Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสนเทศการบริหาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปีการศึกษา 2563

สารสนเทศการบริหาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปีการศึกษา 2563

Published by AU Library, 2022-08-23 02:23:51

Description: สารสนเทศการบริหาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

มหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชัญ มนี าคม 2564 Assumption University of Thailand

คำนำ สารสนเทศการบริหารมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลในด้านต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ ใช้ในการเผยแพรใ่ ห้บุคคลตา่ ง ๆ ไดร้ บั ทราบขอ้ มลู ในด้านตา่ ง ๆ อาทเิ ชน่ ประวตั คิ วามเปน็ มา วัตถุประสงค์ การจัดการศึกษา หลักสูตรต่าง ๆ จำนวนอาจารย์ นักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา ความร่วมมือทางวิชาการ ทนุ การศกึ ษา จำนวนศิษย์เก่า รางวัลท่ีมหาวทิ ยาลยั ไดร้ ับ วารสารทางวิชาการ และสถานท่สี ำคัญภายในมหาวิทยาลัย เป็นต้น โดยเป็นการรวบรวมข้อมูลที่เป็นปัจจุบันมากที่สุด และจะมีการปรับปรุงข้อมูลในทุกปีการศึกษาและนำขึ้น เผยแพร่ทาง AU Website เป็นช่องทางหลักและคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าข้อมูลสารสนเทศการบริหาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญนี้ จะเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์และใช้ในการอ้างอิงต่าง ๆ ได้ และใคร่ขอขอบพระคุณ ผูบ้ รหิ าร คณาจารย์ เจา้ หน้าที่ คณะวิชาและหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดทำในครง้ั น้ี คณะผจู้ ัดทำ มนี าคม 2564

สารบญั หนา้ 1 ผงั การบริหารงานมหาวทิ ยาลัยอัสสัมชัญ 3 2 ข้อมลู -สถิตนิ ักศึกษา และอาจารย์ ปีการศกึ ษา 2563 4 3 วทิ ยาเขตของมหาวทิ ยาลัยอัสสัมชัญ 5 4 แผนท่ี-แผนผังมหาวิทยาลัย 6 5 ประวตั คิ วามเปน็ มา 9 6 ปรัชญา 11 7 นโยบาย และวัตถปุ ระสงค์ 11 8 ตรามหาวทิ ยาลยั อสั สัมชัญ 12 9 ต้นไมป้ ระจำมหาวิทยาลยั : ต้นอโศก 14 10 สตั วน์ ำโชคมหาวิทยาลยั : ม้า 14 11 สญั ลักษณ์ของมหาวทิ ยาลยั : อาสนแห่งปัญญา 15 12 วิสยั ทศั น์ 2000 ของมหาวิทยาลัย 15 13 วสิ ยั ทัศน์ 2000 ของบัณฑิตมหาวทิ ยาลยั 15 14 อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัย (อดตี – ปัจจุบนั ) 16 15 กรรมการสภามหาวทิ ยาลัย 16 16 ผบู้ รหิ ารระดบั สูง 17 17 ผบู้ รหิ ารดา้ นวิชาการ 17 18 ผบู้ ริหารทั่วไป 18 19 การรับรองมาตรฐานการศกึ ษา และการเข้าร่วมเปน็ สมาชิกองค์การระหวา่ งประเทศ 19 20 ความร่วมมอื ทางวชิ าการกบั ต่างประเทศ 20 21 รางวลั ท่มี หาวทิ ยาลัยอสั สมั ชัญได้รับ 24 22 หลักสูตรของมหาวทิ ยาลัย 26 23 ทนุ การศึกษามหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชญั 32 24 บัณฑติ ที่สำเร็จการศึกษา 32 25 ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กิตติมศักด์ิ 34 26 เอกสารเผยแพรท่ างวชิ าการ 36 27 สถานท่ีเยีย่ มชมภายในมหาวทิ ยาลยั อสั สัมชัญ 41

ผังการบรหิ ารงานมหาวิทยาลยั อัสสัมชญั 3

ข้อมูล-สถิตินักศกึ ษา และอาจารย์ ปกี ารศึกษา 2563 ▪ จำนวนนกั ศกึ ษา รวม 9,358 คน - จำนวนนกั ศกึ ษาไทย 6,989 2,369 - จำนวนนกั ศึกษานานาชาติ (57 ประเทศ) 710 คน ▪ จำนวนคณาจารย์ รวม 4 368 - คุณวฒุ ิปรญิ ญาตรี 338 102 คน - คุณวุฒปิ ริญญาโท 85 15 - คณุ วุฒิปริญญาเอก 2 จำแนกตามตำแหนง่ ทางวิชาการ รวม 553 คน - ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ 258 249 - รองศาสตราจารย์ 43 - ศาสตราจารย์ 3 ▪ บคุ ลากรทางการศึกษา รวม - ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี - ปริญญาตรี - ปรญิ ญาโท - ปริญญาเอก 4

วิทยาเขตของมหาวทิ ยาลัยอสั สมั ชัญ ▪ วทิ ยาเขตหวั หมาก (บนท่ดี นิ จำนวน 16 ไร)่ 592/3 ซอยรามคำแหง 24 ถนนรามคำแหง แขวงหวั หมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรศัพท์ (0) 2 300-4543-62 https://www.au.edu ▪ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ (บนทดี่ ินจำนวน 374 ไร)่ 88 หมู่ 8 ถนนบางนา - ตราด กม.ท่ี 26 อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10570 โทรศัพท์ (0) 2 723-2222 https://www.au.edu 5

แผนท-่ี แผนผังมหาวิทยาลยั แผนที่วทิ ยาเขตหัวหมาก – วทิ ยาเขตสุวรรณภมู ิ 6

แผนผงั วทิ ยาเขตหัวหมาก 7

แผนผงั วทิ ยาเขตสวุ รรณภมู ิ 8

ประวัติความเปน็ มา มูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ได้เริ่มโครงการจัด การศึกษาในระดับอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ.2512 ที่โรงเรียนอัสสัมชัญ พาณิช ยการ ( ACC) และสถาปนาอย่างเป็นทาง การ ใช้ ชื่ อ ว่ า วิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ หรือ ABAC เมื่อย้ายไปจัดการศึกษาท่ี แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิในปี พ.ศ. 2515 ปฏิบัติภารกิจหลักของ สถาบันอุดมศึกษา 4 ประการคือ การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การ ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ อย่างต่อเนื่อง โดยจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทุกหลักสูตร จน ได้รับการยอมรบั วา่ เปน็ สถาบันอุดมศกึ ษานานาชาติแหง่ แรกในประเทศไทย ด้วยปณิธานอันแน่วแน่ ที่จะปฏิบัติภารกิจหลักทั้ง 4 ประการ อย่างมีคุณภาพ เพื่อยังประโยชน์แก่ประเทศชาติและสังคม เพื่อให้บรรลุถึง ซึ่งความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ จึงได้มีการพัฒนาทุกด้านอย่างต่อเนื่อง ทั้งการ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อบรรยากาศ ในการทำงานและการศึกษา การ เรียนการสอน ได้ขยายหลักสูตรเพิ่มขึ้นจากเดิม โดยได้เปิดดำเนินการสอน ในหลักสูตรต่างๆ ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ใน คณะวิชาต่างๆ อย่างหลากหลาย จนได้รับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ เปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย ใช้ชื่อว่า “มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ” เม่ือ วันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 9

หลังจากนั้นมหาวิทยาลัยได้บกุ เบิกพัฒนาด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องตลอด มา โดยเฉพาะด้านอินเตอร์เน็ต ซึ่งมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นสถาบันเดียวใน ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ที่เป็นผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันอินเตอร์เน็ตของโลกเมื่อปี พ.ศ. 2536 เพื่อให้พัฒนาการของมหาวิทยาลัยเป็นไปอย่างต่อเนื่องและรองรับ การขยายตัวในอนาคต มหาวิทยาลัยได้เปิดดำเนินการ วิทยาเขตแห่งที่ 2 บนพื้นที่กว่า 374 ไร่ บริเวณกิโลเมตรที่ 26 ถนนบางนา-ตราด จังหวัด สมุทรปราการ ใช้ชื่อว่า “มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญวิทยาเขตสุวรรณภูมิ” เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2550 โดยมีแนวคิดให้เป็น “มหาวิทยาลัยในวน อุทยาน” มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้นานา ชนิด อาคารเรียนท่ที นั สมยั ห้องปฏิบตั กิ าร หอสมดุ ขนาดใหญ่ ศนู ย์ประชุม นานาชาติ โบสถ์ หอพกั นกั ศกึ ษากว่า 1,250 ห้อง และศูนยก์ ีฬาขนาดใหญ่ เพื่อหล่อหลอมให้นักศึกษาเป็นคนที่สมบูรณ์แบบในทุกๆ ด้าน เพื่อออกไป รับใช้สังคมและประเทศชาติตอ่ ไป วิทยาเขตแห่งนี้จัดการเรียนการสอนใน ระดับปริญญาตรี ส่วนที่เดิมใช้ชื่อว่า “มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ” วิทยาเขต หวั หมาก มงุ่ เน้นการจดั การเรียนการสอนในระดับบณั ฑิตศึกษา 10

ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมีหลักสูตร ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ที่เปิดดำเนินการจัดการเรียนการ สอนในคณะวิชาต่างๆ จำนวน 61 หลักสูตร มีนักศึกษา 9,358 คน ในจำนวนนี้เป็นนักศึกษาต่างชาติ 2,369 คน จาก 57 ประเทศ และได้สามารถผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้สังคม ประเทศชาติแลว้ เปน็ จำนวน 104,871 คน ปรัชญา เป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงที่มูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทยได้จัดตั้งขึ้น โดยมีอนุสนธิจากการที่ เจษฎาจารยค์ ณะเซนต์คาเบรียลได้เข้ามาเผยแพรธ่ รรมในประเทศไทยเมื่อกว่าหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา ได้ชี้ให้เหน็ ถงึ ความ จำเป็นที่จะต้องศึกษาภาษาต่างประเทศเพราะเล็งเห็นว่าต่อไปสังคมโลกจะ มีความใกล้ชิดติดต่อกันมากขึ้นเพราะความ เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอัสสัมชญั ยดึ มั่นต่อพันธกิจของครสิ ตชนในการจัดการศึกษาเพื่อให้ถึงซึ่งความ เปน็ เลศิ ทางวชิ าการทีก่ อปรด้วยความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม รวมทง้ั หลักปรัชญาทางศาสนาและจริยธรรม โดยมุ่ง ให้นักศึกษาเคารพและยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีความ ตระหนักในเกียรติและศักดิ์ศรีของมนุษย์ว่าอยู่ที่การทำงานด้วยความวิริยะอุตสาหะ และให้สำนึกว่ามหาวิทยาลัยแห่งน้ี เปน็ เสมือนดวงประทีปท่นี ำไปสขู่ มุ ทรัพย์แห่งสรรพความรแู้ ละสัจธรรมแหง่ ชวี ติ นโยบาย และวัตถปุ ระสงค์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีนโยบายที่จะสนองตอบความต้องการของชาติในการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยเฉพาะสาขาวิชาทางธุรกิจวิทยาการจัดการ การวิจัย และการศึกษาเชิงสหวิทยาการ นอกจากน้ี ยงั เน้นถงึ ความเปน็ นานาชาติ ดว้ ยการสง่ เสรมิ ใหต้ ระหนักถึงความแตกต่างกันในด้านวฒั นธรรมและจติ ใจ โดย ไม่แสวงหาผลทางกำไร (non-profit making) เพ่อื ให้บรรลุวัตถุประสงคด์ ังกล่าว มหาวิทยาลยั มุ่งอบรมและให้การศึกษาเพ่ือให้บัณฑิตเป็นผทู้ ่ีมีสมรรถภาพทาง ปญั ญา และมีคุณธรรม มีความประพฤติท่ีถกู ตอ้ งสอดคล้องกบั บรรทัดฐานของสังคม และมวี ิสัยทศั น์ที่เปิดกวา้ งพร้อมที่จะ พัฒนาให้เจริญก้าวหน้าต่อไป เป็นผู้ที่มีความสามารถในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ มีเจตคติและอุดมการณ์ท่ี 11

ถูกตอ้ งรวมถึงการบูรณาการในสารัตถะของจริยธรรม วทิ ยาศาสตร์ ภาษาและการจัดการทางธุรกิจได้อย่างลึกซ้ึง เป็นผู้ท่ี มคี วามเป็นเลศิ ในทางวชิ าการ มคี วามพากเพียร มคี วามคดิ เชงิ วเิ คราะหแ์ ละสามารถตดั สินใจได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เป็น ผทู้ ่สี ามารถประสานวัฒนธรรมและใชเ้ ทคโนโลยตี ่างๆ ไดอ้ ยา่ งดี เพือ่ ใหเ้ กิดสนั ติภาพขึน้ ในโลก ตรามหาวทิ ยาลยั อสั สัมชญั ชื่อ “อสั สัมชัญ” เป็นชือที่มีประวัตคิ วามเปน็ มาและความหมายดงั นี้ แรกเริ่มคุณพ่อกอลเบต์ใช้ชื่อภาษาผรั่งเศส “Le Colle’ge de L’ Assomption” และใช้ภาษาไทยว่า “โรงเรียนอาซมซานกอเล็ศ” แต่คนภายนอกทว่ั ๆ ไป มักจะเรยี กและเขียน ผิด ดังนั้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2453 ภราดาฮีแลร์ จึงได้มีหนังสือไปถึงกรมศึกษา กระทรวงธรรมการ ขอเปลี่ยนช่ือ โรงเรียนเปน็ “อาศรมชัญ” เพ่อื ใหเ้ ปน็ ภาษาไทยตามนโยบายของทางราชการ วนั ท่ี 26 กันยายน 2453 พระยาวิสุทธิสุริย ศักดิ์ อธิบดีกรมศึกษาได้ตอบกลับมาว่าควรเปลี่ยนเป็น “อัสสัมชัญ” เพราะได้เสียงใกล้เคียงของเดิมและความหมายก็ คงไว้ตาม “อาศรมชัญ” ดังนั้นชื่อ “อัสสัมชัญ” จึงได้เริ่มใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2453 เป็นต้นมา ซึ่งคำ ๆ นี้ ให้ เสียงเป็นคำไทย และคล้ายกับภาษาอังกฤษว่า “Assumption” ซึ่งท้ังคำแปลก็เหมาะสมที่จะเป็นชื่อของโรงเรียน กุฏิที่ ถอื ศิลเป็นอันมาก เพราะคำวา่ “อสั สัมชัญ” เป็นศัพท์บาลีมคธวา่ “อัสสโม” แปลงเป็นไทยว่า “อาศรม” หมายถึง “กุฏิที่ ถือศิลกินพรต” ส่วนคำว่า “ชัญ” เมื่อแยกตามรากศัพทเ์ ดมิ เปน็ “ช” แปลว่า เกิด และ “ญ” แปลว่า ญาณ ความรู้ รวม ความได้วา่ “ชญั ” คือทีส่ ำหรับเกิดญาณความรู้ เม่ือความสองศัพท์เป็นศัพทเ์ ดียวกันว่า “อัสสมั ชัญ” แปลว่า ตำหนักท่ี สำหรับระงับบาป และทีส่ ำหรับหาวิชาความรู้ ตรามหาวิทยาลัยอสั สัมชญั 12

A.M. และช่อดอกลิลลี่สีขาว: A.M. ย่อมาจาก ALMA MATER (ภาษาละติน) หมายความว่า สถาบันเปรียบประดุจบ้านเกิด จงรักสถาบันเปรียบประดุจผู้บังเกิดเกล้า นอกจากนี้ A.M. ยังย่อมาจาก AVE MARIA ซึ่งเป็นคำสดุดีของอัครเทวดา คาเบรียลหรือ เซนต์คาเบรียล ต่อพระมารดาของพระเยซูคริสต์ ซึ่งเป็นที่เทิดทูนของภราดาคณะเซนต์คาเบรี ยล ส่วนช่อดอกลิลลี่ที่ขาวบริสุทธิ์นั้น หมายความว่า เราจะต้องเป็นผู้บริสุทธิ์ ทั้งกาย วาจา และใจเสมอ เรอื ใบหรือนาวา เปรยี บเสมือนชวี ิตของมนษุ ย์ที่จะต้องฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ ในโลกนี้ เหมอื นกับนาวาที่ จะต้องฝ่าคลนื่ ลมมรสุม แดด และฝนในทอ้ งทะเลเพือ่ มิใหล้ ม่ จมอยกู่ ลางทะเล เปน็ คตใิ ห้คิดเสมอว่า “ชีวติ คอื การตอ่ สู้ ดวงดาวกับเรือพาย หมายถึง ความหวังทางด้านจิตใจ ซึ่งศาสนาเป็น “แสงแห่ง ธรรม” และสรรพวิทยาการที่ได้รับจากสถาบันแห่งนี้เป็น “แสงแห่งปัญญา” รวมกันเป็นดุจ ดวงประทีปส่องนำทางในชีวิตให้เดินหน้าไปให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายปลายทางของชีวิตได้ด้วย คณุ ธรรมและปัญญาโดยไม่หลงกลางทะเลของชวี ติ รปู คนในเรอื พาย ก็คือ ชีวติ ของเราน่นั เอง D หรอื DIVINITY หมายถึง ศาสนา เราทกุ คนต้องมีศาสนาเปน็ หลกั ยดึ เหน่ียวจติ ใจ เคร่อื งหมาย ไมก้ างเขนเปน็ เคร่ืองหมายแหง่ ความรกั และความเสยี สละ S หรือ SCIENCE หมายถึง วิทยาการ ความรู้ที่ทำให้เรามีเหตุผล คนเราทุกคนควรจะมุ่งหา ความรู้อยู่เสมอ ยิ่งเรามีความรู้ฝ่ายโลกมากเท่าใด ก็ยิ่งควรสนใจหาความรู้ฝ่ายธรรมให้มากขึ้น เท่านั้น นอกจากนี้ D และ S ยังย่อมาจาก DIEU SEUL (ภาษาฝรั่งเศส) ซึ่งหมายความว่า “จง ทำงาน ทุกอย่าง เพื่อสิริรมงคลแด่พระเจ้า” อันเป็นคติพจน์ของนักบุญหลุยส์ มารี เดอ มงฟอร์ต ผู้สถาปนาภราดาคณะ เซนตค์ าเบรียล ด้วยคติพจน์อันเปน็ พลงั ใจนเี้ องจึงทำให้พวกเราไม่ย่อท้อต่อความเหน่ือยยากไม่วา่ จะเป็นการเล่าเรียน และการทำงาน ซึง่ เรายดึ ถือปฏบิ ัตมิ าจนกระทั่งทกุ วันนี้ โลท่ ่เี ปน็ กรอบล้อมรอบสัญลักษณท์ ั้งสี่ เปน็ “COAT OF ARMS” เปน็ HONOURS หมายถงึ เกยี รติประวตั ิ และคำยกยอ่ งสรรเสริญ ที่สถาบันของเราไดร้ บั มาจากพระเจ้าแผน่ ดนิ ผู้ครองอำนาจทั้งในและนอกประเทศ ดอกไม้และกิง่ LAUREL หมายถงึ ชยั ชนะ และความสำเร็จ มที ่ีมาจากนักกีฬาทีม่ ีชัยชนะจากการแข่งขันในสมัย โบราณจะไดร้ ับเกยี รติ โดยได้รับพวงมาลัยดอกไม้จากกษตั ริย์หรอื อกี นัยหนึ่งก็คอื เป็นมาลัยเกียรติยศทีจ่ ะเตือนใจให้ทกุ คนกระทำความดี เพ่ือเชิดชูและจรรโลงไว้ซงึ่ เกียรตยิ ศและช่อื เสียงของสถาบนั ให้มน่ั คงมิให้เส่ือมสลายไป Brothers of St. Gabriel หมายถงึ ภราดาคณะเซนตค์ าเบรียลท่ียอมสละชีวิตและบา้ นเกิดเมืองนอนของตนมา ช่วยเผยแพร่ความรู้และความดีงามให้เด็กชาวไทย 13

Labor Omnia Vincit เปน็ คติพจน์ประจำมหาวิทยาลยั ซึ่งหมายความว่า “อุปสรรคทัง้ ปวงสามารถเอาชนะ ไดด้ ้วยความอุตสาหะวริ ยิ ะ (Labour Conquers All Things) ตน้ ไม้ประจำมหาวทิ ยาลยั : ต้นอโศก ชื่อทางวทิ ยาศาสตร์ : Pilyathia Longifolia Benth & Hook เหตผุ ลในการเลอื กต้นอโศกเปน็ ต้นไมป้ ระจำมหาวทิ ยาลัย 1. ต้นอโศกเป็นพชื ใบเขยี ว ซึง่ หมายถงึ ความสดชนื่ ความรม่ ร่นื ความรม่ เย็น ความมัน่ คง ไม่ร่วงโรยไปตามกาลเวลา และฤดูกาล เปรียบเหมือนมหาวิทยาลยั มีความมุ่งมัน่ และปณิธานอันแนว่ แน่ท่ีจะ ปฏิบัติภารกิจในฐานะสถาบนั กรศกึ ษาให้สำเร็จลุล่วง มีความเป็นเลศิ ทางวิชาการ ควบคไู่ ปกบั คุณภาพ คุณงามความดแี ละศิลธรรมต่างๆ ท่ียั่งยืนตลอดไป 2. ต้นอโศกมีรูปทรงทีส่ วยงามท่สี ดุ สงู สง่าราวกับองค์สถูป 3. ต้นอโศกมชี ่อื มาจากภาษาอินเดยี วา่ Ashok ตามช่ือของกษตั รยิ ์อโศกซงึ่ มชี ื่อเสยี งและย่งิ ใหญ่มากท่สี ดุ ในสมัย พทุ ธกาล 4. ตน้ อโศกเป็นต้นไม้ทนี่ ำมาจากประเทศอินเดยี เมอื่ ปี ค.ศ. 1957 โดยมลู นธิ ิคณะเซนตค์ าเบรยี ลแหง่ ประเทศไทย ภราดา จอหน์ แมร่ี เปน็ ผูน้ ำเข้ามาปลูกในโรงเรยี นเซนต์คาเบรยี ลและได้รับการตงั้ ชื่อจากกรมป่าไม้ว่า อโศกเซนต์คา- เบรียล เม่อื วันที่ 15 ธนั วาคม 1969 สัตว์นำโชคมหาวทิ ยาลยั : ม้า เพอื่ เปน็ เกียรติและอนสุ รณ์แหง่ ความดีงามทีน่ ักศึกษาของมหาวิทยาลัย ได้สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศด้วย การชนะเลิศรางวัลเหรียญทองกีฬาแข่งม้า Asian Games 1998 และโดยลักษณะนิสัยของม้า เป็นสัตว์ที่มีความปราด เปรยี วว่องไว แข็งแรง สมควรที่นักศกึ ษา คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ของมหาวิทยาลัยจะยึดถือและมีพฤติกรรม “เยี่ยงม้า” ดังคำกล่าวที่ว่า “บุรุษ อาชาไนย” ซึง่ หมายความวา่ “เป็นคนที่ฝึกหดั มาดีแล้ว” 14

สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย : อาสนแห่งปญั ญา คริสตศาสนิกชนมีความเชื่อที่ยึดมั่นถือปฏิบัติสืบต่อกันมาหลาย ศตวรรษ คือการเคารพบูชาแม่พระ ซึ่งเป็นพระมารดาของพระเยซูเปรียบ ประดุจ “อาสนแห่งปัญญา ปรีชาญาณและแสงสว่างแห่งปัญญา” (The Seat of Wisdom : Sedes Sapientiae) อันหมายถึงพระเยซูคือปัญญาของความ ฉลาดสุขุมและแสงสว่างซึ่งประทับนั่งบนบัลลังก์ ดังนั้น แม่พระจึงเป็นแหล่ง พำนกั แห่งสรรพความรแู้ ละวทิ ยาการทั้งปวงอันสงู สดุ มหาวทิ ยาลยั อัสสมั ชัญเป็นสถาบันการศกึ ษาเปรยี บประดจุ เป็นบ้านเกิดและมารดาของเราซึง่ เป็นแหล่งรวม ของความรู้นักศกึ ษาบนตกั ของมารดาเรียนวชิ าความรู้ (Wisdom) จากมารดา และคำว่า “อัสสมั ชัญ” (Assumption) นอกจากมีความหมายถึงการถวายเกียรติแด่มารดาของพระคริสตใ์ นศาสนาคริสต์แล้ว ยงั มีอีก ความหมายหนง่ึ คือเปน็ “สถานท่สี ถิตม่ันแห่งสรรพความรู้ สติปัญญา ปรีชาญาณและแสงสว่างทั้งปวง” (ฟ.ฮีแลร์ ผู้ นยิ ามและให้ความหมาย) วสิ ยั ทัศน์ 2000 ของมหาวทิ ยาลัย ภาพลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ ในทศวรรษหน้ากอปรด้วยคณุ ลกั ษณะดังน้ี - เป็นสังคมนานาชาติของผู้ทรงปญั ญาและความรู้ (Scholars) - มชี วี ิตแจม่ ใสด้วยแรงบนั ดาลใจจากครสิ ต์ศาสนา - มงุ่ ใฝ่หาความจรงิ (Truth) และความรู้ - รบั ใชส้ งั คมด้วยวิธีบูรณาการความรู้ด้านสหวทิ ยาการและวทิ ยาการด้านเทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วสิ ยั ทศั น์ 2000 ของบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั คุณลกั ษณะของบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยอัสสมั ชญั ใน ค.ศ. 2000 มดี ังนี้ - มสี ขุ ภาพพลานามัยดแี ละมีโลกทัศนก์ วา้ งไกล ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม ปรารถนาพัฒนาตนให้เจริญกา้ วหนา้ อยู่ ตลอดเวลา มีความคิดอสิ ระและสร้างสรรค์ - มีความรู้ความสามารถทางวิชาชพี และเปน็ ผนู้ ำท่มี ีความรบั ผิดชอบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจเพื่อให้เกดิ ความ เป็นธรรมในสังคม - สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารกบั ชนตา่ งชาตแิ ละเข้ารว่ มในกระบวนการโลกาภวิ ัตน์ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 15

อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั (อดีต – ปัจจุบัน) 1. ภราดาสมพงษ์ ธรี านนท์ พ.ศ. 2515 - 2517 2. อาจารยว์ นั เพญ็ นพเกตุ พ.ศ. 2517 – 2519 3. ศ. ดร. ชุบ กาญจนประการ พ.ศ. 2519 – 2522 4. ภราดา ดร.ประทปี ม. โกมลมาศ พ.ศ. 2522 – 2545 5. ภราดา ดร.บญั ชา แสงหิรญั พ.ศ. 2545 – ปัจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลยั (สิงหาคม 2563 – 31 สงิ หาคม 2567) 1. ภราดา ดร.เดชาชยั ศรีพจิ ารณ์ นายกสภา 2. ภราดา ดร.ศริ ชิ ัย ฟอนซีกา อุปนายกสภา 3. ภราดา ดร.บญั ชา แสงหริ ญั กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 4. ภราดา ดร.อาจิณ เตง่ ตระกลู กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 5. ภราดา ดร.อำนวย ยุ่นประยงค์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 6. ภราดา ดร.วรี ยุทธ บุญพราหมณ์ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 7. ภราดา ดร.ทินรตั น์ คมกฤส กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8. ภราดา ดร.ชำนาญ เหล่ารกั ผล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 9. ภราดา ดร.พสิ ตู ร วาปโิ ส กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 10. ภราดา ดร.มณฑล ประทมุ ราช กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 11. ภราดา ดร.ศักดา สกนธวฒั น์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ 12. ภราดา ดร.สรุ กจิ ศรีสราญกลุ วงศ์ กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ 13. ดร. ธนู กุลชล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 14. ศ.ดร.ประภาส จงสถิตยว์ ัฒนา กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ 15. นางนวลพรรณ ล่ำซำ กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ 16. นายสมชาย วงศท์ รพั ยส์ ิน กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 17. นายวรี ศักด์ิ อนุสนธวิ งษ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ณ สงขลา เลขานกุ าร - นายสมพล 16

ผบู้ รหิ ารระดับสูง 1. อธิการบดกี ติ ติคณุ ภราดา ดร. ประทปี ม. โกมลมาศ 2. อธกิ ารบดี – อคั ราธิการบดี ภราดา ดร. บัญชา แสงหริ ัญ 3. รองอธิการบดฝี า่ ยการศึกษาพฒั นาจรยิ ธรรม และ ภราดา ดร. อำนวย ยุ่นประยงค์ University Campus Minister ภราดา ดร. อาจิณ เต่งตระกูล 4. รองอธกิ ารบดีฝา่ ยกิจการนักศกึ ษา (รกั ษาการ) ภราดา ดร. อาจณิ เต่งตระกูล 5. รองอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหาร ภราดา ดร. วรี ยทุ ธ บญุ พราหมณ์ 6. รองอธกิ ารบดีฝา่ ยการเงิน ดร. วนิ ธยั โกกระกูล 7. รองอธิการบดฝี า่ ยวชิ าการ นายสมพล ณ สงขลา 8. รองอธกิ ารบดีฝ่ายกฎหมายและสทิ ธปิ ระโยชน์ ผศ.ดร. วรยทุ ธ ศรวี รกลุ 9. รองอธิการบดีฝ่ายวจิ ัย และบริการวชิ าการ รศ.ดร. ประทิต สันตปิ ระภพ 10. รองอธกิ ารบดีฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ดร. สุนทร พิบลู ยเ์ จริญสทิ ธ์ 11. นายทะเบยี นมหาวทิ ยาลัยอัสสมั ชัญ ผศ.ดร. กฤษณะ กจิ เจรญิ 12. ผู้ชว่ ยอธิการบดี ผศ.ดร. กติ ติ โพธกิ ติ ติ 13. คณบดีบณั ฑิตศึกษา ผบู้ รหิ ารด้านวิชาการ 1. คณบดีบัณฑิตศึกษา ผศ.ดร.กิตติ โพธิกติ ติ 2. คณบดีบัณฑติ วทิ ยาลยั มนุษยศกึ ษา รศ.ดร. สุวฒั นา เอี่ยมอรพรรณ 3. คณบดีบัณฑติ วิทยาลยั บริหารธุรกิจและการจดั การเทคโนโลยี ผศ.ดร.กิตติ โพธิกติ ติ ขน้ั สูง ผศ.ดร.อุรีย์ เจีย่ สกลุ 4. คณบดีคณะบริหารธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. สรุ ีย์พงศ์ โพธิท์ องสนุ ันท์ 5. คณบดีคณะศลิ ปศาสตร์ ดร. พิมสริ ิ ภศู่ ิริ 6. คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ ผศ.ดร.ธติ พิ งศ์ ตันประเสริฐ 7. คณบดีคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.ณรงค์ อภิรตั นส์ กลุ 8. คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์ นางสาว ดรุณี สะอาดดี 9. คณบดีคณะนเิ ทศศาสตร์ ผศ.ดร.เสถียรภาพ นาหลวง 10. คณบดีคณะนิติศาสตร์ ดร.เชิดชัย เชย่ี วธรี กุล 11. คณบดคี ณะเทคโนโลยีชวี ภาพ ผศ. ศุภรัฐ วลยั เสถียร 12. คณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ดร. นาวยา ชินะชาครยี ์ 13. คณบดีคณะดนตรี 17

ผู้บรหิ ารท่ัวไป 1. ผอู้ ำนวยการสำนกั อธิการบดี ผศ.ดร. กฤษณะ กิจเจรญิ 2. ผ้อู ำนวยการสำนักรองอธิการบดฝี า่ ยกฎหมายและสิทธิ นาย สมพล ณ สงขลา ประโยชน์ ดร. วทิ ยา เจริญศรี 3. ผู้อำนวยการสำนกั รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร ดร. นฎญา ผูพ้ ัฒน์ 4. ผอู้ ำนวยการสำนกั รองอธิการบดีฝ่ายวชิ าการ นางเบญจภรณ์ อนันตว์ ณิชย์ชา 5. ผอู้ ำนวยการสำนกั หอสมุด ดร. สุนทร พบิ ลู ย์เจริญสทิ ธ์ิ 6. ผูอ้ ำนวยการสำนักทะเบยี นและประมวลผล ภราดา ดร.อำนวย ยนุ่ ประยงค์ 7. ผ้อู ำนวยการศนู ยจ์ อหน์ ปอลที่ 2 เกี่ยวกบั การสอนคาทอลิก นางสริ ิรตั น์ จโิ รจพันธ์ุ ดา้ นสงั คม ดร.ปรชี า เมธาวัสรภาคย์ 8. ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารทรัพยากรบุคคล นางศิรลิ ักษณ์ ชัยพรหมประสิทธ์ิ 9. ผู้อำนวยการสถาบันวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ Ms. Yang Hairong 10. ผูอ้ ำนวยการสถาบนั ขงจ่ือมหาวิทยาลยั อสั สัมชัญฝา่ ยไทย นายรงั สรรค์ ไตรบุตร 11. ผอู้ ำนวยการสถาบนั ขงจื่อมหาวิทยาลยั อัสสัมชญั ฝ่ายจนี นางสาวณฐั ทยามณฑ์ พยนต์รกั ษ์ 12. ผู้อำนวยการสำนักงานบัณฑิตศึกษา นางสาวชอ้ งทพิ ย์ นาวิกาญจนะ 13. ผอู้ ำนวยการสำนักงานบรหิ ารการเงนิ นายวชิ ัย เศรษฐโชตินนั ท์ 14. ผูอ้ ำนวยการสำนักงานบรหิ ารพัสดุ นายเกลน วิเวียน แซทเทลเลยี ร์ 15. ผอู้ ำนวยการสำนักงานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ นายสรณะ อรณุ รัตน์ 16. ผู้อำนวยการสำนกั งานวิเทศสัมพันธ์ นายนุกูล ฉายสรุ ิยะ 17. ผอู้ ำนวยการศูนยส์ นเทศแนะแนวอาชพี และใหค้ ำปรึกษา นายพฒั นา เจริญวฒั นะมงคล 18. ผอู้ ำนวยการศนู ย์การกีฬา นายสรณะ อรณุ รัตน์ 19. ผู้อำนวยการศนู ย์กจิ กรรมนักศึกษา 20. ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาบุคลิกภาพและคุณภาพชีวิต นางสาวศศิธร ทศั นยั นา ดร.ชาญ มายอด นักศึกษา (รกั ษาการ) ดร.ยุพาวดี หอ่ พทิ ักษว์ งศ์ 21. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานศลิ ปวฒั นธรรมไทย ผศ.ดร. กติ ติ โพธกิ ติ ติ 22. ผอู้ ำนวยการศูนยจ์ รยิ ธรรมวิชาชีพ 23. ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานนโยบาย แผน และการประกนั คุณภาพ ดร.กติ ิกร ดาวพเิ ศษ 24. ผู้อำนวยการศูนยส์ ร้างสรรคน์ วตั กรรมทางธุรกิจ นายวรี ศักดิ์ อนสุ นธิวงษ์ ผ้อู ำนวยการศูนย์พฒั นามืออาชีพ มหาวทิ ยาลยั อัสสมั ชัญ 25. ผอู้ ำนวยการสถาบันพัฒนาองค์การ 26. ผู้อำนวยการศนู ยใ์ ห้คำปรึกษาธุรกิจและกฎหมาย ทปี่ รึกษาทางกฎหมายมหาวิทยาลยั อสั สมั ชัญ 18

27. ผูอ้ ำนวยการฝ่ายกลยทุ ธ์และพฒั นาธรุ กิจ ดร.ภคั รา เรอื งสริ เดโช การรับรองมาตรฐานการศึกษา และการเขา้ รว่ มเป็นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศ พฒั นาการของมหาวิทยาลัยที่ผา่ นมา ได้สร้างชื่อเสียง และการยอมรบั ให้เกิดขน้ึ ในสงั คมภายในประเทศ และ ตา่ งประเทศเป็นลำดับมา โดยพิจารณาได้จากการที่หนว่ ยงาน องค์การ หรือสถาบนั ต่างๆ ของไทย และของต่างประเทศ ได้ใหก้ ารรับรองมาตรฐานการศึกษา หรอื ได้มีความตกลงร่วมมอื กันทางวิชาการดงั น้ี การรับรองมาตรฐานการศกึ ษา 1. กระทรวงศึกษาธิการรบั รอง พ.ศ. 2515 2. ทบวงมหาวิทยาลยั รบั รอง พ.ศ. 2518 3. คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (ก.พ.) รับรอง พ.ศ. 2518 4. สภาการศึกษาแห่งชาติรบั รอง พ.ศ. 2518 5. The U.S. Veterans Administration, Washington D.C., รับรอง พ.ศ. 2523 การเข้าร่วมเป็นสมาชิกองคก์ ารระหวา่ งประเทศ 1. The Association of Christian Universities and Colleges in Asia (ACUCA) 2. The Association of Southeast Asian Institution of Higher Learning (ASAIHL) 3. The International Federation of Catholic Universities (IFCU) 4. The United Nations Academic Impact (UNAI) 5. The Association of Southeast and East Asian Catholic Colleges and Universities (ASEACCU) 6. International Associations of University Presidents (IAUP) 7. The ASEAN Universities Network (AUN) 8. University Mobility in the Asia Pacific (UMAP) 9. The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand under The Patronage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn (APHEIT) 10. The Catholic Education Council of Thailand (CECT) 19

ความรว่ มมือทางวชิ าการกับต่างประเทศตั้งแตเ่ รมิ่ เปิดดำเนินการ ลำดบั ประเทศ มหาวิทยาลัย 1 - AZIZ Group of Industries 2 - University Mobility in Asia and the Pacific (U.S.UMAP) 3 - University of Wales College, Newport 4 - UK elearning Limited 5 - The International Federation of Catholic Universities (IFCU) 6 - Tsinghua UniGroup and Europe Cultural and Education Exchange Confederation 7 Argentina Universidad del Salvador 8 Australia Crisholm Institute of Technology 9 Australia Curtin University of Technology 10 Australia Griffith University 11 Australia Philip Institute of Technology 12 Australia Queensland University of Technology 13 Australia The University of Melbourne 14 Australia The University of Wollongong 15 Australia University of South Australia 16 Australia Victoria University of Technology 17 Austrian FHS Kufsteintirol University of Applied Science 18 Bangladesh International University of Business Agriculture and Technology (IUBAT) 19 Belgium The Catholic University of Leuven 20 Belgium The Flemish Association for Development Cooperation and Technical Assistance (VVOB) 20

ลำดบั ประเทศ มหาวิทยาลัย 21 Belgium Universite Catholique de Louvain 22 Belgium University of Ghent 23 Canada University of Saskatchewan 24 China Beijing Language and Culture University 25 China Beijing Technology and Business University 26 China China Economic Times 27 China China Overseas Exchanges Association & Beijing Chinese Language and Culture School 28 China Fujian Fuzhou Youth Federation 29 China Shanghai Institute of Tourism 30 China Southwest Jiaotong University 31 China Tianjin Foreign Studies University (TFSU) 32 China Tsinghua UniGroup of P.R. 33 China Xiamen University 34 China Zhejiang University 35 Denmark International Business College 36 Finland Laurea University of Applied science 37 Finland Tampere Polytechnic 38 France Catholic University of Lille 39 France EDHEC Business School 40 France ESSCA Ecole Superieure des Science Commerciales d' Angers 41 France Institut d' Economie Scientifique Et De Gestion (IESEG), School of Management 42 Germany University of Siegen 43 Hong Kong Hong Kong Baptist University 44 Hong Kong Lingnan University 45 Hong Kong The University of Hong Kong 46 India Rajagiri International School for Education and Research 47 India St. Aloysius College 48 Indonesia Sekolah Tinggi Managemen Informatika dan Komputer Mikroskil 49 Japan Kansai Gaidai University 21

ลำดบั ประเทศ มหาวิทยาลัย 50 Japan Nihon University 51 Japan University of The Sacred Heart 52 Korea Handong Global University 53 Korea Keimyung University 54 Korea Sejong University 55 Korea Sogang University 56 Korea Woosong University 57 Lebanon Notre Dame University 58 Malaysia Institute of Training and Development (ITD GROUP) 59 Netherlands Haagse Hogse School (Institute of Higher European Studies) 60 Netherlands Maastricht University 61 New Zealand The University of Waikato 62 Peru Universidad Del Pacifico 63 Philippines De La Salle University 64 Philippines University of San Agustin 65 Philippines University of Santo Tomas 66 Russia St. Petersburg Electrotechnical University 67 Scotland University of Stirling 68 Slovenia University of Ljubljana 69 Sweden The University of Stolkholm 70 Taiwan Chienkuo Technology University 71 Taiwan Ming Chuan University 72 U.K University of Exeter 73 U.K South Bank University 74 UK Victoria University of Technology 75 UK University of Nottingham 76 USA California State University 77 USA Westfield State College 78 USA Pittsburg State University 79 USA The Monterey Institute of International Studies of Monterey (MIS) 80 USA Southern Illinois University 22

ลำดับ ประเทศ มหาวิทยาลัย 81 USA Concord College 82 USA The University of Missouri-Rolla 83 USA The University of Southwestern Louisiana 84 USA Saint Louis University 85 USA Loyola College 86 USA Simon's Rock College 87 USA Stanford University 88 USA St. Michael's College 89 USA The University of Wisconsin-Milwaukee 90 USA University of Kentucky at Lexington 91 USA The University of Missouri at Columbia 92 USA University of California 93 USA The George L. Graziadio School of Business and Management, Pepperdine University 94 USA University of the Incarnate Word 95 USA Appraisal Institute 96 USA University of Minnesota 97 USA Washington State University 98 USA New Mexico State University 99 USA University of San Francisco 100 USA DePaul University 101 USA International Institute of Certified Management Accountants 102 USA Murray State University 103 USA SUNY Institute of Technology 104 USA University of Dayton 105 USA Ball State University Muncie 106 USA University of Illinois 107 Vietnam Hochimin City University of Technology 108 Vietnam The National Economics University 23

รางวัลที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชญั ได้รับ ▪ 20 สิงหาคม 2544 รางวลั การสง่ ออกสินคา้ ไทยดีเด่นและธรุ กจิ บริการดเี ดน่ ประจำปี 2544 (Prime Minister’s Export Award 2001) ▪ 25 สิงหาคม 2551 รางวัลการสง่ ออกสินค้าไทยดเี ด่นและธรุ กิจบริการดเี ดน่ ประจำปี 2551 (Best Service Provider: Prime Minister’s Export Award 2008) ▪ 2 กรกฏาคม 2552 ประกาศเกยี รติคณุ สถานศกึ ษาที่มรี ะบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในประจำปีการศึกษา 2550 ท่ีได้ มาตรฐานจัดโดยสำนักงานคณะกรรมการอุดมศกึ ษา ▪ 31 พฤษภาคม 2554 รางวลั Trusted Brand Award 2011 ในหมวดมหาวิทยาลยั เอกชนยอดนิยม จัดโดย นิตยสาร รดี เดอร์ส ไดเจสท์ ▪ 8 มนี าคม 2555 รางวลั อาคารรกั ษาความเป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม โครงการสร้างขมุ กำลงั บุคลากรด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน เพ่ือ ปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคาร (Building Energy Awards of Thailand 2010 (BEAT 2010)) จดั โดยสำนกั นโยบายและแผนพลงั งาน กระทรวงพลงั งาน ▪ 25 พฤษภาคม 2555 รางวัล Trusted Brands Award 2012 ในหมวดมหาวิทยาลัยเอกชนยอดนยิ ม จัดโดยนิตยสาร รีดเดอรส์ ไดเจสท์ ▪ 18 กรกฎาคม 2555 รางวัลชนะเลศิ ดิ อิเมอร์สัน คพั 2011 อาคาร Chez Jean Pierre (Crystal Restaurant) ในสาขาอาคาร ใหม่ทีเ่ ปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม เป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดย บริษทั ไทยซัมซุง อเิ ลคโทรนคิ ส์ จำกดั ▪ 26 มถิ นุ ายน 2556 รางวัล Trusted Brands Award 2013 ในหมวดมหาวทิ ยาลยั เอกชนยอดนยิ ม จัดโดยนติ ยสาร รดี เดอร์ส ไดเจสท์ ▪ 14 สิงหาคม 2556 รางวลั องค์กรโปร่งใส “NACC 2012 Integrity Awards” จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติThe National Anti-Corruption Council (NACC) 24

▪ 21-26 ตลุ าคม 2556 The 2013 Silver Award to Assumption University Presents the 2013 Silver Award to Assumption University in recognition of the successful completion of The Young Marketing Research Training Program, organized by Thailand Marketing Research Society ▪ 18 กุมภาพันธ์ 2558 รางวลั โครงการชว่ ยราษฎร์ ชว่ ยรฐั ประหยัดน้ำประปา จัดโดยการประปานครหลวง ▪ 27 มกราคม 2559 รางวลั และตราสัญลักษณร์ ะดับท่ี 2 อาคารประหยัดพลงั งาน MEA Energy Saving Building Awards 2015 โครงการสง่ เสรมิ การปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานในอาคาร จัดโดย การไฟฟา้ นครหลวง ▪ 9 มีนาคม 2561 รางวลั \"องค์กรท่รี ะบบจดั การศกึ ษาดีเด่น” เพ่อื แสดงว่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปน็ แบบอยา่ งที่ดีของสงั คมท่ี ควรได้รับการยกย่อง เพ่ือเป็นขวัญกำลังใจและเป็นเกียรติแกส่ ถาบันสืบไป จัดโดย บรษิ ทั อโี คเซฟ จำกัด ▪ 21 มิถุนายน 2562 รางวัลชนะเลิศ Energy Saving University of Thailand เปน็ ตัวแทนมหาวทิ ยาลัยคุณภาพจากประเทศไทย ประจำภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในโครงการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีห้องเรยี นสมู่ าตรฐานสากล ทง้ั ยังคำนงึ ถึงการใช้เทคโนโลยีทร่ี ักษาสิ่งแวดล้อมสเี ขยี ว เพื่อการพฒั นาต่อเนื่องอย่างยั่งยืน จดั โดยบรษิ ัท คาสโิ อ มาร์เกต็ ติง้ (ประเทศไทย) จำกัด สาขาประเทศไทย ภายใต้บริษัท คาสิโอ ประเทศญ่ีปุ่น ▪ 28 กันยายน 2562 รับโลเ่ ชดิ ชูเกียรติ โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา Partnership School Project ในฐานะที่มหาวทิ ยาลยั และ สถาบนั ขงจื่อ มสี ่วนรว่ มพัฒนาโรงเรยี นนวมินทราชินูทศิ เตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการ ในดา้ นตา่ งๆ จัดโดยสำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 25

หลักสูตรของมหาวทิ ยาลยั หลกั สตู รของมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563 (61 หลกั สูตร) หลักสูตรปรญิ ญาตรี (28 หลักสูตร) คณะบริหารธรุ กจิ และเศรษฐศาสตร์ (Martin de Tours School of Management and Economics) 1. หลักสูตรบริหารธรุ กจิ บัณฑิต (หลกั สูตรนานาชาติ) Bachelor of Business Administration Program 2. หลักสตู รบญั ชบี ัณฑติ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Accountancy Program 3. หลกั สูตรเศรษฐศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเศรษฐศาสตรธ์ ุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Economics Program in Business Economics คณะศิลปศาสตร์ (Theodore Maria School of Arts) 1. หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาต)ิ Bachelor of Arts Program in Business English 2. หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาต)ิ Bachelor of Arts Program in Business French 3. หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาจนี ธุรกจิ (หลกั สตู รนานาชาติ) Bachelor of Arts Program in Business Chinese 4. หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาญีป่ ่นุ ธุรกจิ (หลกั สูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts Program in Business Japanese คณะพยาบาลศาสตร์ (Bernadette de Lourdes School of Nursing Science) 1. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลกั สูตรนานาชาติ) Bachelor of Nursing Science Program คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Vincent Mary School of Science and Technology) 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสตู รนานาชาต)ิ Bachelor of Science Program in Computer Science 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี นเทศศาสตร์ (หลกั สูตรนานาชาต)ิ Bachelor of Science Program in Information Technology 26

คณะวิศวกรรมศาสตร์ (Vincent Mary School of Engineering) 1. หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา้ (หลกั สูตรนานาชาติ) Bachelor of Engineering Program in Electrical Engineering 2. หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ (หลกั สตู รนานาชาติ) Bachelor of Engineering Program in Computer Engineering 3. หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเมคคาทรอนิกส์ (หลักสูตรนานาชาต)ิ Bachelor of Engineering Program in Mechatronics Engineering 4. หลักหลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวศิ วกรรมการบนิ (หลกั สตู รนานาชาติ) Bachelor of Engineering Program in Aeronautic Engineering คณะนเิ ทศศาสตร์ (Albert Laurence School of Communication Arts) 1. หลักสูตรนเิ ทศศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการโฆษณา (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Communication Arts Program in Advertising 2. หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการสอื่ สารผ่านสื่อดิจิทลั (หลักสตู รนานาชาต)ิ Bachelor of Communication Arts Program in Digital Media Communication 3. หลักสูตรนเิ ทศศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการสร้างสรรค์และการจดั การงานแสดง (หลกั สตู รนานาชาติ) Bachelor of Communication Arts Program in Live Event Creation and Management 4. หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประชาสัมพนั ธ์ (หลักสูตรนานาชาต)ิ Bachelor of Communication Arts Program in Public Relations 5. หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากระบวนจินตภาพคอมพวิ เตอร์ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Computer Generated Imagery 6. หลกั สตู รศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการออกแบบนิเทศศิลป์ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Visual Communication Design คณะนิตศิ าสตร์ (Thomas Aquinas School of Law) 1. หลักสตู รนิติศาสตรบณั ฑิต (หลกั สตู รภาษาไทย) Bachelor of Laws Program คณะเทคโนโลยีชีวภาพ (Theophane Venard School of Biotechnology) 1. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีการอาหาร (หลกั สตู รนานาชาติ) Bachelor of Science Program in Food Technology 27

2. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science Program in Agro – Industry คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ (Montfort del Rosario School of Architecture and Design) 1. หลกั สูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าสถาปัตยกรรม (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Architecture Program in Architecture 2. หลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน (หลักสตู รนานาชาติ) Bachelor of Architecture Program in Interior Architecture 3. หลักสตู รศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการออกแบบภายใน (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Interior Design 4. หลักสตู รศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการออกแบบผลติ ภัณฑ์ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Product Design คณะดนตรี (Louis Nobiron School of Music) 1. หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการทางดนตรี (หลกั สูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts Program in Music Entrepreneurship หลักสตู รปริญญาโท (19 หลักสตู ร) คณะบริหารธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ (Martin de Tours School of Management and Economics) 1. หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกจิ และเศรษฐศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) Master of Science Program in Business and Economics 2. หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการโซอ่ ุปทาน (หลกั สตู รนานาชาติ) Master of Science Program in Supply Chain Management คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Vincent Mary School of Science and Technology) 1. หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสตู รนานาชาต)ิ Master of Science Program in Computer Science 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี นเทศศาสตร์ (หลักสตู รนานาชาติ) Master of Science Program in Information Technology 28

คณะนติ ศิ าสตร์ (Thomas Aquinas School of Law) 1. หลักสตู รนติ ิศาสตรมหาบัณฑิต (หลกั สูตรภาษาไทย) Master of Laws Program (Thai Program) 2. หลักสูตรนติ ิศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสตู รนานาชาติ) Master of Laws Program คณะเทคโนโลยชี วี ภาพ (Theophane Venard School of Biotechnology) 1. หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีชวี ภาพทางอาหาร (หลกั สูตรนานาชาติ) Master of Science Program in Food Biotechnology บณั ฑิตวิทยาลัยบรหิ ารธุรกจิ (Graduate School of Business) 1. หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑิต (หลกั สตู รนานาชาติ) Master of Business Administration Program 2. หลกั สตู รการจดั การมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์การ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Master of Management Program in Organization Development 3. หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจดั การการบริการและการท่องเท่ยี ว (หลักสตู รนานาชาติ) Master of Business Administration Program in Hospitality and Tourism Management 4. หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการวิเคราะห์และจดั การการลงทุน (หลักสูตรนานาชาต)ิ Master of Science Program in Investment Analysis and Management บัณฑิตวิทยาลัยมนษุ ยศึกษา (Graduate School of Human Sciences) 1. หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าปรชั ญาและศาสนา (หลักสตู รนานาชาติ) Master of Arts Program in Philosophy and Religion 2. หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน (หลกั สูตรนานาชาต)ิ Master of Education Program in Curriculum and Instruction 3. หลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารและภาวะผู้นำทางการศกึ ษา (หลักสูตรนานาชาต)ิ Master of Education Program in Educational Administration and Leadership 4. หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา (หลักสูตรนานาชาต)ิ Master of Science Program in Counseling Psychology 5. หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Master of Arts Program in English Language Teaching 29

บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการเทคโนโลยขี ้นั สงู (Graduate School of Advanced Technology Management) 1. หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการจดั การ (หลักสูตรนานาชาติ/ระบบการศึกษาทางไกล) Master of Science Program in Management (eLearning Mode) 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ (หลกั สูตรนานาชาต/ิ ระบบ การศกึ ษาทางไกล) Master of Science Program in Information Technology and Management (eLearning Mode) 3. หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนและเทคโนโลยี (หลกั สตู รนานาชาติ/ระบบการศกึ ษา ทางไกล) Master of Education Program in Teaching and Technology (eLearning Mode) หลักสตู รปรญิ ญาเอก (14 หลกั สูตร) คณะบรหิ ารธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ (Martin de Tours School of Management and Economics) 1. หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลักสตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Business Administration 2. หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ (หลักสตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Business and Economics คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Vincent Mary School of Science and Technology) 1. หลักสตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Doctor of Philosophy Program in Computer Science 2. หลักสตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีสนเทศศาสตร์ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Doctor of Philosophy Program in Information Technology คณะเทคโนโลยชี วี ภาพ (Theophane Venard School of Biotechnology) 1. หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร (หลกั สตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Food Biotechnology 30

บณั ฑิตวิทยาลัยบริหารธรุ กจิ (Graduate School of Business) 1. หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการพฒั นาองค์การ (หลกั สตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Organization Development 2. หลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการการบริการและการทอ่ งเทย่ี ว (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Doctor of Philosophy Program in Hospitality and Tourism Management 3. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การเทคโนโลยแี ห่งนวัตกรรม (หลกั สตู รนานาชาต)ิ Doctor of Philosophy Program in Innovative Technology Management บัณฑติ วิทยาลัยมนุษยศกึ ษา (Graduate School of Human Sciences) 1. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าปรัชญาและศาสนา (หลกั สตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Philosophy and Religion 2. หลกั สตู รปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารและภาวะผนู้ ำทางการศึกษา (หลักสูตรนานาชาต)ิ Doctor of Philosophy Program in Educational Administration and Leadership 3. หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาจิตวทิ ยาการให้คำปรกึ ษา (หลกั สตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Counseling Psychology 4. หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ (หลกั สูตรนานาชาต)ิ Doctor of Philosophy Program in English Language Teaching บัณฑิตวิทยาลัยการจดั การเทคโนโลยีขนั้ สงู (Graduate School of Advanced Technology Management) 1. หลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี การศกึ ษา และการจัดการ (หลกั สตู รนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Technology, Education and Management 2. หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการสอนและเทคโนโลยี (หลกั สูตรนานาชาติ) Doctor of Philosophy Program in Teaching and Technology 31

ทนุ การศึกษามหาวทิ ยาลัยอสั สมั ชัญ ระดับการศกึ ษา ปริญญาตรี ทุนการศึกษา (Scholarships) ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ช่อื ทุน 1. ทนุ 5 ทศวรรษมหาวทิ ยาลัยอัสสมั ชญั ปรญิ ญาตรี 2. ทนุ สำรวจโลก (e-Listening Scholarship) 3. ทนุ AU the Creator of Tomorrow ปรญิ ญาตรี ประเภทความสามารถพเิ ศษ ผลงานวิชาการหรือกจิ กรรม ปรญิ ญาตรี 4. ทนุ AU the Creator of Tomorrow ประเภทสอบแข่งขัน ปริญญาตรี 5. ทนุ นักกฬี ามหาวิทยาลัยอสั สัมชญั (AU Athletes Scholarship) ปริญญาตรี 6. ทุนเฉลิมฉลอง 72 พรรษา นวมนิ ทรมหาราช 7. ทนุ อ่ืนๆ • กองทนุ เงนิ ให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา (กยศ.) • กองทนุ เงนิ ใหก้ ู้ยืมเพ่ือการศกึ ษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) บณั ฑติ ทส่ี ำเรจ็ การศึกษา มหาวทิ ยาลยั เปิดดำเนนิ การสอนมาจนถึงปจั จุบัน มบี ณั ฑิตสำเรจ็ การศกึ ษาแล้วทั้งหมด 48 รนุ่ รวมทั้งส้นิ 104,871 คน เป็นท่ียอมรบั และต้องการของหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชน สำหรบั ในรนุ่ ที่ 48 มี ผู้สำเร็จการศกึ ษารวมทั้งสิน้ 3,687 คน จำแนกตามคณะและสาขาวชิ าได้ดังนี้ ระดบั ปริญญาเอก (Doctoral Degree Graduates) 14 - บณั ฑิตวิทยาลยั บริหารธรุ กิจ 20 - บณั ฑติ วทิ ยาลัยมนษุ ยศึกษา 7 - บณั ฑิตวทิ ยาลยั การจัดการเทคโนโลยีขั้นสงู 7 - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 - คณะบริหารธุรกจิ และเศรษฐศาสตร์ 1 - คณะเทคโนโลยีชีวภาพ 55 Total 32

ระดับปริญญาโท (Master’s Degree Graduates) 335 - บณั ฑิตวิทยาลัยบรหิ ารธุรกจิ 75 - บัณฑิตวิทยาลัยมนุษยศึกษา 86 - บณั ฑิตวิทยาลัยการจัดการเทคโนโลยขี ัน้ สงู 15 - คณะบริหารธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ 7 - คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 23 - คณะนติ ิศาสตร์ 10 - คณะเทคโนโลยีชีวภาพ 551 Total 1,458 ระดบั ปริญญาตรี (Bachelor’s Degree Graduates) 722 - คณะบรหิ ารธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ 35 - คณะศลิ ปศาสตร์ 51 - คณะพยาบาลศาสตร์ 75 - คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 477 - คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 111 - คณะนเิ ทศศาสตร์ 127 - คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ 16 - คณะนิติศาสตร์ 9 - คณะเทคโนโลยชี ีวภาพ - คณะดนตรี 3,081 Total 33

ปริญญาดษุ ฎีบณั ฑิตกิตตมิ ศักด์ิ วันท่ี ช่ือผู้ไดร้ ับ / ชื่อปริญญา 20 กันยายน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาศิลปศาสตร 2538 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ แด่พระราชาธิบดีโบดวงแหง่ เบลเย่ยี ม โดยพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยี่ยมทรงรับการทูลเกล้าฯ ถวายแทน 26 มกราคม มหาวิทยาลยั อสั สัมชัญ มอบปรญิ ญาดษุ ฎีบณั ฑติ กิตตมิ ศักดิ์ 2540 สาขาวิชานิติศาสตร์ แก่ H.E. Oscar Maurtu เอกอัครราชทูต เปรปู ระจำประเทศไทย 17 มกราคม มหาวทิ ยาลัยอัสสัมชญั มอบปริญญานติ ศิ าสตรดุษฎบี ัณฑติ 2541 กติ ตมิ ศักดแ์ิ ก่ H.E. Ioan Voicu เอกอคั รราชทตู โรมาเนีย ประจำประเทศไทย 17 มกราคม มหาวทิ ยาลยั อัสสมั ชัญ มอบปรญิ ญาบรหิ ารธุรกิจดุษฎีบณั ฑิต 2541 กติ ติมศักด์ิ แก่ Professor Gerald Bernbaum, Vice Chancellor and Chief Executive, South Bank University, UK. 4 มีนาคม มหาวทิ ยาลยั อัสสัมชัญ ทลู เกล้าฯ ถวายปรญิ ญาวทิ ยาศาสตร 2541 ดษุ ฎีบัณฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ สาขาวชิ าระบบสารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ แด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร 10 เมษายน มหาวิทยาลยั อัสสมั ชัญ มอบปริญญาดษุ ฎีบัณฑติ กิตตมิ ศักด์ิ 2543 สาขาการจัดการองคก์ าร แก่ H.E. Madame Chen Zhili รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารแห่งประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจนี 34

27 มกราคม มหาวทิ ยาลัยอสั สัมชัญ มอบปรญิ ญาศิลปศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต 2544 กิตตมิ ศักด์ิ แก่ Rev. Harold Ridley, S.J., Ph.D. President, Loyola College in Maryland, USA 24 พฤศจกิ ายน มหาวิทยาลัยอัสสมั ชัญ มอบปริญญาดษุ ฎบี ัณฑิตกิตตมิ ศักดิ์ 2547 สาขาวชิ านิติศาสตร์ แก่ H.E. Cardinal Crescenzio Sepe 8 มกราคม มหาวิทยาลยั อสั สัมชัญ มอบปริญญาดุษฎีบณั ฑติ กิตติมศักดิ์ 2551 สาขาวิชาปรชั ญาแก่ H.E. Cardinal Renato Raffaele Martino 27 สงิ หาคม มหาวทิ ยาลยั อัสสัมชญั มอบปริญญาปรชั ญาดุษฎกี ิตติมศักด์ิ 2552 สาขาศาสนศึกษาแก่ H.E. Archbishop Luigi Bressan, Archbishop of Trent, Italy 17 สงิ หาคม มหาวทิ ยาลยั อสั สัมชญั มอบปริญญาปรชั ญาดุษฎกี ติ ติมศักด์ิ 2555 สาขาศาสนศึกษาแก่ H.E. Archbishop Salvatore Pennacchio, Titular Archbishop of Montemarano, Apostolic Nuncio to India and Nepal 18 ธันวาคม มหาวทิ ยาลัยอสั สัมชัญ มอบปริญญาดุษฎีบณั ฑติ กิตติมศักดิ์ 2556 สาขาวิชาปรชั ญาแก่ H.E. Jose’ Ramos Horta, Under – Secretary – General, Special Representative of The 7 ธนั วาคม UN Secretary – General, Head of The UN Integrated 2562 Peace Building Mission in Guinea – Bissau (West Africa) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ทลู เกลา้ ฯ ถวายปรญิ ญาปรัชญาดุษฎี บัณฑิตกติ ตมิ ศกั ด์ิ สาขาวชิ าวิทยาการคอมพิวเตอร์ แด่สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี 35

เอกสารเผยแพร่ทางวชิ าการ การเผยแพร่ทางวชิ าการ มหาวิทยาลัยไดต้ ระหนักถงึ ความสำคญั ของการสง่ เสริมผลงานในทางวชิ าการทบ่ี ุคคล ตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในมหาวทิ ยาลัยและภายนอก ได้เขยี นคน้ คว้าข้นึ ว่าสมควรจะได้ดำเนนิ การเผยแพรต่ ่อสาธารณชนอันอาจ จะเกดิ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม หรอื ประเทศชาติ ดังนนั้ มหาวิทยาลัย จึงไดจ้ ดั ให้มีการผลติ วารสารข้ึนมา 14 ฉบบั ดังน้ี คือ Scopus Q3, ACI and TCI Tier 1 1. ABAC Journal ABAC Journal is a double-blind peer reviewed journal, publishing 4 issues each year (starting from 2019), in March, June, September, and December. The Journal offers an international platform for presenting insights and discussion on current research and best practices in business, management, marketing, finance, tourism & hospitality, economics and related fields. ACI and TCI Tier 2 2. ABAC ODI JOURNAL VISION. ACTION. OUTCOME The ABAC ODI Journal Vision. Action. Outcome is an international publication of the Organization Development Institute of the Graduate School of Business at Assumption University of Thailand. The journal focuses on research and academic articles on various fields and applications related to Organization Development, ranging from action research based works, consulting projects, coaching and mentoring practices, positive change initiatives, whole brain based OD work, emerging OD models, leadership, management and organizational culture to other topics related to organizational change at the individual, team, organization, community and national levels. 36

ACI Tier 2 3. AU-GSB e-Journal The AU-GSB e-Journal is a semiannually international journal publishing the finest peer-reviewed social science articles across the entire spectrum of academic fields: [1] Finance: Finance, Accounting, Financial Economics [2] Economics: Econometrics, Applied Economics, Development Economics [3] Business: Management, Marketing, Decision Sciences, Information Technology [4] Social Sciences, Multidisciplinary: others On the basis of its originality, importance, interdisciplinary interest, timeliness, accessibility, elegance, and unforeseen conclusions. 4. Journal of Supply Chain Management: Research and Practice The Journal of Supply Chain Management: Research and Practice is owned by Assumption University. All articles appearing herein are the property of the university. All rights are reserved. However, the university and the editorial board do not take responsibility for the view expressed by individual authors. 5. Prajñā Vihāra: Journal of Philosophy and Religion Prajñā Vihāra is a multicultural, pluralistic journal of philosophy and religious studies dedicated to the promotion of mutual understanding among the peoples of the world. In the spirit of the Sanskrit words “Prajñā Vihāra” meaning “temple of wisdom,” the editors encourage creative academic work that promotes a sharing of wisdom among scholars and readers. It welcomes specialized articles in Philosophy, Religion and Cultural Studies that seek to promote harmony between various philosophical and religious traditions while respecting cultural and religious difference. It especially welcomes those articles that exhibit how philosophical and religious ideas can play a role in solving conflict. 37

6. Scholar: Human Sciences The publisher makes no representation, express or implied, with regard to the accuracy of the information contained in each article and cannot accept any legal responsibility or liability for any errors or omissions that may be made. All submissions to this journal are through two rounds of blind peer review. 7. Journal of Risk Management and Insurance The Journal of Risk Management and Insurance (ISSN: 0859-3604) is a peer- reviewed journal that publishes original research papers, comprehensive literature reviews opening future research questions, and business case-studies concerning the fields of risk management or finance. The topics include but are not limited to the following: • risk avoidance and mitigation, • life and non-life insurance, • actuarial science, • corporate finance, and • financial accounting. Papers are published in English, usually twice a year in June and December. All articles are freely accessible on the journal's website, and no submission fee is required. 8. The New English Teacher The New English Teacher presents information and ideas on theories, research, methods and materials related to language learning and teaching. Within this framework the Journal welcomes contributions in such areas of current enquiry as first and second language learning and teaching, language and culture, literary criticism, media studies, discourse analysis, linguistics, language planning, language testing, multilingual education, stylistics, translation and information technology. The New English Teacher, therefore, is concerned with linguistics applied to education and contributions that have in mind the common professional concerns of both the practitioner and the researcher. 38

Others 9. Assumption University Law Journal วตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขต 1. เพือ่ เผยแพร่ความคิดทางวชิ าการเกยี่ วกับปัญหากฎหมายในปจั จุบนั 2. เพือ่ รายงานความก้าวหนา้ ทางวิชาการในวงการกฎหมายทางดา้ นกฎหมายธรุ กิจและ กฎหมายมหาชน 3. เพอ่ื สร้างความเข้าใจของสงั คมในเรอ่ื งกฎหมาย 10. AU Journal of Management AU Journal of Management is published by Martin de Tours School of Management and Economics, Assumption University twice a year, in January and July. The journal is an interdisciplinary journal. It is listed in Tier 1 of the Thai- Journal Citation Index (TCI). The journal welcomes submissions from Thai and international scholars in disciplines related to business and management (e.g. marketing, finance, economics, accounting) and from other related fields (e.g. education, IT). 11. Asian Journal of Literature, Culture and Society Asian Journal of Literature, Culture and Society is a peer-reviewed international journal published biannually in April and October as an organ of the Graduate School of English at Assumption University of Thailand. It seeks to foster the discussion and dissemination of research and creative writing in the Arts and Humanities that offer new ways of perceiving and representing the place of Asia in the world of letters and the links between societies and cultures through the medium of literature. It also welcomes studies that focus on the role of education in the Humanities so as to develop a wider understanding of current issues in the world of letters. 39

12. AU-eJournal of Interdisciplinary Research Interdisciplinary research is a mode of research by teams or individuals that integrates information, data, techniques, tools, perspectives, concepts, and/or theories from two or more disciplines or bodies of specialized knowledge to advance fundamental understanding or to solve problems whose solutions are beyond the scope of a single discipline or area of research practice. (NSF-USA) 13. Design Literacy This journal provides immediate open access to its content on the principle that making research freely available to the public supports a greater global exchange of knowledge. 14. International Research E-Journal on Business and Economics The International Research E-Journal on Business and Economics is a publication of the AU Myanmar Institute of Technology (MIT) in collaboration with the Graduate School of Business, Assumption University of Thailand. The publication aims to be the a forum for the exchange of ideas from research, creative works, academic knowledge, and best practices contributed by academic professionals and professional practitioners in business and economics and related fields. 40

สถานทเ่ี ยี่ยมชมภายในมหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ ❖ วิทยาเขตหวั หมาก Gate of Wisdom ลกั ษณะ : เป็นประตชู ัยทรงโรมนั ก่อสร้างเสร็จเม่อื ปี พ.ศ. 2533 ความหมาย : - เป็นการเตอื นใจให้ชาวเอแบคทกุ คนได้ตระหนักและเหน็ ถึงความ สำคัญของการใฝ่หาความรใู้ ห้ทุกคนมีความเขม้ แขง็ อดทน มานะ พากเพยี รในการศึกษาหาความรอู้ ันเปน็ ทางนำไปสู่แสงสว่างทาง ปัญญา เพ่ือนำไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ และสร้างความสำเรจ็ ใหแ้ กต่ นในอนาคต St. Mary’s Square ลกั ษณะ : ก่อสร้างข้ึนเม่ือปี 2529 เพ่ือเปน็ การระลึกถงึ ปีศักดิ์สิทธ์ิ (The Holy Year of Redemption) และพระมหากรณุ าธิคณุ แห่ง มหาวทิ ยาลัยอสั สัมชญั ความหมาย : - เปน็ การระลกึ ถึงพระคุณความดขี องพระแมม่ ารผี ้เู ปน็ พระมารดา ของพระเยซเู จา้ และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ มหาวิทยาลยั อสั สมั ชัญและชาวเอแบค 41

อาคารอสั สัมชัญ ร.ศ. 200 ลักษณะ : เป็นอาคารสงู 12 ชน้ั กอ่ สรา้ งเสรจ็ เมอื่ ปี พ.ศ. 2525 ความหมาย : - เปน็ การร่วมเฉลมิ ฉลองครบ 200 ปกี รงุ รตั นโกสนิ ทร์ ประกอบด้วยห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ สำนกั งาน และห้องประชมุ ใชจ้ ัดการเรยี นการสอนระดบั บณั ทิตศึกษา วัดประจำมหาวิทยาลัย “Annunciation Chapel” ลกั ษณะ : เป็นวัดคาทอลิกแบบศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลกิ ก่อสรา้ ง เสรจ็ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2525 อยใู่ นอาคารอสั สัมชญั ร.ศ. 200 ตกแตง่ ดว้ ยรปู ปัน้ นกั บุญและกระจกสีตา่ ง ๆ ความหมาย : - ใช้ประกอบพธิ ีมิสซาและจดั งานพธิ ีตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัย Plaza Notre Dame de L’Assomption ลักษณะ : สถานท่ีสำหรบั ประดิษฐานแม่พระแห่งมหาวิทยาลัยอสั สมั ชัญ สร้าง ขนึ้ เมือ่ ปี 2529 ความหมาย : - เป็นการระลึกถึงพระคุณความดีของพระแมม่ ารีผู้เปน็ พระมารดา ของพระเยซเู จ้า และเพื่อความเป็นสิรมิ งคลแก่ มหาวิทยาลัยอสั สัมชัญและชาวเอแบค อาคาร St. Gabriel Library ลักษณะ : เปน็ อาคารสูง 5 ชน้ั และ 1 ชน้ั ลอย ก่อสร้างเสรจ็ เมื่อปี พ.ศ. 2523 ความหมาย : - เป็นอาคารสำนักหอสมดุ ของมหาวิทยาลยั ประกอบด้วย พ้ืนที่ อา่ นหนงั สอื ห้องคอมพวิ เตอร์ มมุ ทำงานวจิ ัย ช้นั หนังสือและ สำนักงาน เป็นตน้ 42

อาคารมารต์ นิ เดอ ตูรส์ ลักษณะ : เป็นอาคารสูง 6 ช้นั ก่อสร้างเมื่อปี 2529 ความหมาย : ประกอบด้วยสำนกั ทะเบยี นและประมวลผล ทที่ ำการคณะพยาบาล ศาสตร์ ได้แก่ หอ้ งเรยี น ห้องพักอาจารย์ ห้องปฏบิ ัติการและหอ้ ง พยาบาล The Forum Luceat Lux Vestra ลักษณะ : เป็นเสาโรมัน ก่อสร้างเสร็จเม่ือปี พ.ศ. 2529 อยู่หน้าอาคารมาร์ติน เดอ ตูรส์ ความหมาย : - เป็นเวทีกลางแจง้ ให้นักศึกษาใชเ้ ป็นสถานท่แี สดงความสามารถใน ด้านต่าง ๆ ของนักศึกษา อาจารย์และเจา้ หน้าท่ี และใช้จัดงานตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัย ลานดร.ชบุ พลาซา (Dr. Choop Plaza) ลักษณะ : สรา้ งขนึ้ เมอ่ื ปี 2525 ใช้เป็นสถานที่ใช้สำหรับการแสดงกิจกรรม และนนั ทนาการของอาจารย์ นักศกึ ษา และเจ้าหน้าท่ขี อง มหาวทิ ยาลัย ความหมาย : - ดร.ชุบ พลาซา เพือ่ เป็นอนุสรณแ์ ด่ท่านศาสตราจารย์ ดร.ชุบ กาญจนประกร อดตี อธกิ ารบดี (สมยั นัน้ เรียกว่า “ผ้อู ำนวยการ”) คนที่ 3 ของมหาวทิ ยาลยั อาคาร International Center ลักษณะ : เปน็ อาคารสูง 2 ชนั้ ก่อสรา้ งเสร็จเมอ่ื ปี พ.ศ. 2525 ความหมาย : - เปน็ สำนักงาน ใชป้ ระสานงานการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของ นกั ศกึ ษานานาชาตแิ ละใหบ้ ริการข้อมูลนักศึกษาแลกเปล่ยี นและ ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม ศาลาประทปี าลยั ลกั ษณะ : เป็นสถาปัตยกรรมไทยทรงจตุรมขุ ต้ังอยู่ริมสระน้ำ ก่อสร้างเสร็จ เม่อื ปี พ.ศ. 2533 ความหมาย : - เป็นการเผยแพรส่ ถาปัตยกรรมไทยและวฒั นธรรมไทยให้อาจารย์ และนกั ศกึ ษานานาชาติได้เหน็ คณุ ค่าความเปน็ ไทยและใช้ในการจัด กจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ งานสงกรานต์และงานลอยกระทง เปน็ ตน้ 43

อาคารเฉลมิ รชั มงคล (Coronation Hall) ลักษณะ : เปน็ อาคารสูง 15 ชัน้ ก่อสร้างเสร็จเม่อื ปี พ.ศ. 2533 ความหมาย : - เป็นการร่วมเฉลมิ พระเกยี รตใิ นมหามงคลวโรกาสพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร เฉลมิ ฉลองรชั มังคลาภิเษก อาคารองค์การนกั ศึกษา ลกั ษณะ : เป็นอาคารสงู 4 ชัน้ ก่อสร้างเสรจ็ เม่อื ปี พ.ศ. 2534 ความหมาย : - เปน็ อดีตท่ีทำการองค์การนักศีกษาและชมรมต่าง ๆ Queen’s Square ลักษณะ : สร้างในปี 2535 เพอื่ เป็นการเฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง ในวโรกาส เฉลิมพระชนมายุครบ 5 รอบ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2535 ความหมาย : - เปน็ การระลึกถึง “ปี โคลมั บัส” ซงึ่ ครบรอบ 500 ปี แหง่ การ คน้ พบโลกใหม่ ความกลา้ หาญ และจิต วิญญาณแห่งการผจญภยั ของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส อาคารถกลพระเกียรติ สก. ลกั ษณะ : เปน็ อาคารสงู 9 ชั้น ก่อสร้างเสรจ็ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2535 ความหมาย : - ประกอบด้วยห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ สำนักงานและ ห้องปฏิบัตกิ ารคณะเทคโนโลยชี วี ภาพ 44

Queen’s Tower ลกั ษณะ : เปน็ อาคารสงู 16 ชนั้ ก่อสรา้ งเสร็จเมอื่ ปี พ.ศ. 2535 ความหมาย : - ประกอบดว้ ยห้องเรียน ห้องพกั อาจารย์ สำนกั งานคณะนิตศิ าสตร์ และคณะเทคโนโลยีชวี ภาพ ❖ วทิ ยาเขตสุวรรณภูมิ สะพานทวีปวิทยา: แล้วเสร็จ 6 มกราคม 2543 ลกั ษณะ : เป็นสะพานคอนกรตี เสริมเหล็กข้ามคลองสนามพลี มีภาพหนา้ สิงโต ติดอยู่ทงั้ 2 ฝัง่ จำนวน 8 ภาพ ความหมาย : - เปน็ สะพานท่ีจะนำพาผทู้ ่ีขา้ มสะพานแหง่ น้ไี ปสู่ทวปี หรอื แผน่ ดนิ ท่ี เต็มไปดว้ ยสรรพวทิ ยาการต่าง ๆ ทหี่ ลากหลายท่วั ทุกหนแห่ง - เปน็ สญั ญลกั ษณ์ของพลังหรืออำนาจทางวิชาการ (ความรู้คือพลงั ) กอ้ นหินทองคำ ลกั ษณะ : เป็นกอ้ นหินขนาดใหญ่สีทองมีขอ้ ความ Au สีน้ำเงิน ติดอย่บู รเิ วณ ด้านหนา้ ความหมาย : - คำวา่ Au (ตวั อักษร A ใหญ่ และตัวอีกษร u เล็ก) ใน สญั ญลักษณ์ทางเคมี แปลวา่ ธาตทุ อง - เปรียบเหมือนมหาวทิ ยาลยั เปน็ แหล่งทองคำในด้านความรู้ต่าง ๆ ทน่ี กั ศึกษาหรือบคุ คลที่เขา้ มาในมหาวิทยาลัยจะต้องค้นหาเสาะหา ความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นอย่างไม่มวี นั ส้นิ สุด - เปรยี บเหมอื นตวั มหาวิทยาลยั /บณั ฑิตและนักศึกษาของ มหาวทิ ยาลัย มีคุณคา่ มคี วามรู้ ความดีงาม คณุ ธรรม และ จริยธรรมตา่ ง ๆ ในตัวเองท่จี ะอยู่ติดตัวไปตลอดไม่เสอ่ื มคลาย เหมอื นทองคำท่ีคงคุณค่าตลอดเวลา 45

ม้ากลางทะเลสาบ สตั วน์ ำโชคประจำมหาวิทยาลัย ลกั ษณะ : มา้ จำนวน 5 ตัว กำลังวิ่งอย่กู ลางทะเลสาบโดยแตล่ ะตวั จะมลี ีลา ทา่ ทางท่ีแตกต่างกนั ความหมาย : - มหาวทิ ยาลยั นำม้ามาเป็นสัญญลักษณ์ประจำมหาวทิ ยาลัยแสดง ความหมายถึงบณั ฑิตและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยจะต้องมี พละกำลัง มคี วามกระตือรือร้น มีความเป็นอิสระ กระฉบั กระเฉง ปราดเปรียวเหมอื นมา้ ที่มที ่าทางเฉพาะของตัวเอง - เพื่อเป็นเกยี รติและอนุสรณ์แหง่ ความดงี ามท่ีนักศึกษาของ มหาวิทยาลัย ชอื่ นายณกร กมลสิริ ไดส้ ร้างชื่อเสยี งให้กับประเทศ ด้วย การชนะเลศิ รางวลั เหรยี ญทองกฬี าแข่งมา้ Asian Games 1998 และโดยลักษณะนสิ ัยของมา้ เปน็ สัตว์ที่มีความปราดเปรยี ว วอ่ งไว แข็งแรง สมควรท่นี ักศึกษา คณาจารย์ และ บคุ ลากร ทางการศึกษาของมหาวิทยาลยั จะยึดถือและมีพฤตกิ รรม ‘เยย่ี งม้า’ ดังคำกล่าวที่ว่า ‘บุรุษอาชาไมย’ ซึ่งหมายความว่า ‘เป็น คนทีฝ่ กึ หดั มาดีแล้ว’ สะพานมรรคาอมั รินทร์ ลกั ษณะ : เป็นสะพานคอนกรตี เสรมิ เหล็กข้ามทะเลสาปภายในมหาวิทยาลยั มภี าพหนา้ นางฟ้าตดิ อย่ทู งั้ 2 ฝงั่ จำนวน 4 ภาพ ความหมาย : - เปน็ หนทางสูส่ รวงสวรรคข์ องผู้ทรงปัญญา ศาลาจตรุ ธรรม: แลว้ เสร็จ 10 กันยายน 2542 ลักษณะ : เปน็ ศาลาคอนกรตี ทรง 8 เหล่ียม ความหมาย : - มหี ลักคุณธรรม 4 ประการปรากฎอยไู่ ด้แก่ Prudence (ความ สขุ ุมคมั ภรี ภาพ) Justice (ความยตุ ธิ รรม) Fortitude (ความอดทน) และ Temperance (ความอดกลน้ั ) ภัตตาคารเรอื นกระจก (Chez Jean Plerre Crystal Restaurant) ลกั ษณะ : เปน็ อาคารกระจก 2 ช้นั ทงั้ หลงั ริมทะเลสาป ความหมาย : - เปน็ ที่จัดเลีย้ งรับแขกมหาวทิ ยาลัย - เป็นที่บริการอาหารแก่อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนกั ศึกษา - เปน็ ทฝ่ี ึกการบริการของนักศึกษาสาขาวชิ าการจัดการการ ทอ่ งเทย่ี วและการบรกิ าร คณะบรหิ ารธรุ กิจและเศรษฐศาสตร์ 46

- ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ ดมิ ิเมอรส์ นั คพั 2011 ในสาขาอาคารใหมท่ ่ี เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ มเป็นคร้ังแรกในประเทศไทย จากบริษทั ไทย ซัม ซุง อิเลคโทรนิคส์จำกดั ศนู ย์ประชุมนานาชาติ John XXIII Conference Center : แลว้ เสรจ็ 4 กันยายน 2544 ลกั ษณะ : เปน็ อาคารสูง 4 ชั้น ประกอบดว้ ยหอ้ งประชุมขนาด 400 ท่ีนงั่ จำนวน 1 ห้อง หอ้ งประชุมผ้บู รหิ าร 80 ท่นี ัง่ จำนวน 1 ห้อง หอ้ ง ประชุมย่อย จำนวน 7 หอ้ ง ห้องรบั รอง ห้องเลขานุการ หอ้ ง แปลภาษา และห้องจัดเลี้ยง ความหมาย : - ใช้รองรับการจดั ประชมุ สมั มนา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ วัดนักบญุ หลุยส์ มารี เดอ มงฟอรต์ : แลว้ เสร็จ 30 เมษายน 2545 ลักษณะ : ดา้ นหน้าประตูเข้าทางดา้ นซา้ ยมอื มีอนุเสาวรียน์ กั บญุ หลยุ ส์ มารี เดอ มงฟอรต์ ผู้สถาปนาคณะภราดาเซนต์คาเบรยี ลท่ปี ระเทศ ฝรงั่ เศส ประตูทางเขา้ -ออก ท้ัง 2 ดา้ น ทำจากไม้แกะสลกั เปน็ ลาย ไทยและปดิ ทองบานหนง่ึ สว่ นอีกบานหนึ่งทำจากไม้แกะสลัก ประวัติพระเยซู และปิดทองภายในตกแต่งด้วยรปู ป้นั นักบญุ ตา่ ง ๆ รปู ปนั้ พระแมม่ ารี รปู ปัน้ นักบุญหลยุ ส์ มารี เดอ มงฟอรต์ บุษบก ทองคำ รูปสลักพระแม่มารกี ับเดก็ ผู้ชาย ซ่งึ สลกั จากหยกขาวจาก ประเทศเมียนมา กระจกสีลวดลายตา่ ง ๆ ภาพเขยี นบนหลังคา โคมไฟจากประเทศสเปน ส่วนชน้ั ท่ี 2 เปน็ ทีใ่ ช้สำหรับนกั ขับร้อง ประสานเสยี ง และนักดนตรี นอกจากน้ีด้านนอกยงั มีหอระฆัง หอ นาฬิกา และรูปป้ันพระเยซู ความหมาย : - เป็นโบสถค์ าทอลกิ กประจำมหาวิทยาลัย - ใช้ประกอบพธิ มี สิ ซา และพิธกี ารตา่ งๆ ท่สี ำคัญของมหาวิทยาลยั - เพือ่ เฉลมิ ฉลองในวาระศตวรรษสมโภช ท่เี จษฎาจารยค์ ณะเซนต์ คาเบรยี ลเข้ามาดำเนินงานด้านการศึกษาในประเทศไทยครบ 100 ปี - เพ่อื เป็นเกยี รตแิ ก่นักบุญหลุยส์ มารี เดอ มงฟอรต์ 47

อนสุ าวรียฉ์ ลอง 100 ปี : แลว้ เสรจ็ 4 มถิ ุนายน 2542 เปิดเปน็ ทางการ 13 พฤศจิกายน 2544 ลกั ษณะ : เป็นอนสุ าวรีย์สงู ทฐ่ี านมีสิงหโ์ ต จำนวน 8 ตวั มขี อ้ ความจารกึ ช่อื คณะภราดาเซนตค์ าเบรียลทเี่ ขา้ มาในประเทศไทย เมือ่ ปี ค.ศ.1901 และประวตั คิ วามเป็นมาต่าง ๆ บนยอดมรี ูปปน้ั นักปราชญ์ช้ีมอื มาท่ี อาคาร The Cathedral of Learning และอาคารเรียน ความหมาย : - เพือ่ รว่ มเฉลิมฉลองในวโรกาสทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดช ทรงมีพระชนมายคุ รบ 72 พรรษา - เป็นการแสดงสัญลักษณ์วา่ ทอี่ าคาร The Cathedral of Learning และอาคารเรียน เปน็ ทีอ่ ยู่ของความรู้ สรรพวชิ าต่าง ๆ ท่ีนักศึกษาจะตอ้ งเข้าไปแสวงหา - ในปี ค.ศ. 2001 เป็นปีครบรอบ 100 ปี ที่ภราดาคณะเซนต์คาเบรี ยล ได้เขา้ มาต้ังในประเทศไทยเพื่อจัดการศึกษาให้กับเยาวชนของ ประเทศ ศาลาจตุรมขุ ไพจติ ร : แล้วเสรจ็ 30 พฤศจิกายน 2543 ลกั ษณะ : เป็นศาลาไทยทรงจตรุ มุขทใี่ หญ่ท่ีสุดในประเทศไทย โดยสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชทานชอื่ มี ความหมายวา่ ศาลาไทยทรงจตรุ มุขที่งดงาม ตระการตา เม่ือวันที่ 19 มิถนุ ายน 2544 ตัง้ อยบู่ ริเวณริมทะเลสาบหน้าอาคาร The Cathedral of Learning ความหมาย : - เปน็ การส่งเสริมและอนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมและสถาปตั ยกรรม แบบไทยใหอ้ าจารย์และนกั ศึกษาต่างชาติตลอดจนบุคคลท่ัวไปได้ ตระหนักและเห็นคุณคา่ สถาปัตยกรรมแบบไทย ซง่ึ เปน็ ภารกิจหลัก ประการหนึง่ ของสถาบันอดุ มศึกษา นอกจากน้นั ยงั แสดงถึงความ กลมกลนื ของศิลปวฒั นธรรมและสถาปัตยกรรมแบบตะวันออกและ แบบตะวันตก (East meets West) - ใชเ้ ปน็ ท่จี ัดเลี้ยงรับรองแขกของมหาวทิ ยาลัยในโอกาสต่าง ๆ - ใชจ้ ดั งานเทศกาลแบบไทยเช่น เทศกาลสงกรานต์ เทศกาลลอย กระทง เป็นตน้ อทุ ยานพฤกษารมณีย์ 48

ลกั ษณะ : เป็นสวนป่าประกอบดว้ ยถำ้ แม่พระ นำ้ ตก ซุม้ ทนี่ ัง่ และพันธไุ์ ม้ ความหมาย : ต่าง ๆ - เป็นทพ่ี ักผอ่ น อา่ นหนงั สอื หรอื ทำกิจกรรมต่าง ๆ - สะท้อนให้เห็นคณุ ค่าของพันธ์ไุ มธ้ รรมชาติ และความร่มเยน็ รูปป้นั นกั บญุ St. Peter ลักษณะ : เป็นรปู ป้นั หนา้ อาคาร St. Gabriel’s Hall หน้าซมุ้ ประตูสุโขทัย ธรรมธานี ความหมาย : - นกั บุญ St. Peter เป็นหัวหน้าสาวกของพระเยซูและเปน็ พระ สันตะปาปาพระองค์แรก อาคารเรียนรวม : แล้วเสร็จ 3 ธันวาคม 2542 ลกั ษณะ : เป็นอาคารเรียนรวม 4 ชั้น รูปตัว U จำนวน 3 อาคาร ความหมาย : - มีชือ่ เรียกทง้ั 3 อาคารวา่ St. Gabriel’s Hall St. Michael’s Hall และ St. Raphael’s Hall - มีซมุ้ ประตู จำนวน 7 ซ้มุ ประตู - มีหอ้ งเรียน ห้องประชุม หอ้ งพกั อาจารย์ สำนกั งาน และภาพวาด ตา่ ง ๆ ประตสู โุ ขทัยธรรมธานี (โดม 1) ลักษณะ : เป็นซมุ้ ประตสู ูง บรเิ วณกำแพงมีพระราชดำรสั พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยหู่ ัวจารึกอยู่บนเพดาน มีภาพวาดสมยั กรุงสุโขทัย ความหมาย : - ชอื่ ประตูสโุ ขทัยธรรมธานี เป็นการนำชื่อราชธานขี องประเทศไทย มาเป็นชอ่ื เรยี กเพ่ือให้ระลึกถึงความสำคญั ของกรุงสุโขทยั ทเี่ คยเป็น ราชธานไี ทย 49