Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม CBL กลุ่ม2อำเภอเวียงเก่า

เล่ม CBL กลุ่ม2อำเภอเวียงเก่า

Published by Guset User, 2023-07-20 03:44:23

Description: เล่มCBLกลุ่ม2อำเภอเวียงเก่า

Search

Read the Text Version

สมาชกิ กลุม 2 (เกา เวียงเกา )



คํานาํ รายงานผลการเรียนรูโดยใชชุมชนเปนฐาน (Community-based Learning) เปนสวนหนึ่งของการ อบรมหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุข ระดับกลาง รุนที่ 36 ปงบประมาณ 2566 ของวิทยาลัยวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดขอนแกน ซึ่งเปนการจัดการเรียนการสอนโดยใชกลยุทธการเรียนท่ีเชื่อมโยง เน้ือหาในบทเรียนใหสัมพันธกับชุมชนผานการบูรณาการความรูในหลายดานกับประเด็นปญหาจริงที่เกิดข้ึน ในชุมชน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาปญหาสาธารณสุขในพ้ืนที่ของอําเภอเวียงเกา จังหวัดขอนแกน ซึ่งกระบวนการเรียนรูเร่ิมจากการศึกษาขอมูลพ้ืนท่ี การวิเคราะหปญหาและสาเหตุของปญหา การวางแผน และสรางเคร่ืองมือ โดยการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเพ่ือหาปจจัยทางดานการบริหารที่สงผลตอการจัดการ สาเหตุของปญหาสาธารณสุข พรอมท้ังนําเสนอกลยุทธและแผนปฏิบัติการตอผูบริหารและบุคลากร ใน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอเวียงเกา จังหวัดขอนแกน เพื่อแกไขปญหาและพัฒนาระบบการบริหารงาน สาธารณสุขของชุมชน คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เน้ือหาการนําเสนอในรายงานฉบับนี้ จะเปนแนวทางการใช กระบวนการ CBL เพ่ือนําไปประยุกตใชในสถานการณที่เกิดจริงในชุมชน ดวยการคิดเชิงกลยุทธ นําไปสูการ นําเสนอแผนยุทธศาสตรของหนว ยงาน ตอ ไป คณะผจู ดั ทาํ 7 มิถุนายน 2566 ก

กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน ผูอํานวยการโรงพยาบาลเวียงเกา สาธารณสุขอําเภอเวียงเกา หัวหนาสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ผูอํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลของอําเภอเวียงเกาและผูเกี่ยวของทุกทาน ท่ีใหความอนุเคราะหสนับสนุนการศึกษาการเรียนรูโดยใช ชุมชนเปนฐาน (Community-based Learning) ของพื้นที่อําเภอเวียงเกา และขอขอบพระคุณอาจารยที่ ปรึกษา อาจารย ดร.ศุภวดี แถวเพีย ดร.ศรีสุดา ลุนพุฒิ ท่ีใหคําปรึกษาในการศึกษาการเรียนรูและการจัดทํา รายงาน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการอบรมหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุข ระดับกลาง รุนท่ี 36 ปงบประมาณ 2566 ของวิทยาลัยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดขอนแกน ทําใหการศึกษาในครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปได ดวยดี คณะผูศึกษา หวังเปนอยางย่ิงวา ผลที่ไดจากการศึกษาจะกอใหเกิดประโยชนตอการวางแผนการ ดาํ เนินงานดา นสาธารณสุขของอําเภอเวียงเกาตอ ไป คณะผูศกึ ษา 7 มิถุนายน 2566 ข

บทสรุปผูบรหิ าร รายงานการศึกษาน้ีจดั ทําขึ้นเพื่อวิเคราะหป ญหาและสาเหตุของปญหาสาธารณสุขที่สงผลตอสุขภาพ ของสํานักงานสาธารณสุขอําเภอเวียงเกา จังหวัดขอนแกน โดยใชวิธีการศึกษาแบบใหชุมชนเปน ฐานการเรียนรู (Community Based Learning : CBL) เปนการศึกษาแบบผสมผสาน ใชวิธีวิเคราะหขอมูลจากแหลงขอมูล ทุติยภูมิ คือ ขอมูลท่ัวไปสํานักงานสาธารณสุขอําเภอเวียงเกา แผนปฏิบัติงาน สรุปผลงานตามแผนการตรวจ ราชการ ระบบขอมูลทรัพยากรสุขภาพหนวยบริการปฐมภูมิและสอบถามขอมูลและความคิดเห็นจากเจาหนาที่ ผูปฏิบัติงานในชุมชนจากการวิเคราะหขอมูลสามารถเลือกปญหาสาธารณสุขที่คาดวาจะเปนปญหาของพื้นที่ คือ ผลการดําเนินงานวัณโรคยังไมมีขอมูลเน่ืองจากยังไมไดจัดต้ังคลินิกวัณโรค การจัดลําดับความสําคัญของ ปญหาสาธารณสุขพิจารณาขอมูลท้ังเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ สามารถกําหนดปญหาและจัดลําดับ ความสําคัญที่มีผลกระทบสูงและมีความสําคัญเรงดวน ทั้งเชิงนโยบายและผลกระทบตอสุขภาพประชาชนมาก ที่สุด ไดแก ปญหาสาเหตุการตายอันดับ 1 ของอําเภอเวียงเกาในป 2564 คือ โรคปอดบวมโดยไมทราบสาเหตุ เมื่อวิเคราะหประเด็นท่ีโรงพยาบาลเวียงเกาเปนโรงพยาบาลตั้งใหม ยังไมมีระบบดูแลรักษาโรค วัณโรค ตองสง ตอไปรักษาที่โรงพยาบาลภูเวียง การวิเคราะหตําแหนงยุทธศาสตร ไดผลสรุปที่เปนตําแหนงยุทธศาสตรของ หนวยงานตอปญหารูปแบบการดูแลรักษาโรควัณโรค จากการนําขอมูลลงในตาราง TOWS Matrix พบวา กราฟอยูตําแหนง \"กลยุทธเชิงแกไข\" แสดงถึงความเสียเปรียบเชิงยุทธศาสตร นํามาสูการจัดทํายุทธศาสตรเพื่อ แกปญหา คือ ยุทธศาสตร \"การพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผูปวยวัณโรคโดยภาคีเครือขายและชุมชนมีสวน รวม\" ซึ่งไดมีการแปลงยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ ดวยแนวคิดการใชบัตรคะแนนสมดุล (Balanced Scorecard) และไดกําหนดกลยุทธ 4 กลยทุ ธ ไดแ ก 1. กลยุทธเชิงรุก หรือยุทธศาสตรท่ีใชจุดแข็งในการชอนโอกาสมีลักษณะเรงรัดขยายมาจากจุดแข็ง และโอกาส • ยกระดับ Telemedicine • เพ่มิ ขดี สมรรถนะผูนาํ ทีมงานและภาคเี ครอื ขา ยสขุ ภาพ ดานบริการ ดานเทคโนโลยี สารสนเทศ และดานการประสานงาน 2. กลยุทธเชิงแกไข หรือยุทธศาสตรท่ีลดจุดออนดวยการหาและใชประโยชนจากโอกาสมาจาก จุดออนและโอกาส • พัฒนาโครงสรา งพ้ืนฐานของ รพ.ใหไดมาตรฐาน • พฒั นาศกั ยภาพหนว ยบรกิ ารเพอ่ื ดูแลกลมุ โรคท่สี ําคญั • พฒั นาระบบบริหารจัดการใหม ีประสิทธิภาพ 3. กลยทุ ธเ ชิงปองกนั หรือยทุ ธศาสตรท่ีลดจุดออนและหลบเลย่ี งภยั คุกคาม • เสรมิ สรางความเขมแขง็ ในการจดั ระบบบริการเครือขา ยเพื่อดแู ลผูส ูงอายุ สุขภาพจิตและยา เสพตดิ แบบเชิงรกุ • พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบรหิ ารจดั การขอ มลู และความปลอดภัยไซเบอร 4. กลยุทธเชิงรับ หรือยุทธศาสตรท่ีใชจุดแข็งในการปกปองหรือลดภัยคุกคามมาจากจุดแข็งและภัย คุกคาม • ปอ งกนั การเกิดความรนุ แรงในสถานพยาบาล ค

สารบัญ หนา ก คํานาํ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค บทสรปุ ผบู รหิ าร 1 สว นที่ 1 ขอ มลู ท่วั ไป 1 1 วสิ ัยทศั น พนั ธกจิ 5 1.1 ขอ มลู พน้ื ฐาน 5 1.2 ผลงานการใหบ ริการ 6 1.3 สาเหตกุ ารตาย 7 1.4 ปญ หาสุขภาพในพืน้ ที่ 7 สวนที่ 2 การวิเคราะหข อ มูล 10 2.1 การวเิ คราะหขอมลู 14 2.2 การศกึ ษาปจจยั ภายใน ภายนอก จุดแขง็ จดุ ออ น เพ่อื กาํ หนดกลยุทธ 20 2.3 การใชตาราง TOWS Matrix สรางกลยทุ ธ 20 สว นท่ี 3 การจัดทาํ แผนยทุ ธศาสตร 21 3.1 แผนที่ยทุ ธศาสตร (Strategy Map) 24 3.2 แผนยุทธศาสตร 5 ป 26 3.3 ตวั อยางแผนปฏบิ ัตกิ าร (Action Plan) 27 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ง

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 สวนราชการและองคกรทมี่ ใี นพื้นที่ หนา ตารางท่ี 2 ขอ มลู สถานบรกิ ารดานสุขภาพในพื้นทีอ่ าํ เภอเวยี งเกา 3 ตารางที่ 3 ขอมลู แสดงจาํ นวนเจา หนา ท่ี/จํานวนหมบู าน/จํานวนประชากร อําเภอเวยี งเกา 3 ตารางท่ี 4 จํานวนประชากรอาํ เภอเวียงเกา แยกตามสทิ ธกิ ารรกั ษา 4 ตารางที่ 5 แสดงขอ มลู บุคลากรดานสุขภาพ เครอื ขายบริการสุขภาพ อาํ เภอเวยี งเกา 4 ตารางที่ 6 จํานวนบคุ ลากรจาํ แนกตามสาขาวิชาชีพหลัก 4 ตารางท่ี 7 จาํ นวนผปู วยรับบริการ 5 อนั ดบั โรคท่เี ขารับบริการ 3 ปยอ นหลงั และป 2565 5 ตารางที่ 8 เรียงลาํ ดับจากมากไปนอ ย 5 สาเหตุการตาย 5 อันดับแรก 4 ปยอ นหลัง เรียงลาํ ดบั จากมากไปหานอ ย 5 จ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของสานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเวยี งเกา่ ตาบลเมอื งเก่าพัฒนา อ.เวยี งเก่า จ.ขอนแก่น วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ วัฒนธรรมองคก์ ร คา่ นยิ มองค์กร วิสยั ทัศน์ ประชาชนสุขภาพดี บรกิ ารมมี าตรฐาน บริหารจัดการเป็นเลิศ พันธกิจ - สร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ อนามัยส่ิงแวดล้อมและคุ้มครองผู้บริโภคด้าน สุขภาพ - พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มคี ุณภาพประสทิ ธิภาพและเป็นธรรม - พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขในการทางานนะส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนใน การดแู ลและจัดการระบบสุขภาพ - พฒั นาระบบบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล วัฒนธรรมองค์กร ตรงเวลา สามัคคี มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามรบั ผดิ ชอบ คา่ นยิ มขององคก์ ร ประชาชนสขุ ภาพดี เจ้าหนา้ ทีม่ ีความสขุ ระบบสุขภาพยง่ั ยืน 1.1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ท่ตี ั้งและอาณาเขต อาเภอเวียงเก่ามีพื้นที่ 286 ตารางกิโลเมตร ต้ังเป็นอาเภอเม่ือปี พ.ศ.2549 แยกตัวออกจากอาเภอ ภูเวียง และยกฐานะเป็นอาเภอท่ี 26 ของจังหวดั ขอนแก่น โรงพยาบาลเวียงเก่าเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็ก (F3) มีสานักงานสาธารณสุขอาเภอเวียงเก่า สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติจานวน 1 แห่ง และโรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตาบล จานวน 2 แห่ง อาเภอเวียงเก่าตั้งอยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดขอนแก่นมีเส้นทางจราจรหลักไปทางทิศ ตะวันตกไปตามถนนมะลิวรรณไปทางอาเภอชุมแพแล้วเลี้ยวขวาไปตามถนนภูเวียง-กุดฉิม ประมาณ 22 กิโลเมตรถึงแยกอาเภอภูเวียงและใช้เส้นทางภูเวียง-เมืองใหม่อีก 16 กิโลเมตรเดินทางสู่อาเภอเวียงเก่าซ่ึงห่าง จากจังหวดั ขอนแก่นประมาณ 84 กโิ ลเมตรโดยมอี าณาเขตติดตอ่ กับการปกครองขา้ งเคียงดงั นี้ ทศิ เหนือตดิ ต่อกบั อาเภอหนองนาคา ทิศตะวนั ออกติดตอ่ กับอาเภอภูเวียง ทศิ ใตต้ ิดต่อกบั อาเภอชมุ แพ ทศิ ตะวันตกติดต่อกับอาเภอชุมแพและอาเภอสชี มพู รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ (CBL) พนื้ ท่อี าเภอเวียงเก่า จังหวดั ขอนแก่น 1

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ พ้ืนท่ีอาเภอเวียงเก่าตั้งอยู่บนพื้นท่ีราบในหุบเขา มีภูเขาเวียงล้อมรอบ เป็นแหล่งต้นน้าลาธารต่างๆ มี ลาห้วยขนาดเลก็ หลายสายและพนื้ ที่บางส่วนเปน็ เขตป่าสงวน เขตอุทยานแห่งชาติภูเวียง มีหนองน้าขนาดใหญ่ อยู่ใจกลางเป็นที่กักเก็บน้า มีสถานที่ท่องเท่ียวที่สาคัญ เช่น อุทยานแห่งชาติภูเวียง มีเนื้อที่ประมาณ 200,000 ไร่ เป็นภเู ขาโคง้ เปน็ วงล้อมรอบพนื้ ท่ีภายในหบุ เขาประกอบดว้ ยป่าไม้นานาพรรณ สตั วป์ า่ นานาชนิด และน้าตก ท่ีสวยงามหลายแห่ง เป็นแหล่งค้นพบกระดูกไดโนเสาร์ และยังมีสถานท่ีท่องเที่ยวที่สาคัญอื่นๆ เช่นพิพิธภัณฑ์ ไดโนเสาร์ ทงุ่ ใหญเ่ สาอาราม ผาชมตะวัน นา้ ตกตาดฟ้า เป็นตน้ ลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนช้ืน มีอากาศร้อนจัดในช่วงฤดูร้อน หนาวจัดในช่วงฤดูหนาว มีฝนตกหนัก ในชว่ งเดือนมถิ ุนายนถึงสงิ หาคมของทกุ ปี ร้อนแห้งแล้งในชว่ งเดอื นมนี าคมถงึ เมษายน สภาวะเศรษฐกจิ รายไดห้ ลักของประชาชนได้จากการประกอบอาชพี เกษตรกรรม ทานาทาไร่ ทาสวน และมีรายได้เสริม จากการปลกู พชื ตามฤดกู าล และการจัดจาหน่ายสนิ คา้ พนื้ เมือง และรบั จ้างทวั่ ไป ซง่ึ รายได้ส่วนนีข้ องประชากร สามารถทาให้ความเป็นอยู่ดีข้ึน สามารถพ่ึงตนเองได้โดยท่ีไม่มีหน้ีสินล้นพ้นตัว มีธนาคาร 1 แห่ง (ธนาคาร ธกส.สาขายอ่ ย) ศาสนา ประชาชนสว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ มีวดั ท้ังสน้ิ จานวน 33 แหง่ ประเพณีและวัฒนธรรม มปี ระเพณที ี่ปฏิบตั สิ บื ทอดกันมาต้งั แตส่ มยั โบราณกาล กินอาหารตามธรรมชาติและมีวฒั นธรรมที่เกิด จากการประกอบอาชพี การคมนาคม ใชท้ างหลวงแผ่นดินหมายเลข 3802 (ภเู วยี ง-เมืองใหม่) เปน็ เส้นทางคมนาคมหลักในการติดต่อสื่อสาร กับอาเภอใกล้เคียง ส่วนถนนเช่ือมระหว่างหมู่บ้านเป็นถนนลาดยาง สลับกับถนนลูกรัง การเดินทางสู่จังหวัด ขอนแกน่ มรี ถตู้ (เวยี งเก่า-ขอนแกน่ ) ไป-กลบั 5 รอบต่อวนั ขอ้ มลู ทางการเกษตร การเพาะปลูกลักษณะการเกษตรของประชากรในพ้ืนท่ีอาเภอเวียงเก่าส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกอ้อย ข้าว มันสาปะหลัง ซ่ึงอาศัยน้าจากน้าฝนและน้าแหล่งธรรมชาติ ใช้ในการเกษตร สาหรับประชากรท่ีมีพื้นที่ตดิ กับแหลง่ น้าก็จะประกอบอาชพี ปลูกพืชผักสวนครัวเพิ่มเติม ความหนาแนน่ ของประชากร เครือข่ายสุขภาพ อาเภอเวียงเกา่ จังหวดั ขอนแก่น • มีพ้ืนทรี่ ับผิดชอบทั้งหมด 36 หมบู่ า้ น • มจี านวนหลงั คาเรอื น 5,526 หลังคาเรอื น • มีประชากรท้งั ส้นิ 19,830 คน แยกเปน็ ชาย 9,837 คน หญิง 9,993 คน • ความหนาแน่นของประชากร 69.34 ต่อคนตอ่ ตารางกิโลเมตร (พืน้ ท่ีทั้งหมด 286 ตาราง กิโลเมตร) รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ (CBL) พ้ืนท่อี าเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแกน่ 2

ภาพท่ี 1 ปิรามดิ ประชากร ปี 2566 (ทม่ี า : ฐานข้อมลู HDC สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ขอนแกน่ 2566) ขอ้ มูลสว่ นราชการในพน้ื ท่ี จานวน (แหง่ ) ตารางที่ 1 ส่วนราชการและองค์กรท่ีมใี นพ้ืนท่ี 12 สว่ นราชการ/องค์กร 7 10 1 โรงเรียน 5 2 ศูนย์เดก็ เลก็ 3 3 แหลง่ ท่องเท่ยี ว 1 4 โรงแรม ท่ีพัก โฮมสเตย์ 7 5 องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ 6 ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) 7 สว่ นราชการอ่ืนๆ ทม่ี า : จากการสารวจขอ้ มูลพ้ืนฐาน ขอ้ มลู สถานบรกิ ารสขุ ภาพ จานวน (แหง่ ) ตารางท่ี 2 ข้อมลู สถานบรกิ ารด้านสุขภาพในพ้นื ทอี่ าเภอเวยี งเก่า 1 สถานบริการ 1 1 1 โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 2 2 สานกั งานสาธารณสุขอาเภอ (สสอ.) 4 3 สถานอี นามัยเฉลิมพระเกยี รติ 60 พรรษา นวมินทราชนิ ี (สอน.) 4 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล (รพ.สต.) 5 คลนิ ิก (เอกชน) ที่มา : จากการสารวจขอ้ มลู พนื้ ฐาน มกราคม 2565 รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พื้นที่อาเภอเวยี งเกา่ จังหวัดขอนแก่น 3

ตารางที่ 3 ขอ้ มลู แสดงจานวนเจา้ หนา้ ท่/ี จานวนหมู่บ้าน/จานวนประชากร อาเภอเวียงเก่า หนว่ ยบริการปฐมภมู ิ จานวน จนท. จานวน ประชากร สดั ส่วน จนท. (รหสั สถานบรกิ าร) (ประจา) หมบู่ ้าน (คน) ต่อประชากร 1 สอน.บา้ นเมืองใหม่ (04410) 6 15 6,500 1 : 1,083 2 รพ.สต.เขานอ้ ย (04415) 4 11 3,595 1 : 899 3 รพ.สต.เมืองเกา่ พฒั นา (04420) 7 9 3,192 1 : 456 4 PCU รพ.เวียงเกา่ (77650) 5 1 685 1 : 137 5 สสอ.เวียงเก่า 4 - -- แหล่งข้อมูล : จากทะเบียนราษฎร์ ณ เดอื น กรกฎาคม 2565 ตารางท่ี 4 จานวนประชากรอาเภอเวียงเก่า แยกตามสทิ ธิการรกั ษา จานวน ประเภทสทิ ธิ 10,120 649 1 ประกนั สุขภาพถ้วนหน้า 890 2 ประกนั สังคม 3 ขา้ ราชการ 2,313 4 สทิ ธิอื่นๆ 13,972 รวม ทม่ี า : HDC เดอื น 30 มิถุนายน 2565 ข้อมูลบคุ ลากร ตารางท่ี 5 แสดงขอ้ มลู บุคลากรดา้ นสุขภาพ เครอื ข่ายบรกิ ารสุขภาพ อาเภอเวยี งเกา่ บุคลากร รพ.เวยี งเก่า สสอ. ในเมือง เมืองเกา่ เขาน้อย รวม แพทย์ 3 - - - - 3 2 ทนั ตแพทย์ 2- - - - 3 3 เภสชั กร 3- - - - 1 25 นกั เทศนิคการแพทย์ 3- - - - 8 2 นักกายภาพบาบัด 1- - - - 3 6 พยาบาลวชิ าชพี 19 - 3 1 2 6 2 นวก.สาธารณสุข 32111 1 1 นวก.คอมพวิ เตอร์ 2- - - - 2 2 แพทย์แผนไทย 2-1- - 45 จพ.สาธารณสุข 1 - 23 - 115 นวก./จพ.ทันตสาธารณสขุ 2 - 1 2 1 จพ.เภสัชกรรม 2- - - - จพ.เวชสถติ ิ 1- - - - นักจดั การงานทว่ั ไป 1- - - - นวก./จพ.พสั ดุ 2- - - - นวก./จพ.การเงินและบญั ชี 2 - - - - ลกู จา้ งอ่ืน ๆ 33 3 3 3 3 รวม 82 5 11 10 7 รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พื้นท่อี าเภอเวียงเก่า จงั หวัดขอนแกน่ 4

ตารางที่ 6 จานวนบุคลากรจาแนกตามสาขาวชิ าชพี หลกั ประเภทบคุ ลากร จานวน (คน) อตั รากาลังบุคลากรต่อประชากร 1 แพทย์ 3 1 : 6,610 1 : 9,915 2 ทนั ตแพทย์ 2 1 : 6,610 1 : 793 3 เภสชั กร 3 1 : 6,610 1 : 19,830 4 พยาบาลวิชาชีพ 25 1 : 3,305 1 : 9,915 5 นกั เทคนิคการแพทย์ 3 1 : 3,305 1 : 3,305 6 นักกายภาพบาบดั 1 1 : 9,915 7 นักวิชาการสาธารณสุข 6 8 แพทยแ์ ผนไทย 2 9 จพ.สาธารณสขุ 6 10 นวก./จพ.ทนั ตสาธารณสุข 6 11 จพ.เภสชั กรรม 2 1.2 ข้อมลู บรกิ าร ตารางท่ี 7 จานวนผู้ป่วยรับบรกิ าร 5 อนั ดบั โรคทีเ่ ข้ารับบริการ 3 ปียอ้ นหลัง และปี 2565 เรยี งลาดับจาก มากไปนอ้ ย อนั ดบั ปี 2562 (คร้ัง) ปี 2563 (ครงั้ ) 1 ความดนั โลหติ สูง (4,824) ความดันโลหิตสูง (5,780) 2 เบาหวาน (4,194) เบาหวาน (5,291) 3 ความผดิ ปกตขิ องฟันและโครงสรา้ ง (3,929) ตดิ เชือ้ ทางเดนิ หายใจส่วนบน (3,790) 4 ตดิ เชื้อทางเดินหายใจส่วนบน (3,922) เนื้อเยือ่ ผิดปกติ (3,450) 5 เนอื้ เยอ่ื ผิดปกติ (2,793) โรคของหลอดอาหาร กระเพาะ ดโู อดินมั (1,989) อันดับ ปี 2564 (ครง้ั ) ปี 2565 (คร้งั ) 1 ความดนั โลหติ สูง (5,225) ความดันโลหติ สงู (4,755) 2 เบาหวาน (4,512) เบาหวาน (4,613) 3 เน้ือเยอ่ื ผิดปกติ (3,388) ตดิ เชอ้ื ของทางเดินหายใจส่วนบน (4,119) 4 ติดเชื้อของทางเดนิ หายใจส่วนบน (2,311) คออกั เสบและต่อมทอนซลิ อกั เสบเฉียบพลัน (3,731) 5 โรคของหลอดอาหาร กระเพาะ ดโู อดินมั (1,990) เนอ้ื เยื่อผิดปกติ (3,728) ที่มา : HDC สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ขอนแก่น ณ กมุ ภาพันธ์ 2566 1.3 สาเหตกุ ารตาย ตารางที่ 8 สาเหตกุ ารตาย 5 อนั ดับแรก 4 ปียอ้ นหลัง เรียงลาดบั จากมากไปหาน้อย ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 1 ไตวายเรือ้ รัง ติดเช้อื ในกระแสเลอื ด ปอดบวม การตดิ เช้ือในกระแสเลอื ด 2 สมองเส่อื มในวยั ขรา สมองเส่อื มในวยั ขรา ตดิ เช้ือในกระแสเลือด หวั ใจลม้ เหลว 3 ติดเชอ้ื ในกระแสเลอื ด ไตวายเรือ้ รงั หวั ใจล้มเหลว มะเรง็ ตับ/ถงุ นา้ ดี/ท่อนา้ ดี 4 มะเรง็ ตับ/ถงุ น้าด/ี ท่อนา้ ดี มะเร็งตบั /ถงุ นา้ ด/ี ท่อนา้ ดี วยั ชรา สมองเส่อื มในวยั ขรา 5 เลอื ดออกในสมอง ปอดบวม ไตวายเรื้อรัง ไตวายเรอ้ื รัง ทมี่ า : ฐานขอ้ มลู HDC สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั ขอนแก่น ข้อมลู ณ กุมภาพันธ์ 2566 รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์เพอื่ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ (CBL) พ้ืนท่ีอาเภอเวยี งเก่า จังหวดั ขอนแกน่ 5

ปญั หาสขุ ภาพในพนื้ ท่ี ในปีงบประมาณ 2566 เครือข่ายบริการสขุ ภาพเวยี งเก่า ไดม้ ีการไดม้ กี ารประชมุ ทาแผนเพอื่ หา แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาในระดบั อาเภอ โดยพบปญั หาด้านสขุ ภาพ 10 ปัญหา ดงั น้ี 1) โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2) ยาเสพติด 3) ตดิ เชอื้ ในกระแสเลือด 4) ไตวายเรือ้ รงั 5) อบุ ตั ิเหตจุ ราจร 6) วัณโรค 7) โรคหลอดเลือดสมอง 8) โรคหลอดเลือดหัวใจ 9) มะเรง็ ตับ/ทอ่ น้าด/ี ถุงนา้ ดี 10) การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (CBL) พื้นที่อาเภอเวยี งเกา่ จังหวดั ขอนแกน่ 6

ส่วนที่ 2 การวเิ คราะห์ข้อมลู 2.1 การวิเคราะห์สถานการณแ์ ละปัญหาของพ้ืนท่ี 1. ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Data) • ข้อมูลท่วั ไปผลการดาเนนิ งานสาธารณสุขเครอื ข่ายบรกิ ารสขุ ภาพอาเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแก่น ปงี บประมาณ 2565 (รอบที่ 2) และ ปงี บประมาณ 2566 (รอบท่ี 1) • แผนปฏบิ ตั ิราชการด้านสาธารณสขุ อาเภอเวยี งเกา่ (Action Plan) ประจาปงี บประมาณ 2566 รพ.เวยี งเก่า 2. การคัดเลือกปญั หาสาธารณสุขท่สี าคญั จากการวิเคราะห์ข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ สามารถพจิ ารณาเลอื กปัญหาสาธารณสขุ ทค่ี าดวา่ จะเปน็ ปัญหาของ พืน้ ท่ี ได้แก่ ปญั หา “ระดบั ความสาเร็จของการดาเนินงานปอ้ งกันควบคุมวณั โรค” โดยมีขอ้ มลู สนบั สนุน ดังนี้ ข้อมลู เชงิ ปริมาณ 1. ไม่มีการประเมินอัตราความครอบคลุมของการขึน้ ทะเบียนรกั ษาผู้ปว่ ยวณั โรครายใหมแ่ ละกลบั เปน็ ซา้ 2. ไมม่ ีการประเมนิ อัตราผลสาเรจ็ ในการรกั ษาวัณโรค ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ 1. ผู้ป่วยวัณโรคทไี่ ดร้ บั การวินจิ ฉยั ต้องเดนิ ทางไปขน้ึ ทะเบียนรกั ษาและรับยาทโ่ี รงพยาบาลภูเวยี ง สาเหตุของปญั หา 1. โรงพยาบาลเวียงเก่าอยู่ระหว่างการดาเนินการจัดตั้งคลินิกวัณโรค เพื่อให้บริการดูแลรักษาผู้ปว่ ย วัณโรคอย่างครบวงจร 2. ยังไม่มีระบบการประสานงานท่ีชัดเจนกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ซึ่งถ่ายโอนไปที่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด ในการคัดกรองวัณโรคและการติดตามดูแลรักษาผู้ป่วยวณั โรค 3. การวเิ คราะหป์ ัญหาวณั โรค การวเิ คราะห์ปัญหาคร้ังน้ีจาแนกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1 การประเมินสภาพภายในองค์กร เพ่ือระบุ จุดแข็งจุดอ่อนขององค์กรต่อปัญหาด้วย McKinsey 7 S model และ 2 การประเมินสภาพภายนอก เพื่อ พิจารณาโอกาสและอุปสรรคต่อปัญหาด้วย PESTEL model ขอ้ มลู การประเมินระบบเฝา้ ระวงั วัณโรคของอาเภอเวยี งเก่า 1. กจิ กรรมการรวบรวมข้อมลู 1.1 ระบบการบริหารจดั การวัณโรคของอาเภอเวียงเกา่ เนื่องจากยังไม่ได้มีการดาเนินงานจัดตั้งคลินิกวัณโรค จึงยังไม่มีผังโครงสร้างการแบ่งงานความ รบั ผดิ ชอบที่ชัดเจน ส่วนการบรหิ ารจัดการวณั โรคในปัจจุบนั ไดด้ าเนนิ การโดย 1. กรณีผู้มีอาการสงสัยวัณโรคเข้ามาตรวจวินิจฉัยวัณโรค พยาบาล OPD จะทาหน้าท่ีซักประวัติ คดั กรองอาการสงสยั วัณโรค และสง่ ใหแ้ พทย์ตรวจวนิ ิจฉยั 2. กลุ่มเส่ียง 7 กลุ่ม ทางกลุ่มงานปฐมภูมิ จะส่งรายชื่อผู้ป่วยวัณโรคปอด ในทะเบียนย้อนหลัง 3 ปี ให้กับทาง รพ.สต. เพื่อให้สารวจรายชอ่ื ผู้สัมผัสโรคร่วมบา้ นมาตรวจคัดกรองโดยการเอกซเรย์ปอด กรณีที่มีผลเอกซเรย์ผดิ ปกติ จะทาการเก็บตัวอย่างเสมหะ 3 วนั เพ่ือวินิจฉัย หากผลเสมหะเปน็ ลบ แตม่ ผี ลเอกซเรย์ผิดปกติ จะเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจ Gene X-pert ท่ี สคร. 7 ขอนแกน่ เพื่อวนิ จิ ฉยั รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ท่อี าเภอเวยี งเกา่ จังหวดั ขอนแกน่ 7

3. การขึ้นทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค เมื่อผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยวณั โรค จะได้รับการส่งต่อเพ่ือไป ขึ้นทะเบียนรบั ยารักษาวณั โรค ท่โี รงพยาบาลภเู วยี ง 4. โรงพยาบาลเวียงเก่า จะมีไลน์กลุ่มกรณีมีผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการวินิจฉัย เพ่ือการส่งต่อการ ขึ้นทะเบียน 5. โรงพยาบาลภูเวียง จะแจง้ รายชื่อผปู้ ่วยวัณโรคมาท่ผี ู้รับผิดชอบของโรงพยาบาลเวยี งเก่า (งานปฐมภูมิ) เพื่อใหม้ กี ารตดิ ตามดแู ลการรักษา ผา่ นทางไลน์กลุ่ม 6. มีการจดั ทาทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคในพนื้ ที่ (TB Record) 7. การติดตามดูแลผู้ป่วย พบว่าทางโรงพยาบาลภูเวียงจะจัดยารักษาวัณโรคให้กับผู้ป่วยเป็นแบบ Pack ผู้ป่วยต้องเลือกยากินเอง ซ่ึงที่ผ่านมาพบว่าผู้ป่วยหลายรายกินยาไม่ถูกต้อง ทางกลุ่มงาน เภสชั กรรมจะออกไปจัดยาใหผ้ ู้ปว่ ยวณั โรคแบบปฏิทนิ การกินยาในแต่ละวนั 1.2 สถานการณ์วณั โรคของอาเภอเวยี งเก่า 1. ผลงานความครอบคลมุ ของการขนึ้ ทะเบยี นรกั ษาผปู้ ว่ ยวัณโรค ปงี บประมาณ เป้าหมายการ เปา้ หมายจานวนผู้ป่วย ผลงานการขน้ึ ร้อยละ ข้นึ ทะเบยี น วณั โรคทข่ี ึน้ ทะเบยี น ทะเบียนรักษา 2563 153/แสน ปชก 30 ราย 6 ราย 20 2564 150/แสน ปชก 29 ราย 17 ราย 58.62 2565 150/แสน ปชก 29 ราย 20 ราย 68.96 2566 143/แสน ปชก 28 ราย 7 ราย 25 2. ผลการรกั ษาผปู้ ว่ ยวัณโรค ปงี บประมาณ จานวนผูป้ ่วย รักษาสาเร็จ เสยี ชวี ิต กาลังรกั ษา วณั โรคทข่ี นึ้ ทะเบยี น 2563 6 ราย 6 ราย (100%) 2564 17 ราย 11 ราย (64.70%) 4 ราย (23.52%) 2565 20 ราย 14 ราย (70%) - 6 ราย (30%) 2566 7 ราย 7 ราย (100%) 1.3 การดาเนินงานควบคุมวัณโรค 1. มกี ารจัดทาโครงการคดั กรองวัณโรคในพื้นที่อาเภอเวียงเก่า โดยการเอกซเรย์ปอดในกลุ่มเสีย่ ง 7 กลมุ่ โดยใช้งบประมาณจากเงินบารงุ (PPB) 1.4 การดาเนินงานของหอ้ งปฏิบัติการ 1. มบี คุ ลากรเทคนคิ การแพทย์ จานวน 3 คน โดยสามารถตรวจชนั สูตรเสมหะดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ได้ท้ัง 3 คน มกี ารใชโ้ ปรแกรม NTIP ในการบันทกึ การตรวจเสมหะและการส่งตรวจ Gene X-pert 2. ผลการดาเนินงานการตรวจชันสูตรเสมหะทางห้องปฏบิ ัตกิ าร ปีงบประมาณ จานวนผ้มู อี าการสงสัยที่รับการ ผลเสมหะพบเช้อื ตรวจเสมหะ 2565 88 ราย 8 ราย (9.09%) 2566 66 ราย 2 ราย (3.03%) รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ทีอ่ าเภอเวยี งเก่า จังหวดั ขอนแกน่ 8

1.5 ปญั หาอุปสรรค 1. อยรู่ ะหว่างดาเนนิ การจัดตั้งคลินิกวัณโรค รอผลการประเมนิ การขน้ึ ทะเบยี นจาก สปสช./สคร. 7 ขอนแกน่ 2. ยังไมม่ ีระบบการประสานงานที่ชดั เจนกับโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล ซงึ่ ถ่ายโอนไปที่องคก์ าร บริหารส่วนจังหวดั ในการคดั กรองวัณโรคและการตดิ ตามดแู ลรักษาผู้ป่วยวณั โรค 3. ผู้รับผดิ ชอบงานของงานปฐมภูมมิ ารับงานใหม่ ยงั ไม่เคยผา่ นการอบรมวัณโรค 2. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นสาธารณสขุ ของอาเภอเวยี งเก่า (Digital Transformation) เครือข่ายบริการสุขภาพอาเภอเวียงเก่า โดยมีโรงพยาบาลเวียงเก่าซึ่งเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็ก เปิด ใหบ้ ริการเฉพาะผู้ปว่ ยนอก (OPD) มีผบู้ ริหารสนับสนุนระบบเทคโนโลยขี องหน่วยงาน เครอื ข่ายบริการเวียงเก่า มีระบบเครือข่าย Internet ท่ีดีพอในการรับส่งข้อมูล ในส่วนของระบบสารสนเทศ โรงพยาบาลมี Server จัดเก็บข้อมูลบันทึกการให้บริการ(Database Server) โรงพยาบาลมีผู้ดูแลระบบ (Admin) 2 คน โดยดูงาน เทคโนโลยีและการเบิกจ่าย สปสช. โรงพยาบาลใช้โปรแกรม HOSxP v.3 ในการบันทึกการให้บริการคนไข้ และ ส่งออกข้อมูล 43 แฟ้มไฟล์เข้าโปรแกรม HDC กระทรวงสาธารณสุขทุกเดือน และติดตั้ง Gateway ส่งข้อมูล จากโปรแกรม HOSxP ของโรงพยาบาลเข้าสู่ระบบ Data Center ของ สสจ.ขอนแก่น เพื่อใช้เป็นระบบกากับ ติดตาม (Monitoring) ของจังหวัด ส่วนการเบิกค่ารักษาพยาบาลจาก สปสช. ได้ใช้โปรแกรมบริหารจัดการ ลูกหน้ีค่ารักษาพยาบาล Receivable Claim Management (RCM) โรงพยาบาลเวียงเก่ามีระบบให้บริการ แพทย์ทางไกล (Telemedicine) ใช้ในเครือข่ายบริการโดยใช้โปรแกรม Google Meet กับผู้ปว่ ย NCD และใช้ ระบบแพทย์ทางไกลของกรมการแพทย์ (DMS) ระหว่างโรงพยาบาลกบั โรงพยาบาลแม่ข่าย ข้อเสนอแนะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เนื่องจากโรงพยาบาลมีการจัดกับข้อมูลการให้บริการผู้ป่วย (Database Server) ไว้ที่โรงพยาบาล โรงพยาบาลต้องมีอุปกรณ์ Firewall ที่ Configuration ได้มาตรฐาน ในการป้องกันการโจมตีเครือข่าย คอมพิวเตอร์และขโมยข้อมูลโดยผู้ไม่หวังดีจากภายนอกโรงพยาบาล ในส่วนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานของ เจ้าหน้าท่ี (User) จาเป็นต้องตดิ ตง้ั Endpoint Antivirus ทีม่ ลี ขิ สิทธเ์ิ พื่อปอ้ งกนั ไวรสั คอมพวิ เตอรท์ มี าจากการ ใชง้ านของเจ้าหน้าท่ี (User) เปน็ การปอ้ งกนั การโจมตรี ะบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จากภายในหนว่ ยงาน ประเดน็ ปัญหาดา้ น KPI ในปงี บประมาณ 2565 กระทรวงสาธารณสขุ ได้กาหนดตวั ช้ีวัดให้ทกุ หนว่ ยบรกิ ารต้องเชื่อมโยงข้อมูล จาก Hospital Information System (HIS) หนว่ ยบรกิ าร เข้าไปทีกระทรวงสาธารณสุข โดยมขี ้ันตอนคือ 1. หน่วยบริการจะต้องทาหนังสือขออนุญาตเช่ือมข้อมูลสง่ ใหก้ ระทรวงสาธารณสุข 2. หลงั จากไดห้ นังสอื ขออนุญาตจากหนว่ ยงาน กระทรวงสาธารณสขุ จะกาหนดรหัสผา่ นในการให้ เช่อื มต่อ 3. หลังจากได้รหัสผา่ นจากกระทรวง หนว่ ยบรกิ ารค่อยมาติดตัง้ ระบบส่งข้อมูล HIS Gateway รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พ้ืนทอี่ าเภอเวียงเก่า จงั หวดั ขอนแกน่ 9

2.2 การศกึ ษาปจั จัยภายใน ภายนอก จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อกาหนดกลยุทธ์ การวิเคราะหป์ ัจจัยภายในด้วย McKinsey 7S model SW 7S จดุ แข็ง (S) จดุ ออ่ น (W) 1 โครงสร้าง S1 มีพืน้ ทกี่ ว้าง (33 ไร)่ สามารถขยาย W1 โครงสรา้ งสาธารณูปโภคพนื้ ฐาน (Structure) ได้ W2 ผ้ปู ว่ ยข้ามขนั้ ตอนมารักษาท่ี รพ. W3 ยังไม่มบี รกิ ารผูป้ ่วยใน W4 ระบบความปลอดภัยของบุคลากร ใน รพ.ยังมีจดุ ทต่ี ้องปรบั ปรุง W5 ประชากรสิทธิ์ UC 2 กลยทุ ธ์ S2 HR มรี ะบบสลับเปลย่ี นคน ไม่ใหข้ าด W6 การถ่ายทอดนโยบาย และ (Strategy) คนและสมรรถนะเทา่ เดิม HRDให้ ยทุ ธศาสตร์ ครอบคลุมถึงผ้ปู ฏิบัติ ทนุ เรยี นพยาบาลเพ่ิม แพทยจ์ ะสง่ บางระดับ Fammed เพม่ิ W7 ยงั ไมม่ แี ผนงานท่ชี ัดเจนเกย่ี วกบั วัณโรค 3 ระบบ (Systems) S3 ระบบบรกิ ารท่ีใชเ้ ทคโนโลยีมีความ W8 ปญั หาสุขภาพมคี วาม ชดั เจน มปี ระสิทธิภาพ W9 ระบบ Cyber security ควร S4 มเี ครอื ขา่ ยพ่เี ลยี้ งในการดแู ลระบบ ปรับปรุง (Firewall) S5 มีบรกิ ารเชงิ รุก W10 ระบบการคดั กรอง วินิจฉัย รกั ษา และการประสานงานยงั ไม่ ครอบคลุมในบางคลนิ กิ เชน่ เอดส์ วัณโรค Sepsis ยาเสพตดิ 4 ทกั ษะ (Skills) S6 บุคลากรขององค์กรมที ักษะด้าน IT, W11 การบรหิ ารจดั การเวลาในการลง Digital ขอ้ มูล W12 การกากับตดิ ตามในการลงขอ้ มลู W13 บคุ ลากรมปี ระสบการณ์ในการ ทางานนอ้ ย ขาดความมนั่ ใจในการ ดาเนนิ งาน W14 บคุ ลากรยังไม่มคี นมอี งคค์ วามรู้ ความม่ันใจด้านงานวิจัย R2R 5 รปู แบบ (Styles) S7 ผูน้ ามีศักยภาพ การบริหารแบบ W15 ผอู้ านวยการมภี าระงานหลาย ธรรมาภบิ าล เปน็ กันเอง หน้าท่ี 6 บุคลากร (Staffs) S8 มที มี งานทม่ี ีคุณภาพ W16 การปรับเปลยี่ นผบู้ รหิ าร W17 บคุ ลากรไม่เพยี งพอ 7 คณุ คา่ ที่มีรว่ มกัน S9 บุคลากรมคี วามมงุ่ ม่ันตั้งใจ มคี วาม - (Shared value) รักสามัคคีในองค์กร รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ท่ีอาเภอเวยี งเกา่ จังหวัดขอนแกน่ 10

การวิเคราะหป์ จั จัยภายนอกดว้ ย PESTEL model OT PESTLE โอกาส (O) อปุ สรรค (T) 1 ด้านการเมอื ง O1 การถ่ายโอน อบจ. T1 การโอนถา่ ย อบจ. (Political and: P) O2 มภี าคีเครอื ขา่ ย O3 ผนู้ าชุมชนมี T2 ความซบั ซอ้ นในระบบตัวชวี้ ัด วสิ ยั ทัศน์ (นายอาเภอ) มีหลักธรรม มาภบิ าล ชK้ี PI บางตวั ท่ไี มเ่ กิด ประโยชน์อาจไม่ทา (Vaccine), ผอ. รพสต. CA Cx (screening Pap) O4 มนี โยบายด้านสุขภาพ แผน ยทุ ธศาสตรช์ าติ ฉบบั ที่ 13 ที่ สนบั สนุนการดาเนนิ งาน 2 ด้านเศรษฐกิจ O5 โอกาสเพิ่มรายได้จากแหลง่ T3 ประชากร UC นอ้ ย (Economic ท่องเท่ยี ว T4 ปญั หาอาชญากรรมในพนื้ ที่ factors : E) O6 ไดร้ ับงบประมาณสนับสนนุ จาก องคก์ รภายนอก ทงั้ ภาครฐั และเอกชน 3 ดา้ นสังคมและ O7 มคี วามสมั พนั ธท์ ด่ี ีกับชุมชน T5 ปัญหายาเสพติด ฆา่ ตัวตายในพื้นที่ วัฒนธรรม T6 สงั คมผ้สู ูงอายุ (Social–cultural T7 การขยายตวั ของสังคมเมือง Factors : S) 4 ดา้ นเทคโนโลยี - - (Technological Factors : T) 5 ด้านกฎหมาย - - (Legal Factors : L) 6 สภาพแวดล้อม O8 สถานที่อยใู่ กล้ เดินทางสะดวก T8 เส้นทางการคมนาคมเสี่ยงตอ่ การ (Environmental เกดิ อบุ ตั ิเหตุ Factors : E) T9 ระบบการสง่ ต่อจากชมุ ชนทม่ี ีภาวะ ฉุกเฉนิ รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พนื้ ทอี่ าเภอเวยี งเกา่ จงั หวัดขอนแก่น 11

SWOT Analysis STRENGHT WEAKNESS S1 มพี น้ื ทีก่ วา้ ง (33 ไร)่ สามารถขยายได้ S2 HR มีระบบสลบั เปลี่ยนคน ไม่ใหข้ าดคนและสมรรถนะเท่าเดิม HRD W1 โครงสรา้ งสาธารณูปโภคพน้ื ฐาน W2 ผปู้ ว่ ยขา้ มขั้นตอนมารักษาท่ี รพ. ให้ทนุ เรยี นพยาบาลเพ่ิม แพทยจ์ ะส่ง Fammed เพิ่ม W3 ยังไม่มบี รกิ ารผปู้ ว่ ยใน S3 ระบบบรกิ ารที่ใช้เทคโนโลยีมคี วามชัดเจน มีประสทิ ธภิ าพ W4 ระบบความปลอดภยั ของบคุ ลากรใน รพ.ยังมจี ุดท่ตี ้องปรับปรงุ S4 มีเครือข่ายพเี่ ลยี้ งในการดแู ลระบบ W5 ประชากรสิทธิ์ UC S5 มีบรกิ ารเชิงรุก W6 การถา่ ยทอดนโยบาย และยุทธศาสตร์ ครอบคลุมถึงผู้ปฏิบัตบิ างระดบั S6 บุคลากรขององคก์ รมที ักษะดา้ น IT, Digital W7 ยังไมม่ ีแผนงานทช่ี ัดเจนเกย่ี วกบั วัณโรค S7 ผนู้ ามีศกั ยภาพ การบริหารแบบธรรมาภบิ าล เป็นกันเอง W8 ปัญหาสขุ ภาพมีความเปลย่ี นแปลง S8 มีทมี งานที่มคี ณุ ภาพ W9 ระบบ Cyber security ควรปรบั ปรุง (Firewall) S9 บคุ ลากรมีความม่งุ มั่นต้ังใจ มีความรกั สามคั คใี นองค์กร W10 ระบบการคดั กรอง วนิ จิ ฉยั รกั ษา และการประสานงานยงั ไม่ ครอบคลุมในบางคลนิ ิก เชน่ เอดส์ วัณโรค Sepsis ยาเสพติด W11 การบริหารจัดการเวลาในการลงข้อมูล W12 การกากบั ติดตามในการลงขอ้ มูล W13 บคุ ลากรมปี ระสบการณ์ในการทางานน้อย ขาดความมั่นใจในการ ดาเนินงาน W14 บคุ ลากรยังไมม่ ีคนมีองค์ความรู้ ความมน่ั ใจด้านงานวิจัย R2R W15 ผู้อานวยการมภี าระงานหลายหนา้ ท่ี W16 การปรบั เปลี่ยนผู้บรหิ าร W17 บุคลากรไมเ่ พยี งพอ OPPORTUNITY THREAT O1 การถา่ ยโอน อบจ. T1 การโอนถ่าย อบจ. O2 มภี าคเี ครือข่าย O3 ผ้นู าชมุ ชนมวี ิสัยทัศน์ (นายอาเภอ) มหี ลักธรรม T2 ความซับซอ้ นในระบบตัวชี้วดั มาภิบาล ชKี้ PI บางตัวท่ีไม่เกดิ ประโยชน์อาจไมท่ า (Vaccine), ผอ. T3 ประชากร UC น้อย รพสต. CA Cx (screening Pap) T4 ปญั หาอาชญากรรมในพื้นที่ O4 มนี โยบายด้านสุขภาพ แผนยุทธศาสตรช์ าติ ฉบับท่ี 13 ท่ีสนบั สนนุ T5 ปญั หายาเสพติด ฆ่าตวั ตายในพน้ื ที่ การดาเนนิ งาน T6 สังคมผู้สูงอายุ O5 โอกาสเพิม่ รายไดจ้ ากแหลง่ ท่องเท่ยี ว T7 การขยายตัวของสงั คมเมอื ง O6 ได้รับงบประมาณสนบั สนุนจากองค์กรภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน T8 เสน้ ทางการคมนาคมเสยี่ งต่อการเกิดอุบัติเหตุ O7 มีความสมั พนั ธ์ทด่ี ีกบั ชมุ ชน T9 ระบบการส่งต่อจากชมุ ชนทมี่ ภี าวะฉกุ เฉนิ การวิเคราะหบ์ ริบทของปัญหา การวิเคราะห์สาเหตปุ ญั หา ดว้ ยการวิเคราะห์สภาพองคก์ ร (SWOT Analysis) เพื่อพิจารณาจุดแขง็ (Strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และอปุ สรรค (Threats) โดยมปี ระเดน็ ดังนี้ จุดแขง็ (S : Strengths) S1 มพี ืน้ ทีก่ ว้าง (33 ไร่) สามารถขยายได้ S2 HR มีระบบสลบั เปลีย่ นคน ไมใ่ ห้ขาดคนและสมรรถนะเท่าเดิม HRD ให้ทนุ เรยี นพยาบาลเพ่ิม แพทย์จะ สง่ Fammed เพมิ่ S3 ระบบบริการทใี่ ชเ้ ทคโนโลยีมีความชดั เจน มีประสิทธภิ าพ S4 มีเครือข่ายพเ่ี ล้ยี งในการดแู ลระบบ S5 มบี ริการเชงิ รุก S6 บุคลากรขององค์กรมีทักษะดา้ น IT, Digital S7 ผู้นามีศกั ยภาพ การบรหิ ารแบบธรรมาภบิ าล เปน็ กนั เอง S8 มที มี งานทมี่ ีคุณภาพ S9 บุคลากรมคี วามมุง่ มน่ั ต้ังใจ มคี วามรกั สามคั คีในองคก์ ร รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ทอี่ าเภอเวยี งเก่า จงั หวดั ขอนแก่น 12

จดุ ออ่ น (W : Weaknesses) W1 โครงสรา้ งสาธารณปู โภคพ้นื ฐาน W2 ผู้ปว่ ยขา้ มขนั้ ตอนมารักษาที่ รพ. W3 ยังไม่มบี รกิ ารผ้ปู ่วยใน W4 ระบบความปลอดภยั ของบคุ ลากรใน รพ.ยังมีจุดทีต่ อ้ งปรับปรงุ W5 ประชากรสิทธิ์ UC W6 การถา่ ยทอดนโยบาย และยทุ ธศาสตร์ ครอบคลมุ ถึงผปู้ ฏบิ ตั ิบางระดับ W7 ยงั ไมม่ ีแผนงานท่ชี ัดเจนเก่ยี วกับวัณโรค W8 ปญั หาสขุ ภาพมีความเปลย่ี นแปลง W9 ระบบ Cyber security ควรปรับปรงุ (Firewall) W10 ระบบการคัดกรอง วินจิ ฉัย รกั ษา และการประสานงานยังไม่ครอบคลุมในบางคลนิ กิ เชน่ เอดส์ วัณโรค Sepsis ยาเสพติด W11 การบริหารจดั การเวลาในการลงขอ้ มลู W12 การกากบั ตดิ ตามในการลงขอ้ มลู W13 บุคลากรมปี ระสบการณ์ในการทางานน้อย ขาดความมน่ั ใจในการดาเนนิ งาน W14 บคุ ลากรยงั ไมม่ ีคนมอี งค์ความรู้ ความมน่ั ใจด้านงานวิจัย R2R W15 ผ้อู านวยการมภี าระงานหลายหนา้ ท่ี W16 การปรบั เปล่ียนผ้บู รหิ าร W17 บคุ ลากรไมเ่ พียงพอ โอกาส (O : Opportunities) O1 การถ่ายโอน อบจ. O2 มภี าคีเครือขา่ ย O3 ผนู้ าชมุ ชนมวี ิสยั ทศั น์ (นายอาเภอ) มีหลกั ธรรมมาภบิ าล ชี้KPI บางตวั ทไ่ี มเ่ กิด ประโยชนอ์ าจไมท่ า (Vaccine), ผอ.รพสต. CA Cx (screening Pap) O4 มนี โยบายดา้ นสุขภาพ แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ฉบับที่ 13 ท่สี นับสนนุ การดาเนินงาน O5 โอกาสเพมิ่ รายได้จากแหลง่ ท่องเท่ยี ว O6 ไดร้ ับงบประมาณสนับสนุนจากองคก์ รภายนอก ทงั้ ภาครฐั และเอกชน O7 มคี วามสมั พันธท์ ่ดี กี บั ชมุ ชน อปุ สรรค (T : Threats) T1 การโอนถ่าย อบจ. T2 ความซับซอ้ นในระบบตัวช้วี ัด T3 ประชากร UC นอ้ ย T4 ปัญหาอาชญากรรมในพ้นื ท่ี T5 ปญั หายาเสพตดิ ฆ่าตวั ตายในพื้นที่ T6 สงั คมผู้สูงอายุ T7 การขยายตัวของสังคมเมอื ง T8 เส้นทางการคมนาคมเสย่ี งต่อการเกดิ อบุ ัติเหตุ T9 ระบบการส่งต่อจากชุมชนทม่ี ีภาวะฉกุ เฉิน รายงานการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์เพอื่ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พ้นื ทีอ่ าเภอเวยี งเก่า จังหวดั ขอนแกน่ 13

2.3 การใช้ตาราง TOWS Matrix สรา้ งกลยุทธ์ TOWS MATRIX S W W1 โครงสรา้ งสาธารณปู โภคพนื้ ฐาน ปจั จยั ภายใน S1 มีพืน้ ทีก่ วา้ ง (33 ไร)่ สามารถขยายได้ W2 ผปู้ ่วยขา้ มข้นั ตอนมารักษาท่ี รพ. S2 HR มรี ะบบสลบั เปลยี่ นคน ไมใ่ หข้ าดคนและสมรรถนะเทา่ W3 ยงั ไม่มบี ริการผู้ปว่ ยใน W4 ระบบความปลอดภยั ของบคุ ลากรใน รพ.ยงั มีจดุ ท่ตี ้อง เดิม HRD ให้ทุนเรยี นพยาบาลเพ่มิ แพทยจ์ ะส่ง Fammed เพ่ิม ปรับปรุง S3 ระบบบริการที่ใช้เทคโนโลยมี คี วามชดั เจน มีประสทิ ธภิ าพ W5 ประชากรสิทธิ์ UC น้อย S4 มีเครอื ขา่ ยพ่เี ลีย้ งในการดแู ลระบบ W6 การถ่ายทอดนโยบาย และยุทธศาสตร์ ครอบคลมุ ถึงผู้ S5 มบี ริการเชิงรกุ S6 บคุ ลากรขององคก์ รมที ักษะดา้ น IT, Digital ปฏบิ ัติบางระดับ S7 ผู้นามศี ักยภาพ การบรหิ ารแบบธรรมาภบิ าล เป็นกนั เอง W7 ยังไมม่ ีแผนงานทชี่ ัดเจนเก่ียวกบั วณั โรค S8 มีทมี งานท่ีมคี ุณภาพ W8 ปัญหาสุขภาพมีความเปลย่ี นแปลง S9 บุคลากรมคี วามมุ่งมนั่ ต้งั ใจ มคี วามรกั สามคั คีในองค์กร W9 ระบบ Cyber security ควรปรับปรงุ (Firewall) W10 ระบบการคดั กรอง วินิจฉยั รกั ษา และการประสานงานยงั ปัจจัยภายนอก ไมค่ รอบคลุมในบางคลนิ กิ เชน่ เอดส์ วณั โรค Sepsis ยา O กลยุทธเ์ ชิงรกุ เสพตดิ S3,6 O4,6 ยกระดบั Telemedicine W11 การบรหิ ารจดั การเวลาในการลงขอ้ มูล O1 การถ่ายโอน อบจ. S4,7,8,9 O2,3,4,7 เพ่ิมขีดสมรรถนะผนู้ า ทมี งานและภาคี W12 การกากับตดิ ตามในการลงขอ้ มลู O2 มีภาคเี ครือขา่ ย เครอื ข่ายสขุ ภาพ W13 บคุ ลากรมปี ระสบการณใ์ นการทางานน้อย ขาดความมั่นใจ O3 ผ้นู าชุมชนมวี สิ ัยทัศน์ (นายอาเภอ) มหี ลักธรรมมาภิบาล - ผนู้ าดา้ นบริการ ในการดาเนนิ งาน - ผู้นาด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ W14 บุคลากรยงั ไม่มคี นมีองคค์ วามรู้ ความมัน่ ใจด้านงานวิจัย ชี้ KPI บางตัวทีไ่ มเ่ กิดประโยชนอ์ าจไมท่ า (Vaccine), - ผ้นู าด้านการประสานงาน R2R ผอ.รพสต. CA Cx (screening Pap) W15 ผูอ้ านวยการมีภาระงานหลายหนา้ ที่ O4 มนี โยบายดา้ นสขุ ภาพ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ฉบับท่ี 13 กลยุทธเ์ ชงิ ป้องกนั W16 การปรบั เปล่ียนผบู้ ริหาร ทสี่ นับสนุนการดาเนินงาน S2-5,8,9 T3-6 เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งในการจดั ระบบ W17 บคุ ลากรไมเ่ พียงพอ O5 โอกาสเพ่มิ รายไดจ้ ากแหล่งทอ่ งเท่ียว บริการเครอื ข่ายเพอื่ ดแู ลผสู้ งู อายุ สขุ ภาพจิตและยาเสพตดิ O6 ได้รบั งบประมาณสนับสนนุ จากองคก์ รภายนอก ทั้ง แบบเชงิ รกุ กลยุทธ์เชิงแก้ไข ภาครฐั และเอกชน S3,6 T2,4,6,7 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการ W1,4,9 O6 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของ รพ.ให้ไดม้ าตรฐาน O7 มีความสมั พันธ์ที่ดีกบั ชุมชน บริหารจัดการข้อมลู และความปลอดภัยไซเบอร์ W2,3,7,8,10 O2,3,4,6,7 พฒั นาศักยภาพหนว่ ยบริการ O8 สถานที่อยใู่ กล้ เดนิ ทางสะดวก เพ่อื ดูแลกลุ่มโรคที่สาคญั W6,11-17 O2-4 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ ี T ประสทิ ธิภาพ T1 การโอนถา่ ย อบจ. กลยุทธ์เชงิ รับ T2 ความซบั ซอ้ นในระบบตัวช้ีวัด W1,4,9 T4,5,7 ป้องกันการเกิดความรุนแรงใน T3 ประชากร UC นอ้ ย สถานพยาบาล T4 ปญั หาอาชญากรรมในพนื้ ที่ T5 ปัญหายาเสพติด ฆ่าตัวตายในพืน้ ที่ T6 สงั คมผู้สูงอายุ T7 การขยายตวั ของสังคมเมอื ง T8 เส้นทางการคมนาคมเสยี่ งตอ่ การเกิดอบุ ัตเิ หตุ T9 ระบบการส่งต่อจากชุมชนทมี่ ภี าวะฉุกเฉิน การจดั ทากลยทุ ธ์ การวิเคราะห์ SWOT Analysis เป็นการประเมินสถานการณ์องค์กร ผลการวิเคราะห์เพื่อกาหนด ปัจจัยเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Factors Factors) ซึ่งสามารถนามาใช้ในการกาหนดยุทธศาสตร์ทางเลือกที่ เป็นไปไดอ้ ีกหลายประการ โดยการนาปัจจัยต่างๆ ท้ัง 4 ด้าน (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม) มาจับคู่ ในรูปของแมทริกซห์ รือ TOWS Matrix รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (CBL) พนื้ ทีอ่ าเภอเวียงเก่า จงั หวดั ขอนแก่น 14

การจดั ทากลยทุ ธ์ในครงั้ นส้ี ามารถสรุปประเดน็ สาคญั ได้ดงั น้ี 1. กลยุทธ์เชิงรุก หรือยุทธศาสตร์ท่ีใช้จุดแข็งในการช้อนโอกาสมีลักษณะเร่งรัดขยายมาจากจุดแข็งและ โอกาส • ยกระดับ Telemedicine • เพ่มิ ขดี สมรรถนะผนู้ า ทมี งานและภาคีเครอื ขา่ ยสุขภาพ ดา้ นบริการ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ และดา้ นการประสานงาน 2. กลยุทธ์เชิงแก้ไข หรือยุทธศาสตร์ท่ีลดจุดอ่อนด้วยการหาและใช้ประโยชน์จากโอกาสมาจากจุดอ่อน และโอกาส • พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานของ รพ.ให้ไดม้ าตรฐาน • พฒั นาศกั ยภาพหนว่ ยบริการเพือ่ ดแู ลกลุ่มโรคท่สี าคญั • พัฒนาระบบบริหารจัดการใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 3. กลยุทธเ์ ชิงป้องกนั หรอื ยทุ ธศาสตรท์ ่ลี ดจดุ อ่อนและหลบเลี่ยงภยั คกุ คาม • เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ในการจัดระบบบรกิ ารเครอื ขา่ ยเพอื่ ดแู ลผสู้ งู อายุ สขุ ภาพจิตและยา เสพตดิ แบบเชงิ รุก • พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบรหิ ารจัดการข้อมลู และความปลอดภยั ไซเบอร์ 4. กลยทุ ธ์เชิงรบั หรือยทุ ธศาสตรท์ ่ีใช้จุดแข็งในการปกปอ้ งหรอื ลดภยั คกุ คามมาจากจดุ แขง็ และภัยคกุ คาม • ปอ้ งกันการเกิดความรนุ แรงในสถานพยาบาล การวเิ คราะหต์ าแหน่งยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) O S3,6 O4,6 ยกระดับ Telemedicine W1,4,9 O6 พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานของ รพ.ใหไ้ ด้ S4,7,8,9 O2,3,4,7 เพิ่มขดี สมรรถนะผนู้ า ทีมงานและ มาตรฐาน ภาคเี ครือขา่ ยสขุ ภาพ W2,3,7,8,10 O2,3,4,6,7 พฒั นาศักยภาพหน่วยบริการ - ผ้นู าด้านบริการ เพื่อดแู ลกลมุ่ โรคที่สาคัญ - ผูน้ าดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ W6,11-17 O2-4 พฒั นาระบบบริหารจัดการให้มี - ผนู้ าด้านการประสานงาน ประสทิ ธิภาพ S S2-5,8,9 T3-6 เสริมสร้างความเขม้ แข็งในการจัดระบบ W1,4,9 T4,5,7 ป้องกันการเกดิ ความรุนแรงใน W บริการเครอื ข่ายเพอื่ ดแู ลผ้สู งู อายุ สขุ ภาพจติ และยาเสพ สถานพยาบาล ติด แบบเชิงรกุ (Home ward) W2,3,7,8,10 T6,7 ส่งเสริมศกั ยภาพหนว่ ยบรกิ ารเพื่อ S3,6 T2,4,6,7 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการ รองรบั สังคมผสู้ งู อายแุ ละสังคมเมือง บริหารจัดการขอ้ มลู และความปลอดภยั ในสถานพยาบาล T จากกราฟแสดงตาแหน่งยทุ ธศาสตร์ พบวา่ อยู่ตาแหนง่ “เชงิ แก้ไข” จากการมีนา้ หนกั รวมของ จดุ อ่อนมากกว่านา้ หนกั รวมของจดุ แขง็ และมนี ้าหนักรวมของโอกาสมากกว่านา้ หนักรวมของภัยคุกคาม รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พนื้ ท่ีอาเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแกน่ 15

การสร้างและพัฒนาเครื่องมอื การสรา้ งเครื่องมือ การสรา้ งเครื่องมือท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลครง้ั น้พี ิจารณาจากแนวคิดสาคัญ คือ แนวคดิ การ จดั ระบบบริการสุขภาพ (6 Building Blocks) โดยมีรายละเอยี ดสาคัญ ดังนี้ 1. ระบบบริการ (SERVICE DELIVERY) 2. กาลังคนด้านสุขภาพ (HEALTH WORKFORCE) 3. คา่ ใช้จ่ายด้านสขุ ภาพ (FINANCING) 4. ส่อื องค์ความรู/้ เทคโนโลยที างการแพทย์ (ASSESS TO ESSENTIAL MEDICINES) 5. ระบบข้อมูลสารสนเทศ (HEALTH INFORMATION SYSTEM) 6. ภาวะผูน้ าและธรรมาภบิ าล (LEADERSHIP/GOVERNMENT) “กรอบระบบสขุ ภาพท่ีพงึ ประสงค์ (6 Building Blocks of A Health System)” 6 Building Blocks การเข้าถงึ /ครอบคลุม/คณุ ภาพ/ความปลอดภัย เป้าหมาย/ผลลพั ธ์ (Access/Coverage/Quality/Safety) (Goals/Outcomes) 1. ระบบบรกิ าร (SERVICE - ประชาชนสามารถเข้าถงึ บริการไดง้ า่ ยทงั้ ท่ี - เพิ่มศักยภาพโรงพยาบาล DELIVERY) โรงพยาบาลและโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบล โดยสว่ นใหญ่ใช้บรกิ ารท่โี รงพยาบาล มากกวา่ สง่ ผลใหม้ ผี ลต่อการเงินของโรงพยาบาล - ยงั ไมม่ ีบริการผูป้ ่วยใน (IPD) ทาใหก้ ารดูแลยงั ไม่ - ขยายบรกิ ารผ้ปู ว่ ยใน ครอบคลุม เช่น กนั ดแู ลผปู้ ว่ ย sepsis ของโรงพยาบาล - รอประเมนิ คลนิ กิ วัณโรค, การคัดกรองกลุ่ม - มบี รกิ ารวณั โรคครบ household contact ยงั ไมค่ รอบคลุม, ทีม สสอ. วงจร คดั กรอง วนิ จิ ฉัย อสม. ยงั ไมท่ ราบกระบวนการของโรควัณโรค เชน่ รักษา ทง้ั CUP การทา Verbal screening (เคาะประตูคดั กรอง) - มีระบบ IC ที่ปลอดภัย ติดตามผ้สู ัมผสั การให้ อสม. DOTS ยาวณั โรค 3p Safety ระบบ IC ในโรงพยาบาลยังไม่ชัดเจนในการปอ้ งกนั ความปลอดภัยของการแพร่กระจาย TB ใน โรงพยาบาลทง้ั ในผูป้ ว่ ยและเจา้ หนา้ ท่ี เช่น จดุ น่ัง รอ จดุ สงั เกตอาการ หอ้ งแยกทม่ี รี ะบบ Negative pressure ในหอ้ งฉกุ เฉิน - มีคลนิ กิ ผสู้ งู อายุในปี 2565 มกี ารคดั กรอง - มรี ะบบดแู ลผู้สูงอายทุ มี่ ี Geriatric syndrome ในชมุ ชนอย่างมี ศกั ยภาพทีค่ รอบคลมุ ผ้รู บั บริการจานวนนอ้ ย - มกี ารดูแลแบบประคบั ประคอง ตามเกณฑ์ - มีระบบ palliatives ที่ มาตรฐาน มีคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์ ท่ีมโี อกาส เชือ่ มโยงกับชุมชน พัฒนาอีกมาก ทงั้ ทางด้านพัฒนาศักยภาพทมี พัฒนาแผนงาน จดั ทา CQI การใชย้ า Strong opioid ใหด้ ูแลตอ่ เนอ่ื งในชุมชน การมี ACP - มรี ะบบการคดั กรองมะเร็งทสี่ าคัญ เชน่ มะเรง็ - ประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย ปากมดลูก มะเร็งลาไสใ้ หญแ่ ละไสต้ รง แตย่ งั ไม่ ได้รับการคดั กรอง ครอบคลมุ รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ (CBL) พนื้ ทอี่ าเภอเวียงเก่า จงั หวดั ขอนแก่น 16

6 Building Blocks การเขา้ ถงึ /ครอบคลมุ /คุณภาพ/ความปลอดภยั เป้าหมาย/ผลลพั ธ์ (Access/Coverage/Quality/Safety) (Goals/Outcomes) - มกี ารเฝา้ ระวังและป้องกนั การตง้ั ครรภใ์ นวัยรนุ่ - มแี ผนงานโครงการ ยงั มโี อกาสพัฒนาในแผนงานโครงการบรกิ ารที่ อย่างตอ่ เนอื่ ง (K 106) เปน็ มติ รตอ่ เดก็ และเยาวชน เนือ่ งจากบุคลากร โรงพยาบาลเปน็ คนรนุ่ ใหม่น่าจะ encourage ให้ วยั รุน่ เข้าถงึ ไดม้ ากขึ้น - มเี ครือขา่ ยปฐมภูมิทเี่ ข้มแขง็ ครอบคลมุ มี - ใช้เครือขา่ ยปฐมภูมิชว่ ย คณุ ภาพ เห็นได้จากผลงาน vaccine COVID ใน ในประเด็นสขุ ภาพท่ยี งั ชมุ ชนท่ีมกี ารบรู ณาการกับกระทรวงมหาดไทย เปน็ ปัญหาของพน้ื ที่ ทาให้ % vaccine coverage สงู จนเปน็ ผลงาน ดเี ด่น เปน็ รูปแบบท่ีดี ควรขยายผลไปในงานดา้ น อน่ื ทตี่ วั ช้วี ัดยงั ไมผ่ า่ นมาตรฐาน - ยงั ไมม่ ีระบบการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ท่ีบูรณาการกับ - มีระบบก้ภู ยั ศกั ยภาพสูง อุทยานแหง่ ชาติท่ีชดั เจนเป็นโอกาสพฒั นาใหม้ ี โดยการบรู ณาการกับ ระบบสูงขึน้ ได้โดยใชท้ รัพยากรจากโครงการ Geo กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ Park เพ่อื ความปลอดภัยของนกั ท่องเทยี่ วเชน่ การ ชว่ ยเหลือกู้ภัยในจุดอับสัญญาณ การชว่ ยเหลอื โดยเฮลคิ อปเตอร์ - ไม่มตี ึกผปู้ ่วยใน ทาให้การดูแลยังไมค่ รอบคลมุ - ผปู้ ่วยได้รบั การดแู ลตาม เช่น ผูป้ ่วย Sepsis ผู้ป่วยทแี่ พทยล์ งความเหน็ วา่ protocol sepsis แตย่ งั ตอ้ งใหย้ า ATB แพทย์จะนัดมาใหไ้ ดร้ ับยาแต่ มีพบ Delay ผ้ปู ่วยบางราย อาการทรุดหนกั ท่ีบ้านเมอื่ กลบั มา Detected/Delay รพ.อกี คร้งั อาการหนักต้องใสท่ ่อชว่ ยหายใจ และ Diagnosis/Delay Refer Refer - มคี าสง่ั มอบหมายผู้รับผิดชอบการพัฒนาระบบ - การทบทวนเวชระเบียน และการกากบั ตดิ ตามประเมินผลการดูแลรกั ษา โดยใช้ Trigger tool ผปู้ ่วยตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ด (Sepsis) ที่ชดั เจนท้งั Sepsis CM แพทย์ CM พยาบาล รวมถึงพยาบาลทีป่ ฏบิ ตั ิ - เดอื น ต.ค.65 จานวน หนา้ ทใี่ นแตล่ ะเวรให้ลงข้อมูลใหค้ รบถว้ นและ 2 ราย ดาเนินการติดตาม case นัน้ ๆ สหวิชาชีพ เช่น - เดือน พ.ย.65 นักเทคนิคการแพทย์ ใหช้ ว่ ยทาช่องทาง lab จานวน 2 ราย ฉุกเฉิน สาหรับ case ที่สงสัย sepsis - เดือน ธ.ค65 จานวน - มีการจดั ประชุมการพัฒนางานระบบ Sepsis 4 ราย และวางแผนการบันทึกข้อมูลร่วมกับงาน 1. Delay Diagnosis สารสนเทศในโรงพยาบาล รวมถึงการทบทวนเวช 2. Delay Detected ระเบยี น โดยใช้ Trigger tools เพ่อื วิเคราะห์หา 3. Delay Refer สาเหตนุ าไปสู่การพัฒนารูปแบบการบริการ - มกี ารทบทวนเวชระเบยี น โดยใช้ Trigger tool : Sepsis ทุกราย รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (CBL) พื้นที่อาเภอเวียงเกา่ จงั หวดั ขอนแกน่ 17

6 Building Blocks การเขา้ ถงึ /ครอบคลุม/คุณภาพ/ความปลอดภยั เปา้ หมาย/ผลลพั ธ์ (Access/Coverage/Quality/Safety) (Goals/Outcomes) - แนวทางการปรับเปล่ียนการใช้ Screening Tool - โครงการอยรู่ ะหวา่ งการ : Early Warning Sign จาก SOS Score ปรบั มา ดาเนนิ งาน ใช้ NEWS Score เพ่ือ ลดปญั หา Delay Detected/Delay Diagnosis/ Delay Refer หรือเพ่มิ ศักยภาพแพทย์ พยาบาล สร้างความ เขา้ ใจ Protocol เพ่อื การนาใชท้ ่ถี ูกตอ้ ง 2. กาลงั คนด้านสุขภาพ - มกี ารสนบั สนนุ ทนุ การศึกษาคนในพนื้ ท่ี - มเี จา้ หนา้ ทที่ ีม่ ศี ักยภาพ (HEALTH WORKFORCE) - มกี ารพัฒนาฝกึ อบรม ในงานทรี่ ับผดิ ชอบ - มบี ุคลากรมาทดแทนตาแหนง่ เดียวกนั เมือ่ มกี าร - มีเจา้ หนา้ ทเี่ พยี งพอ ยา้ ย สับเปลีย่ นกาลังคนตามประสิทธภิ าพ ตรง ตามความต้องการของโรงพยาบาล ทาให้ โรงพยาบาลไมข่ าดกาลงั คนและไดค้ นที่มีทักษะ เหมาะสมในการปฏิบัตงิ าน 3. ค่าใชจ้ ่ายดา้ นสขุ ภาพ - ประชากร UC มนี อ้ ยทาใหไ้ ดร้ บั จัดสรร - มงี บประมาณเพียงพอ (FINANCING) งบประมาณน้อย ในการดูแลสุขภาพ - ไมม่ ี IPD จงึ ทาใหเ้ สยี คา่ ใชจ้ ่ายตามจา่ ย (Refer) ประชาชนในพน้ื ท่ี 4. ส่ือองคค์ วามรู้/เทคโนโลยีทาง - มีโอกาสจะเปิดคลนิ กิ วณั โรคในอนาคตจะทาใหม้ ี - มีระบบการสง่ ต่อใน การแพทย์ ยา เร่ิมรกั ษาทไ่ี ด้มาตรฐานในอาเภอ CUP (ACCESS TO ESSENTIAL - มรี ะยะทางใน CUP ทีใ่ กล้ ทาใหป้ ระชาชน MEDICINES) เดนิ ทางเข้าถงึ สะดวก แต่หากกรณฉี ุกเฉินหรอื ผปู้ ่วยติดเตยี งยงั ไม่มรี ะบบการขนสง่ รว่ มกับ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล (อบต.) - มีจดุ แข็งในงานแพทย์แผนไทย หากมกี ารบรู ณา - มกี ารบรู ณาการงาน การกับงาน IMC จะเปน็ การทาใหภ้ าพทัศนข์ อง แผนไทยกบั งานอ่นื ผอ.ชดั เจนขนึ้ ที่ ผอ.ตอ้ งการใหอ้ าเภอเปน็ Medical Tourism โดยใช้แพทย์แผนไทยเปน็ จดุ ขาย 5. ระบบข้อมูลสารสนเทศ - มกี ารลงขอ้ มูล KPI ในโปรแกรม แต่ขาดการกากบั - มีระบบการตดิ ตาม (HEALTH INFORMATION ติดตามประเมินผลว่าลงถกู ตอ้ ง ทนั เวลา ประเมนิ ผลการลงขอ้ มูล SYSTEM) 6. ภาวะผู้นาและธรรมาภบิ าล - ผู้นามีวิสัยทศั น์ มศี กั ยภาพ เปิดใจรบั ฟงั ความ - สามารถประสาน ดงึ (LEADERSHIP/GOVERNMENT) คดิ เหน็ เปน็ ทรี่ ักของลูกน้อง มที กั ษะดิจทิ ัล มี ภาคเี ครอื ข่ายเขา้ มา ความม่งุ ม่ันต้ังใจ เปน็ คนในพืน้ ที่ มธี รรมาภิบาล ชว่ ยงานสาธารณสขุ การพัฒนาเครอ่ื งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล • การทบทวนวรรณกรรม (Literature review) • การระดมความคิด (Brainstorm) ภายในกลมุ่ • ร่างแนวทางการสัมภาษณแ์ บบมโี ครงสร้าง (Structured Interview) • รา่ งแนวทางการสมั ภาษณ์แบบก่งึ โครงสร้าง (Semi Structured Interview) รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เพอื่ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ (CBL) พืน้ ท่อี าเภอเวยี งเกา่ จังหวดั ขอนแกน่ 18

เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เครื่องมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูลคร้ังน้ีใช้แบบสอบถามท่ีสร้างขึ้นโดยศึกษาจากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 1 ชดุ แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น ประกอบด้วย แบบสอบถามส่วนท่ี 1 ประกอบด้วยข้อคาถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ อาชีพ ศาสนา รายได้ การศึกษา โรคประจาตัว เป็นคาถามท่มี ีตัวเลือกให้ตอบ และระบุคาตอบเอง มจี านวนข้อ คาถามทั้งหมด 7 ข้อ แบบสอบถามส่วนท่ี 2 ข้อคาถามเก่ียวกับความรู้โรควัณโรค จานวน 13 ข้อ ลักษณะคาถามเชิงบวก จานวน 11 ข้อ ได้แก่ข้อ 2, 3, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 ลักษณะคาถามเชิงลบ จานวน 3 ข้อ ได้แก่ข้อ 1, 4 และ 13 แบบสอบถามเป็นแบบให้เลือกตอบเพยี งคาตอบเดยี ว โดยมีตวั เลือก 2 ตัวเลือก ดงั น้ี ใช่ หมายถึง ทา่ นคดิ วา่ ขอ้ ความนั้นถกู ไม่ใช่ หมายถึง ท่านคดิ วา่ ข้อความนนั้ ผดิ มีเกณฑก์ ารให้คะแนน ดงั นี้ คาตอบ คาถามเชงิ บวก คาถามเชิงลบ เลอื กตอบใช่ ให้ 1 คะแนน 0 คะแนน เลอื กตอบไม่ใช่ ให้ 0 คะแนน 1 คะแนน การประเมนิ ผล แบง่ ระดับความรเู้ กีย่ วกับโรควัณโรคเป็น 3 ระดับ โดยการแบง่ ช่วงคะแนนอนั ตรภาค ชน้ั เท่ากับ คะแนนท่สี งู สดุ - คะแนนท่ไี ดต้ ่าสดุ / จานวนอนั ตรภาคชัน้ ดังนี้ ระดับสงู หมายถึง คะแนนระหวา่ ง 10-13 ระดบั ปานกลาง หมายถึง คะแนนระหวา่ ง 6-9 ระดบั ต่า หมายถงึ คะแนนระหวา่ ง 0-5 ข้อคาถามเกี่ยวกบั ความรูโ้ รควัณโรค จานวน 13 ขอ้ 1. วัณโรคปอดสามารถตดิ ตอ่ ได้ง่ายโดยผา่ นทางระบบทางเดินหายใจ 2. วัณโรคปอดสามารถตดิ ตอ่ ไดง้ ่ายโดยผ่านทางระบบทางเดนิ หายใจ 3. เช้อื วณั โรคปอดสามารถแพรก่ ระจายในอากาศ 4. วณั โรคเปน็ โรคติดตอ่ ทางพนั ธุกรรม 5. การอย่ใู นสถานท่ีแออัดสามารถรบั เชอ้ื วัณโรคเข้าสู่รา่ งกายไดง้ า่ ย 6. การสัมผัสและคลุกคลีกบั ผ้ปู ่วยวณั โรคทาให้มโี อกาสเสยี่ งต่อการติดเชอื้ 7. หากมีอาการไอเร้อื รังติดตอ่ กนั มากกวา่ 2 สปั ดาหห์ รอื ไอมีเลือดปน ควรไปตรวจคัดกรองวัณโรค 8. วณั โรคสามารถเกิดขนึ้ ไดก้ ับบุคคลทุกวัย 9. การแยกของใช้สว่ นตัวของผปู้ ว่ ยวณั โรคปอดเปน็ การป้องกนั การแพร่กระจายเชอื้ โรคส่บู ุคคลอ่ืน 10. การจัดบา้ นให้สะอาดมีอากาศถา่ ยเทเปน็ การปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเช้ือโรคสู่บคุ คลอน่ื 11. วณั โรคสามารถเกดิ ทอี่ วัยวะอืน่ นอกจากปอดได้ เชน่ วณั โรคตอ่ มนา้ เหลอื ง กระดูก เย่ือหุม้ สมอง 12. วัณโรคเป็นโรคทีส่ ามารถป้องกนั ได้ 13. วณั โรคสามารถรักษาหายไดด้ ว้ ยการทานยาแกไ้ อจนหยุด รายงานการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พ้นื ทอ่ี าเภอเวยี งเก่า จงั หวดั ขอนแก่น 19

สว่ น การจดั ทาแผน 3.1 แผนทย่ี ทุ ธศาสต วิสัยทศั น์ : ประชาชนสขุ ภาพดี บ ประเด็น 1. Prevention & Promotion 2. Service Excellen ยทุ ธศาสตร์ Excellence ยทุ ธศาสตร์ อ.เวยี งเก่า สรา้ งเสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกัน ควบคมุ โรคและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพให เป้าประสงค์ ภัยสขุ ภาพ อนามยั ส่งิ แวดลอ้ มและคุม้ ครอง มปี ระสทิ ธภิ าพ ผู้บริโภคด้านสขุ ภาพ และสนบั สนนุ ให้เกิด การมีสว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ น 1. เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการควบคุมปอ้ งกันโรค 1. สรา้ งระบบการดแู ลรักษาผ และภยั สุขภาพ Service Plan กลยุทธ์ 1. เสริมสรา้ งความเข้มแข็งในการจัดระบบ 1. พฒั นาศักยภาพหน่วยบรกิ บริการเครือข่ายเพ่ือดูแลผู้สงู อายุ กลมุ่ โรคทีส่ าคัญ สขุ ภาพจติ และยาเสพตดิ แบบเชิงรุก 2. ยกระดับ Telemedicine รายงานการจดั ทาแผนยทุ ธศาสต

นท่ี 3 นยุทธศาสตร์ ตร์ (Strategy Map) บริการมีมาตรฐาน บริหารจดั การเป็นเลศิ nce 3. People Excellence 4. Governance Excellence ห้มีคุณภาพ พัฒนาบคุ ลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขใน การพฒั นาองคก์ รสาธารณสขุ ใหม้ ี ผู้ปว่ ยตาม การทางานและสง่ เสริมการทมี่ สี ่วนรว่ มทุก สมรรถนะสูงบรกิ ารดว้ ยความทันสมยั และ การเพอ่ื ดแู ล ภาคสว่ นในการดูแลและจดั การระบบ ธรรมาภิบาล สขุ ภาพ 1. สง่ เสรมิ สมรรถนะบุคลากรและภาคี 1. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การข้อมูล สารสนเทศด้านสุขภาพให้มีประสิทธภิ าพ เครือข่าย (ดา้ นบริการ, ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ, ด้านการประสานงาน) 2. เพอ่ื พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานของ รพ. ใหไ้ ด้มาตรฐาน 1. เพ่ิมขีดสมรรถนะผู้นา ทีมงานและภาคี เครอื ขา่ ยสขุ ภาพ (ผ้นู าด้านบริการ, ด้าน 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มี เทคโนโลยสี ารสนเทศ, ด้านการ ประสิทธภิ าพ ประสานงาน) 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศใน การบริหารจดั การข้อมูล และความ ปลอดภัยไซเบอร์ 3. พฒั นาโครงสร้างพื้นฐานของ รพ.ให้ได้ มาตรฐาน 4. ป้องกันการเกิดความรนุ แรงใน สถานพยาบาล ตรเ์ พอ่ื การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (CBL) พ้ืนท่อี าเภอเวียงเกา่ จังหวัดขอนแกน่ 20

3.2 แผนยุทธ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกัน ควบคุมโรคและภยั สุขภาพ อนา ร่วมจากทุกภาคส่วน เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ดั (KPI) 1. เพิ่มประสทิ ธิภาพ 1. เสริมสร้างความ 1. ระดบั คะแนนเฉลี่ยการดแู ลผสู้ ูงอายุ การควบคุมปอ้ งกัน เข้มแขง็ ในการจัดระบบ กลมุ่ เสยี่ ง Geriatric Syndromes โรคและภยั สุขภาพ บรกิ ารเครอื ขา่ ยเพื่อ ไดร้ ับการส่งตอ่ ดูแลรักษาในระบบ ดูแลผู้สูงอายุ บริการคลนิ กิ ผูส้ งู อายโุ รงพยาบาล และ สขุ ภาพจติ และยาเสพ วางแผนสง่ เสรมิ สุขภาพดี (K108) ตดิ แบบเชิงรกุ 2. ระดับความสาเร็จของอาเภอผ่าน คุณลักษณะอาเภอ ปอ้ งกนั และแก้ไข ปญั หาการฆ่าตวั ตายทเี่ ข้มแข็ง (K204) 3. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพตดิ เข้าสู่ กระบวนการบาบัดรกั ษาไดร้ บั การดูแล อยา่ งมีคุณภาพตอ่ เนอ่ื งจนถงึ การ ติดตาม (Retention Rate) (K206) รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสต

ธศาสตร์ 5 ปี ามยั สงิ่ แวดล้อมและคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคดา้ นสขุ ภาพ และสนบั สนุนให้เกิดการมสี ่วน Data Base ค่าเป้าหมายรายปี แผนงาน/โครงการ line 2567 2568 2569 2570 2571 2 คะแนน 2.5 3 3.5 4 4.5 1. โครงการคดั กรองผู้สูงอายุท่มี ารับ บรกิ ารในคลนิ กิ ผู้สงู อายุ ะ 5 คะแนน 5 5 5 5 5 2. โครงการคดั กรองประชาชนกลุม่ เสี่ยงด้วย 2Q 9Q 8Q ) 33.33% 50% 50% 70% 70% 100% 3. โครงการตดิ ตามบาบดั ผปู้ ว่ ยยาเสพ ล ตดิ ท่ีเขา้ สู่กระบวนการบาบัดรกั ษา ตร์เพอ่ื การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ (CBL) พื้นท่ีอาเภอเวยี งเก่า จังหวดั ขอนแก่น 21

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพใหม้ คี ุณภาพ มปี ระสทิ ธิภาพ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชวี้ ัด (KPI) 2. สรา้ งระบบการดแู ล 2.1 พัฒนาศกั ยภาพหนว่ ย 1. ระดับความสาเรจ็ ของการดาเนินงาน รกั ษาผปู้ ่วยตาม บรกิ ารเพอื่ ดแู ลกลุ่ม ป้องกนั ควบคมุ วณั โรค Service Plan โรคท่สี าคญั 2.2 ยกระดบั 1. จานวนหนว่ ยงานสาธารณสขุ ท่พี ัฒนาส Telemedicine องค์กรดจิ ทิ ลั ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ 3 พฒั นาบคุ ลากรใหมีสมรรถนะมคี วามสุขในการทาํ งานและ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตัวชีว้ ดั (KPI) 3. ส่งเสริมสมรรถนะ 3.1 เพมิ่ ขีดสมรรถนะผนู้ า 1. รอ้ ยละบคุ ลากรไดร้ บั การพัฒนา บคุ ลากรและภาคี ทมี งานและภาคีเครอื ข่าย ตามความเชี่ยวชาญของวิชาชพี เครือข่าย (ดา้ น สขุ ภาพ (ผนู้ าดา้ นบริการ, บรกิ าร, ดา้ น ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ร้อยละของบุคลากรได้รับการ เทคโนโลยี , ดา้ นการประสานงาน) พัฒนาความรู้ดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ, ด้าน การประสานงาน) รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสต

Data Base ค่าเป้าหมายรายปี แผนงาน/โครงการ line 2567 2568 2569 2570 2571 2 คะแนน 5 5 5 5 5 4. โครงการพฒั นารูปแบบการดูแล ผ้ปู ่วยวัณโรคโดยภาคีเครือข่าย สู่ 3 คะแนน 5 5 5 5 5 5. โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ ทางไกล (Telemedicine) ในกลุ่ม เปราะบาง ะสงเสรมิ การท่มี ีสว นรวมทกุ ภาคสว นในการดแู ลและจัดการระบบสขุ ภาพ Data Base คา่ เปา้ หมายรายปี แผนงาน/โครงการ line 2567 2568 2569 2570 2571 NA 50% 60% 70% 80% 90% 6. โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร NA 100% 100% 100% 100% 100% ตร์เพอ่ื การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (CBL) พืน้ ทอี่ าเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแกน่ 22

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาองคก์ รสาธารณสุขให้มีสมรรถนะสูงบริการดว้ ยค เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชวี้ ดั (KPI) 4. พฒั นาระบบ 4.1 พัฒนาระบบบริหาร 1. หน่วยงานผา่ นเกณฑก์ ารประเมินคุณธรรม บริหารจดั การ จัดการใหม้ ี ความโปร่งใส (ITA) (K401) ขอ้ มลู สารสนเทศ ประสิทธภิ าพ ด้านสขุ ภาพให้มี 2. สานกั งานสาธารณสุขอาเภอดาเนนิ การพัฒ ประสิทธภิ าพ คุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ (PMQA) เกณฑท์ ่ีกาหนด (K402) 3. ระดบั ความสาเร็จของโรงพยาบาลมกี ารบร การเงินการคลังอยา่ งมีประสิทธิภาพ (K405 4.2 พัฒนาระบบเทคโนโลยี 4. ระดับคะแนนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารส สารสนเทศในการ การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู และความปลอดภ บริหารจัดการข้อมลู เบอร์ และความปลอดภัยไซ - มแี นวปฏบิ ตั ิการรักษาความมัน่ คงปลอดภ เบอร์ ไซเบอร์ - มรี ะบบสารองข้อมลู (Backup Data) - มีหอ้ ง Sever ทไี่ ดม้ าตรฐาน - รพ.มี Next Gen Firewall - หนว่ ยบรกิ ารมี End Point Antivirus 5. เพอ่ื พฒั นา 5.1 พัฒนาโครงสร้าง 1. เปดิ ให้บรกิ ารผู้ปว่ ยใน (IPD) โครงสรา้ งพ้ืนฐาน พืน้ ฐานของ รพ.ใหไ้ ด้ 2. รพ.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการเปิดใหบ้ ริการผ ของ รพ.ให้ได้ มาตรฐาน (IPD) มาตรฐาน 5.2 ป้องกนั การเกิดความ 3. ไมเ่ กิดเหตรุ นุ แรงในสถานพยาบาล รุนแรงใน สถานพยาบาล รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสต

ความทนั สมยั และธรรมาภิบาล Data ค่าเปา้ หมายรายปี แผนงาน/โครงการ Base line 2567 2568 2569 2570 2571 มและ NA 92% 92% 92% 92% 92% 7. โครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมและการปอ้ งกันการ ทุจริต ฒนา 5 คะแนน 5 5 5 5 5 8. โครงการพฒั นาคณุ ภาพการ ) ผา่ น บรหิ ารจัดการภาครัฐ (PMQA) ที่ มปี ระสิทธิภาพ ริหาร 5 คะแนน 5 5 5 5 5 9. โครงการพัฒนาระบบการจัดเกบ็ 5) รายได้และบริหารลุกหนี้ สนเทศใน 5 คะแนน 2 3 4 5 5 10. โครงการพฒั นาระบบความ ภยั ไซ ปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) ของหนว่ ยงาน ภยั ทาง NA - - 1 1 1 11. โครงการจดั ตง้ั หอผปู้ ว่ ยในเพื่อ ผูป้ ว่ ยใน NA 3 4 5 5 5 การดูแลผู้ป่วย ข้นั ตอน ข้นั ตอน ขั้นตอน ข้ันตอน ขั้นตอน NA 0 0 0 0 0 12. โครงการความปลอดภัยใน สถานพยาบาล ตร์เพอ่ื การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พื้นที่อาเภอเวียงเก่า จังหวดั ขอนแกน่ 23

3.3 ตัวอย่างแผนปฏบิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพใหม้ คี ุณภาพ มีประสิทธภิ าพ เป้าประสงค์ท่ี 2 สรา้ งระบบการดูแลรักษาผู้ปว่ ยตาม Service Plan กลยทุ ธท์ ่ี 2.1 พฒั นาศักยภาพหนว่ ยบรกิ ารเพือ่ ดูแลกลุ่มโรคท่ีสาคัญ ชื่อโครงการ โครงการพัฒนารปู แบบการดูแลผปู้ ว่ ยวณั โรคโดยภาคีเครือขา่ ย วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรม ตัวชี้วดั โครงการ 1. เพื่อใหผ้ ้ปู ่วยวัณโรคไดร้ บั 1. อบรมผ้รู บั ผดิ ชอบงาน 1. ระดบั ความสาเรจ็ ของการ ดาเนินงานป้องกนั ควบคุมวณั การดแู ลรกั ษาทีเ่ ปน็ ไปตาม ควบคมุ วัณโรค 2. ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ มีความรรู้ ะด มาตรฐาน 2. อบรม อสม./ผูน้ าชมุ ชน ขึน้ ไป รอ้ ยละ 80 2. เพือ่ เพ่ิมอัตราความสาเรจ็ ใน 3. ประชุมชแ้ี จงการ 3. กลุม่ เสี่ยงได้รับการคดั กรอง ร้อยละ 80 การรักษาวัณโรค และลดการ ดาเนนิ งานวัณโรคโดยการ 4. ความครอบคลุมการข้ึนทะเบ แพรเ่ ชอื้ วณั โรคในชุมชน มสี ว่ นร่วมของภาคี รกั ษาผปู้ ่วยวณั โรคและกลบั เ ซา้ >ร้อยละ 90 3. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของ เครือข่าย 5. ได้รับการนเิ ทศติดตามงานว การขนึ้ ทะเบยี นรักษาผูป้ ว่ ย 4. ค้นหา คัดกรอง และขน้ึ โรค ไตรมาสละ 1 คร้ัง วัณโรคและกลับเป็นซ้า ทะเบยี น ผู้ป่วยวัณโรค 7 4. เพ่ือพัฒนารปู แบบการดูแล กลุม่ เสย่ี ง ผปู้ ว่ ยวัณโรคโดยการมสี ว่ น 5. นเิ ทศติดตามการ รว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ย ดาเนินงาน รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสต

บตั กิ าร (Action Plan) กล่มุ เป้าหมาย ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ ดาเนนิ การ เงินบารุง อปท. สสจ./อ่นื ๆ ผูร้ ับผดิ ชอบงาน ณโรค ควบคุมวัณโรคใน ต.ค.66-ก.ย.67 / รพ.เวียงเก่า ดบั ดี รพ./สสอ./รพ.สต./อส ม./ผู้นาชมุ ชน/ภาคี > เครอื ข่าย บียน เปน็ วัณ ตรเ์ พอ่ื การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ (CBL) พื้นท่ีอาเภอเวยี งเก่า จังหวดั ขอนแกน่ 24

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพให้มีคุณภาพ มปี ระสทิ ธิภาพ เป้าประสงค์ที่ 2 สรา้ งระบบการดูแลรักษาผูป้ ่วยตาม Service Plan กลยทุ ธท์ ี่ 2.2 ยกระดับ Telemedicine ชอื่ โครงการ โครงการพัฒนาระบบการแพทยท์ างไกล (Telemedicine) ในกล วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรม ตวั ชี้วัดโครงการ 1. เพอ่ื ใหบ้ ริการทางไกลแก่ 1. จัดหาระบบ Telemedicine 1. หนว่ ยบรกิ ารมรี ะบบ ผู้ป่วยกล่มุ เปราะบาง ท่ีเหมาะสม Telemedicine ร้อยละ 100 2. เพือ่ ลดการเดินทางของ 2. ตกลงบรกิ ารในเครอื ข่าย 2. จานวนครัง้ การใหบ้ รกิ าร ผปู้ ว่ ยกลุ่มเปราะบางมายงั บรกิ ารและจัดอบรมการใช้ Telemedicine โรงพยาบาล งานระบบใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ที่ 3. จานวนผูป้ ่วยกลุ่มเปราะบาง 3. เพือ่ เพิ่มประสิทธภิ าพการ 3. ทดลองระบบในพืน้ ทนี่ ารอ่ ง ที่มารับบริการที่ รพ.ลดลงจา ใหบ้ รกิ ารแก่ผู้ปว่ ยกลมุ่ 4. ใชง้ านระบบ ทีผ่ า่ นมา ร้อยละ 10 เปราะบาง 5. ประเมนิ ผลการใชง้ าน 4. ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ รกิ า 6. สรุปผลการใชง้ านระบบ Telemedicine รอ้ ยละ 80 รายงานการจดั ทาแผนยทุ ธศาสต

ลุ่มเปราะบาง ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ดาเนนิ การ เงินบารุง อปท. สสจ./อื่นๆ กลมุ่ เปา้ หมาย ต.ค.66-ก.ย.67 / รพ.เวียงเก่า ผ้ปู ว่ ยกลุม่ เปราะบาง 0 ง ากปี าร ตรเ์ พอื่ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ทอี่ าเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแก่น 25

บรรณานุกรม กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน. รายละเอยี ดตัวกระทรวงสาธารณสขุ (ฉบับปรบั ปรุง คร้งั ที่ 2) ประจาปี งบประมาณ 2566. [อินเตอรเ์ นต็ ]. 2566 [เขา้ ถงึ เมื่อ 5 มิถุนายน 2566]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://spd.moph.go.th/wp-content/uploads/2023/02/kpi_template_edit_2.pdf เครือข่ายบรกิ ารสขุ ภาพอาเภอเวียงเก่า จังหวดั ขอนแก่น. ผลการดาเนินงานสาธารณสุข เครอื ขา่ ยบริการ สขุ ภาพอาเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแก่น ปงี บประมาณ 2566 (รอบที่ 1); 2566. นาปเี สา๊ ะ มะเซง็ . (2563). ปจั จัยทม่ี คี วามสมั พนั ธต์ ่อพฤติกรรมการปอ้ งกนั ในผูส้ มั ผัสรว่ มบา้ นผปู้ ว่ ยวัณโรค อาเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสรุ าษฎรธ์ าน.ี (วิทยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต)ฬ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ, คณะสาธารณสขุ ศาสตรฬ์ มหาวิทยาลยั สขุ โขทัยธรรมาธริ าช. [อินเตอร์เนต็ ]. 2566 [เขา้ ถงึ เม่ือ 5 มิถนุ ายน 2566]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https: //www.stou.ac.th/Offices/rdec/headquater/upload/การวิเคราะห์%20SWOT.pdf เสารส นามบุตรด.ี (2557). การพฒั นาศูนย์ธุรกจิ อุสาหกรรม ของศนู ยส์ ง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ภาคที่ 5 จาก http://library.dip.go.th/multim6/ebook/2559/DIP%20กสอ65%20ส581.pdf GreedisGoods. กลยุทธ์ 7S คอื อะไร? 7S McKinsey Framework. (5 มิถนุ ายน 2566). Available URL: https://greedisgoods.com/7s-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD/ Pitchayut Wangsukit (2562). TOWS Matrix กบั การกาหนดกลยุทธข์ ององค์กร [Online]. จาก : https://www.tereb.in.th/erp/tows-matrix/ Tanya Sammut-Bonnici. (Junuary 2015).SWOT Analysis จาก https://www.reserchgate.net/publication/272353031_SWOT_Analysis รายงานการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พื้นท่ีอาเภอเวยี งเก่า จังหวัดขอนแกน่ 26

ภาคผนวก รายงานการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ท่ีอาเภอเวียงเก่า จงั หวัดขอนแก่น 27

แบบสอบถาม เร่ือง แบบวดั ความรู้เกี่ยวกับวณั โรค ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามขอ้ มลู ทั่วไป ของผตู้ อบแบบสอบถาม คำช้แี จง โปรดทำเคร่ืองหมำย / เติมคำตอบในชอ่ งวำ่ งให้สมบูรณ์ที่สดุ ซง่ึ เป็นขอ้ มูลเกยี่ วกบั ตัวท่ำน ตำมควำมจริงเพ่ือพัฒนำงำนด้ำนวัณโรค ต่อไป 1 เพศ ชำย หญิง 2 อายุ ปี 3 อาชพี บุคลำกรทำงกำรแพทย์ อำสมัครสำธำรณสขุ (อสม.) อนื่ ๆ 4 ศาสนา พุทธ อสิ ลำม อนื่ ๆ 5 รายไดข้ องครอบครัว / เดอื น ต่ำกวำ่ 5,000 บำท 10,001-20,000 บำท 5,000-10,000 บำท มำกกว่ำ 20,000 บำท 6 ระดับการศึกษาสูงสุด ต่ำกว่ำประถมศึกษำ อนปุ ริญญำ/ปวส ประถมศึกษำ ปริญญำตรี มัธยมศึกษำตอนต้น มำกกวำ่ ปริญญำตรี มัธยมศึกษำตอนปลำย 7 โรคประจาตัว โรคเบำหวำน โรคควำมดันโลหิตสงู โรคมะเร็ง ติดเช้ือเอชไอวี โรคติดสรุ ำเร้ือรัง อน่ื ๆ โรคหอบหืด โรคปอดอดุ กนั้ เร้ือรัง รายงานการจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ที่อาเภอเวยี งเกา่ จงั หวัดขอนแกน่ 28

ส่วนที่ 2.2 ความรู้เกี่ยวกับโรควณั โรค คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่ืองหมำย / เติมคำตอบในชอ่ งวำ่ งให้สมบูรณ์ท่ีสดุ ซง่ึ เป็นขอ้ มูลเกย่ี วกบั ตัวท่ำน ตำมควำมจริงเพ่ือพัฒนำงำนด้ำนวัณโรค ต่อไป ขอ้ ความ ใช่ ไมใ่ ช่ 1 วณั โรคเป็นโรคติดต่อท่ีเกดิ จำกเชื้อไวรัส 2 วณั โรคปอดสำมำรถติดต่อได้ง่ำยโดยผำ่ นทำงระบบทำงเดินหำยใจ 3 เชื้อวณั โรคปอดสำมำรถแพร่กระจำยในอำกำศ 4 วัณโรคเป็นโรคติดต่อทำงพันธกุ รรม 5 กำรอยู่ในสถำนที่แออดั สำมำรถรับเช้อื วัณโรคเขำ้ สรู่ ่ำงกำยได้ง่ำย 6 กำรสมั ผสั และคลกุ คลกี บั ผปู้ ่วยวัณโรคทำให้มีโอกำสเสยี่ งต่อ กำรติดเช้ือ 7 หำกมีอำกำรไอเร้ือรังติดต่อกนั มำกกวำ่ 2 สปั ดำห์หรือ ไอมีเลอื ดปน ควรไปตรวจคัดกรองวัณโรค 8 วณั โรคสำมำรถเกดิ ขึ้นได้กบั บุคคลทุกวัย 9 กำรแยกของใชส้ ว่ นตัวของผปู้ ่วยวัณโรคปอดเป็นกำรป้องกนั กำรแพร่กระจำยเชอื้ โรคสบู่ ุคคลอนื่ 10 กำรจัดบ้ำนให้สะอำดมีอำกำศถำ่ ยเทเป็นกำรป้องกนั กำร แพร่กระจำยเช้อื โรคสบู่ ุคคลอนื่ 11 วัณโรคสำมำรถเกดิ ท่ีอวัยวะอนื่ นอกจำกปอดได้ เชน่ วณั โรค ต่อมน้ำเหลอื ง กระดูก เย่อื หุ้มสมอง 12 วณั โรคเป็นโรคท่ีสำมำรถป้องกนั ได้ 13 วณั โรคสำมำรถรักษำหำยได้ด้วยกำรทำนยำแกไ้ อจนหยดุ รายงานการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์เพอ่ื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (CBL) พน้ื ทอ่ี าเภอเวยี งเกา่ จงั หวัดขอนแกน่ 29

รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พื้นท่อี าเภอเวียงเกา่ จงั หวัดขอนแกน่ 30

รายงานการจดั ทาแผนยุทธศาสตรเ์ พอื่ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (CBL) พื้นท่อี าเภอเวียงเกา่ จงั หวัดขอนแกน่ 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook