Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book สุรชัย ธนาวุฒิ อดิศักดิ์.1 pdf

e-book สุรชัย ธนาวุฒิ อดิศักดิ์.1 pdf

Published by fiw3411, 2018-07-31 00:19:50

Description: e-book สุรชัย ธนาวุฒิ อดิศักดิ์.1 pdf

Search

Read the Text Version

คานารายงานฉบบั นีเ้ป็ นสว่ นหนง่ึ ของรายงาน เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร มีจดุ ประสงค์ให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารข้อมลู สารสนเทศและความรู้ ระบบเครือขา่ ยและการสื่อสารหลกั การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ และ การ พฒั นาโปรแกรม ผ้จู ดั ทาหวงั เป็ นอยา่ งยง่ิ ว่า รายงานฉบบั นีจ้ ะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผ้สู นใจทกุ คน หากมีข้อผิดพลาดประการ ใด ขอน้อมรับและขออภยั มา ณ ท่ีนีด้ ้วย ผ้จู ดั ทา นาย สรุ ชยั โคตรสวุ รรณ นาย อดศิ กั ดิ์ สเี คน นาย ธนาวฒุ ิ อา่ งมายา

บทบาทของการส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 1การส่ือสารข้อมูล 6ส่ือกลางในการส่ือสารข้อมูล 12เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 16โพรโทคอล 20อุปกรณ์ส่ือสาร 21ตวั อย่างการตดิ ตงั้ แลนภายในบ้าน 22

1 บทบาทของการส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การติดตอ่ ส่อื สารเป็นการพดู คยุ หรือสง่ ข่าวกนั ของมนษุ ย์ ซง่ึ อาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพดู หรือผ่านทาง ตวั อกั ษร โดยสว่ นใหญ่เป็นการสือ่ สารในระยะใกล้ ตอ่ มาเมื่อ เทคโนโลยกี ้าวหน้ามากขนึ ้ มีการพฒั นาอปุ การณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ สาหรับใช้ในการสอ่ื สาร ทาให้สามารถส่ือสารได้ในระยะไกล และสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขนึ ้ เช่น โทรเลข โทรศพั ท์ และโทรสาร สาหรับการตดิ ตอ่ สื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ในเวลาเดียวกนั ที่เรียกว่าระบบเครือข่าย มีการพฒั นาให้ดขี นึ ้ เป็นลาดบั จากในอดตี การใช้งานคอมพิวเตอร์จะเป็น คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่เชน่ เมนเฟรม การใช้งานจะมีการ เชื่อมตอ่ ไปยงั เคร่ืองปลายทางหรือเทอร์มินลั หลายเครื่อง ซงึ่ ถือ วา่ เป็นการติดตอ่ สอ่ื สารระหว่างคอมพิวเตอร์กบั เทอร์มินลั ในยคุ แรก

ตอ่ มามีการพฒั นาไมโครคอมพิวเตอร์หรือซีพี ซง่ึ มีขนาด 2 ความสามารถในด้านความเร็วการทางานสงู ขนึ ้ และมีราคาตา่ ลงมากเมื่อเทียบกบั คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ทาให้การใช้งาน ที่แพร่หลายมากยิ่งขนึ ้ และมีความต้องการที่จะเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์เหลา่ นนั้ เข้าด้วยกนั นอกเหนือจากการเชื่อมตอ่เทอร์มินลั เข้ากบั คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ดงั เชน่ ผา่ นมา และได้มีการกาหนดฐานกลางที่ใช้ในการเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์ที่มาจาก ผ้ผู ลิตตา่ งกนั ให้สามารถติดตอ่ ถึงกนั ได้ เกิดการใช้งานระบบเครือขา่ ยท่ีช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการทางาน เช่น การโอนถ่ายย้ายข้อมลู ระหวา่ งกนั หรือการใช้ทรัพยากรร่วมกนั ทาให้เกิด ความสะดวก และรวดเร็วในการใช้งานเพิ่มขนึ ้ลกั ษณะของเครือข่ายอาจเร่ิมจากจดุ เลก็ ๆ เช่น ระหวา่ งอปุ กรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์บนแผงวงจรเดียวกนั ไปจนถงึ ระบบท่ีทางานร่วมกนั ในห้องทางานในอาคาร ระหวา่ งอาคาร ระหวา่ งสถาบนั ระหวา่ งเมือง ระหวา่ งประเทศ

ปัจจบุ นั มีการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นอปุ กรณ์ใน 3 การคานวณและเก็บข้อมลู รวมถึงการส่อื สารข้อมลู การแลกเปลี่ยนข้อมลู ขา่ วสารตา่ งระหวา่ งคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบสานกั งานอตั โนมตั ิ เป็นระบบงานที่ใช้คอมพวิ เตอร์ ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์และระบบเครือขา่ ยชว่ ยในงานทเี่ กี่ยวกบั เอกสารการโอนย้ายแลกเปล่ียนไฟล์ การควบคมุ เอกสาร และสง่ เอกสารไปยงั หนว่ ยตา่ งๆ

การส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 4ก่อให้เกดิ ประโยชน์ ดังนี้ 1. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล ปัจจบุ นั มี ข้อมลู จานวนมากสามารถถกู สง่ ผา่ นเครือขา่ ยการ สอ่ื สารได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและรวดเร็ว2. ความถูกต้องของข้อมูล การรับสง่ ข้อมลู ระหวา่ งคอมพิวเตอร์ผ่านเครือขา่ ยการสื่อสารเป็นการสง่ แบบ ดจิ ิทลั ซงึ่ ระบบการสือ่ สารจะมีการตรวจสอบความ ถกู ต้องของข้อมลู ท่ีสง่3. ความเร็วในการรับส่งข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์ ในการสง่ ข้อมลู หรือ ค้นคว้าข้อมลู จากฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ทาได้รวดเร็ว เนื่องจากสญั ญาณทาง ไฟฟ้ าเดนิ ทางด้วยความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง

5 4. การประหยดั ค่าใช้จ่ายในการส่ือสาร ข้อมูล การรับและสง่ ข้อมลู ผา่ นเครือขา่ ยการ ส่อื สารสามารถทาได้ในราคาถกู กวา่ การส่อื สาร แบบอ่ืน 5. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ใน องค์กรสามารถใช้อปุ กรณ์สารสนเทศร่วมกนั ได้ โดยไมต่ ้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ให้กบั ทกุ เครื่อง6. ความสะดวกในการประสารงาน ในองค์กรท่ี มีหนว่ ยงานยอ่ ยหลายแหง่ ที่อยหู่ า่ งไกลกนัสามารถทางานประสานกนั ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต7. ขยายบริการองค์กร เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทาให้องค์กรสามารถกระจายทาการไปตามจดุ ต่างๆ ท่ีต้องการให้บริการ

การส่ือสารข้อมูล 6 การส่ือสารข้อมลู หมายถงึ การแลกเปลีย่ น ข้อมลู /ขา่ วสารโดยผา่ นทางส่อื กลางในการสื่อสารซง่ึ อาจเป็นส่ือกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายกไ็ ด้ องค์ประกอบพืน้ ฐานของระบบส่อื สาร ข้อมลู ประกอบด้วย

7 1.ข้อมูล/ข่าวสาร คือ ข้อมลู หรือสารสนเทศตา่ งๆ ที่ต้องการสง่ ไปยงั ผ้รู ับโดยข้อมลู /ข่าวสารอาจประกอบด้วยข้อความ ตวั เลข รูปภาพ เสยี ง วีดิทศั น์2.ผู้ส่ง คือ คนหรืออปุ กรณ์ที่ใช้สาหรับสง่ ข้อมลู /ขา่ วสาร ซงึ่ อาจเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ กล้องวีดิทศั น์ 3.ผู้รับ คือ คนหรืออปุ กรณ์ ที่ใช้สาหรับรับข้อมลู /ขา่ วสารทท่ี างผ้สู ง่ ข้อมลู สง่ ให้ซง่ึ อาจเป็น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์4.ส่ือกลางในการส่งข้อมูล คือ ส่ิงที่ทาหน้าที่ รับสง่ ข้อมลู /ข่าวสารไปยงั จดุ หมายปลายทาง

84.2.1 สัญญาณท่ีใช้ในการส่ือสาร แบง่ ได้ออกเป็น 2 ประเภทคือ สญั ญาณแอนะลอ็ กและสญั ญาณดจิ ิทลั สญั ญาณแอนะลอ็ กและสญั ญาณดจิ ิทลั ที่มี ขนาดแอมพลจิ ดู

94.2.2 การถ่ายโอนข้อมูล เป็นการสง่ สญั ญาณออกจากอปุ กรณ์สง่ ไปยงั อปุ กรณ์รับโดยจาแนกได้ 2 แบบ คือ1) การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทาได้โดยการสง่ ข้อมลู ออกมาทีละหลายบติ พร้อมกนั จากอปุ กรณ์ สง่ ไปยงั อปุ กรณ์รับ

102) การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ในการถ่ายโอนข้อมลู แบบอนกุ รม ข้อมลู จะถกู สง่ ออกมาทลี ะ บติ ระหวา่ งจดุ สง่ และจดุ รับ

114.2.3 รูปแบบการรับ-ส่งข้อมูล ไมว่ า่ จะเป็นการรับ-สง่ ข้อมลู แบบขนานหรืออนกุ รมสามารถ แบง่ ได้ 3 แบบดงั นี ้1) การส่ือสารทางเดยี ว ข้อมลู สามารถสง่ ได้ทางเดยี วโดยแตล่ ะฝ่ ายจะทาหน้าทอี่ ยา่ งใดอยา่ ง หนง่ึ2) การส่ือสารสองทางคร่ึงอัตรา สามารถสง่ ข้อมลู ได้ทงั้ สองฝ่ าย แตจ่ ะต้องผลดั กนั สง่ และ ผลดั กนั รับจะสง่ และรับพร้อมกนั ไมไ่ ด้3) การส่ือสารสองทางเตม็ อัตรา สามารถสง่ ข้อมลู ได้สองทางโดยท่ีผ้รู ับและผ้สู ง่ สามารถ รับสง่ ข้อมลู ได้ในเวลาเดียวกนั

12 ส่ือกลางในการส่ือสารข้อมูล การส่ือสารทกุ ชนิดต้องอาศยั ส่ือกลางในการสง่ ผา่ นข้อมลู เพ่ือนาข้อมลู ไปยงั จดุ หมายปลายทาง เช่น การคยุ โทรศพั ท์อาศยั สายโทรศพั ท์เป็นสือ่ กลางในการสง่ สญั ญาณคล่นื เสียงไปยงั ผ้รู ับ เป็นต้น สาหรับการ ตดิ ตอ่ สื่อสารระหวา่ งคอมพิวเตอร์อาจใช้สายเชื่อมต่อผ่านอปุ กรณ์เชื่อมตอ่ หรืออาจใช้อปุ กรณ์เชื่อมตอ่ แบบไร้ สายเป็นส่อื กลางในการเช่ือมตอ่ ก็ได้ ส่อื กลางในการ ส่ือสารมีความสาคญั เพราะเป็นปัจจยั หนงึ่ ท่ีกาหนด ประสิทธิภาพในการสือ่ สาร เช่น ความเร็วในการสง่ ข้อมลู ปริมาณของข้อมลู ท่ีสามารถนาไปได้ในหนงึ่ หนว่ ยเวลา รวมถึงคณุ ภาพของการสง่ ข้อมลู เราจะ กลา่ วถงึ สื่อกลางในการสอ่ื สารทงั้ ในแบบใช้สายและ แบบไร้สาย ดงั นี ้

134.3.1 ส่ือกลางแบบใช้สาย1) สายคู่บดิ เกลียว สายนาสญั ญาณแบบนีแ้ ตล่ ะ คสู่ ายที่เป็นสายทองแดงจะถกู พนั บิดเป็นเกลยี วสายคู่บดิ เกลียวมี 2 ชนิด คือ- สายคู่บดิ เกลียวแบบไม่ป้ องกันสัญญาณรบกวน หรือสายยูทพี ี - สายคู่บดิ เกลียวแบบป้ องกันสัญญาณรบกวน หรือสายเอสทีพี

142) สายโคแอกซ์ เป็นสายนาสญั ญาณท่ีเรารู้จกั กนัดี โดยใช้เป็นสายนาสญั ญาณทีต่ อ่ จากเสาอากาศ เครื่องรับโทรทศั น์หรืสายเคเบลิ ทีวี

3) สายไฟเบอร์ออพตกิ ประกอบด้วย 15กลมุ่ ของเส้นใยทาจากแก้วหรือพลาสตกิ ท่ีมีขนาดเลก็ ประมาณเส้นผม

16เครือข่ายคอมพวิ เตอร์1) เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน เป็ นเครือขา่ ยที่ใช้สว่ นบคุ คล เชน่ การเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอร์กบั โทรศพั ท์มือถือ

17 2) เครือข่ายเฉพาะท่ี หรือแลน เป็นเครือขา่ ยทีใ่ ช้ในการเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์และ อปุ กรณ์ตา่ งๆ

183) เครือข่ายนครหลวง หรือแมน เป็นเครือขา่ ยท่ีใช้เชื่อมโยงแลนท่ีอยหู่ า่ งไกล ออกไป

19 4) เครือข่ายวงกว้าง หรือแวน เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมโยงกบั เครือขา่ ย อ่ืนท่ีอยไู่ กลกนั มาก

20โพรโทคอล การเช่ือมตอ่ ระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์เครือขา่ ยที่ผลติ จากผ้ผู ลติ หลายรายผ่านทางระบบ เครือข่ายชนิดต่างๆ กนั ไมส่ ามารถเชื่อมตอ่ โดย ตรงกนั ได้ เช่น การตดิ ต่อส่ือสารระหวา่ งเมนเฟรม ของบริษัทไอบีเอม็ IBM mainframe ไม่สามารถติดตอ่ สือ่ สารกนั ได้โดยตรงกบั เคร่ืองแมคอนิ ทอชของบริษัทแอปเปิ ล Apple Macintosh ดงั นนั้ ต้องมีการเปลีย่ นรูปแบบของข้อมลู ท่ีสง่ และกาหนดมาตรฐานทงั้ ด้าน ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เพ่ือให้อปุ กรณ์สามารถ ตดิ ต่อสื่อสารกนั ได้โดยมีองค์กรกลาง เช่น IEEE ISO และ ANSI เป็นผ้กู าหนดมาตรฐานขนึ ้ มา

21อุปกรณ์ส่ือสาร อปุ กรณ์การสอ่ื สารcommunication devices ทา หน้าที่รับและสง่ ข้อมลู จากอปุ กรณ์สง่ และรับข้อมลู โดยมีการสง่ ผา่ นทาง สือ่ กลางดงั กลา่ วมาแล้ว สญั ญาณท่ีสง่ ออกไปอาจอยใู่ นรูปแบบดิจิทลั หรือแบบแอนะลอ็ ก ขนึ ้ อยกู่ บั อปุ กรณ์ที่ใช้ในการตดิ ตอ่ ส่ือกลางท่ีใช้ในการเชื่อมตอ่

ตัวอย่างการตดิ ตัง้ แลน 22 ภายในบ้าน การติดตงั้ แลนภายในบ้านอย่างงา่ ยสามารถทาได้โดยเชื่อมตอ่ คอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเคร่ืองเข้าด้วยกนั โดยผา่ นสวติ ช์ และทาการปรับการตงั้ คา่ ของโพร โทคอลการสื่อสารท่ีเกี่ยวข้อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook