Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2แผนสังคมม.6 1-63 หน้าที่.doc

2แผนสังคมม.6 1-63 หน้าที่.doc

Published by กัลยากร เชวงสุข, 2021-04-08 02:24:24

Description: 2แผนสังคมม.6 1-63 หน้าที่.doc

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื ง ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ครกู ัลยากร เชวงสขุ กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21 จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหสั วิชา ส33101 ภาคเรยี นท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเมืองการปกครองของไทย เวลาเรยี น 5 ช่ัวโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ เวลาเรียน 5 ช่ัวโมง ครผู ้สู อน นางสาวกัลยากร เชวงสุข 1. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขของไทย เปน็ การปกครองที่มีหลักการ สำคัญในการใช้อำนาจอธปิ ไตยเพื่อประโยชนส์ ูงสุดของประชาชน โดยมพี ระมหากษัตริยเ์ ป็นศูนยร์ วมจิตใจของปวงชน ในการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยน้ัน มีปัญหาต่างๆ ซึ่งเป็นอปุ สรรคต่อการบริหารบ้านเมืองและ ประเทศ ซึ่งทุกฝา่ ยจะตอ้ งร่วมมือกันหาแนวทางแก้ไข 2. ตวั ช้ีวดั /จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ตัวชว้ี ดั ส 2.2ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศจากแหล่งข้อมูลต่างๆ พร้อมท้ังเสนอ แนวทางแก้ไข 2.2 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุขได้ 2. วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทยและเสนอแนวทางแก้ไขได้ 3. วิเคราะห์แนวทางในการสร้างความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้ • การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข - รูปแบบของรัฐ - ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษตั ริย์ • ปัญหาการเมอื งสำคัญท่เี กิดขน้ึ ภายในประเทศ • สถานการณ์การเมืองการปกครองของสงั คมไทย • อทิ ธิพลของระบบการเมืองการปกครองท่ีมีผลตอ่ การดำเนินชวี ติ 3.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ - ทกั ษะการคิดแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - กระบวนการทำงานกลุ่ม - กระบวนการสืบค้นขอ้ มูล 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

3.3 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 4. ภาระงาน : ชนิ้ งาน - ใบงาน 5. แนวทางการวัดผลประเมินผล วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.3 ใบงานที่ 1.3 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.4 ใบงานท่ี 1.4 ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.5 ใบงานท่ี 1.5 ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.6 ใบงานท่ี 1.6 สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ประเมนิ บทความวเิ คราะห์ แบบประเมนิ บทความวิเคราะห์ การเมืองการปกครองไทย การเมอื งการปกครองไทย สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 6. กิจกรรมการเรียนรู้ (วธิ สี อนโดยการจัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ : เทคนคิ การเรียนรว่ มกนั , เทคนิคคู่คิด)  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรอื่ ง ระบอบการเมืองการปกครองของไทย ชวั่ โมงที่ 1 1. ครใู หน้ ักเรยี นผลัดกนั เลา่ ความรูเ้ ดมิ เรื่อง ระบอบการปกครองแบบต่างๆ ไดแ้ ก่ - ระบอบเผดจ็ การ - ระบอบประชาธิปไตย 2. ครอู ธิบายใหน้ ักเรยี นเข้าใจถงึ หลักการสำคัญของการปกครองระบอบเผดจ็ การและการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย 3. ครแู บ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน

4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรเู้ รือ่ ง ลักษณะการเมอื งการปกครอง จากหนงั สอื เรยี น หรือหนังสือค้นควา้ เพิ่มเติม หรือแหล่งข้อมลู สารสนเทศตามความเหมาะสม ในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1) หลักการของระบอบประชาธปิ ไตย 2) หลกั การของระบอบเผดจ็ การ 5. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มผลดั กันอภปิ รายความรูท้ ่ีได้ศึกษา จนมีความเขา้ ใจกระจ่างชัดเจน 6. ครูแจกใบงานที่ 1.1 เร่อื ง การเมืองการปกครอง แลว้ ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าท่กี ันทำใบงาน แตล่ ะหวั ขอ้ ดังนี้ -สมาชิกคนที่ 1 อ่านคำสั่ง คำถาม หรอื ประเด็นคำถาม แยกแยะประเด็นให้ชดั เจน -สมาชกิ คนท่ี 2 ฟังขั้นตอน รวบรวมขอ้ มลู หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคำถาม -สมาชกิ คนท่ี 3 ตอบคำถาม หรือคำนวณหาคำตอบ -สมาชกิ คนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง 7. สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ จะหมนุ เวียนเปล่ยี นหน้าที่กนั ตอบคำถาม หรอื ประเด็นทกี่ ำหนด จนครบทกุ ข้อ 8. ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยคำตอบในใบงาน และชว่ ยกันสรุปความแตกต่างของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย กับระบอบเผดจ็ การ ช่ัวโมงท่ี 2 1. ครูต้ังคำถามเพื่อเปน็ การตรวจสอบความรู้ของนักเรียน เช่น - ประเทศท่ีเปน็ เอกรัฐ หรือรัฐเดีย่ ว ไดแ้ กป่ ระเทศใดบา้ ง แนวคำตอบ ไทย สิงคโปร์ ญี่ปนุ่ สเปน - ประเทศทเ่ี ป็นสหพันธรัฐ หรอื รฐั รวม ไดแ้ กป่ ระเทศใดบ้าง แนวคำตอบ สหรัฐอเมริกา สหพนั ธรัฐรสั เซยี มาเลเซยี 2. ครอู ธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจถึงความแตกต่างกันของรัฐเด่ียวหรอื เอกรฐั กับสหพันธรฐั หรอื รฐั รวม และสรุป ประเด็น ดังน้ี - รัฐเด่ียวหรือเอกรัฐ เป็นรัฐท่ีมีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียว ใช้อำนาจอธิปไตยปกครองดิน แดน ทั้งหมด อาจมีการกระจายให้ท้องถิน่ ได้บริหารกจิ การของท้องถิน่ ตามทรี่ ัฐบาลเห็นสมควร - รัฐรวมหรือสหพันธรฐั เป็นรัฐท่ีมรี ฐั บาลหลายระดับ คือ รฐั บาลกลาง และรฐั บาลทอ้ งถ่ิน ของแตล่ ะมลรัฐ 3. ครูเชอื่ มโยงเข้าสเู่ รือ่ ง รปู แบบของรฐั ไทย ซง่ึ เป็นรฐั เดย่ี ว มกี ารปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 4. นักเรยี นกลุม่ เดิมจากช่ัวโมงที่แล้วจับคู่กนั เปน็ 2 คู่ ช่วยกันศึกษาความรูเ้ รื่อง การใชอ้ ำนาจอธปิ ไตย จากหนงั สือเรียน แล้วชว่ ยกันทำใบงานท่ี 1.2 เรื่อง การใช้อำนาจอธิปไตย 5. นกั เรียนแต่ละคู่ของกลุ่มชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้องของใบงานและอธิบายความรู้ในประเดน็ สำคัญ ของคำตอบในแตล่ ะข้อ 6. ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั เฉลยคำตอบในใบงาน และสรุปประเด็นสำคญั ของการใช้อำนาจอธิปไตย ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุขทางรฐั สภา คณะรัฐมนตรี และศาล ชั่วโมงที่ 3 1. ครูให้นกั เรยี นชมวดี ิทัศนห์ รือภาพเกย่ี วกับพระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว รชั กาลปัจจุบัน แล้วให้นักเรียนผลัดกันแสดงความประทับใจในพระราชกรณียกิจของพระองค์ ครูอธิบายเชื่อมโยงให้ นักเรียนเข้าใจว่า พระราชกรณียกิจดังกล่าวนั้น จัดเป็นบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยท่ีปฏิบัติตามฐานะและพระ ราชอำนาจตามบทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย

2. นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุม่ ละ 4 คน ตามความสมัครใจ ให้แตล่ ะกลุ่มศกึ ษาความรเู้ ร่ือง ฐานะและ พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ จากหนังสือเรยี น 3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกนั ทำใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษตั รยิ ์ไทย 4. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ผลัดกันนำเสนอผลงานจากใบงาน แลว้ ให้กลุ่มทีม่ ีความคดิ เห็นต่างกนั ออกไป นำเสนอเพิม่ เตมิ โดยครูเปน็ ผู้ตรวจสอบความถูกต้อง 5. ครมู อบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจท่ีสำคัญของพระมหากษัตริย์ ไทย และพระบรมวงศานวุ งศ์ ทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาประเทศไทย ชัว่ โมงท่ี 4 1. ครสู นทนาซกั ถามนักเรียนถึงความพรอ้ มของนกั เรยี นแต่ละกล่มุ ท่ีไปสืบค้นหาความรู้เกยี่ วกับพระราช กรณียกิจสำคัญของพระมหากษตั ริยไ์ ทย และพระบรมวงศานวุ งศ์ ทม่ี ผี ลต่อการพฒั นาประเทศไทย วธิ กี ารสบื คน้ และการเบ่งหนา้ ท่กี นั ทำงานของนกั เรียน 2. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกันทำใบงานที่ 1.4 เรื่อง พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยไ์ ทย 3. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ เสนอผลงานต่อชัน้ เรยี น ดังน้ี - กลมุ่ ท่ี 1 นำเสนอผลงาน กลมุ่ ที่ 2 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม - กล่มุ ที่ 2 นำเสนอผลงาน กลมุ่ ที่ 3 แสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเตมิ - กล่มุ ท่ี 3 นำเสนอผลงาน กลมุ่ ที่ 4 แสดงความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ - กลมุ่ ที่ 4 นำเสนอผลงาน กลุม่ ที่ 5 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม - กลมุ่ ที่ 5 นำเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี 1 แสดงความคิดเหน็ เพ่ิมเติม 4. ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายความสำคัญและความจำเป็นท่ีต้องรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอ บ ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ช่วั โมงที่ 5 1. ครูนำข่าวหรือภาพกจิ กรรมทางการเมอื งการปกครองของประเทศต่างๆ ในโลก มาใหน้ กั เรยี นวิเคราะห์ เชน่ - การชมุ นมุ ประท้วงรัฐบาลของชาวตรุ กี - การเลือกตงั้ ประธานาธบิ ดขี องสหรัฐอเมริกา - การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศอังกฤษ ญ่ปี นุ่ - รัฐบาลพมา่ กกั บรเิ วณให้นางอองซาน ซจู ี อยภู่ ายในบรเิ วณบ้านพกั ของตนเอง 2. ครใู ห้นักเรยี นชว่ ยกันวิเคราะห์วา่ ข่าวหรอื ภาพข่าวดงั กลา่ วมผี ลต่อการดำเนินชีวติ ของประชาชนอยา่ งไร 3. ครูช่วยอธิบายสรุปให้นกั เรียนเข้าใจวา่ อทิ ธพิ ลของระบอบการเมืองการปกครองมผี ลตอ่ การดำเนินชีวิต ของประชาชน และการทปี่ ระเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยทำใหม้ ีผลต่อการดำเนินชีวติ ของประชาชน เชน่ - ประชาชนมีสิทธเิ สรีภาพเท่าเทยี มกัน - ประชาชนมีความสนใจในทางการเมือง - มกี ารรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจของกลมุ่ ที่มีอาชีพเดียวกัน - การรวมกล่มุ สร้างพลงั ความเขม้ แขง็ ตอ่ การอนุรักษ์สภาพแวดลอ้ มในชุมชนท้องถ่ิน

4. ครูแบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 6 คน คละกนั ตามความสามารถ คือ เกง่ ปานกลางคอ่ นขา้ งเกง่ ปานกลางคอ่ นขา้ งออ่ น และอ่อน และให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ ย่อย กลมุ่ ละ 3 คน ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มยอ่ ยชว่ ยกนั ทำใบงาน ดังนี้ - กลุ่มยอ่ ยที่ 1 ศึกษาสบื คน้ ความรู้เกยี่ วกับ ปัญหาทางการเมืองทส่ี ำคัญท่เี กิดขึน้ ในประเทศไทย และทำใบงานที่ 1.5 เรื่อง วเิ คราะห์ปญั หาการเมอื งไทย - กลมุ่ ยอ่ ยที่ 2 ศึกษาสบื ค้นความรูเ้ ก่ยี วกบั ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศไทยกบั ตา่ งประเทศ และทำใบงานที่ 1.6 เรื่อง การประสานประโยชน์รว่ มกันระหว่างประเทศ 5. ครใู ห้นกั เรียนสรุปความรจู้ ากเร่อื งทเ่ี รยี นตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 6. ทำแบบทดสอบหลงั เรียน 7. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 7.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน หนา้ ท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวติ ในสังคม ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4-6 2. ตวั อยา่ งสอ่ื ประกอบการสอน 3. ตวั อยา่ งข่าว 4. ใบงานที่ 1.1 เร่ือง การเมืองการปกครอง 5. ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง การใชอ้ ำนาจอธิปไตย 6. ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย 7. ใบงานที่ 1.4 เร่อื ง พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย 8. ใบงานท1ี่ .5 เร่ือง วิเคราะหป์ ัญหาการเมืองไทย 9. ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหวา่ งประเทศ 7.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - www.kullawat.net/civic/3.1.htm - www.dopa.go.th/history/polith.htm - th.wikipedia.org/wiki/ประชาธปิ ไตย

ตวั อยา่ งสื่อประกอบการสอน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เสด็จไปเย่ยี มเยียนราษฎรในท้องถนิ่ ต่างๆ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ตอ้ นรับพระราชอาคนั ตกุ ะ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว เสด็จไปประกอบพธิ ที างศาสนา

ใบงานที่ 1.1 เร่อื ง การเมืองการปกครอง คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนอธิบายข้อความทกี่ ำหนดให้ 1. หลกั การสำคญั ของ ระบอบประชาธิปไตย 2. หลักการสำคัญของ ระบอบเผด็จการ 3. รูปแบบของการ ปกครองระบอบ เผดจ็ การ 4. ความแตกตา่ งระหวา่ ง ระบอบเผด็จการ คอมมิวนสิ ต์ กบั ระบอบเผด็จการทหาร

ใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง การเมอื งการปกครอง เฉลย คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นอธบิ ายขอ้ ความที่กำหนดให้ 1. หลักการสำคัญของ 1. อำนาจอธปิ ไตย เป็นอำนาจทมี่ าจากประชาชน ระบอบประชาธิปไตย 2. ประชาชนมสี ทิ ธิมอบอำนาจปกครองใหแ้ ก่ประชาชนดว้ ยกันเอง โดยการออกเสียงเลือกตั้งประชาชนกลุ่มหน่ึงมาบรหิ ารประเทศแทน 3. รฐั บาลเคารพสทิ ธพิ ื้นฐานของประชาชน 4. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธเิ สมอกนั ในการที่จะไดร้ บั บรกิ ารทุกชนิด ทีร่ ัฐจัดใหแ้ กป่ ระชาชน 5. รฐั บาลถือกฎหมายและความเป็นธรรมเปน็ บรรทัดฐานในการปกครอง 2. หลกั การสำคัญของ 1. ผนู้ ำมีอำนาจสงู สุดในการปกครอง ระบอบเผดจ็ การ 2. การรกั ษาความมนั่ คงของผู้นำมคี วามสำคญั กว่าการคมุ้ ครองสิทธิ เสรภี าพของประชาชน 3. ผ้นู ำสามารถอยู่ในอำนาจไดต้ ลอดชีวติ หรอื เท่าที่ผ้รู ่วมงานหรอื กองทพั สนบั สนุน 4. รัฐธรรมนูญเปน็ แคเ่ พยี งรากฐานรองรับอำนาจของผ้นู ำ 3. รูปแบบของการ 1. ระบอบเผด็จการทหาร คณะผูน้ ำทหารเปน็ ผู้ใช้อำนาจเผด็จการ ปกครองระบอบ ในการปกครองโดยตรงหรือโดยออ้ ม เผดจ็ การ 2. ระบอบเผด็จการฟาสซสิ ต์ เนน้ ความสำคญั ของผู้นำวา่ มีอำนาจ 4. ความแตกต่างระหวา่ ง เหนอื ประชาชนท่ัวไป ระบอบเผด็จการ คอมมิวนสิ ต์ กบั 3. ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ มีพรรคคอมมิวนิสต์เพยี งพรรคเดียว ระบอบเผด็จการทหาร เป็นผู้ใช้อำนาจเผดจ็ การปกครองประเทศ ระบอบเผด็จการทหารจะควบคุมกจิ การทางการเมืองของประชาชน เทา่ นน้ั แต่ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนสิ ต์ จะใช้อำนาจเผดจ็ การควบคุม กิจกรรมและการดำเนนิ ชีวิตของประชาชนในทุกด้าน ทั้งดา้ นการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การใช้อำนาจอธปิ ไตย คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนนำหมายเลขหน้าข้อความดา้ นลา่ งมาใส่ในกรอบคำท่ีกำหนดใหด้ ้านบน ที่มีใจความสัมพันธ์กนั รฐั สภา สภาผูแ้ ทนราษฎร วุฒสิ ภา คณะรฐั มนตรี ศาลรฐั ธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง 1. ตรวจสอบการตรากฎหมายที่ขัดหรอื แย้งต่อรฐั ธรรมนูญ 2. พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติ 3. กำหนดนโยบายการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ และบริหารให้เป็นไปตามนโยบาย 4. พิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ขดั หรือแย้งตอ่ รัฐธรรมนญู หรือไม่ 5. มีอำนาจพิจารณาคดีแพง่ และคดีอาญาท่ีมกี ารอทุ ธรณ์คำพิพากษาจากศาลช้นั ต้น 6. บัญญตั กิ ฎหมายและยกเลิกกฎหมาย 7. มีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เก่ียวกับการเลือกตั้งและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งในการเลือกต้ังสมาชิกสภา ทอ้ งถ่ินและผู้บริหารท้องถิ่น 8. มีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9. บริหารราชการแผ่นดินสว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค และส่วนทอ้ งถน่ิ 10. มอี ำนาจพิจารณาพพิ ากษาคดพี ิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หนว่ ยงานของรัฐ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐกบั เอกชน อันเน่อื งมาจากการดำเนินกิจการการปกครองของหน่วยงานราชการ 11. เสนอและพิจารณากฎหมาย 12. ศาลชนั้ ตน้ ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎกี า 13. ควบคุมขา้ ราชการประจำให้นำนโยบายไปปฏิบตั ิ 14. ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือข้าราชการระดบั สงู ออกจากตำแหน่ง 15. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีในเรื่องเกี่ยวกับงานใน หน้าท่ี

ใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การใช้อำนาจอธปิ ไตย เฉลย คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนนำหมายเลขหน้าขอ้ ความดา้ นลา่ งมาใส่ในกรอบคำท่ีกำหนดให้ด้านบน ทีม่ ีใจความสัมพันธก์ ัน รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒสิ ภา 6 11, 15 1, 2, 14, 15 คณะรฐั มนตรี ศาลรฐั ธรรมนญู ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง 3, 9, 13 4 5, 7, 8, 12 10 1. ตรวจสอบการตรากฎหมายทข่ี ดั หรือแยง้ ต่อรฐั ธรรมนญู 2. พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั ิ 3. กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินและบริหารให้เป็นไปตามนโยบาย 4. พิจารณาร่างพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าขดั หรอื แย้งตอ่ รัฐธรรมนูญหรอื ไม่ 5. มอี ำนาจพจิ ารณาคดีแพ่งและคดีอาญาที่มกี ารอทุ ธรณ์คำพิพากษาจากศาลชน้ั ตน้ 6. บัญญัติกฎหมายและยกเลกิ กฎหมาย 7. มีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีท่ีเก่ียวกับการเลือกตั้งและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภา ทอ้ งถิ่นและผูบ้ ริหารท้องถ่ิน 8. มีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีท่ีเก่ียวกับการเลือกตั้งและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งในการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9. บริหารราชการแผน่ ดินส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค และสว่ นทอ้ งถิน่ 10. มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน อนั เนอ่ื งมาจากการดำเนินกจิ การการปกครองของหน่วยงานราชการ 11. เสนอและพิจารณากฎหมาย 12. ศาลชน้ั ตน้ ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎีกา 13. ควบคมุ ข้าราชการประจำใหน้ ำนโยบายไปปฏิบตั ิ 14. ถอดถอนผดู้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมืองหรือขา้ ราชการระดบั สูงออกจากตำแหนง่ 15. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการต้ังกระทู้ถามรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีในเรื่องเก่ียวกับงานใน หน้าที่

ใบงานท่ี 1.3 เรอื่ ง ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตรยิ ์ไทย ตอนที่ 1 คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์ภาพพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย แลว้ บรรยายใต้ภาพที่แสดงถงึ ความสำคญั ของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ไทย

ตอนที่ 2 คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พระมหากษัตริยไ์ ทยทรงมฐี านะและพระราชอำนาจตามรฐั ธรรมนูญอยา่ งไร 2. ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเหน็ ถงึ ความสำคัญและความจำเป็นทีต่ อ้ งดำรงไวซ้ ึ่งการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข

ใบงานท่ี 1.3 เรือ่ ง ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไทย ตอนท่ี 1 เฉลย คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนวิเคราะหภ์ าพพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย แลว้ บรรยายใตภ้ าพทีแ่ สดงถึง ความสำคญั ของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ไทย ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศ เป็นศูนย์รวม ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนปู ถัมภก จิตใจของประชาชนชาวไทย ให้ทุกคนรวมพลังกนั ทำ เป็นขวัญกำลังใจให้ประชาชนพระพฤติตนเป็นคนดี กิจกรรมตา่ งๆ ในการพฒั นาประเทศชาติ ทรงเสดจ็ ไปเยี่ยมราษฎรในภาคตา่ งๆ โดยเฉพาะใน ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย เป็นการสร้างขวญั และ ดินแดนทุรกันดาร ชว่ ยเหลอื ราษฎรผยู้ ากไร้ ตลอดทง้ั กำลงั ใจให้แกท่ หารในกองทัพได้ปฏิบตั ิหนา้ ที่ในการ ส่งเสริมการพฒั นาอาชีพ และสภาพความเปน็ อยขู่ อง ปกปอ้ งรักษาเอกราชของชาติไทย ราษฎร ทรงใช้อำนาจอธปิ ไตยผา่ นทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี ทรงเปน็ ตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการติดตอ่ กับ และศาล แสดงถึงความมั่นคงของการปกครองระบอบ ประมขุ ของต่างประเทศ เปน็ การสร้างความสัมพันธ์ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข ทีด่ ีงามกบั ตา่ งประเทศ

ตอนท่ี 2 คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี 1. พระมหากษัตรยิ ์ไทยทรงมีฐานะและพระราชอำนาจตามรฐั ธรรมนญู อย่างไร 1. ทรงอยู่ในฐานะประมขุ ของประเทศ โดยจะทรงใช้อำนาจอธปิ ไตยผ่านทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล 2. ทรงเปน็ กลางและทรงอยู่เหนือการเมือง 3. ทรงดำรงอยูใ่ นฐานะอันเป็นทเ่ี คารพสักการะ ผ้ใู ดจะละเมิดกล่าวหา หรือฟอ้ งรอ้ งพระมหากษัตรยิ ์ ในทางใดๆ มไิ ด้ 4. ทรงเปน็ พุทธมามกะ และทรงเปน็ อคั รศาสนปู ถมั ภก 5. ทรงดำรงตำแหน่งจอมทพั ไทย 6. ทรงเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการตดิ ต่อกบั ประมขุ ต่างประเทศ 2. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นท่ีต้องดำรงไว้ซ่ึงการปกค รองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 1. เป็นศูนย์รวมแห่งความสามัคคีของประชาชน เพ่ือทำกิจกรรมต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ประเทศ เมื่อมีเหตุการณ์ขัดแย้งกันข้ึน กลุ่มผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองแตกต่างกันหรือระหว่างผู้บริหารประเทศ ซึ่ง จะมีผลเสียต่อประเทศ พระองค์ก็ทรงแนะนำแนวทางที่เป็นประโยชน์และสามารถชี้นำให้ทุกฝ่ายสมานสามัคคีกันได้ ซึง่ ทำใหป้ ระชาชนอยอู่ ยา่ งเป็นสขุ 2. ทรงช้ีแนะเกี่ยวกับโครงการต่างๆ ที่เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของราษฎร เช่น โครงการเกี่ยวกับการพฒั นาแหลง่ น้ำ การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม การแก้ปัญหาภัยแล้ง ตลอดท้ังยังทรง พระราชทานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดำรงชวี ิตอยา่ งมคี วามสขุ ใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทย 3. ทรงมีพระราชกรณยี กิจในดา้ นการสร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ เชน่ การเสด็จไปเยือนประเทศต่างๆ การต้อนรับผู้นำหรือตัวแทนของประเทศต่างๆ ที่มาเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศไทยเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ตอ่ กัน ฯลฯ (หมายเหตุ นักเรียนอาจตอบเป็นอยา่ งอน่ื ตามความเหมาะสม ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน)

ใบงานที่ 1.4 เรอ่ื ง พระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย เฉลย คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นนำข้อมูลความรู้เก่ียวกับพระราชกรณียกิจของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยมาวเิ คราะห์ และตอบคำถามตามหัวข้อที่กำหนด ภาพพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริย์ไทย 1. พระราชกรณยี กจิ ท่สี ำคญั คืออะไร สอดคล้องกับฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยตาม บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างไร 2. พระราชกรณยี กิจดังกล่าวส่งผลดีตอ่ การพัฒนาประเทศ อย่างไรบา้ ง

ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริย์ไทย คำช้ีแจง ให้นักเรียนนำข้อมูลความรู้เก่ียวกับพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทยมาวเิ คราะห์ และตอบคำถามตามหวั ข้อท่ีกำหนด ภาพพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตริย์ไทย 1. พระราชกรณยี กิจท่ีสำคัญ คืออะไร สอดคล้องกับฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยตาม บทบญั ญัตขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างไร 2. พระราชกรณียกจิ ดงั กลา่ วส่งผลดตี อ่ การพฒั นาประเทศ อยา่ งไรบา้ ง (หมายเหตุ พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)

ตวั อย่างขา่ ว ออง ซาน ซจู ี ผู้นำฝา่ ยคา้ นพม่า ถูกศาลในเรอื นจำอนิ เสง่ พิพากษาว่ามีความผิดข้อหาละเมิดกฎ การกักบรเิ วณ สง่ ผลใหน้ างซูจีต้องถกู กกั ขังต่อไปอีก 1 ปี 6 เดือน นางออง ซาน ซูจี หัวหน้าพรรคสันนิบาตแห่งชาติ เพื่อประชาธิปไตย หรือ NLD (National League for Democracy) ถูกศาลในเรือนจำอินเส่งพิพากษาว่า มี ความผิด ข้อหาละเมิดกฎการกักบริเวณ ส่งผลให้นางซูจี ต้องถูกกักขังต่อไปอีก 1 ปี 6 เดือน โดย ทางการพม่า อนุญาตให้ผู้ส่ือข่าวในพม่าเข้าร่วมฟังการพิพากษาในชั้น ศาล โดยการพิพากษาในวันน้ี (11 ส.ค.) ศาลในเรือนจำ อินเส่งประกาศจำคุกนางซูจีต่อไปอีก 3 ปี แต่มีคำส่ังลด โทษให้เหลือเพียง 1 ปี 6 เดือน โดยนางซูจีจะถูกกัก บริเวณให้อยูแ่ ต่ในบา้ นพักในกรงุ ย่างก้งุ เหมือนท่ผี ่านมา อย่างไรก็ตาม ก่อนการพิพากษาจะเริ่มขึ้น นางซูจีได้เปิดเผยกับทนายความของเธอว่า เธอพร้อมท่ีจะเผชิญกับ สิ่งท่ีเลวร้ายท่ีสุดที่กำลังจะเกิดขึ้นกับเธอ ซ่ึงผลการพิพากษาเป็นไปตามท่ีนักการทูตในพม่าได้คาดการณ์ไว้ หลังการ พิจารณาคดนี างซจู ยี ดื เย้อื มาเป็นเวลาสองเดอื น หลายฝ่ายวิพากษ์วจิ ารณ์วา่ รัฐบาลพม่าใช้การบุกรกุ ของชายอเมริกันเปน็ เคร่อื งมือในการกักขังนางซูจี ในช่วงที่ จะมีการเลือกต้ังในปีหน้า ด้านทนายความของนางซูจีเปิดเผยว่า กฎหมายที่รัฐบาลพม่านำมาใช้ลงโทษนางซูจีนั้นไม่ สามารถใช้ได้แลว้ เนอ่ื งจากล้มเลกิ ไปแล้วเม่ือ 20 ปีก่อน และกล่าวว่า เจ้าหนา้ ที่รักษาความปลอดภยั ของทางการพม่า ควรรว่ มรับผิดชอบต่อเหตุการณ์ใน คร้ังน้ีด้วย เนื่องจากหละหลวมต่อหน้าที่โดยการปล่อยให้บคุ คลภายนอกบุกรกุ เข้า มาบรเิ วณ บา้ นพกั ของนางซจู ี ประชาชนในย่างกุ้งเปิดเผยว่า ในช่วงใกล้วันพิพากษานางซูจี ทางการพม่าได้เพ่ิมกำลังรักษาความปลอดภัย อย่างเข้มงวดทั่วกรุงย่างกุ้ง โดยมีเจ้าหน้าท่ีตำรวจคอยประจำการตามถนนหลายสายแม้ในช่วงเวลากลางคืน ขณะท่ี ส่ือท้องถิน่ ของพม่าประกาศห้ามประชาชนออกมาประท้วงหากทางการพิพากษา นางซูจีว่ามคี วามผดิ อย่างไรก็ตาม คดีนี้รัฐบาลทหารพม่าถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจากนานาชาติ ซึ่งทั้งสหรัฐอเมริกาและ สหภาพยุโรป หรือ EU (European Union) ได้ใช้มาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจเพ่ือต่อต้านการกักขังนักโทษ การเมืองกว่า 2,000 คน รวมถึงนางซจู ี ท่ีผ่านมา นางซูจี ผู้นำพรรคฝ่ายค้านคนสำคัญถูกรัฐบาลพม่าคุมขังเป็นเวลา 14 ปี ในช่วงระยะเวลา 20 ปี ของการถูกจับและถูกปล่อยตัว โดยในอดีต รัฐบาลพม่าไม่ยอมรับชัยชนะของนางซูจีในเลือกต้ังเมื่อปี 2533 แต่กลั บ ยึดอำนาจและจับกุมนักการเมือง นักเคลื่อนไหวและประชาชนท่ีไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลทหาร ประเทศพม่าอยู่ภายใต้ การปกครองโดยรัฐบาลเผด็จการทหารมายาวนานต้ังแต่ปี พ.ศ. 2505 และยังไม่มีทีท่าว่าจะยอมลงจากอำนาจจนถึง ปจั จุบัน ทม่ี า ศนู ย์ขา่ วสาละวิน แปลจากสำนักข่าว Aljazeera, 11 ส.ค.52 http://www.prachatai.com/journal/2009/08/25411 สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 27 มกราคม 2553

แบบประเมนิ บทความวิเคราะห์การเมอื งการปกครองไทย กลมุ่ ท.ี่ ................................................. .............................................................................. 2. .............................................................................. สมาชิกของกลุ่ม 1. .............................................................................. 4. .............................................................................. .............................................................................. 6. .............................................................................. 3. 5. คุณภาพผลงาน 432 1 ลำดับท่ี รายการประเมิน 1 การวเิ คราะห์ปัญหาการเมืองในประเทศ 2 การเสนอแนวทางการเมอื งการปกครอง 3 การวเิ คราะห์ความจำเป็นในการธำรงรกั ษาการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชือ่ ..............................................................................ผู้ประเมนิ ดมี าก = ......................./.........................../........................ ดี = พอใช้ = 4 ปรับปรงุ = 3 2 1 เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 1-3 ปรับปรุง

ใบงานที่ 1.5 เรอื่ ง วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นนำปัญหาการเมืองสำคญั ทเ่ี กดิ ขึ้นในประเทศไทยมาวเิ คราะห์ และตอบคำถาม ปัญหาเร่ือง สาระสำคัญ 1. ปัญหาขา้ งตน้ เปน็ ปัญหาดา้ นใด 2. สาเหตขุ องปัญหา คืออะไร 3. มแี นวทางแก้ไขอยา่ งไร 4. นักเรยี นจะมสี ่วนรว่ มในการแก้ปญั หาอย่างไรบา้ ง

ใบงานท่ี 1.5 เร่ือง วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย เฉลย คำช้แี จง ให้นักเรยี นนำปัญหาการเมืองสำคญั ท่เี กิดขน้ึ ในประเทศไทยมาวเิ คราะห์ และตอบคำถาม ปญั หาเร่ือง สาระสำคัญ 1. ปญั หาข้างตน้ เปน็ ปัญหาด้านใด 2. สาเหตขุ องปัญหา คอื อะไร 3. มแี นวทางแก้ไขอยา่ งไร 4. นกั เรียนจะมสี ว่ นรว่ มในการแก้ปญั หาอย่างไรบ้าง (หมายเหตุ พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของครูผูส้ อน)

ใบงานท่ี 1.6 เร่ือง การประสานประโยชน์ร่วมกนั ระหว่างประเทศ คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นนำข้อมลู ทสี่ ืบค้นมาเกย่ี วกับเร่ือง ความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศไทยกบั ตา่ งประเทศ มาวิเคราะห์ แลว้ ตอบคำถาม ปัญหาเรอ่ื ง สาระสำคญั 1. ข้อมลู /ขา่ ว เร่ือง 2. จากข้อมลู /ข่าวมีขอ้ ความแสดงถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศใด และมคี วามสัมพันธ์ด้านใด จงอธบิ าย 3. ความสมั พันธด์ งั กลา่ วมผี ลดีอยา่ งไร จงอธิบาย

ใบงานที่ 1.6 เรื่อง การประสานประโยชน์ร่วมกนั ระหว่างประเทศ เฉลย คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นนำข้อมูลทสี่ ืบค้นมาเกย่ี วกับเร่ือง ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศไทยกับตา่ งประเทศ มาวเิ คราะห์ แลว้ ตอบคำถาม ปัญหาเรอ่ื ง สาระสำคัญ 1. ขอ้ มลู /ขา่ ว เรอ่ื ง 2. จากข้อมูล/ขา่ วมีขอ้ ความแสดงถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศใด และมีความสัมพันธ์ด้านใด จงอธบิ าย 3. ความสมั พันธด์ ังกล่าวมผี ลดอี ยา่ งไร จงอธบิ าย (หมายเหตุ พจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน ให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน)

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ลำดบั ชอ่ื – สกุล ความร่วมมอื การแสดง การรบั ฟัง การตงั้ ใจ การร่วม รวม ที่ ของผ้รู บั การ 4321 ความคดิ เหน็ ความคิดเหน็ ทำงาน ปรบั ปรงุ 20 ผลงานกลมุ่ คะแนน ประเมนิ 4321 4321 4321 4321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 4 ลงช่ือ...................................................ผ้ปู ระเมนิ ดมี าก = 3 ............../.................../................ ดี = 2 พอใช้ = 1 หมายเหตุ ครอู าจใชว้ ิธีการมอบหมายใหห้ ัวหน้ากลมุ่ ปรับปรงุ = เปน็ ผปู้ ระเมนิ หรือใหต้ วั แทนกลมุ่ ผลดั กันประเมิน หรือใหม้ ีการประเมนิ โดยเพ่ือน โดยตัวนกั เรียนเอง เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 17 – 20 ดีมาก 13 – 16 ดี 9 – 12 5–8 พอใช้ ปรับปรงุ

แบบบันทึกหลงั การสอน หน่วยการเรยี นรู้ที่..........เร่ือง .......................................................................................................................... แผนการเรยี นรทู้ ่ี...........เรอื่ ง……………………………………………………..………………..จำนวน..………………….ชั่วโมง ผลการใช้แผนการเรยี นรแู้ ละแนวทางพฒั นา 1. ระยะเวลาทใี่ ช้ ใชเ้ มอ่ื ……………………………………………………………………………………………………………..…….. ผลการใช้  พอเพียงตามแผน  ไม่เพียงพอและไมต่ รงตามแผนเพราะ…………………………… ควรแก้ไขปรับปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 2. ผลการเรียนรู้ ควรแก้ไขปรับปรุงคือ…………………………………………………………………………………… 3. สาระการเรยี นรู้  สอดคล้องกบั ผลการเรียนรู้  ไม่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ ควรแก้ไขปรบั ปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 4. กระบวนการเรยี นรู้  เปน็ ไปตามกระบวนการ  ไม่เปน็ ไปตามกระบวนการ ควรแกไ้ ขปรบั ปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 5. สอื่ การเรียนรู้  เปน็ ไปตามกระบวนการ  ไมเ่ ปน็ ไปตามกระบวนการ 6. เครื่องมือวดั ผลประเมินผล  สอดคลอ้ งกับมาตรฐานตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง  ไมส่ อดคล้องกบั มาตรฐานตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง ควรแกไ้ ขปรบั ปรุงคือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… บันทึกผลการเรยี นร้ตู ามแผนการเรียนรู้เพอื่ จัดทำวิจัยในชั้นเรยี นหรือแก้ปญั หาด้านอืน่ ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชือ่ )……………………………………………...….ผู้ใชแ้ ผนการเรียนรู้ (นางสาวกัลยากร เชวงสขุ ) ตำแหนง่ ครู คศ.1 ขอ้ เสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุ่มงานวิชาการ ขอ้ เสนอแนะของผู้อำนวยการสถานศึกษา ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ลงช่ือ................................................. ลงช่ือ................................................. (นางกนกลกั ษณ์ แปงมูล) (นายคฤงคาร ใจปันทา) ครู ชำนาญการพิเศษ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คำชแี้ จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พึงประสงค์ 43 2 1 1. รักชาติ 1.1 ยืนตรงเมอื่ ไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีของนกั เรยี น 1.3 ให้ความรว่ มมอื ร่วมใจ ในการทำงานกบั สมาชิกในชั้นเรยี น 2. ซอื่ สัตย์ 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทสี่ รา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน สุจริต และชมุ ชน 1.5เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบัติตนตามหลกั ของศาสนา 3. มีวนิ ยั 1.6 เข้ารว่ มกิจกรรมท่เี กี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามทโ่ี รงเรียนและชุมชน รบั ผดิ ชอบ จดั ขน้ึ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 2.1 ใหข้ ้อมูลท่ีถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ตั ิในส่ิงที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ท่ีจะทำความผิด ทำตามสัญญาที่ตน 5. อยู่อยา่ ง ใหไ้ ว้กบั เพื่อน พอ่ แม่หรือผู้ปกครอง และครู พอเพยี ง 2.3 ปฏบิ ัตติ ่อผู้อน่ื ดว้ ยความซอื่ ตรง 3.1 ปฏิบตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั และโรงเรียน มี ความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน 4.1 แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ การเรียนรตู้ ่างๆ 4.2 มกี ารจดบนั ทึกความรู้อย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรู้ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล 5.1 ใชท้ รัพยส์ ินของตนเอง เชน่ สง่ิ ของ เคร่ืองใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และ เก็บรกั ษาดูแลอย่างดี และใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม 5.2 ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มคา่ และเกบ็ รกั ษาดูแลอยา่ งดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล 5.4 ไม่เอาเปรยี บผอู้ ืน่ และไม่ทำใหผ้ อู้ ่ืนเดือดร้อน พร้อมใหอ้ ภัยเมื่อผู้อนื่ กระทำ ผดิ พลาด 5.5 วางแผนการเรยี น การทำงานและการใชช้ ีวิตประจำวันบนพ้นื ฐานของความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร 5.6 รเู้ ทา่ ทันการเปล่ียนแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรบั และปรบั ตวั อยู่ร่วมกับผู้อืน่ ได้อยา่ งมีความสุข

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อนั พึงประสงค์ 4321 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมาย 6. มงุ่ มนั่ ในการ 6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสำเรจ็ ทำงาน 7.1 มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 7. รกั ความเปน็ 8.1 รจู้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน ไทย 8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ชว่ ยทำ และแบง่ ปนั สิ่งของใหผ้ อู้ ่นื 8.3 รจู้ ักดแู ล รักษาทรพั ย์สมบัติและสิ่งแวดลอ้ มของห้องเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน 8. มจี ติ สาธารณะ 8.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรยี น ลงชื่อ ....................................................ผูป้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน 191 - 108 ดีมาก 73 - 90 ดี 54 - 72 พอใช้ ตำ่ กวา่ 54 ปรับปรุง

แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น คำชี้แจง ให้นกั เรียนเลอื กคำตอบท่ีถูกต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว 1. หลกั การสำคัญของระบอบประชาธปิ ไตยมหี ลาย 6. ประเทศท่ีมีรปู แบบของรฐั เดยี่ ว คอื ประเทศใด ประการ ยกเว้นข้อใด ก. สงิ คโปร์ ไทย ญีป่ นุ่ ก. อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศเป็นของ ข. รัสเซยี มาเลเซีย ญป่ี ุ่น ประชาชน ค. ไทย จนี อนิ เดีย ข. ประชาชนมีสทิ ธมิ อบอำนาจปกครองใหแ้ ก่ ง. ญ่ปี ุ่น สหรฐั อเมริกา สิงคโปร์ ประชาชนดว้ ยกนั 7. ลักษณะของสหพันธรฐั หรือรฐั รวม เป็นอยา่ งไร ค. รฐั บาลต้องเคารพสิทธิ และเสรภี าพขั้นพ้ืนฐาน ก. รฐั บาลท้องถน่ิ มีอำนาจในกจิ การที่เป็น ของประชาชน ประโยชน์ต่อสว่ นรวม ง. รัฐบาลมีสทิ ธอิ อกกฎหมายเพื่อควบคุมความสงบ ข. รฐั บาลกลางมอบนโยบายการปกครองใหแ้ ต่ละ ของประเทศเมื่อมกี ารตอ่ ต้าน ท้องถนิ่ ดำเนินการ 2. ข้อใดเป็นหลักการสำคัญของระบอบเผด็จการ ค. รฐั บาลกลางเป็นผูใ้ ชอ้ ำนาจในกิจการทหาร การ ก. ผู้นำหรือกลมุ่ ผนู้ ำมีอำนาจสงู สุดในการปกครอง ต่างประเทศ การคลัง ประเทศ ง. รฐั บาลทอ้ งถน่ิ มคี วามสำคัญต่อการบริหาร ข. ประชาชนวพิ ากษ์วจิ ารณร์ ฐั บาลทอ่ี ยู่ในวาระได้ ประเทศและแก้ปัญหาไดร้ วดเร็ว หลายสมยั 8. อำนาจหน้าท่ีของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมหี ลาย ค. ประชาชนวิพากษว์ ิจารณ์การกระทำของรฐั บาล ประการ ยกเวน้ ข้อใด ภายในขอบเขต ก. เสนอและพิจารณากฎหมาย ง. รัฐธรรมนญู เป็นกฎหมายสูงสดุ ในการปกครอง ข. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดนิ ประเทศผา่ นความเห็นชอบของรฐั สภา ค. ควบคุมการตรากฎหมายท่ีขัดหรือแยง้ ต่อ 3. ระบอบเผดจ็ การทหาร มีลักษณะอย่างไร รฐั ธรรมนูญ ก. ผนู้ ำเป็นทหารท่มี ีอำนาจในการปกครองประเทศ ง. ถอดถอนผดู้ ำรงตำแหนง่ ทั้งทางการเมืองและ ข. ใชก้ ฎอัยการศึกเปน็ กฎหมายในการปกครอง ข้าราชการประจำ ประเทศ 9. ขอ้ ใดกล่าวถึงอำนาจหนา้ ที่ของสมาชิกวุฒสิ ภาได้ ค. มพี รรคการเมืองภายใต้การกำกบั ของรฐั สภา ถกู ต้อง เพียงพรรคเดียว ก. พิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั ิ ง. ควบคมุ กจิ กรรมทางการเมอื งและการดำเนินชีวติ ข. กลั่นกรองงบประมาณแผ่นดนิ ของประชาชน ค. เสนอกฎหมายทเี่ ก่ียวกับความมั่นคง 4. ระบอบเผดจ็ การแบบใด ท่ีเช่อื ว่าจะชว่ ยทำให้ชนช้นั ง. ควบคุมการบริหารงานในหน่วยงานของรฐั กรรมาชพี เป็นอิสระจากการกดขขี่ องนายทุน 10. หน้าทใ่ี นการกำหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการ ก. ระบอบเผด็จการทหาร แผ่นดนิ คอื ใคร ข. ระบอบเผดจ็ การพลเรือน ก. คณะรัฐมนตรี ข. องคมนตรี ค. ระบอบเผดจ็ การฟาสซสิ ต์ ค. สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร ง. สมาชิกวฒุ สิ ภา ง. ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนสิ ต์ 11. หน่วยงานใดทเี่ ป็นองค์กรปกครองท้องถน่ิ รูปพเิ ศษ 5. ระบอบเผดจ็ การแบบเบ็ดเสร็จ หมายถึงข้อใด ก. เทศบาล ก. ระบอบเผดจ็ การทหาร ข. กรุงเทพมหานคร ข. ระบอบเผดจ็ การพลเรอื น ค. องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด ค. ระบอบเผดจ็ การคอมมวิ นิสต์ ง. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล ง. ระบอบเผด็จการฟาสซสิ ต์

12. ศาลใดมอี ำนาจพิจารณาและวินจิ ฉยั คดีท่ีเก่ียวกับการ 17. การทป่ี ระเทศไทยเปน็ สมาชิกองคก์ ารสหประชาชาติ เลือกตัง้ มผี ลดีอยา่ งไร ก. ศาลฎีกา ข. ศาลช้นั ตน้ ค.ศาลปกครอง ง. ศาลรฐั ธรรมนูญ ก. ได้รับความช่วยเหลอื ทางการเมืองการปกครอง 13. ศาลใดมีอำนาจพิจารณา พิพากษาคดพี ิพาทระหวา่ ง หน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รฐั วสิ าหกิจ องค์กร ข. ประเทศไทยไดเ้ ปรียบประเทศอื่นในดา้ น ปกครองสว่ นท้องถ่นิ เจ้าหน้าท่ีของรฐั กบั เอกชน ก. ศาลยุตธิ รรม ข. ศาลทหาร เศรษฐกจิ ค. ศาลปกครอง ง. ศาลรฐั ธรรมนญู 14. ขอ้ ใดกลา่ วถึงฐานะและพระราชอำนาจของ ค. การเมอื งการปกครองระบอบประชาธิปไตยมี พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยไม่ถูกต้อง ก. ทรงเป็นตัวแทนปวงชนชาวไทยในการตดิ ต่อกบั ความมนั่ คง ประมุขของต่างประเทศ ข. ทรงอยใู่ นฐานะอนั เปน็ ทเ่ี คารพสกั การะ ง. มสี ่วนร่วมในการสง่ เสรมิ สันติภาพและความ ค. ทรงอยู่ใต้กฎหมายแต่อยู่เหนือการเมอื ง ง. ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ม่ันคงระหวา่ งประเทศ 15. อิทธพิ ลของระบอบการเมอื งการปกครองมผี ลตอ่ การ ดำเนนิ ชวี ติ ของคนไทยอยา่ งไร 18. ประเทศไทยมีสว่ นสำคญั ในฐานะประเทศรว่ มกอ่ ต้ัง ก. มกี ารรวมกลุ่มกันในดา้ นต่างๆ เพ่อื เรยี กรอ้ งสทิ ธิ บางประการท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม องค์การระหว่างประเทศหลายองค์กร ยกเว้นขอ้ ใด ข. มคี ่านยิ มที่เปลี่ยนแปลงท้ังในด้านดีและดา้ นไม่ดี กระทบต่อการรวมพลงั สามคั คี ก. องค์การการค้าโลก ข. องค์การสหประชาชาติ ค. ประชาชนให้ความสำคัญต่อท้องถิน่ มากกว่า ส่วนรวมของประเทศ ค. อาเซยี น ง. อาฟต้า ง. ประชาชนมีความเบื่อหนา่ ยในการร่วมกิจกรรม ทางการเมอื ง 19. การทป่ี ระเทศไทยเข้าเป็นสมาชกิ ขององคก์ ารการค้า 16. ขอ้ ใดเปน็ ปัญหาทางการเมืองทสี่ ง่ ผลกระทบต่อการ พัฒนาประเทศ โลก มีผลดีอยา่ งไร ก. การเปล่ียนแปลงรัฐบาลบอ่ ยก่อนครบกำหนด วาระการดำรงตำแหนง่ ก. ประเทศอนื่ ให้ความสำคัญต่อสนิ คา้ ไทย ข. ความคิดเห็นทางการเมืองแตกตา่ งกัน ค. พรรคการเมืองมนี โยบายตา่ งกนั ข. ระงบั ข้อพิพาททางการค้ากับประเทศเพื่อนบา้ น ง. มีองค์กรอสิ ระมากเกินไป ค. สามารถผลิตสนิ คา้ ส่งไปจำหน่ายยังต่างประเทศ ได้มาก ง. มีการปรับปรงุ มาตรฐานการผลิตสนิ คา้ และ บริการให้เป็นไปตามหลักสากลมากขน้ึ 20. การทีป่ ระเทศไทยมีความขดั แยง้ ระหว่างรัฐบาลกบั ประชาชนนอ้ ยกว่าประเทศอื่น เน่อื งจากปจั จัยสำคญั ในข้อใด ก. มีสถาบนั พระมหากษัตริยเ์ ปน็ ศนู ยร์ วมแหง่ ความสามคั คขี องคนในชาติ ข. ทหารมีพลังอำนาจในการประสานและยุติความ ขัดแย้ง ค. พรรคการเมืองเขม้ แขง็ ในการรว่ มมอื กันแก้ปญั หา ง. ประชาชนไม่สนใจการเมืองการปกครอง เฉลย 1. ง 2. ก 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ค 8. ง 9. ก 10. ก 11. ข 12. ก 13. ค 14. ค 15. ก 16. ก 17. ง 18. ข 19. ง 20. ก

แผนการจดั การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหสั วชิ า ส33101 ภาคเรยี นที่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 การประสานประโยชน์ทางการเมืองระหว่างประเทศ เวลาเรียน 5 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 การประสานประโยชน์ร่วมกันระหวา่ งประเทศ เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง ครผู ู้สอน นางสาวกัลยากร เชวงสุข 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษามุ่งการฝึกอบรมตนให้พัฒนางอกงามด้านกาย ศีล และจิตใจ ซงึ่ มีกระบวนการพฒั นาตนอยา่ งเป็นระบบ 2. ตวั ชว้ี ัด/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 ตัวช้ีวัด ส 2.2ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์ ร่วมกันระหว่างประเทศ 2.2 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมาย ความสำคัญ การดำเนินความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศและกรอบนโยบาย ต่างประเทศของประเทศไทย (K) 2. วเิ คราะหก์ ารดำเนินความสมั พนั ธ์และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหวา่ งประเทศ (P) 3. เหน็ ความสำคัญของการดำเนินความสัมพันธ์และการประสานประโยชน์ร่วมกนั ระหว่างประเทศ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้ • การประสานประโยชน์ร่วมกนั ระหวา่ งประเทศ 3.2 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2.ใฝเ่ รยี นรู้ 3.มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. ภาระงาน : ชน้ิ งาน - ถอดองค์ความรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. แนวทางการวัดผลประเมินผล • การประเมนิ การเรียนรู้ 1. ประเมินความรู้ เรื่อง การประสานประโยชน์รว่ มกันระหวา่ งประเทศ (K) ดว้ ยแบบทดสอบ 2. ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ่ (P) ดว้ ยแบบประเมนิ 3. ประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดา้ นใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน (A) ด้วยแบบประเมิน

• แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics) - แบบประเมินกระบวนการทำงานกล่มุ รายการการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน 4321 กระบวนการ มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท ไมม่ ีการกำหนด ทำงานกลุ่ม สมาชกิ ชัดเจน และมี สมาชกิ ชดั เจน เฉพาะหวั หน้าไม่มกี าร บทบาทสมาชิก การชีแ้ จงเปา้ หมาย มกี ารชี้แจงเปา้ หมาย ชีแ้ จงเป้าหมายอย่าง และไม่มกี ารชแี้ จง การทำงาน มีการ อยา่ งชัดเจนและ ชัดเจนปฏิบตั งิ าน เปา้ หมาย สมาชิก ปฏิบตั งิ านร่วมกัน ปฏิบตั ิงานร่วมกนั รว่ มกันไม่ครบทกุ คน ตา่ งคนต่างทำงาน อย่างร่วมมือร่วมใจ แตไ่ ม่มกี ารประเมนิ พร้อมกบั การประเมิน เปน็ ระยะ ๆ เป็นระยะ ๆ 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นสงั เกต รวบรวมขอ้ มูล (Gathering) 1. นักเรียนพจิ ารณาขา่ วเกี่ยวกับความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศไทยและประเทศต่างๆ ทว่ั โลก แล้วร่วมกนั สนทนา โดยใช้คำถาม ดงั นี้ เอกอคั รราชทตู จีนประจำประเทศไทยระบวุ ่าในปี 2017 มีนกั ทอ่ งเทีย่ วจนี เดนิ ทางมายังประเทศไทย 9.8 ล้านคน เฉพาะในช่วงตรุษจนี มจี ำนวนกว่า 3.3 แสนคน และจนี ยังเป็นคู่ค้าอนั ดับหน่ึงของไทยตดิ ต่อกนั มาหลายปี โดยสินค้าส่งออกสำคัญ คือ ข้าวและยางพารา นอกจากนี้โครงการรถไฟไทย-จีน ถือเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญ โดยทางการจีนยินดีผลกั ดนั ใหโ้ ครงการดังกลา่ วกอ่ สรา้ งเสรจ็ โดยเร็วท่สี ดุ เพื่อทจ่ี ะสามารถสร้าง ประโยชน์ให้ประชาชนตามแนวทางรถไฟ โดยหลงั จากน้ที ั้งสองประเทศจะส่งเสรมิ แลกเปลีย่ นการไปมาหาสู่ ระหว่างกัน เชน่ การศึกษาดูงานและการทศั นศึกษา ตลอดจนความบันเทิงต่างๆ เพอื่ เปิดโอกาสใหป้ ระชาชน เรียนรู้วฒั นธรรมซงึ่ กันและกัน จึงจะสามารถตอ่ ยอดพัฒนาความสมั พันธร์ ะหว่างไทย-จีนให้ใกล้ชิดยง่ิ ขึ้น ในอนาคต • จากขา่ ว เป็นความร่วมมือทางดา้ นใด (ตวั อย่างคำตอบ ด้านเศรษฐกิจ การท่องเทยี่ ว และดา้ นการพฒั นาเทคโนโลยแี ละวัฒนธรรม) • จากข่าว ก่อให้เกดิ ประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ สร้างรายได้เข้าประเทศมากข้นึ และจีนยังชว่ ยพฒั นาระบบคมนาคมขนสง่ ทางรถไฟของไทยให้สะดวกสบายมากยง่ิ ขน้ึ ) 2. นกั เรยี นอภิปรายเป็นความร้รู ่วมกันเกีย่ วกบั ความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศว่า หมายถงึ กระบวนการของการเขา้ ไปเก่ยี วข้องกนั อยา่ งเปน็ ทางการของประเทศต้งั แต่ 2 ประเทศขึน้ ไป ในประเดน็ ตา่ งๆ โดยมีประมุขของประเทศ หรอื ผนู้ ำทางการเมอื งของประเทศเปน็ ผู้ดำเนินการ 3. นักเรยี นศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเร่ือง การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างประเทศ จากหนงั สอื เรยี นและแหล่งการเรียนรอู้ น่ื ๆ เพิม่ เตมิ

ข้นั คิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้ (Processing) 4. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การประสานประโยชนร์ ว่ มกนั ระหว่างประเทศ โดยใช้คำถาม ดังน้ี • การประสานประโยชน์คอื อะไร (การรว่ มมอื กัน เพ่อื รกั ษาและปกปอ้ งผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความขดั แยง้ ที่มาจากการแข่งขันทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ) • เพราะเหตใุ ด ประเทศไทยตอ้ งมีความสัมพันธ์กบั ประเทศอนื่ (ตัวอยา่ งคำตอบ เพราะมนุษย์ในสังคมต้องอยรู่ ่วมกัน และพง่ึ พาอาศัยกัน โดยเฉพาะในสังคมโลก จงึ ต้องมีความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ) • ปจั จัยอะไรบ้างที่สง่ ผลใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ (เศรษฐกิจ การเมือง สังคม วฒั นธรรม ความมน่ั คง การเชือ่ มสมั พันธไมตรี นวตั กรรม) • ประเทศไทยมคี วามไดเ้ ปรยี บหรอื เสยี เปรยี บในการสรา้ งความสมั พนั ธ์ด้านเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพ่อื นบ้านอยา่ งไร (ตวั อยา่ งคำตอบ ได้เปรียบ เพราะสินค้าบางประเภท ประเทศเพือ่ นบ้านต้องส่ังจากประเทศไทย) 5. นกั เรียนวิเคราะหเ์ ก่ียวกับองคป์ ระกอบของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แลว้ สรุปความรู้ เปน็ แผนภาพความคดิ ดงั ตัวอย่าง การดำเนนิ การของรัฐ การซอ้ื ขายแลกเปลี่ยน การเมือง การรกั ษาระเบยี บ กฎเกณฑ์ เศรษฐกิจ องค์ประกอบ สังคม นวตั กรรม ของความสัมพนั ธ์ ความม่นั คง ระหว่างประเทศ วทิ ยาศาสตร์ การเช่อื มสัมพนั ธไมตรี รกั ษาเสถียรภาพของประเทศ และเทคโนโลยี ความสมั พนั ธ์ทางการทตู

6. นักเรียนวิเคราะห์เกี่ยวกับความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แล้วสรุปความรู้เป็นแผนภาพ ความคดิ ดังตวั อยา่ ง การชว่ ยเหลอื ทางการเมือง ของกล่มุ ประเทศ การแลกเปลี่ยนสินคา้ ความสำคญั การวางนโยบายปอ้ งกนั ท่ีจำเปน็ หรือขาดแคลน ของความสัมพนั ธ์ ปญั หาสงั คมร่วมกัน ระหว่างประเทศ ระหวา่ งกัน การรกั ษาสันตภิ าพ การแลกเปลีย่ น ระหวา่ งประเทศ การรว่ มกนั พัฒนาเทคโนโลยี ศิลปวฒั นธรรมรว่ มกนั และนวัตกรรม เพ่อื พฒั นา ความเจริญ 7. นักเรยี นจำแนกองคป์ ระกอบของการดำเนนิ ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศของไทย แลว้ สรปุ ความรเู้ ปน็ แผนภาพความคดิ ดังตวั อยา่ ง องคป์ ระกอบภายในประเทศ องค์ประกอบของการดำเนนิ การเมืองภายในประเทศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง เศรษฐกจิ ภายในประเทศ ประเทศของไทย อุดมการณข์ องชาติ สภาพภมู ิศาสตร์ของประเทศ องค์ประกอบภายนอกประเทศ การแข่งขนั เพื่อขยายอำนาจของมหาอำนาจ การขัดแย้งทางอุดมการณ์ของมหาอำนาจ การเปลีย่ นแปลงทางการเมืองและการทหารในเอเชยี ผลประโยชนข์ องชาติ 8. นักเรยี นคิดประเมนิ เพ่ือเพม่ิ คุณค่า แล้วสรุปเป็นความคดิ รวบยอด โดยใช้คำถาม ดงั นี้ • การดำเนินความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศมีประโยชนต์ อ่ ประเทศไทยอย่างไร (ตวั อย่างคำตอบ ช่วยปกปอ้ งผลประโยชน์ของประเทศ ระงับความขดั แย้งท่มี าจากการแข่งขัน ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ )

ข้ันปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรหู้ ลงั การปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge) 9. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม เพอ่ื ศกึ ษาค้นคว้าขา่ วตา่ งประเทศทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการดำเนนิ ความสัมพนั ธ์ ระหว่างประเทศไทย แลว้ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามประเด็นทก่ี ำหนด ดังน้ี • องคป์ ระกอบภายใน • องค์ประกอบภายนอก • ผลประโยชนข์ องชาติ จากนั้นสรปุ ความรู้ แล้วบันทกึ ลงในแบบบนั ทึก ดงั ตวั อยา่ ง แบบบนั ทึกการดำเนนิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศไทย • ประเดน็ ที่ศึกษา (ความสัมพนั ธท์ างทหารไทย-สหรฐั อเมริกา ปี 2018) • องค์ประกอบภายใน (เนื่องจากการเมืองภายในประเทศไทยไดเ้ ปล่ียนไปตัง้ แตร่ ัฐประหาร ใน ค.ศ. 2014 ทำใหส้ หรฐั อเมริกาตดั งบประมาณความช่วยเหลือทางทหารตอ่ ไทย ฝ่ายทหาร ไทยจงึ มองวา่ สหรัฐอเมริกาเปน็ มหาอำนาจทอ่ี าจเปน็ ภยั คุกคามในอนาคต) • องคป์ ระกอบภายนอก (การเปล่ยี นแปลงทางการเมอื งทำใหร้ ัฐบาลทหารของไทย ตอ้ งมีการเปล่ียนนโยบายทางทหารใหม่ โดยมีการรบั เอาหลักนิยมทางทหารของสหรัฐอเมรกิ า มาปรบั ใช้ และมีการซ้อมรบร่วมกบั สหรฐั อเมรกิ า) • ผลประโยชนข์ องชาติ (เพ่ือปอ้ งกนั เอกราชของประเทศ และให้ประเทศมีความมัน่ คงปลอดภัย จากการคุกคามของมหาอำนาจ) 10. นกั เรียนตรวจสอบความถกู ต้องเรียบร้อยของผลงาน หากพบข้อผิดพลาดใหป้ รับปรงุ แกไ้ ข ให้ดีข้นึ 11. นักเรียนรว่ มกนั สรุปสิ่งทเี่ ขา้ ใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดังนี้ การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศเป็นการร่วมมือกันเพ่ือรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของ ประเทศตนกับประเทศอื่นๆ เพื่อลดหรือระงับความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อกี ดว้ ย ขั้นสอื่ สารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill) 12. นกั เรยี นออกมานำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียน 13. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน ท่ีมีแบบแผน ขั้นประเมนิ เพอื่ เพ่ิมคุณค่าบรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 14. นักเรียนประเมินตนเอง โดยเขยี นแสดงความรสู้ กึ หลงั การเรียนและหลังการทำกจิ กรรมในประเด็น ต่อไปน้ี • สิ่งที่นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้ในวันน้คี อื อะไร • นกั เรียนมีส่วนรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากนอ้ ยเพียงใด • เพ่ือนนกั เรยี นในกลุ่มมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมในกล่มุ มากนอ้ ยเพยี งใด • นกั เรียนพอใจกบั การเรยี นในวนั นห้ี รอื ไม่ เพียงใด • นักเรียนจะนำความรู้ท่ีได้นี้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนแ์ กต่ นเอง ครอบครวั และสังคมท่ัวไปไดอ้ ยา่ งไร จากน้นั แลกเปลี่ยนตรวจสอบข้นั ตอนการทำงานทกุ ขนั้ ตอนว่าจะเพม่ิ คณุ คา่ ไปสสู่ ังคมเกิดประโยชน์ต่อสงั คม ใหม้ ากขน้ึ กว่าเดมิ ในข้ันตอนใดบา้ ง สำหรบั การทำงานในคร้งั ต่อไป

7. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 7.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน หนา้ ท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 2. ขา่ วความร่วมมือของไทยและจนี 7.2 แหล่งเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ โรงเรียน 2. แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

แบบบนั ทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนร้ทู ี่..........เร่ือง .......................................................................................................................... แผนการเรียนรู้ที่...........เรือ่ ง……………………………………………………..………………..จำนวน..………………….ชว่ั โมง ผลการใชแ้ ผนการเรียนรู้และแนวทางพัฒนา 1. ระยะเวลาทใี่ ช้ ใช้เม่ือ……………………………………………………………………………………………………………..…….. ผลการใช้  พอเพียงตามแผน  ไมเ่ พียงพอและไม่ตรงตามแผนเพราะ…………………………… ควรแกไ้ ขปรับปรุงคือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 2. ผลการเรียนรู้ ควรแกไ้ ขปรบั ปรุงคือ…………………………………………………………………………………… 3. สาระการเรียนรู้  สอดคล้องกับผลการเรียนรู้  ไมส่ อดคล้องกบั ผลการเรียนรู้ ควรแก้ไขปรับปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 4. กระบวนการเรียนรู้  เปน็ ไปตามกระบวนการ  ไม่เปน็ ไปตามกระบวนการ ควรแกไ้ ขปรับปรุงคือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 5. สือ่ การเรียนรู้  เปน็ ไปตามกระบวนการ  ไม่เปน็ ไปตามกระบวนการ 6. เคร่ืองมือวดั ผลประเมนิ ผล  สอดคลอ้ งกับมาตรฐานตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวัง  ไม่สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั ควรแกไ้ ขปรับปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… บันทกึ ผลการเรยี นรตู้ ามแผนการเรียนรเู้ พอื่ จัดทำวิจัยในช้ันเรยี นหรอื แกป้ ัญหาดา้ นอน่ื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงช่อื )……………………………………………...….ผ้ใู ชแ้ ผนการเรียนรู้ (นางสาวกัลยากร เชวงสขุ ) ตำแหน่ง ครู คศ.1 ข้อเสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลมุ่ งานวิชาการ ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการสถานศึกษา ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ลงชือ่ ................................................. ลงช่ือ................................................. (นางกนกลกั ษณ์ แปงมูล) (นายคฤงคาร ใจปันทา) ครู ชำนาญการพิเศษ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 21

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหสั วชิ า ส33101 ภาคเรยี นท่ี 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 การประสานประโยชน์ทางการเมืองระหว่างประเทศ เวลาเรียน 5 ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 ประเทศไทยกับองคก์ ารสหประชาชาตแิ ละสมาคมประชาชาติ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง ครูผูส้ อน นางสาวกัลยากร เชวงสุข 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด องค์การระหว่างประเทศเปน็ องค์การที่ประเทศหรือรัฐตงั้ แตส่ องรัฐขนึ้ ไปรว่ มกนั จัดตงั้ ข้นึ เพอื่ เป็นกลไก อย่างหนงึ่ ในการดำเนินความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ รวมทง้ั สนบั สนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชนท์ างเศรษฐกิจ 2. ตวั ชวี้ ัด/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 ตัวชว้ี ดั ส 2.2ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองทีน่ ำไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์ รว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศไทยกับองค์การสหประชาชาติและสมาคมประชาชาติ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (K) 2. วเิ คราะหเ์ กยี่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับองค์การสหประชาชาตแิ ละสมาคมประชาชาติ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (P) 3. เห็นประโยชนแ์ ละความสำคัญของความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศไทยกบั องค์การสหประชาชาติ และสมาคมประชาชาติเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้ • ประเทศไทยกับองค์การสหประชาชาติ • ประเทศไทยกบั สมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 3.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสอื่ สาร 3.3 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2.ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 4. ภาระงาน : ชนิ้ งาน - ถอดองค์ความรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

5. แนวทางการวัดผลประเมนิ ผล • การประเมนิ การเรียนรู้ 1. ประเมนิ ความรู้ เร่ือง ประเทศไทยกบั องค์การสหประชาชาติ ประเทศไทยกบั สมาคมประชาชาติ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (K) ด้วยแบบทดสอบ 2. ประเมินกระบวนการทำงานกลมุ่ (P) ดว้ ยแบบประเมนิ 3. ประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน (A) ด้วยแบบประเมนิ • แบบประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Rubrics) - แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกล่มุ รายการการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน 4321 กระบวนการ มีการกำหนดบทบาท มกี ารกำหนดบทบาท มกี ารกำหนดบทบาท ไมม่ ีการกำหนด ทำงานกล่มุ สมาชกิ ชัดเจน และมี สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้าไม่มีการ บทบาทสมาชกิ การชแ้ี จงเปา้ หมาย มกี ารช้ีแจงเปา้ หมาย ช้ีแจงเป้าหมายอย่าง และไม่มีการช้แี จง การทำงาน มีการ อยา่ งชัดเจนและ ชัดเจนปฏิบตั งิ าน เปา้ หมาย สมาชกิ ปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั ปฏิบัติงานรว่ มกัน รว่ มกันไม่ครบทุกคน ตา่ งคนต่างทำงาน อย่างรว่ มมือร่วมใจ แต่ไม่มกี ารประเมิน พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ เป็นระยะ ๆ 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ สังเกต รวบรวมขอ้ มูล (Gathering) 1. นกั เรียนพจิ ารณาข่าวเก่ยี วกบั การแลกเปลยี่ นทางวฒั นธรรมทีก่ ำหนด แลว้ ร่วมกนั สนทนา โดยใช้คำถาม ดังน้ี สถานเอกอคั รราชทูตฯ ไดจ้ ัดพิธตี ้อนรับและกิจกรรมการพบปะระหว่างครอบครัวอปุ ถัมภ์ โรงเรียน และนกั เรยี นแลกเปลีย่ นนิวซแี ลนด์ตาม “โครงการแลกเปลยี่ นภาษาและวัฒนธรรมระหวา่ งนกั เรียนไทย และนวิ ซแี ลนด์” โดยมีผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธกิ ารและสถานเอกอัครราชทูตฯ นวิ ซีแลนดป์ ระจำประเทศไทย เขา้ ร่วมด้วย โครงการดังกล่าวเปน็ โครงการทม่ี ีวัตถุประสงคใ์ นการเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์อันดใี นระดับ ประชาชนและเยาวชนของสองประเทศ สง่ เสริมการแลกเปลี่ยนด้านภาษาและวฒั นธรรม ช่วยพฒั นาทักษะ การสื่อสารโดยใชภ้ าษาอังกฤษได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ยังช่วยสร้างมิตรใหก้ บั ประเทศไทยอีกด้วย เนือ่ งจากโครงการดังกล่าวนี้ส่งเสริมความสมั พนั ธ์ระดับประชาชนไทยและนิวซแี ลนดใ์ ห้ใกล้ชิดกันมากขึน้ • ข่าวดังกลา่ วเก่ยี วข้องกบั เร่ืองใด (การแลกเปล่ียนทางภาษาและวฒั นธรรมระหวา่ งนกั เรียนไทยกบั นวิ ซีแลนด)์ • จากข่าวนกั เรียนคดิ ว่าก่อใหเ้ กดิ ผลอยา่ งไร (ตวั อยา่ งคำตอบ ชว่ ยสง่ เสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างสองประเทศและช่วยพฒั นาทักษะทางภาษาของ เด็กไทยให้มปี ระสทิ ธิภาพ)

• นกั เรยี นรจู้ กั องค์กรระหว่างประเทศใดบา้ ง (ตวั อย่างคำตอบ องค์การสหประชาชาติ สมาคมประชาชาติแหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้) • นกั เรียนทราบหรอื ไม่ว่าองค์กรระหวา่ งประเทศมเี ป้าหมายอย่างไร (ตัวอยา่ งคำตอบ รักษาสนั ติภาพและความม่นั คงระหว่างประเทศ ส่งเสริมความสัมพันธท์ ่ีดรี ะหว่าง ประเทศ) 2. นักเรยี นศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกบั เรื่อง ประเทศไทยกบั องค์การสหประชาชาติและประเทศไทย กบั สมาคมประชาชาติเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จากหนงั สือเรียนและแหลง่ การเรยี นรู้อื่นๆ เพิ่มเตมิ ข้นั คิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้ (Processing) 3. นักเรียนวิเคราะหเ์ กีย่ วกับเปา้ หมายหลกั ขององค์การสหประชาชาติ แลว้ สรปุ ความรเู้ ปน็ แผนภาพ ความคดิ ดังตวั อยา่ ง การส่งเสริมความสัมพันธท์ ี่ดี เป้าหมายหลักของ การคุม้ ครอง ระหว่างประเทศ องคก์ ารสหประชาชาติ สทิ ธิมนุษยชน การส่งเสริมความเจรญิ เติบโต การพทิ ักษ์ความยตุ ิธรรม ทางเศรษฐกิจและสังคม ตามหลักกฎหมาย ระหวา่ งประเทศ ระหวา่ งประเทศ 4. นกั เรยี นจำแนกหนว่ ยงานขององค์การสหประชาชาติ แล้วสรุปความรเู้ ป็นแผนภาพความคิด ดงั ตัวอยา่ ง สมชั ชาใหญ่ หน่วยงานขององค์การ คณะมนตรีความมัน่ คง สหประชาชาติ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสงั คม คณะมนตรีภาวะทรัสตี ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ สำนักเลขาธกิ าร

5. นกั เรยี นวิเคราะห์เก่ยี วกบั เหตุผลของการเข้าเปน็ สมาชิกองค์การสหประชาชาตขิ องประเทศไทย แลว้ สรุปความรู้เปน็ แผนภาพความคดิ ดังตัวอย่าง เพ่อื ความม่นั คงของประเทศไทย เหตุผลของการเข้าเปน็ สมาชิก เพื่อการรับรองสถานภาพประเทศไทย องค์การสหประชาชาติ ในฐานะประเทศเอกราช เพอ่ื รบั มือกบั ประเทศต่าง ๆ ของประเทศไทย ในการสรา้ งสันตภิ าพ เพื่อสร้างความสมั พันธแ์ ละ และความมน่ั คง ความรว่ มมอื อันดีกบั นานาประเทศ ในดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม 6. นกั เรยี นวิเคราะห์เก่ยี วกับลักษณะสำคญั ของสมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ แลว้ สรปุ ความรเู้ ปน็ แผนภาพความคิด ดังตวั อย่าง สง่ เสรมิ สันตภิ าพและความม่ันคง สำนักงานเลขาธิการสมาคมประชาชาติ ในภูมิภาค แห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ วัตถปุ ระสงค์ของการจัดตง้ั ลกั ษณะสำคญั โครงสรา้ งของอาเซียน ของสมาคมประชาชาติแห่ง สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกนั เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สหภาพยโุ รป ความสมั พนั ธ์กบั ประเทศ การบรหิ าร วิทยาศาสตร์ ภายนอกภูมิภาค และเทคโนโลยี สหรฐั อเมริกา นวิ ซีแลนด์

7. นักเรยี นวิเคราะหบ์ ทบาทของสมาคมประชาชาติแหง่ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ในด้านต่างๆ แลว้ สรปุ ความรู้เปน็ แผนภาพความคิด ดังตวั อยา่ ง • ดา้ นการเมืองและความม่นั คง จัดทำสนธิสัญญาไมตรีและความรว่ มมือใน ภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ สนธสิ ญั ญาเขตปลอดอาวธุ นวิ เคลยี ร์ ด้านการเมือง อนุสญั ญาต่อต้าน ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ และความมนั่ คง การก่อการร้าย • ดา้ นเศรษฐกจิ แถลงการณ์ว่าดว้ ยภูมภิ าคเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้เปน็ เขตสันตภิ าพ เสรีภาพ และความเปน็ กลาง การจดั ตง้ั เขตการค้าเสรอี าเซียน การรว่ มกนั พัฒนาล่มุ แมน่ ้ำโขง จัดตัง้ เขตการลงทนุ อาเซยี น ด้านเศรษฐกจิ การสร้างเส้นทางคมนาคม และการอำนวยความสะดวก ในการขนส่งสินค้าผา่ นแดน

• ดา้ นวัฒนธรรม ปฏญิ ญาอาเซียนวา่ ดว้ ยมรดก ทางวัฒนธรรม การใหก้ ารศึกษาและการเรียนรู้ ด้านวฒั นธรรม การอนรุ ักษ์และการสบื ทอด ทางวฒั นธรรม มรดกทางวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม • ด้านสงั คม ดา้ นสงั คม การป้องกนั และปราบปราม สารเสพตดิ ใหโ้ ทษ การปอ้ งกันและปราบปราม อาชญากรรมขา้ มชาติ 8. นักเรียนยกตัวอย่างบทบาทของไทยในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แลว้ สรุปความรู้เปน็ แผนภาพความคดิ ดังตวั อย่าง เสนอให้จัดต้งั มูลนิธิอาเซียน บทบาทของไทย เสนอให้มกี ารพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ เพอื่ สรา้ งจติ สำนึกในความเป็น ในสมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชีย อาเซยี น พัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานของประเทศ ตะวนั ออกเฉียงใต้ เพื่อทำให้เศรษฐกิจเจริญเติบโต เสนอมตคิ วามร่วมมือตอ่ ต้าน ไปยงั ประเทศนอกภมู ภิ าค สารเสพติดในภูมภิ าค เอเชีย-แปซิฟิก 9. นกั เรยี นคดิ ประเมินเพอ่ื เพ่มิ คุณคา่ แลว้ สรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยใช้คำถาม ดังนี้ • การเขา้ เป็นสมาชกิ องค์กรระหว่างประเทศก่อให้เกดิ ผลต่อประเทศไทยอยา่ งไร (ตวั อยา่ งคำตอบ ช่วยสง่ เสรมิ การเติบโตและพัฒนาการทางด้านตา่ งๆ ให้เจรญิ กา้ วหนา้ และเพ่ือชว่ ยเหลือ ซง่ึ กนั และกัน)

ขั้นปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความรูห้ ลังการปฏบิ ัติ (Applying and Constructing the Knowledge) 10. นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อค้นคว้าขอ้ มูลเก่ียวกับผลดีและผลเสยี ของการเขา้ เปน็ สมาชิกสมาคมประชาชาติแหง่ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ของประเทศไทย วิเคราะหข์ ้อมลู แล้วสรปุ ความรเู้ ปน็ แผนภาพความคดิ ดังตัวอยา่ ง ผลดี สมาคมประชาชาติ ผลเสีย แหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ไดร้ บั สิทธพิ ิเศษทางดา้ นการค้า (ขาดดลุ ทางการคา้ บางชนิด ด้วยการได้ลดหย่อนอตั ราภาษี เน่ืองจากการลดกำแพงภาษสี ินค้า ศลุ กากร) เข้าระหวา่ งกันในภูมภิ าค) 11. นกั เรียนตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยของผลงาน หากพบข้อผดิ พลาดใหป้ รับปรงุ แกไ้ ขให้ดีขึ้น 12. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ ส่งิ ทเ่ี ข้าใจเป็นความรูร้ ่วมกนั ดงั น้ี องค์การระหว่างประเทศเป็นองค์การท่ีประเทศหรือรัฐต้ังแต่สองรัฐข้ึนไปร่วมกันจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไก อย่างหนึ่งในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรม ต่างๆ เพือ่ ประโยชนท์ างเศรษฐกิจ ข้ันส่ือสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill) 13. นกั เรยี นออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน 14. นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายสรุปเกี่ยวกับวิธกี ารทำงานให้เหน็ การคดิ เชงิ ระบบและวิธกี ารทำงานทมี่ ีแบบแผน ขั้นประเมินเพอื่ เพม่ิ คณุ คา่ บรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating) 15. นกั เรียนรว่ มกนั จดั นทิ รรศการเก่ียวกบั อาเซียนไวท้ ี่พน้ื ท่ีห้องสมุดของโรงเรียน เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ ใหแ้ กส่ มาชิกในโรงเรียน 16. นักเรยี นประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความร้สู กึ หลังการเรียนและหลงั การทำกิจกรรม ในประเด็น ต่อไปนี้ • สง่ิ ทีน่ กั เรียนได้เรยี นรู้ในวันนี้คืออะไร • นักเรยี นมีส่วนรว่ มกิจกรรมในกลมุ่ มากน้อยเพยี งใด • เพอ่ื นนักเรียนในกลุ่มมีส่วนรว่ มกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด • นักเรียนพอใจกบั การเรยี นในวนั นี้หรอื ไม่ เพียงใด • นกั เรียนจะนำความร้ทู ่ีไดน้ ้ไี ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่ตนเอง ครอบครวั และสังคมท่ัวไปได้อยา่ งไร จากน้ันแลกเปลย่ี นตรวจสอบข้ันตอนการทำงานทกุ ขั้นตอนวา่ จะเพิ่มคณุ คา่ ไปสู่สังคม เกดิ ประโยชน์ต่อสังคมให้มากขนึ้ กว่าเดิมในข้ันตอนใดบา้ ง สำหรบั การทำงานในคร้ังตอ่ ไป 7. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 7.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน หนา้ ท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 2. ข่าวการแลกเปล่ยี นทางวัฒนธรรม 7.2 แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ โรงเรียน 2. แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

ความรู้เพมิ่ เติมสาหรับครู ประเทศไทยเป็นหน่ึงใน 5 ของสมาชิกผู้ก่อตั้งและเป็นจุดกำเนิดของอาเซียน ประเทศไทยมีบทบาทผลักดัน ให้อาเซียนมีโครงการความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ระหว่างประเทศ เช่น การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะเดียวกันอาเซียนก็มีความสำคัญต่อ ประเทศไทยในการช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองในการเจรจาระหว่างประเทศ และร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาข้ามชาติ และการพัฒนาขั้นพื้นฐานต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม และความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมภายใน อาเซียนได้เปิดโอกาสให้มีการขยายตัวด้านการค้าและการลงทุนในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งนำผลดีมาสู่เศรษฐกิจของ ประเทศไทยและประเทศสมาชกิ อาเซียนโดยส่วนรวม

แบบบันทึกหลงั การสอน หน่วยการเรยี นรู้ท.ี่ .........เรื่อง .......................................................................................................................... แผนการเรียนรูท้ ่ี...........เร่อื ง……………………………………………………..………………..จำนวน..………………….ช่ัวโมง ผลการใช้แผนการเรยี นรูแ้ ละแนวทางพัฒนา 1. ระยะเวลาที่ใช้ ใช้เม่ือ……………………………………………………………………………………………………………..…….. ผลการใช้  พอเพียงตามแผน  ไมเ่ พยี งพอและไม่ตรงตามแผนเพราะ…………………………… ควรแก้ไขปรบั ปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 2. ผลการเรยี นรู้ ควรแก้ไขปรบั ปรงุ คือ…………………………………………………………………………………… 3. สาระการเรียนรู้  สอดคล้องกบั ผลการเรียนรู้  ไม่สอดคลอ้ งกับผลการเรยี นรู้ ควรแก้ไขปรบั ปรงุ คือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 4. กระบวนการเรยี นรู้  เป็นไปตามกระบวนการ  ไมเ่ ปน็ ไปตามกระบวนการ ควรแกไ้ ขปรับปรุงคือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… 5. ส่อื การเรียนรู้  เปน็ ไปตามกระบวนการ  ไม่เปน็ ไปตามกระบวนการ 6. เคร่อื งมือวดั ผลประเมนิ ผล  สอดคล้องกับมาตรฐานตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั  ไมส่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ควรแกไ้ ขปรับปรุงคือ…………………………………………………………..…………………………………………………………… บันทกึ ผลการเรยี นรตู้ ามแผนการเรียนรเู้ พ่ือจัดทำวิจยั ในชั้นเรียนหรอื แกป้ ญั หาด้านอ่นื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)……………………………………………...….ผู้ใชแ้ ผนการเรียนรู้ (นางสาวกัลยากร เชวงสขุ ) ตำแหน่ง ครู คศ.1 ขอ้ เสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลมุ่ งานวิชาการ ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการสถานศึกษา ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ลงชอื่ ................................................. ลงชอื่ ................................................. (นางกนกลักษณ์ แปงมูล) (นายคฤงคาร ใจปันทา) ครู ชำนาญการพิเศษ ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 21

แผนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหสั วชิ า ส33101 ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 การประสานประโยชนท์ างการเมืองระหว่างประเทศ เวลาเรียน 5 ช่วั โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 ประเทศไทยกับสหภาพยโุ รป เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง ครูผูส้ อน นางสาวกลั ยากร เชวงสุข 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพยุโรปน้ัน สหภาพยุโรปเป็นตลาดสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ ซ้ือสูงสุด ส่วนไทยคือหุ้นส่วนที่สำคัญของสหภาพยุโรปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะมิติการเมือง และความมน่ั คง อีกท้ังยังเปน็ ตัวกลางสำคัญในการเชือ่ มโยงสหภาพยุโรปกับประเทศอาเซยี นอน่ื ๆ 2. ตวั ชว้ี ัด/จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ตวั ชว้ี ดั ส 2.2ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองท่นี ำไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์ รว่ มกนั ระหวา่ งประเทศ 2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศไทยกบั สหภาพยุโรป (K) 2. วเิ คราะหข์ ้อมลู เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศไทยกับสหภาพยุโรป (P) 3. เห็นประโยชนแ์ ละความสำคัญของความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศไทยกับสหภาพยโุ รป (A) 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้ • ประเทศไทยกับสหภาพยุโรป 3.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสอื่ สาร 3.3 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2.ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน 4. ภาระงาน : ชน้ิ งาน - ถอดองค์ความรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. แนวทางการวัดผลประเมินผล • การประเมินการเรยี นรู้ 1. ประเมนิ ความรู้ เรอ่ื ง ประเทศไทยกับสหภาพยุโรป (K) ด้วยแบบทดสอบ 2. ประเมนิ กระบวนการทำงานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน 3. ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ด้านใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มั่นในการทำงาน (A) ดว้ ยแบบประเมิน

• แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics) - แบบประเมนิ กระบวนการทำงานกล่มุ รายการการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน 4321 กระบวนการ มกี ารกำหนดบทบาท มกี ารกำหนดบทบาท มกี ารกำหนดบทบาท ไมม่ ีการกำหนด ทำงานกลุ่ม สมาชกิ ชดั เจน และมี สมาชกิ ชัดเจน เฉพาะหวั หนา้ ไม่มกี าร บทบาทสมาชิก การชแ้ี จงเปา้ หมาย มกี ารชีแ้ จงเป้าหมาย ชี้แจงเป้าหมายอย่าง และไม่มกี ารชีแ้ จง การทำงาน มีการ อย่างชัดเจนและ ชัดเจนปฏิบตั ิงาน เป้าหมาย สมาชกิ ปฏิบัตงิ านร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกนั รว่ มกนั ไม่ครบทกุ คน ต่างคนตา่ งทำงาน อยา่ งร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมนิ พร้อมกบั การประเมิน เป็นระยะ ๆ เปน็ ระยะ ๆ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นสงั เกต รวบรวมขอ้ มูล (Gathering) 1. นักเรียนพจิ ารณาขา่ วเกี่ยวกับการเผยแพร่ศิลปวฒั นธรรมไทยในภมู ิภาคยุโรป แล้วร่วมกนั สนทนา โดยใชค้ ำถาม ดงั นี้ กระทรวงการต่างประเทศไดด้ ำเนนิ กจิ กรรมแบบบูรณาการร่วมกบั กระทรวงวัฒนธรรม และ สถานเอกอคั รราชทูตของภูมภิ าคยุโรป ในการจัดโครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยในภูมภิ าคยุโรปและโครงการ จัดแสดงโขนและนิทรรศการเผยแพร่พระราชกรณียกิจ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลท่ี 9 ด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมศิลปะการแสดงโขน โดยได้นำคณะนาฏศิลป์และนักดนตรีไทยจากกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมเข้าร่วมกิจกรรมการแสดงโขนและการแสดงวัฒนธรรมตามงานต่างๆ ในภูมิภาคยุโรป โครงการ ดังกล่าวได้รับความสนใจจากคณะทูต ผูแ้ ทนภาครัฐ ชาวยุโรป และนักทอ่ งเท่ียวต่างชาติ ซึง่ ต่างประทบั ใจในการแสดง ทางวัฒนธรรม รวมถึงโขน และการสาธิตทางวัฒนธรรมของไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ไทยท่ีมีความงดงามและปราณีต รวมท้ังซาบซึ้งในอัธยาศัยไมตรีของคนไทย โครงการดังกล่าวประสบความสำเร็จในการสร้างความนิยมไทย ผา่ นการแสดงวัฒนธรรม ซึ่งจะชว่ ยสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศไทยกบั ตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระดับประชาชน รวมทั้งสง่ เสรมิ ผลประโยชน์ของไทยในด้านตา่ ง ๆ ในระยะยาว ทง้ั ดา้ นการค้า การลงทนุ และ การทอ่ งเทีย่ ว • จากขา่ วเกย่ี วข้องกบั เร่ืองใด (การเผยแพรว่ ฒั นธรรมไทยที่ภมู ภิ าคยุโรป) • นักเรียนคดิ วา่ ไทยมีการติดต่อสัมพันธ์กับภูมภิ าคยุโรปในด้านใดบ้าง (ตวั อยา่ งคำตอบ การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม) • ภมู ิภาคยุโรปมีการรวมกลุ่มระหวา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร (มี กล่มุ สหภาพยโุ รป) 2. นกั เรยี นศกึ ษาและรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับเร่อื ง ประเทศไทยกับสหภาพยโุ รป จากหนงั สือเรยี น และแหลง่ การเรียนรู้อ่ืน ๆ เพ่ิมเตมิ

ข้นั คิดวเิ คราะห์และสรุปความรู้ (Processing) 3. นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั สหภาพยุโรป โดยใช้คำถาม ดังน้ี • สนธิสญั ญามาสทรชิ ต์ (Maastricht Treaty) ประกอบด้วยประชาคมทางเศรษฐกิจใดบ้าง (ตวั อย่างคำตอบ ประชาคมถ่านหนิ และเหลก็ แห่งยุโรป ประชาคมเศรษฐกิจยโุ รปและประชาคม พลังงานปรมาณูแหง่ ยุโรป) • สหภาพยโุ รปมีประเทศทเ่ี ป็นสมาชิกท้งั หมดกป่ี ระเทศ (สหภาพยโุ รป มีสมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ) • ความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพยโุ รปมคี วามสัมพนั ธด์ ้านใดบา้ ง (ตัวอยา่ งคำตอบ มีความสัมพันธด์ า้ นการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม) • ความสมั พันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสหภาพยุโรปด้านเศรษฐกิจเป็นอยา่ งไร (ตวั อย่างคำตอบ สหภาพยุโรปเปน็ คู่คา้ อนั ดับท่ี 3 ของไทย และเขา้ มาลงทุนในไทยเฉพาะ ในอุตสาหกรรมทีม่ คี วามชำนาญ เช่น อุตสาหกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และโทรคมนาคม อุตสาหกรรมยานยนต์) • เป้าหมายของยุทธศาสตรท์ ี่ไทยมตี อ่ สหภาพยุโรปมีอะไรบ้าง (ตัวอยา่ งคำตอบ มีเปา้ หมาย ดังน้ี - เป็นหนุ้ สว่ นทส่ี ำคญั ของสหภาพยุโรปในภูมิภาคเอเชีย - เป็นศูนย์กลางของสหภาพยุโรปในภูมิภาคเอเชียในด้านสำคัญ เช่น การผลติ ทางอุตสาหกรรม การค้า สาธารณสุข) • ผลที่เกิดข้นึ จากความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศไทยกับสหภาพยโุ รปเปน็ อย่างไร (ตัวอยา่ งคำตอบ ไทยเป็นตวั กลางสำคัญในการเชอ่ื มโยงสหภาพยโุ รปกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ ด้านเศรษฐกิจและสังคม สหภาพยโุ รปใหก้ ารสนบั สนนุ ไทยในด้านต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาชนบท การแกไ้ ข ปญั หาเศรษฐกจิ และสังคมในชว่ งวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540) • ถา้ ประเทศไทยไม่มีความสัมพันธก์ บั สหภาพยุโรปจะสง่ ผลอยา่ งไร (ตวั อย่างคำตอบ ประเทศไทยจะไม่ได้รับการช่วยเหลือในดา้ นเศรษฐกจิ จากสหภาพยโุ รป และด้านอตุ สาหกรรมของไทยก็จะไม่พัฒนา) 4. นักเรียนวิเคราะหเ์ กยี่ วกับความเป็นมาของสหภาพยุโรป แล้วสรุปความรเู้ ป็นแผนภาพความคดิ ดังตวั อย่าง เกิดขน้ึ จากสนธิสัญญามาสทริชต์ เปน็ การรวมเอาประชาคมถา่ นหิน พัฒนามาจากประชาคมยโุ รป และเหล็ก ประชาคมเศรษฐกิจและ ประชาคมพลังงานปรมาณูแห่งยโุ รป ความเป็ นมา ของสหภาพยโุ รป เขา้ ด้วยกนั 5. นักเรยี นวเิ คราะห์ลักษณะความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศไทยกับสหภาพยุโรปในด้านการเมือง และเศรษฐกจิ แลว้ สรุปความรเู้ ปน็ แผนภาพความคดิ ดังตัวอยา่ ง

• ด้านการเมือง มีการหารือประเดน็ การเมือง ในระดบั ทวิภาคี ระดับภูมิภาค และระหวา่ งประเทศ การเจรจาจัดทำกรอบความตกลงว่าดว้ ย ด้านการเมือง การแลกเปลี่ยน การเยือน ความเปน็ ห้นุ ส่วนและความร่วมมือ ระดบั สูง แบบทวิภาคี • ดา้ นเศรษฐกิจ สมาชกิ สหภาพยุโรปไดเ้ ขา้ มาลงทนุ ในอตุ สาหกรรมที่มีความชำนาญ การใหท้ นุ การศึกษาภายใต้โครงการ ด้านเศรษฐกิจ สนับสนนุ การพฒั นาชนบท Erasmus Mundus และการแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกจิ และสังคม สนับสนนุ การสร้างงานและอาชีพ ในพน้ื ทป่ี ระสบธรณีพบิ ัติภยั 6. นกั เรียนยกตวั อย่างยทุ ธศาสตรส์ ำคัญของไทยท่ีมตี ่อสหภาพยุโรป แล้วสรุปความรเู้ ป็นแผนภาพความคิด ดังตวั อยา่ ง สง่ เสริมภาพลักษณแ์ ละความเข้าใจที่ถกู ต้องเกย่ี วกับประเทศไทย ยุทธศาสตร์สำคญั ของไทย เป็นศนู ยก์ ลางของสหภาพยโุ รปในภูมิภาคเอเชีย ที่มีต่อสหภาพยุโรป ลดปัญหาและอปุ สรรคทางเศรษฐกจิ และการค้า ส่งเสริมความสัมพันธร์ ะหว่างประชาชนต่อประชาชน

7. นกั เรียนเปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกต่างระหว่างอาเซียนกบั สหภาพยุโรป วิเคราะห์ข้อมลู แลว้ สรปุ ความรเู้ ปน็ แผนภาพความคดิ ดังตัวอยา่ ง อาเซยี น เหมือน สหภาพยโุ รป การรวมกลุ่มประเทศในภมู ิภาค เปน็ ความรว่ มมอื การรวมกล่มุ ของประเทศ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ทางเศรษฐกจิ ในทวปี ยโุ รป 8. นกั เรยี นคิดประเมินเพ่อื เพมิ่ คุณค่า แล้วสรปุ เปน็ ความคิดรวบยอด โดยใชค้ ำถาม ดังน้ี • เพราะเหตุใดสหภาพยโุ รปจึงมคี วามสำคัญในเวทรี ะหว่างประเทศ (ตวั อย่างคำตอบ เนื่องจากมบี ทบาทในการสร้างกระแสและทิศทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ระดับโลก และเปน็ 1 ใน 3 ศูนยก์ ลางเศรษฐกิจโลก เป็นตลาดสนิ คา้ และบริการที่มศี กั ยภาพในการซ้ือสงู ทส่ี ดุ ของโลก ตลาดหนึ่ง มผี ลติ ภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ใหญ่ท่ีสุดในโลก) ขั้นปฏิบัตแิ ละสรุปความรหู้ ลงั การปฏบิ ัติ (Applying and Constructing the Knowledge) 9. นักเรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาระหว่างไทยกับยุโรปท่ีสนใจ พรอ้ มวิเคราะห์สาเหตุของ ปญั หา ผลท่เี กิดขึ้น และแนวทางการแก้ปญั หา แล้วสรปุ ความรเู้ ป็นแผนภาพความคิด ดังตัวอยา่ ง (สุขอนามัยของพืชและสัตว์ ผลทเี่ กิดข้นึ ทไี่ ม่ไดม้ าตรฐาน) สาเหตุ ปัญหา (เกิดผลกระทบในด้านการค้าและ (ปัญหาดา้ นการคา้ ) (มาตรการจัดการปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม การลงทุนในระดับราชการ ของไทยท่ียังไม่ได้มาตรฐาน) ข้อตกลงในการลงนามร่วมมือกนั ของประเทศหยดุ ชะงัก) แนวทางการแก้ปญั หา (ไทยควรปรบั กฎหมายหรือมาตรการ ภายในประเทศ เพื่อใหร้ บั กับนโยบาย ของสหภาพยุโรป) 10. นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยของผลงาน หากพบขอ้ ผดิ พลาดให้ปรบั ปรุงแกไ้ ขใหด้ ีขึ้น 11. นักเรียนร่วมกนั สรุปสิง่ ที่เขา้ ใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดังนี้ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศไทยกับสหภาพยโุ รป น้ัน สหภาพยุโรปเปน็ ตลาดสินค้าและบริการท่มี ีศักยภาพซื้อสูงสดุ ส่วนไทยคือหนุ้ สว่ นที่สำคัญของสหภาพยุโรปใน เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ โดยเฉพาะมิติการเมืองและความม่ันคง อีกทง้ั ยงั เปน็ ตัวกลางสำคัญในการเช่ือมโยงสหภาพ ยโุ รปกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook