย่างนอ้ ยเดอื นละ 4 ครัง้ 2) สมาชิกในครอบครวั มคี วามเคารพนบั ถอื กัน และไม่มีการทะเลาะเบาะแวง้ รนุ แรง 3) สมาชกิ ในครอบครวั เมื่อมปี ัญหาจะปรึกษาหารอื และชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั กรณีอยู่คนเดียว 1) หากมบี ิดามารดาและญาติพี่น้อง ต้องมีการเดนิ ทางกลบั ไปเยย่ี มเยอื นบิดา มารดาและญาติพ่นี อ้ ง อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั 2) ในกรณีที่ไม่มี บิดามารดาหรือญาตพิ น่ี ้อง แต่ถ้าสามารถดารงชีวิตได้อยา่ งมี ความสขุ ก็ถอื ว่าเป็นครอบครัวอบอนุ่ 25 25

10. ประเดน็ ชี้แจงภายในเลม่ แบบสอบถามข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน หน้าปก  เป็นหน้าแรกทต่ี อ้ งกรอกข้อมลู ดังน้ี 1) ช่ือ และนามสกลุ ของหวั หน้าครวั เรอื น 2) หากหวั หน้าครัวเรอื นมยี ศ ให้กรอกยศนาหน้าชื่อ ตวั อยา่ งเชน่ ร้อยตารวตตรีวทิ ยา ฯลฯ 3) เลขประตาตวั ประชาชนของหวั หน้าครวั เรอื น มีทงั้ หมด 13 ช่อง ตอ้ งกรอกตวั เลขให้ครบ 13 ช่อง 4) กรณคี รัวเรือนมีเลขท่ีบา้ น ให้ขีดเครื่องหมาย  ในกรอบสี่เหลย่ี ม มีบา้ นเลขท่ีและกรอก บ้านเลขที่ และรหสั ประตาบ้านตามเอกสารทะเบียน หมบู่ า้ น/ชุมชน หมู่ที่ ซอย ถนน ตาบล อาเภอ และตังหวดั 5) กรณคี รัวเรือนไมม่ ีบา้ นเลขที่ ให้ขดี เคร่ืองหมาย ในกรอบสี่เหล่ียม ไมม่ บี ้านเลขท่ี และกรอก บา้ นเลขทใี่ กลเ้ คียง หมู่บ้าน/ชุมชน หม่ทู ี่ ซอย ถนน ตาบล อาเภอ และตังหวัด 6) กรณี ไม่มีบ้านเลขที่ ให้พิตารณา บา้ นท่มี เี ลขทบ่ี ้าน ท่ีอยูใ่ กลม้ ากทีส่ ดุ 7) เลือกเขตปกครอง โดยขดี เครือ่ งหมาย  ในกรอบส่เี หลี่ยม วา่ ครวั เรือนตง้ั อยู่ในเขตการ ปกครองประเภทใด เชน่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร เมอื งพัทยา หรือกรุงเทพมหานคร (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 ประเภท) 8) ระบุประเภทของท่ดี ินพักอาศัยและเอกสารสิทธิ ว่าเป็นของตนเอง เช่าท่ีของคนอ่ืน ที่สาธารณะ หรืออืน่ ๆ และระบุตานวนท่ีดนิ เป็นไร่ เปน็ ตารางวา 9) หากใช้ท่ีดินในการประกอบอาชีพให้ระบุประเภทของที่ดินท่ีใช้ประกอบอาชีพและเอกสารสิทธิ วา่ เป็นของตนเอง เช่าที่ของคนอน่ื ทส่ี าธารณะหรืออืน่ ๆ และระบตุ านวนทดี่ นิ เปน็ ไร่ เป็นตารางวา 10) หากไม่ได้ใชท้ ่ดี ินในการประกอบอาชพี ไม่ต้องกรอกข้อมลู หน้า ก-ข แนวทางการจัดเก็บขอ้ มลู  ต้องทาอะไรบ้างในเลม่ แบบสอบถาม 1) ผู้ตัดเกบ็ ข้อมลู ทาความเข้าใตแบบสอบถามให้ชดั เตน 2) สมั ภาษณข์ ้อมลู ตากหัวหนา้ ครวั เรือน หรอื คูส่ มรส หรือสมาชิกของครัวเรือนท่ีสามารถให้ข้อมูลได้ 3) สมั ภาษณเ์ สรต็ แล้ว ผ้ใู หข้ อ้ มลู และผูต้ ัดเกบ็ ข้อมลู ลงลายมือชอื่ รบั รองว่าได้มกี ารตัดเก็บข้อมูลของ ครวั เรอื นนต้ี รงิ 4) บันทึกนาผลสรุปลงในแบบสรุปคุณภาพชีวิตของครัวเรือนปีที่ตัดเก็บข้อมูล เพ่ือรับทราบผลการ ตัดเก็บข้อมูลของครัวเรือนตนเอง และนาไปใช้ประโยชน์ในการร่วมกันแก้ไขปัญหาของสมาชิกใน ครัวเรอื น รวมทงั้ มีการพดู คยุ กบั สมาชิกในครวั เรือน โดยเฉพาะตวั ช้ีวัดเร่ืองท่ตี กเกณฑ์ 5) ให้ผู้ตรวตสอบ/ตรวตทานข้อมูล ทาการตรวตสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล แล้วลงลายมือช่ือ รับรอง ก่อนที่ตะมีการรวบรวมส่งไปบันทึก ประมวลผลข้อมูลเป็นภาพรวมของหมู่บ้าน/ชุมชน  ผจู้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู และผ้ใู หข้ อ้ มลู 1) ผู้จัดเก็บขอ้ มูล คือ คนทีเ่ ห็นความสาคัญของข้อมลู และสามารถจดั เก็บข้อมลู ได้ดีทีส่ ุด ไดแ้ ก่ กรรมการหมู่บ้าน/ชมุ ชน สมาชกิ สภาเทศบาล ผู้นาชุมชน หัวหน้าคมุ้ ผ้นู าอาสาสมคั ร พฒั นาชุมชน ผ้นู าอาสาสมัครพัฒนาชุมชน (ผู้นาอช.) อาสาสมัครพัฒนาชมุ ชน (อช.) อาสาสมคั ร สาธารณสขุ ประตาหมบู่ ้าน (อสม). หรอื อาสาสมัครอน่ื ๆ ควรคัดเลือกคนทีอ่ ่าน เขียนภาษาไทยได้คล่อง 2) ผูใ้ หข้ ้อมูล คือ หัวหน้าครัวเรอื น คู่สมรส หรือสมาชิกในครัวเรอื นที่สามารถให้ขอ้ มูลไดอ้ ย่าง ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และเป็นตริง 26 26

 พนื้ ท่ีการจดั เกบ็ ขอ้ มูลความจาเปน็ พ้ืนฐาน ตดั เกบ็ ข้อมูลความตาเป็นพนื้ ฐานตากทกุ ครวั เรอื นในเขตชนบทและเมืองทัว่ ประเทศ  ครัวเรือนเป้าหมาย 1) ตัดเก็บข้อมลู ทุกครัวเรือนในหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน ทง้ั ทมี่ ีเลขที่บา้ น และไม่มเี ลขทบ่ี ้าน 2) ตดั เกบ็ ข้อมูลเฉพาะครัวเรอื นท่ีมผี ู้อาศัยอยตู่ ริง ในรอบปีที่ผ่านมาไมน่ ้อยกว่า 6 เดือน 3) ตดั เกบ็ เฉพาะครัวเรือนที่มีคนไทยอาศัยอยู่  ห้วงเวลา และระยะเวลาจดั เก็บขอ้ มลู ตัดเกบ็ ข้อมูลทุกปี ระหว่างเดือนธันวาคม-กมุ ภาพนั ธ์  การใชแ้ บบสอบถาม และการกรอกขอ้ มูล 1) ใช้แบบสอบถาม ตานวน 1 เลม่ ต่อ 1 ครวั เรือน (ครวั เรอื น หมายถึง ครอบครัวทอี่ ยใู่ นบา้ นเรือนเดียวกนั และกินอยู่ดว้ ยกัน ครัวเรือนหนึ่ง ๆ อาตมี หลายครอบครัวก็ได้) กรณีที่แตล่ ะครอบครัวไม่ได้กนิ อยู่ใช้ต่ายรว่ มกันใหแ้ ยกแบบสอบถาม และ ให้ขีดเคร่ืองหมาย  ในกรอบ ไม่มบี ้านเลขที่ และกรอกบา้ นเลขทีเ่ ดมิ ในชอ่ งบา้ นใกล้เคยี ง 2) แบบสอบถาม ใชต้ ดั เกบ็ ขอ้ มูลแต่ละปี รวม 5 คร้งั (พ.ศ. 2560 – 2564) 3) การกรอกข้อมลู ใหก้ รอกเฉพาะปที ต่ี ัดเก็บข้อมลู เทา่ น้ัน 4) ตงั หวดั อาเภอ เทศบาล หรอื องค์การบริหารสว่ นตาบล สามารถเพ่มิ เติมเนื้อหา/เคร่ืองชว้ี ัดไดต้ าม ความเหมาะสม หน้า ค ตัวอย่างการกรอกขอ้ มูลสมาชกิ ครวั เรือน  ตารางข้อมลู สมาชกิ ครวั เรือน มี 11 ช่อง ช่องท่ี 1 กรอกลาดับทีข่ องสมาชกิ ครวั เรอื น  ช่องท่ี 2 กรอกชือ่ นามสกุลสมาชกิ ในครัวเรือนท่ีอาศัยอยตู่ ริงในปัตตุบนั (คนท่ีไม่ได้อยู่ประตา แต่ไปๆ มาๆ ในรอบปีท่ีผา่ นมา ตอ้ งมีเวลารวมกนั ไม่น้อยกว่า 6 เดือน)  ช่องที่ 3 เลขประตาตวั ประชาชนของสมาชกิ ครวั เรือน มี 13 ชอ่ ง ต้องกรอกตัวเลขใหค้ รบทัง้ 13 ช่อง  กรณีครัวเรือนมคี นต่างดา้ วอาศัยอย่ดู ้วย ให้ระบุในช่องท่ี 3 วา่ เป็นคนตา่ งด้าว และให้กรอกข้อมูล สมาชกิ ครัวเรือนทีเ่ ปน็ คนตา่ งดา้ วเฉพาะหน้าตารางขอ้ มูลสมาชกิ เท่านนั้ ไม่ต้องสารวตข้อมูลคุณภาพ ชวี ิตของคนตา่ งด้าว ในหน้า 6-29  ช่องท่ี 4 เพศของสมาชิกครัวเรอื น  ชอ่ งท่ี 5 อายุของสมาชกิ ครวั เรือน คนที่มีอายุมากกวา่ 2 ปขี น้ึ ไป ไม่ตอ้ งใส่เศษเดอื น ยกเวน้ ในกรณที ่ี สมาชิกในครวั เรอื นอายุไมถ่ ึง 2 ปี ใหร้ ะบุอายุเดือนไว้ดว้ ย ตามตวั อย่าง ตารางข้อมลู สมาชิกฯ หนา้ ค ลาดับท่ี 8 ด.ช.สมหวงั ทรพั ย์มี เพศชาย อายุ 1 ปี 11 เดือน  ชอ่ งที่ 6 อาชีพหลักของสมาชิกครัวเรอื น หากไม่ได้ประกอบอาชพี ให้ขีดเคร่ืองหมาย - กรณีกาลงั ศึกษาอย่างเดยี วโดยไมไ่ ดป้ ระกอบอาชพี ใหร้ ะบุวา่ กาลงั ศกึ ษา ตามตวั อยา่ ง ตารางข้อมลู สมาชกิ ฯ หน้า ค ลาดบั ท่ี 4 นางสาวสมศรี ทรัพย์มี เพศหญิง อายุ 16 ปี กาลังศึกษา  ชอ่ งท่ี 10 ให้ขีดเคร่ืองหมาย  ระบุสถานะทางกายภาพของสมาชิกครวั เรือนว่าเป็นปกติ ผพู้ กิ าร หรือผู้ปว่ ยเรือ้ รงั  ช่องที่ 11 ให้ขีดเคร่ืองหมาย  ระบุวา่ สมาชกิ ครวั เรือนท่ีเป็นผ้สู งู อายุ (ชอ่ ง 5 อายุ 60 ปีขน้ึ ไป) ผูพ้ กิ าร หรือ ผปู้ ่วยเรอื้ รงั สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ หรือไมไ่ ด้ 27 27

หน้า 1-5  หนา้ 1 – 5 ใช้กรอกขอ้ มูลสมาชกิ ในครวั เรอื นท่ีอาศยั อยตู่ ริง ในแตล่ ะปี 2560 – 2564 หน้า 6  ขอ้ 1 เด็กแรกเกดิ มีนา้ หนัก 2,500 กรมั ขนึ้ ไป o ข้อ 1.2 เด็กอายุไม่เกิน 1 ปมี นี ้าหนักเมือ่ แรกเกิดไมน่ อ้ ยกว่า 2,500 กรัม หรือไม่  ต้องตอบข้อ 1.1 ก่อนว่ามีเดก็ อายุไมเ่ กิน 1 ปี หรอื ไม่  ถ้ามีตงึ ตอบข้อ 1.2 ตอ่ ถา้ ไม่มีให้ขา้ มไปถามข้อ 3  ข้อ 2 เด็กแรกเกิดไดก้ นิ นมแม่อย่างเดียว อยา่ งน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน o ขอ้ 2.2 เด็กอายุน้อยกว่า 6 เดือนทุกคนในครัวเรือนน้ี ได้กินนมแม่อย่างเดียวเป็นระยะเวลา ตดิ ต่อกนั ต้งั แตแ่ รกเกิดตนถงึ วันท่สี ารวตข้อมูล หรอื ไม่  ตอ้ งตอบขอ้ 2.1 ก่อนวา่ ครวั เรอื นมีเด็กอายนุ ้อยกว่า 6 เดือน หรือไม่  ถา้ มีตงึ ตอบข้อ 2.2 ต่อ ถ้าไม่มใี ห้ขา้ มไปถามขอ้ 2.3 o ขอ้ 2.4 เด็กอายุตัง้ แต่ 6 เดอื นถึง 1 ปี ทกุ คน ไดก้ ินนมแม่อย่างเดียวเป็นระยะเวลาติดต่อกัน ต้ังแตแ่ รกเกดิ ตนถงึ 6 เดือน หรอื ไม่  ต้องตอบข้อ 2.3 ก่อนวา่ ครวั เรอื นมเี ด็กอายุต้งั แต่ 6 เดอื นถึง 1 ปี หรือไม่  ถ้ามตี ึงตอบข้อ 2.4 ตอ่ ถ้าไม่มีใหข้ ้ามไปถามข้อ 3 - กินนมแม่อย่างเดียว คือ \"ให้กินได้เฉพาะนมแม่เท่าน้ัน ห้ามกินน้า นมผสม ข้าว ผัก ผลไม้ เป็นต้น ตึงตะถือว่า \"ผา่ นเกณฑ์\" - คนไทยส่วนใหญ่ตะไม่คุ้นเคยกับการกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน แต่เป็นความตาเป็นพ้ืนฐานท่ีต้อง ปลูกฝังให้คนที่มีลูกอ่อนได้ปฏิบัติ ท้ังน้ีเพื่อความปลอดภัยในชีวิต และการเตริญเติบโตท่ีมีคุณภาพ ของเด็กทารกต่อไป ซ่ึงเป็นไปตามมาตรฐานสากล หน้า 7  ข้อ 3 เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ไดร้ บั วัคซนี ปอ้ งกนั โรคครบตามตารางสรา้ งเสรมิ ภูมคิ ุ้มกนั โรค o ข้อ 3.3 ให้ระบุตานวนเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีน ลงในตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ช่องปีที่ สารวตขอ้ มูล หนา้ 8  ข้อ 4 ครวั เรอื นกนิ อาหารถูกสุขลกั ษณะ ปลอดภัย และไดม้ าตรฐาน o ให้ขีดเคร่ืองหมาย  ลงใน หรือ ตามทค่ี รวั เรือนปฏิบตั เิ มอื่ กนิ อาหาร ใหค้ รบทุกข้อ ตัง้ แตข่ อ้ 1) - 4) หน้า 9 - 10  ข้อ 6 คนอายุ 35 ปขี ้นึ ไปไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจาปี o ข้อ 6.1 ให้ระบุตานวนสมาชิกครัวเรือนท่ีมีประกันสุขภาพ และสิทธิรักษาพยาบาล สามารถ ใช้บรกิ ารสถานพยาบาลมากกวา่ 1 แหง่ ได้ o ขอ้ 6.2 ให้ระบุตานวนสมาชิกครวั เรอื นทีใ่ ชบ้ ริการสถานพยาบาลประเภทต่างๆ โดยแต่ละคน สามารถใช้บรกิ ารสถานพยาบาลมากกว่า 1 แหง่ ได้ o ขอ้ 6.3 ตอ้ งตอบก่อนวา่ มคี นอายุ 35 ปีขน้ึ ไป หรือไม่  ถา้ มีตงึ ตอบข้อ 6.4 ต่อ ถา้ ไม่มใี หข้ า้ มไปถามขอ้ 7 o ข้อ 6.4 คนอายุ 35 ปีข้ึนไปไดร้ บั การตรวตสุขภาพประตาปี 28 28

 การตรวจสขุ ภาพประจาปี หมายถงึ การตรวตสุขภาพหลายอยา่ งเพ่ือประเมินสุขภาพ บุคคล ไดแ้ ก่ การตรวตร่างกายทวั่ ไป การตรวตเลือด การตรวตปสั สาวะ/อตุ ตาระ การเอกซเรย์ปอด เป็นต้น o การตรวตสุขภาพประตาปี ไม่ใช่การไปตรวตรักษาโรคประตาตัว หรือการตรวตรักษาเม่ือ เตบ็ ไข้ ไดป้ ่วยธรรมดาทั่วไป  ถ้าตอบว่าไดร้ บั การตรวตสขุ ภาพประตาปีทุกคน ใหข้ ้ามไปถามขอ้ 7 o ข้อ 6.5 คนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ได้ตรวตสุขภาพประตาปี ได้รับการตรวตคดั กรองความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวาน และความดันโลหติ สูง  ใหร้ ะบุตานวนคนอายุ 35 ปขี ้นึ ไปท่ไี มไ่ ด้การตรวตสุขภาพประตาปี และไม่ได้รับ การตรวตคดั กรองความเสีย่ งตอ่ โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสงู หนา้ 10  ขอ้ 7 คนในครัวเรอื นที่มีอายุ 6 ปีขนึ้ ไป ทกุ คนไดอ้ อกกาลงั กายอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 3 วนั วนั ละ 30 นาที หรือออกแรง/ออกกาลงั อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 5 วัน ๆ ละ 30 นาที o วิธีการถามในข้อน้ใี หถ้ ามวา่ \"ในช่วง 7 วันทผ่ี า่ นมา ทุกคนในครัวเรือนไดม้ ีการออกกาลงั กาย/เลน่ กฬี า อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที หรอื ไม\"่ o หรือใหถ้ ามว่า \"ในชว่ ง 7 วนั ทผ่ี า่ นมา ทกุ คนในครัวเรือนได้ออกแรง/ออกกาลัง ที่ทาใหร้ สู้ กึ เหนือ่ ย บา้ งหรอื หายใตเร็วข้ึน ตดิ ต่อกนั อยา่ งนอ้ ย 10 นาทขี นึ้ ไป รวมกนั ทัง้ วัน ๆ ละ 30 นาที อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 5 วัน หรอื ไม่\" - ข้อน้ีตอ้ งการสง่ เสรมิ ให้คนในครัวเรือน โดยเฉพาะคนอายตุ งั้ แต่ 6 ปขี ้ึนไป ได้ออกกาลงั กาย สัปดาหล์ ะ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที เพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง หนา้ 12  ขอ้ 11 ครัวเรือนมีการจัดบา้ นเรอื นเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด และถกู สขุ ลกั ษณะ o ให้ขีดเครื่องหมาย  ลงใน หรอื ใหค้ รบทุกข้อที่เปน็ องค์ประกอบของ การตัดระเบยี บ ทาความสะอาดภายในตัวเรือนและบรเิ วณบ้านที่ถกู สุขลักษณะ ตัง้ แต่ข้อ 1) - 8) หนา้ 13  ขอ้ 12 ครวั เรือนไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ o ให้ขีดเครื่องหมาย  ลงใน หรือ กรณีถูกรบกวน หรอื ไม่ถกู รบกวนตากมลพิษ ให้ครบทุกข้อ ต้ังแตข่ ้อ 1) - 6) o กรณีถูกรบกวนตากมลพษิ ตามข้อ 1) - 6) ให้ระบวุ า่ ครวั เรอื นอยใู่ กล้แหล่งอตุ สาหกรรม เกษตรกรรม หรืออืน่ ๆ หนา้ 14  ขอ้ 13 ครวั เรอื นมีการป้องกันอุบัติภัย และภัยธรรมชาตอิ ยา่ งถกู วธิ ี o ให้ขดี เคร่ืองหมาย  ลงใน หรอื กรณีครัวเรอื นมี หรือไมม่ ีการปอ้ งกนั อุบตั ิภยั และ ภัยธรรมชาติอย่างถกู วิธี ให้ครบทกุ ข้อ ต้งั แต่ข้อ 1) - 4) 29 29

หนา้ 15  ข้อ 14 ครวั เรอื นมคี วามปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ นิ o ให้ขีดเคร่ืองหมาย  ลงใน หรือ กรณคี รวั เรอื นมี หรือไม่มีความปลอดภยั ในชีวิตและ ทรัพย์สิน ให้ครบทุกข้อ ตงั้ แต่ข้อ 1) - 5) หน้า 16  ขอ้ 15 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ไดร้ บั การบรกิ ารเลย้ี งดูเตรยี มความพร้อมกอ่ นวัยเรียน o ข้อ 15.2 ให้ขีดเครื่องหมาย ลงใน หรือ กรณีเด็กอายุ 3-5 ปีได้รับหรือไม่ได้รับ บริการเลีย้ งดเู ตรียมความพร้อมกอ่ นวัยเรยี น  ต้องตอบข้อ 15.1 ก่อนวา่ มีเดก็ อายุ 3 - 5 ปี หรือไม่  ถา้ มตี ึงตอบขอ้ 15.2 ตอ่ ถา้ ไม่มีให้ข้ามไปถามขอ้ 16 หนา้ 16 - 17  ข้อ 16 เด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคบั 9 ปี (ป.1 - ม.3) o ข้อ 16.2 ให้ขีดเครอ่ื งหมาย  ลงใน หรือ กรณเี ด็กอายุ 6 - 14 ปี ไดเ้ ขา้ เรยี น การศึกษาชัน้ ป.1 ถงึ ม.3  ตอ้ งตอบขอ้ 16.1 ก่อนว่ามีเดก็ อายุ 6 - 14 ปี หรือไม่  ถา้ มีตึงตอบขอ้ 16.2 ตอ่ ถ้าไมม่ ีให้ข้ามไปถามข้อ 17 o ข้อ 16.3 ใหร้ ะบุตานวนเดก็ ทเี่ รียนช้ัน ป.1-ม.3 ที่ออกตากโรงเรยี นกลางคนั หากไม่มใี ห้ขา้ ม ไปถามข้อ 16.5 o ขอ้ 16.4 ใหร้ ะบวุ ่าเด็กท่ีออกตากโรงเรยี นกลางคันไปทาอะไร o ขอ้ 16.5 ให้ระบตุ านวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ที่เดก็ อายุ 6 - 14 ปี ไดใ้ ชเ้ วลาหาความรู้ตากสอื่ ตา่ งๆ หน้า 17 - 18  ขอ้ 17 เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรยี นตอ่ ช้ัน ม.4 หรือเทียบเทา่  ตอ้ งตอบข้อ 17.1 กอ่ นวา่ มเี ด็กตบชน้ั ม.3 หรือไม่  ถา้ มตี งึ ตอบข้อ 17.2 ตอ่ ถา้ ไม่มใี ห้ขา้ มไปถามข้อ 17.5 o ข้อ 17.2 ให้ขดี เคร่ืองหมาย  ลงใน หรือ กรณีเดก็ ตบชน้ั ม.3 ไดเ้ รียนต่อชั้น ม.4 หรอื เทยี บเท่า o ขอ้ 17.3 ใหร้ ะบตุ านวนเดก็ เรียนต่อชั้น ม.4 หรอื เทยี บเท่า ที่ออกตากโรงเรียนกลางคัน หากไมม่ ีให้ข้ามไปถามข้อ 17.5 o ข้อ 17.4 ใหร้ ะบวุ า่ เดก็ ทอี่ อกตากโรงเรยี นกลางคนั ไปทาอะไร o ข้อ 17.5 ให้ระบตุ านวนชัว่ โมงต่อสัปดาห์ ท่ีเด็กอายุ 15 - 18 ปี ไดใ้ ช้เวลาหาความรตู้ ากสอื่ ต่างๆ 30 30

หน้า 18 - 19  ข้อ 18 คนในครัวเรือนท่ีจบการศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี (ม.3) ทไี่ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ และยังไมม่ ีงานทา ได้รบั การฝกึ อบรมด้านอาชีพ o ข้อ 18.2 ให้ขีดเครื่องหมาย  ลงใน หรือ กรณคี นในครัวเรอื นทีต่ บการศกึ ษา ภาคบงั คบั 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยงั ไม่มีงานทา ได้รบั หรือไม่ไดร้ บั การฝึกอบรมด้านอาชีพ  ต้องตอบข้อ 18.1 ก่อนว่ามีคนในครัวเรือนที่ตบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี (ม.3) ทีไ่ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ และยงั ไม่มีงานทา หรือไม่  ถา้ มตี งึ ตอบขอ้ 18.2 ต่อ ถ้าไม่มีใหข้ า้ มไปถามข้อ 19 o ข้อ 18.3 ให้แยกตานวนคนที่ยังไม่ไดร้ ับการฝึกอบรมดา้ นอาชพี ตามข้อ 18.2 ออกเป็น 2 กลมุ่ เป้าหมาย ได้แก่ กล่มุ เปา้ หมายที่ 1 คนท่เี พิง่ จบ ม.3 ในปที ีส่ ารวจขอ้ มลู และ กล่มุ เปา้ หมายที่ 2 คนทจ่ี บ ม.3 ในปีอ่ืนๆ ก่อนหนา้ นี้ o ขอ้ 18.4 ใหร้ ะบุตานวนคนตามข้อ 18.2 ทมี่ ีความต้องการฝกึ อบรมดา้ นอาชีพ  ขอ้ 19 คนอายุ 15 – 59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคดิ เลขอยา่ งงา่ ยได้  ตอ้ งตอบขอ้ 19.1 กอ่ นวา่ มีคนอายุ 15 – 59 ปี หรือไม่  ถา้ มีตึงตอบข้อ 19.2 ต่อ ถา้ ไม่มีใหข้ า้ มไปถามข้อ 20 o ข้อ 19.3 ให้กรอกตานวนคนอายุ 15 – 59 ปี ทสี่ ามารถอ่าน เขียนภาษาองั กฤษได้ ทกุ คน หน้า 20  ขอ้ 20 คนอายุ 15 – 59 ปี มอี าชีพและรายได้  ตอ้ งตอบขอ้ 20.1 กอ่ นว่ามีคนอายุ 15 – 59 ปี หรอื ไม่  ถ้ามตี ึงตอบข้อ 20.2 ตอ่ ถ้าไม่มใี ห้ขา้ มไปถามข้อ 21 o คนอายุ 15 - 59 ปี ใหย้ กเว้นผู้ทีก่ าลังศึกษาอย่างเดียวโดยไม่ได้ประกอบอาชีพ หรือคนพิการ ท่ไี ม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ - ข้อน้ตี อ้ งการตรวตสอบดูวา่ คนท่ีอย่ใู นวยั กาลังแรงงานมีงานทากี่คน และว่างงานก่ีคน - เพื่อไมใ่ ห้ตานวนคนอายุ 15 - 59 ปี คลาดเคล่ือน ตึงควรตรวตสอบกับตารางข้อมูลสมาชิกใน ครัวเรือนท่ีอาศัยอยู่ตริงในปีปัตตุบัน (ปีท่ีตัดเก็บข้อมูล) ด้วย โดยตานวนคนในข้อ 20.1 น้ี ตอ้ งไมเ่ กินตานวนคนอายุ 15 - 59 ปี ในข้อ 19. 1 - ตานวนในข้อ 20.1 อาตตะน้อยกว่าข้อ 19.1 ได้ ถ้าครัวเรือนน้ีมีคนอายุ 15 - 59 ปี ที่กาลังศึกษา อย่างเดียว โดยไมไ่ ด้ประกอบอาชีพในขอ้ 19.1 หรอื ครัวเรอื นมีคนพกิ ารทไี่ ม่สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้ o การประกอบอาชีพและมีรายได้ (การมีงานทา) ตะต้องมีท้ังอาชีพและรายได้ที่เกิดขึ้นตากการ ประกอบอาชีพน้นั ท้งั 2 องคป์ ระกอบควบคู่กนั o ข้อ 20.2 ให้ระบุตานวนคนที่ไม่ได้ประกอบอาชีพและมีรายได้ (ไม่มีงานทา) ในข้อ 20.2 เป็น 2 กลุม่ กล่มุ ที่ 1 คนท่ีไมม่ อี าชีพและรายได้ กับ กลมุ่ ที่ 2 คนทไ่ี ม่มอี าชีพแตม่ ีรายได้ o ข้อ 20.3 ใหร้ ะบุตานวนคนตามข้อ 20.2 ที่มีความสมคั รใตท่ีตะประกอบอาชีพ 31 31

หน้า 20  ข้อ 21 คนอายุ 60 ปขี ึน้ ไป มอี าชีพและรายได้  ต้องตอบขอ้ 21.1 กอ่ นว่ามีคนอายุ 60 ปขี น้ึ ไป หรอื ไม่  ถา้ มตี งึ ตอบข้อ 21.2 ตอ่ ถ้าไม่มใี ห้ข้ามไปถามข้อ 22 o คนอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่นบั รวมคนพิการทไี่ ม่สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ o เพื่อไม่ให้ตานวนคนอายุ 60 ปีขึ้นไป คลาดเคล่ือน ตึงควรตรวตสอบกับตารางข้อมูลสมาชิก ในครวั เรอื นท่ีอาศัยอยู่ตริงในปีปัตตุบัน (ปีท่ีตัดเก็บข้อมลู ) ด้วย โดยตานวนคนในข้อ 21.1 น้ี ต้องไมเ่ กนิ ตานวนคนอายุ 60 ปี ข้ึนไป ในขอ้ 27.1 o ตานวนในข้อ 21.1 อาตตะน้อยกว่าข้อ 27.1 ได้ ถ้าครัวเรือนน้ีมีคนอายุ 60 ปีขึ้นไปท่ีพิการ ไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ o การประกอบอาชพี และมีรายได้ (การมีงานทา) ตะต้องมีท้ังอาชพี และรายไดท้ ี่เกิดขนึ้ ตากการ ประกอบอาชพี น้นั ทงั้ 2 องคป์ ระกอบควบคู่กนั o ขอ้ 21.2 ให้ระบตุ านวนคนทไ่ี ม่มงี านทาในขอ้ 21.2 เป็น 2 กลุ่ม กลมุ่ ท่ี 1 คนทีไ่ ม่มีอาชีพและ รายได้ กับ กลุ่มท่ี 2 คนท่ีไมม่ อี าชพี แต่มีรายได้ o ข้อ 21.3 ให้ระบุตานวนคนตามขอ้ 21.2 ทม่ี คี วามความสมคั รใตท่ีตะประกอบอาชีพ หน้า 21 - 23  ข้อ 22 รายไดเ้ ฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี o ข้อนี้เป็นข้อท่ีเก็บข้อมลู ได้ยากมากทสี่ ุด เพราะครัวเรอื นต่าง ๆ มกั ไมบ่ อกความตริง o ต้องมีการคานวณผลผลิตท่ีหามาได้ เก็บไว้ การทา การปลูก หรือการเล้ียงไว้กินเอง ออกมา เปน็ ตัวเงินท้ังหมดตลอดทง้ั ปี o ต้องมีการคานวณตวั เลขหลายขน้ั ตอน ตึงอาตผดิ พลาดได้ ฉะนั้น ผู้ที่ตัดเก็บขอ้ มลู /สัมภาษณ์ ตึงควรดาเนินการ ดังน้ี 1) ชี้แตงหัวหน้าครัวเรือนให้เข้าใตถึงวัตถุประสงค์การตดั เก็บข้อมูลข้อนว้ี ่า ตะนาไปใช้ เพ่ือวางแผนแก้ไขปัญหาในเรื่องการประกอบอาชีพและการมีงานทาของประชาชน เทา่ นนั้ ไม่เก่ียวขอ้ งกับเรือ่ งภาษีแต่อย่างใด 2) รายได้มาตาก - อาชีพหลัก อาชพี รอง และอาชพี เสรมิ ของทกุ คนในครัวเรอื น - รายได้อ่ืนท่เี ป็นตวั เงนิ ตามขอ้ 22.1 ข้อ 3) เชน่ ดอกเบยี้ เงินฝาก ลูกหลานสง่ ให้ คา่ เชา่ เงนิ ปันผลหนุ้ /สหกรณ์ บานาญ/เบีย้ ยงั ชพี ฯลฯ - รายได้ท่เี กิดตากการทา การปลูก การเล้ียง และการหาไวก้ นิ เอง แลว้ คานวณเป็น ตานวนเงนิ ทง้ั หมด ตอ้ งคานวณให้ดี เพราะตะเปน็ สว่ นท่ีทาใหค้ รัวเรอื นผา่ นเกณฑ์ ข้อนไ้ี ด้ แตถ่ ้าคานวณน้อยเกนิ ความเป็นตรงิ หรอื ไมไ่ ดก้ รอกข้อมลู ในสว่ นนี้ ตะทา ให้ครวั เรือนตกเกณฑ์ข้อนไ้ี ด้ 3) นารายไดท้ ั้งหมดมาหารดว้ ยตานวนคนในครวั เรือนท้งั หมด ซึง่ ตะทาให้ทราบรายได้ เฉล่ยี ต่อคนตอ่ ปี o อยา่ ลมื ว่าข้อน้ี เป็นการถามรายได้ทง้ั ปี ถา้ รายไดเ้ ป็นเดือน ต้องคณู ด้วย 12 32 32

 ข้อ 22.2 รายจา่ ยของครัวเรอื น o ข้อน้ีต้องการทราบว่า \"แต่ละครัวเรือนมีรายต่ายในด้านต่างๆ เป็นอย่างไร “เพ่ือใช้ ประกอบการวางแผนการใช้ตา่ ย การลงทุน และการเก็บออมของครวั เรอื นได้ นอกตากน้ียัง ทาให้ทราบถึงค่าใช้ต่ายท่ีสามารถนามาแปลงเป็นเงินออมได้ เช่น ค่าบุหรี่ ค่าเหล้า ค่ายาดอง ค่าหวย ฯลฯ หากลด ละ เลกิ สงิ่ เหล่าน้กี ็ตะทาให้มเี งนิ เหลอื เพอ่ื การเกบ็ ออมได้ o รายจ่าย หมายถงึ \"รายต่ายของครัวเรือนท่ีตา่ ยไปในรอบปีท่ีผ่านมา” ไดแ้ ก่ 1) รายต่ายท่ีเป็นตน้ ทนุ การผลติ เช่น คา่ พันธพ์ุ ืช/สตั ว์ คา่ ใชต้ ่ายเก่ยี วกับสารเคมี (ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง ฯลฯ) คา่ ต้าง/คา่ แรง/คา่ เชา่ คา่ เครื่องตักรตา่ ง ๆ คา่ น้ามัน และอน่ื ๆ 2) รายต่ายในการอุปโภคบริโภคท่ีตาเป็น ได้แก่ ค่าอาหาร เสื้อผ้าที่อยู่อาศัย ค่ายา/ รักษาพยาบาล ค่าใช้ต่ายด้านการศึกษา ค่าเดินทาง ค่าน้า ค่าไฟฟ้า และค่าใช้ต่ายส่วน บคุ คล (สบู่ ยาสฟี นั ฯลฯ) เปน็ ตน้ 3) รายต่ายในการอุปโภคบริโภคท่ีไม่ตาเป็น ได้แก่ ค่าบันเทิง หวย การพนัน บุหร่ี เหล้า ยาดอง น้าอัดลม ขนมกนิ เล่น สินค้าฟุ่มเฟือย และอนื่ ๆ เปน็ ตน้ 4) รายต่ายในการชาระหนส้ี นิ  ขอ้ 22.3 การเขา้ ถึงแหลง่ เงินทนุ ใหข้ ดี เครอ่ื งหมาย เฉพาะแหลง่ เงินทนุ ทข่ี อกู้ ตามขอ้ 22.3.1 1) – 9) แลว้ ตึงตอบต่อในขอ้ 22.3.2 ว่าครัวเรือนได้รับเงินกเู้ พยี งพอหรือไม่ หากครัวเรือนไมไ่ ดข้ อกเู้ งินตากแหล่งใดๆ ไมต่ อ้ งตอบขอ้ น้ี  ขอ้ 22. 4 หน้ีสินของครัวเรอื น ตอ้ งตอบให้ครบทง้ั ขอ้ 22.4 1) หนี้ผ่านสถาบนั การเงนิ และขอ้ 22.4 2) หน้ีนอกระบบ หนา้ 24  ข้อ 23 ครัวเรือนมกี ารออมเงนิ หน้า 25 o ข้อ 23.1 หากครัวเรอื นมกี ารออมเงินให้ขีดเครื่องหมาย  ใน ประเภทต่างๆ ของการออมเงิน หากไมม่ ีการออมเงินใหข้ ีดเครอื่ งหมาย  ใน ไม่มกี ารออมเงิน  ข้อ 24 คนในครวั เรือนไม่ดมื่ สรุ า o ทุกคนในครัวเรอื นตอ้ งไม่ด่มื สรุ า หากคนใดคนหนงึ่ ดม่ื ถอื ว่าไมผ่ า่ นเกณฑ์ o หากมีคนในครัวเรือนด่ืมสุรา ให้สอบถามเพ่ิมเติมว่าผู้ที่ดื่มสุราเป็นผู้ที่หารายได้หลักให้กับ ครัวเรอื น หรือไม่ o คนท่ีดืม่ สุรา ตะเป็นต้นเหตุให้เกิดโรคตา่ ง ๆ มากมายหลายชนิด ทาให้เกิดอุบตั ิเหตุ ทาให้เกิด ปัญหาต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม และผิดศีลธรรมด้วย ตึงมีความตาเป็นที่ทุกคน และ ทุกภาคส่วน ต้องชว่ ยกันรณรงค์ใหค้ นไทยไม่ด่ืมสรุ า หน้า 26  ข้อ 25 คนในครวั เรอื นไมส่ ูบบุหรี่ o ทุกคนในครวั เรอื นตอ้ งไม่สบู บหุ รี่ หากคนใดคนหน่งึ สูบ ถือวา่ ไม่ผ่านเกณฑ์ o หากมีคนในครัวเรือนสูบบุหร่ี ให้สอบถามเพ่ิมเติมว่าผู้ที่สูบบุหรี่เป็นผู้ท่ีหารายได้หลักให้กับ ครวั เรอื น หรือไม่ 33 33

 ข้อ 26 คนอายุ 6 ปีขน้ึ ไป ปฏิบัตกิ ิจกรรมทางศาสนาอยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง  ข้อ 27 ผูส้ งู อายุ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครฐั หรือภาคเอกชน o ต้องตอบข้อ 27.1 ก่อนว่ามีคนอายุ 60 ปขี ้ึนไป หรือไม่ o ถ้ามีตงึ ตอบขอ้ 27.2 ต่อ ถา้ ไมม่ ใี ห้ข้ามไปถามขอ้ 28 หนา้ 27  ข้อ 28 ผู้พิการ ได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน o ต้องตอบข้อ 28.1 ก่อนว่ามีคนผพู้ กิ าร หรือไม่ o ถา้ มีตงึ ตอบข้อ 28.2 การมบี ัตรประตาตัวคนพกิ าร และขอ้ 28.3 การไดร้ บั การดูแล ถ้าไม่มใี ห้ขา้ มไปถามข้อ 29 หนา้ 28  ขอ้ 29 ผปู้ ่วยโรคเร้ือรัง ได้รบั การดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน o ตอ้ งตอบข้อ 29.1 ก่อนว่ามีผปู้ ่วยโรคเรื้อรัง หรอื ไม่ o ถ้ามตี งึ ตอบขอ้ 29.2 การไดร้ ับการดแู ล ถา้ ไมม่ ีให้ข้ามไปถามขอ้ 30 หนา้ 29  ขอ้ 31 ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ o ให้เลือกตอบกรณีใดกรณีหนึ่ง ตาก 2 กรณี คือ 31.1 กรณีมีสมาชิก 2 คนขึ้นไปอยู่ใน ครัวเรอื นเดยี วกัน กับ 31.2 กรณอี ยู่คนเดียว o หากเลือกขอ้ 31.1 ต้องตอบให้ครบทุกขอ้ ในวงเล็บ ต้ังแต่ 1) – 3) o หากเลือกขอ้ 31.2 ใหเ้ ลอื กตอบเพียง 1 กรณี 1) มีบดิ ามารดา ลกู หลานและญาติ หรอื 2) ไม่มีบดิ ามารดาฯ หน้า 30  ตารางเซ็นช่ือ เม่ือสัมภาษณ์เสร็ตแล้ว ผู้ให้ข้อมูลและผู้ตัดเก็บข้อมูลลงลายมือชื่อ และวันเดือนปีท่ี ทตี่ ดั เก็บขอ้ มลู ในช่องของปที ี่ตัดเก็บข้อมลู หนา้ 31 - 40 แบบสรปุ คุณภาพชวี ติ ของครัวเรือน ให้ทาเคร่ืองหมาย ,  หรอื - ลงในชอ่ งของปีที่ตัดเก็บข้อมลู (พติ ารณาควบคู่กบั เกณฑ์ตัวชีว้ ดั ในคูม่ อื )  ขีด ในกรณีขอ้ น้ัน ผ่านเกณฑ์  ขีด  ในกรณขี ้อน้ัน ไม่ผา่ นเกณฑ์  ขีด – ในกรณไี มม่ ีขอ้ มูล  ขอ้ 22 รายไดเ้ ฉลีย่ ของครวั เรือน ให้ใสต่ านวนรายได้เฉล่ียของคนในครวั เรอื นตอ่ ปี หน่วยนับเปน็ บาท  แล้วรวมในช่องดา้ นล่างสุดว่าผา่ นเกณฑ์ () ไมผ่ ่านเกณฑ์ () หรอื ไม่มขี ้อมูล (-) ก่ขี ้อ - ขอ้ ท่ผี ่านเกณฑแ์ ล้ว () ตอ้ งพยายามรกั ษามาตรฐานไว้ - ขอ้ ท่ยี งั ไมผ่ า่ นเกณฑ์ () ตอ้ งชว่ ยกันปรับปรงุ แก้ไขให้ดขี นึ้ 34 34

11. การตรวจสอบความถกู ต้องและความสมเหตสุ มผลของขอ้ มลู ความจาเปน็ พืน้ ฐาน จานวนสมาชกิ ของครวั เรอื น ในตารางข้อมูลสมาชิกที่อาศัยอยู่จริงในปีปัจจุบันต้องสอดคล้องกับการตอบคาถามจานวน สมาชิกในแต่ละข้อ ในกรณีที่มีจานวนสมาชิกตามช่วงชั้นอายุใดอายุหน่ึงไม่สอดคล้องกับจานวนสมาชิกของ ครัวเรือนในตารางข้อมูลสมาชิกที่อาศัยอยู่จริงในปีปัจจุบัน ต้องให้มีการตรวจสอบข้อมูลเพ่ิมเติมโดยข้อที่ต้อง พิจารณา มีดังต่อไปนี้ ข้อ 1, 2, 3, 6, 7, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 24, 25, 26, 27, 28, 29 และข้อ 31 สามารถสรปุ เปน็ ชว่ งอายไุ ดต้ ามตารางด้านลา่ ง จานวนสมาชกิ ในช่วงอายทุ ี่ต้องพิจารณา ขอ้ ทต่ี อ้ งพิจารณาความถูกต้องและความสมเหตุสมผล ไมเ่ กิน 1 ปี 1 น้อยกวา่ 6 เดือน 2 ไมเ่ กนิ 12 ปี 3 3 - 5 ปี 15 6 - 14 ปี 16 15 – 18 ปี 17.5 15 - 59 ปี 19 15 – 59 ปี (ไม่นบั รวมผ้ทู ่กี าลงั ศกึ ษาอย่างเดยี ว โดยไม่ 20 ประกอบอาชพี และคนพกิ ารทไี่ มส่ ามารถช่วยเหลือตนเองได้) 6 ปีขึน้ ไป 7, 26 35 ปีข้ึนไป 6 60 ปีขึน้ ไป 21 60 ปขี ึ้นไป (ไม่นับรวมคนพิการที่ไม่สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได)้ 27 ทุกช่วงอายุ 18, 22, 24, 25, 28, 29, 31 ตัวอย่างในการตรวจสอบความถกู ต้องและความสมเหตุสมผลของข้อมูล สมมุติให้ครัวเรือนหนึ่งมีสมาชิกท้ังหมด 5 คน โดยสมาชิกแต่ละคนมีอายุ 61 ปี 36 ปี 32 ปี 7 ปี และเด็กทารกอายุ 7 เดือน การตอบคาถามในข้อ 1, 2, 3, 6, 7, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 24, 25, 26, 27, 28, 29 และข้อ 31 จะตอ้ งสอดคลอ้ งตามขอ้ มูลสมาชิก ดงั ทแ่ี สดงในตารางด้านล่าง คาตอบในชอ่ งวา่ ง ข้อ คาถาม คาตอบ ทส่ี มเหตุสมผล 1.1 ครวั เรือนนม้ี เี ด็กอายไุ ม่เกนิ 1 ปหี รือไม่ ม.ี ............คน 1 คน ไมม่ ี (ข้ามไปข้อ 3) 1.2 เด็กอายุไม่เกิน 1 ปี มนี ้าหนกั แรกเกิด ไม่นอ้ ยกวา่ 2,500 กรัม ทุกคน ทุกคน ไมเ่ กนิ 1 คน หรอื ไม่ นอ้ ยกวา่ .............คน 2.1 ครัวเรอื นน้ี มีเด็กอายุน้อยกวา่ 6 เดือน หรอื ไม่ ไม่มี มี.............คน ไมม่ ี (ข้ามไปข้อ 2.3) 2.2 เดก็ อายุน้อยกวา่ 6 เดือน ไดก้ นิ นมแมอ่ ย่างเดยี วตัง้ แต่แรกเกดิ ทกุ คน (ข้าม) เปน็ เวลาติดตอ่ กันจนถงึ วันที่สารวจทุกคน หรือไม่ ไม่ไดก้ นิ ................คน 2.3 ครัวเรือนนี้ มเี ดก็ ที่มีอายุต้งั แต่ 6 เดือน ถึง 1 ปี หรอื ไม่ ม.ี ............คน 1 คน ไม่มี (ข้ามไปขอ้ 3) 2.4 เด็กอายุตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1 ปี ได้กินนมแม่อย่างเดียว เป็นระยะเวลา ทกุ คน ไม่เกนิ 1 คน 6 เดือนแรกตดิ ตอ่ กนั ทกุ คน หรือไม่ ไมไ่ ดก้ นิ ................คน 3.1 ครัวเรือนนี้ มเี ด็กแรกเกดิ ถงึ 12 ปี หรอื ไม่ มี.............คน 2 คน ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 4) 3.2 เด็กแรกเกดิ ถึง 12 ปี ได้รับวัคซนี ป้องกนั โรค ครบตามตารางสร้างเสริม ทกุ คน (ขา้ มไปขอ้ 4) ไม่เกิน 2 คน ภูมคิ ุ้มกนั โรค (ท่ีอยู่ดา้ นล่าง) ทุกคน หรือไม่ ไม่ไดร้ ับ..............คน 3355

ข้อ คาถาม คาตอบ คาตอบในชอ่ งวา่ ง ทสี่ มเหตสุ มผล 6.1 จานวนคนในครัวเรือนที่มีประกันสุขภาพ/ สิทธิรักษาพยาบาล Spacespac ในแตล่ ะข้อ ไมเ่ กิน ดังต่อไปนี้ espacespa 5 คน 1. ประกันสขุ ภาพเอกชน ................... คน 2. สทิ ธขิ ้าราชการ ................... คน 3. สทิ ธิประกันสงั คม ................... คน 4. สิทธิหลกั ประกนั สขุ ภาพ ................... คน 5. อนื่ ๆ................................. ................... คน 6.2 ในรอบปีท่ีผ่านมา จานวนคนในครัวเรือนท่ีใช้บริการสถานพยาบาล spacespacespacespacesp ในแต่ละข้อ ไมเ่ กนิ ดังตอ่ ไปนี้ acespace 5 คน 1. สถานอี นามัย/โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล ................... คน 2. โรงพยาบาลของรฐั ................... คน 3. โรงพยาบาลเอกชน ................... คน 4. คลนิ ิก ................... คน 5. อน่ื ๆ …………................... ................... คน 6.3 ครวั เรอื นน้ี มีคนอายุตัง้ แต่ 35 ปี ขนึ้ ไป หรือไม่ มี.............คน 2 คน ไมม่ ี (ข้ามไปข้อ 7) 6.4 ในรอบปีท่ีผ่านมา คนอายุตั้งแต่ 35 ปีข้ึนไป ได้รับการตรวจสุขภาพ ไดร้ ับการตรวจทุกคน ไม่เกิน 2 คน ประจาปีทกุ คน หรือไม่ (ขา้ มไปข้อ 7) ไม่ไดร้ ับการตรวจ .................................คน 6.5 คนท่ีไม่ไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจาปี ตามขอ้ 6.4 ไดร้ บั การตรวจ ได้รับการตรวจทกุ คน ไมเ่ กนิ จานวนคนท่ี คดั กรองความเส่ยี งต่อโรคเบาหวานและความดันโลหติ สงู ทกุ คน ไม่ได้รบั การตรวจ ไมไ่ ดร้ ับการตรวจใน หรอื ไม่ .................................คน ขอ้ 6.4 7 คนอายุตั้งแต่ 6 ปีข้ึนไป ทุกคนในครัวเรือนน้ีได้ออกกาลังกาย ได้ออกกาลังกาย ในแต่ละขอ้ ไมเ่ กิน อยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที หรอื ไดอ้ อกแรง/ออกกาลงั .............................……คน 4 คน ติดต่อกันอย่างน้อย 10 นาทีขึ้นไป รวมกันท้ังวัน 30 นาที อย่างน้อย ไดอ้ อกแรง/ออกกาลงั สัปดาหล์ ะ 5 วัน หรอื ไม่ ...................................คน ไม่ได้ออกกาลงั กายและ ไมไ่ ด้ออกแรง/ไมไ่ ด้ ออกกาลัง....................คน 13.3 ในรอบปที ่ผี า่ นมา มีคนในครวั เรือนทีไ่ ดร้ บั ความเจ็บป่วย จากการทางาน ไมม่ ี ไม่เกิน 3 คน จนเป็นเหตใุ ห้ตอ้ งหยุดงาน หรอื ไม่ มี....................คน 15.1 ครวั เรือนนีม้ เี ดก็ อายุ 3 – 5 ปี หรือไม่ ม.ี ............คน ไม่มี ไมม่ ี (ข้ามไปข้อ 16) 15.2 เด็กอายุ 3 - 5 ปี ได้รับการบริการเล้ียงดูเตรียมความพร้อม ก่อนวัยเรียน ไดร้ บั บรกิ ารทกุ คน (ขา้ ม) ในศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ เคล่ือนที่ ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก ไม่ไดร้ ับบริการ ก่อนเกณฑ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถาบันศาสนา .............................. คน อนุบาลชนบท โรงเรียนอนุบาล เป็นต้น หรือได้เข้าร่วมกิจกรรม เก่ียวกบั การเตรยี มความพรอ้ มของเด็ก กอ่ นวยั เรยี นทุกคน หรือไม่ 36 36

ขอ้ คาถาม คาตอบ คาตอบในช่องว่าง 16.1 ครวั เรือนน้มี เี ด็กอายุ 6 - 14 ปี หรอื ไม่ ที่สมเหตสุ มผล 16.2 เด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้เขา้ เรียน ช้ัน ป.1 - ม.3 ม.ี ......................คน 1 คน ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 17) ไมเ่ กิน 1 คน (การศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี) ทุกคน หรือไม่ ไดเ้ รียนทกุ คน ไมเ่ กนิ 1 คน 16.3 เดก็ ที่ได้เรยี นชั้น ป.1 - ม.3 มีการออกกลางคัน หรอื ไม่ ไม่ไดเ้ รยี น...........คน ไม่เกนิ 1 คน 16.4 เดก็ ท่ีออกกลางคันไปทาอะไร มี.......................คน ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 16.5) ไม่มี 17.1 ในรอบปที ผี่ ่านมา ครัวเรอื นน้มี ีเด็กจบช้ัน ม.3 หรอื ไม่ เรยี นต่อ กศน./การศกึ ษา (ข้าม) 17.2 เดก็ จบชนั้ ม.3 ได้เรียนตอ่ ชนั้ ม.4 หรือเทยี บเท่าทกุ คน หรอื ไม่ ผใู้ หญ.่ .......................คน ไม่มี 17.3 เดก็ ทไ่ี ด้เรยี นต่อช้นั ม.4 หรอื เทียบเทา่ มกี ารออกกลางคนั หรือไม่ ศึกษาเองที่บ้าน (ขา้ ม) 17.4 เดก็ ทอ่ี อกกลางคนั ไปทาอะไร (โฮมสคลู ).......................คน เรียนต่อต่างประเทศ ไม่เกนิ 3 คน 18.1 ครวั เรอื นน้ี มีคนในครัวเรือนทจี่ บการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ทไ่ี มไ่ ด้ ...................................คน ไม่เกิน 3 คน เรยี นตอ่ ชัน้ ม.4 หรือเทียบเท่าและยังไมม่ ีงานทา หรอื ไม่ ไม่ได้เรียนต่อแต่ทางาน ...................................คน 18.2 คนในครัวเรอื น ตามข้อ 18.1 ไดร้ บั การฝึกอบรมดา้ นอาชพี ทุกคน ไมไ่ ดเ้ รยี นต่อและไม่ได้ หรอื ไม่ ทางาน........................คน มี.......................คน ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 17.5) ได้เรยี นทกุ คน ไม่ได้เรยี น.................คน ม.ี ......................คน ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 17.5) เรยี นต่อ กศน/การศกึ ษา ผูใ้ หญ่........................คน ศกึ ษาเองท่ีบ้าน (โฮมสคลู ).......................คน เรยี นตอ่ ตา่ งประเทศ ...................................คน ไม่ไดเ้ รียนต่อแต่ทางาน ...................................คน ไมไ่ ดเ้ รยี นต่อและไมไ่ ด้ ทางาน........................คน มี................................คน ไมม่ ี (ขา้ มไปขอ้ 19) ไดร้ บั การฝกึ อบรม ด้านอาชพี ทุกคน (ข้ามไปข้อ 19) ไมไ่ ด้รับการฝกึ อบรม ดา้ นอาชีพ.................คน 3377

ขอ้ คาถาม คาตอบ คาตอบในชอ่ งวา่ ง 18.3 คนในครัวเรือนที่ไมไ่ ด้รับการฝกึ อบรมด้านอาชีพ ตามขอ้ 18.2 ผูท้ จ่ี บ ม.3 ในรอบปี ที่สมเหตุสมผล ท่ผี า่ นมา...................คน คาตอบในแตล่ ะ แบง่ เปน็ ผ้ทู ี่จบ ม.3 ในปีอนื่ ๆ ชอ่ งว่างบวกกนั แลว้ .............................คน ไมเ่ กินจานวนสมาชกิ 18.4 คนในครวั เรือนทีไ่ มไ่ ด้รับการฝกึ อบรมดา้ นอาชีพ ตามข้อ 18.2 ทไี่ ม่ไดร้ บั การ มีความตอ้ งการฝึกอบรมด้านอาชพี ก่ีคน ............................คน ฝึกอบรมดา้ นอาชพี ตามขอ้ 18.2 19.1 ครวั เรอื นนม้ี ีคนอายุ 15 - 59 ปี หรอื ไม่ ม.ี ......................คน ไมเ่ กนิ จานวนสมาชกิ 19.2 คนอายุ 15 - 59 ปี สามารถ อา่ น เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่างง่าย ไม่มี (ขา้ มไปข้อ 20) ท่ีไมไ่ ดร้ บั การ ไดท้ ุกคน ฝกึ อบรมด้านอาชีพ ได้ทกุ คน หรอื ไม่ ไมไ่ ด้...................คน ตามข้อ 18.2 19.3 คนอายุ 15 - 59 ปี ไม่สามารถอ่าน เขยี นภาษาองั กฤษได้ กี่คน ............................คน 2 คน 20.1 ครวั เรอื นน้ี มคี นอายุ 15 - 59 ปี หรือไม่ ม.ี ......................คน ไมม่ ี (ข้ามไปข้อ 21) ไม่เกิน 2 คน (ไมน่ บั รวมผูท้ ี่กาลังศกึ ษาอย่างเดียว โดยไมป่ ระกอบอาชพี และ คนพกิ ารที่ไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตนเองได)้ ไมเ่ กิน 2 คน 20.2 คนอายุ 15 - 59 ปี มอี าชพี และมรี ายได้ ทกุ คน หรอื ไม่ ไม่เกิน 2 คน 20.3 คนอายุ 15 - 59 ปี ทไี่ ม่มอี าชีพ ตามขอ้ 20.2 มีความสมคั รใจทจ่ี ะ ทกุ คน (ขา้ มไปขอ้ 21) คาตอบในทกุ ชอ่ งว่าง ประกอบอาชพี กี่คน ไมม่ ีอาชพี และไมม่ รี ายได้ บวกกันแล้วไมเ่ กิน .............................คน จานวนสมาชิก 21.1 ครวั เรือนนี้ มคี นอายุ 60 ปีขน้ึ ไป หรอื ไม่ ไมม่ ีอาชีพแตม่ รี ายได้ ตามข้อ 20.1 (ไมน่ บั รวมคนพิการท่ีไม่สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้) .............................คน 21.2 คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและมรี ายได้ ทุกคน หรอื ไม่ .....................คน คาตอบในช่องว่าง ไมเ่ กนิ ผลรวมของคาตอบ 21.3 คนอายุ 60 ปขี น้ึ ไปทไ่ี ม่มอี าชีพ ตามข้อ 21.2 มีความสมคั รใจทจี่ ะ มี.......................คน ในทกุ ช่องว่าง ตามขอ้ ประกอบอาชพี ไม่มี (ข้ามไปข้อ 22) 20.2 ทกุ คน (ขา้ มไปขอ้ 22) ไม่เกนิ 1 คน ไม่มีอาชพี และไมม่ ีรายได้ คาตอบในทุกชอ่ งว่าง ...................คน บวกกันแลว้ ไมเ่ กิน ไม่มอี าชีพแตม่ รี ายได้ จานวนสมาชกิ ...................คน ตามข้อ 21.1 .....................คน คาตอบในช่องวา่ ง ไมเ่ กินผลรวมของ คาตอบในทกุ ช่องว่าง ตามข้อ 21.2 38 38

ขอ้ คาถาม คาตอบ คาตอบในชอ่ งว่าง ทีส่ มเหตสุ มผล 22.1 รายไดเ้ ฉล่ยี = รายไดท้ ้งั หมดของครัวเรือน ...............................บาท จานวนคนท้งั หมด จานวนคนทง้ั หมดของครวั เรอื น .................................คน 5 คน ครัวเรือนมีรายไดเ้ ฉล่ียคนละ ......................บาทตอ่ ปี 22.4 1) ครวั เรอื นนมี้ หี นผี้ า่ นสถาบนั การเงนิ ไมม่ ี ไมเ่ กิน 3 คน มี.......................คน ...............................บาท ไม่มี ไม่เกิน 3 คน 2) ครัวเรอื นน้มี ีหน้ีนอกระบบ มี.......................คน 24 ทุกคนในครวั เรอื นน้ี ดม่ื สุรา หรือไม่ ...............................บาท - ต่ากว่า 15 ปี ไมด่ ่มื สุราทุกคน ดมื่ สรุ า ไมเ่ กิน 2 คน - ตา่ กวา่ 15 ป.ี ...........คน - 15-19 ปี ไมม่ ี - 15-19 ปี .................คน - 20 ปีขน้ึ ไป - 20 ปีขึน้ ไป ..............คน ไม่เกิน 3 คน ผู้ท่ดี ม่ื สรุ าเป็นผ้ทู ห่ี า รายได้หลักใหก้ บั ครวั เรือน ด่มื สรุ า เดอื นละ…….คร้งั 25 ทกุ คนในครัวเรอื นน้ี สูบบุหรี่ หรือไม่ (ยาสบู ยาเสน้ หรือยามวน) ไมส่ ูบบหุ รที่ กุ คน ไมเ่ กิน 5 คน สบู บหุ รี่...................คน ผ้ทู ่สี บู บุหรเี่ ป็นผูท้ หี่ า รายได้หลักใหก้ ับครวั เรอื น 26 ในรอบปีทผ่ี ่านมา คนในครัวเรือนทอ่ี ายตุ ้ังแต่ 6 ปีขึน้ ไป ไม่เกนิ 4 คน ได้ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทางศาสนาอย่างใดอยา่ งหนง่ึ หรอื หลายอย่าง ปฏบิ ตั ทิ ุกคน อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั หรือไม่ (เช่น การร่วมพธิ ีกรรมทางศาสนา ไมป่ ฏบิ ตั ิ..................คน การทาบุญ ตักบาตร ทาภาวนา/สมาธิ สวดมนต์ ฟังเทศน์ ฟังธรรม หรอื การทาละหมาด และการเขา้ โบสถ์ครสิ ต์ เปน็ ต้น) ไมม่ ี (ขา้ มไปข้อ 28) 1 คน 27.1 ครัวเรอื นนีม้ ผี สู้ ูงอายุ หรอื ไม่ (อายุ 60 ปขี ้นึ ไป) มี......................คน 27.2 ผสู้ ูงอายุ ไดร้ ับการดูแลเอาใจใส่ในชีวิตความเปน็ อยู่ ด้านอาหารการกิน ได้รบั ทุกคน ไมเ่ กิน 1 คน เส้อื ผา้ เครอ่ื งนุง่ หม่ และไดร้ บั การดูแลเมื่อยามเจ็บไขไ้ ด้ปว่ ย การดูแล ไมไ่ ดร้ บั ..............คน เอาใจใสด่ ้านสภาพจติ ใจจากคนในครอบครวั หมบู่ า้ นหรือชมุ ชน รวมทัง้ ไดร้ ับสวสั ดกิ ารชุมชนหรือเบ้ยี ยงั ชีพ จากภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน หรือไม่ 28.1 ครัวเรือนนี้มผี พู้ กิ าร หรือไม่ ไมม่ ี (ข้ามไปขอ้ 29) ไม่เกิน 5 คน มี......................คน 28.2 ผูพ้ ิการตามขอ้ 28.1 มีบตั รประจาตัวคนพกิ าร หรอื ไม่ มี......................คน คาตอบในแตล่ ะ ไม่ม.ี .....................คน ช่องว่าง บวกกนั แลว้ ไม่เกนิ จานวน ผูพ้ ิการในข้อ 28.1 3399

ข้อ คาถาม คาตอบ คาตอบในช่องว่างท่ี 28.3 ผพู้ ิการได้รับการดแู ลเอาใจใส่ในชวี ิตความเป็นอยู่ ดา้ นอาหารการกนิ ได้รบั ทกุ คน สมเหตุสมผล ไมไ่ ดร้ ับ..............คน เส้อื ผ้าเครอื่ งนุ่งหม่ และได้รบั การดูแลเมอ่ื ยามเจบ็ ไขไ้ ด้ป่วย การดแู ล ไม่เกนิ จานวนผพู้ กิ าร เอาใจใส่ด้านสภาพจติ ใจจากคนในครอบครวั หมบู่ า้ นหรอื ชมุ ชน ไม่มี (ขา้ มไปขอ้ 30) ในข้อ 28.1 รวมทง้ั ไดร้ บั สวสั ดิการชุมชนหรอื เบ้ียยังชพี จากภาครัฐ หรอื มี......................คน ภาคเอกชน หรอื ไม่ ไดร้ ับทุกคน ไม่เกนิ 5 คน 29.1 ครวั เรอื นนี้ มผี ปู้ ่วยโรคเรอ้ื รงั หรอื ไม่ ไม่ไดร้ บั ..............คน ไม่เกนิ จานวน ผู้ป่วยโรคเร้อื รงั 29.2 ผูป้ ่วยโรคเรอ้ื รงั ได้รบั การดแู ลเอาใจใส่ในชีวติ ความเป็นอยู่ ด้านอาหาร ในขอ้ 29.1 การกิน เสือ้ ผ้าเครอื่ งนุ่งหม่ และไดร้ บั การดแู ลเม่อื ยามเจ็บไข้ไดป้ ว่ ย ตอ้ งตอบทกุ ข้อในวงเล็บ การดูแลเอาใจใส่ดา้ นสภาพจติ ใจจากคนในครอบครวั หมบู่ า้ นหรอื 1) - 3) ชุมชน รวมท้งั ไดร้ บั สวัสดกิ ารจากภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรอื ไม่ ให้ตอบเพียงวงเลบ็ เดยี ว 1) หรือ 2) 31 31. ครอบครัวมีความอบอุ่น หมายเหตุ ใหเ้ ลือกตอบกรณีใดกรณหี น่ึง จากท้งั หมด 2 กรณี คอื 31.1 กรณีมีสมาชกิ 2 คนข้นึ ไป อยู่ในครวั เรอื นเดียวกนั 31.2 กรณอี ย่คู นเดียว 40 40

การใช้แบบสอบถาม และการกรอกขอ้ มูล 1. ใช้แบบสอบถาม จานวน 1 เล่มต่อ 1 ครัวเรอื น (ครัวเรือน หมายถึง ครอบครัวที่อย่ใู นบ้านเรือน เดียวกนั และ กินอยู่ดว้ ยกัน ครวั เรอื นหนึ่ง ๆ อาจมหี ลายครอบครัวก็ได้ ในกรณีทีแ่ ตล่ ะครอบครัว ไมไ่ ดก้ ินอย่ใู ช้จา่ ยรว่ มกนั ให้แยกแบบสอบถาม โดยไม่ใชบ้ ้านเลขทเี่ ดิม แต่ให้ขดี เคร่อื งหมาย  ในชอ่ งไม่มีบ้านเลขที่ และกรอกข้อมลู บา้ นข้างเคียง) 2. แบบสอบถามน้ีต้องใช้เก็บข้อมูลแต่ละปี รวม 5 คร้ัง คือ ปี พ.ศ.2560 - 2564 ฉะนั้นจึงควรเก็บ รักษาไว้ให้ดี ในทีป่ ลอดภยั ไม่ให้ฉกี ขาดสูญหาย โดยเฉพาะกรณีเกิดปญั หาน้าท่วม และปลวกกดั กิน 3. การกรอกข้อมลู หน้า 1 – 5 ใหก้ รอกขอ้ มูลเฉพาะปีทีจ่ ัดเก็บขอ้ มูลเทา่ น้ัน 4. คาตอบของขอ้ มลู แต่ละขอ้ มชี ่องใหก้ รอก 5 ชอ่ ง ให้กรอกเฉพาะช่องปีท่ีจัดเก็บข้อมลู เท่าน้นั 5. การตอบข้อมูล ใหข้ ีดเคร่ืองหมาย ลงใน หรอื หรอื ได้เลย 6. การตอบขอ้ มลู ใน................ ใหเ้ ตมิ ข้อมูลลงในช่องวา่ ง หรือ ถา้ ไมม่ ใี ห้ใส่ 0 7. การกรอกข้อมูลในแบบสรปุ คณุ ภาพชวี ติ ของครัวเรือน ปี 2560 - 2564 ใหใ้ ชเ้ คร่ืองหมาย ดังน้ี ขอ้ ทผี่ ่านเกณฑ์ใหข้ ีดเครื่องหมาย ข้อท่ียงั ไม่ผา่ นเกณฑ์ใหข้ ดี เครอ่ื งหมาย  ขอ้ ทีไ่ ม่มขี ้อมูลใหข้ ีดเครื่องหมาย - (พิจารณาควบคกู่ ับเกณฑต์ ัวชว้ี ัดในคู่มือ) 8. เม่ือบันทึกข้อมูลเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์/อุปกรณ์อื่น ๆ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เก็บแบบสอบถามน้ี ไว้ในท่ีปลอดภัย เพ่ือใช้ในการอ้างอิงและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล รวมท้ัง ใชจ้ ัดเก็บข้อมูลในปีตอ่ ไป ขอ้ ความว่า “ในรอบปที ่ีผา่ นมา” ทมี่ ีอยใู่ นแบบสอบถามเลม่ น้ี หมายถงึ “การนบั จากวันทส่ี อบถามขอ้ มลู ย้อนหลังไป 12 เดอื น” จังหวดั หรือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ สามารถเพ่มิ เตมิ เนอ้ื หาได้ ตามความเหมาะสมกับสภาพพ้นื ที่ โดยนาส่วนทเี่ พิ่มมาแทรกไว้ในแบบสอบถามชดุ น้ี 4141


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook