ปีการศึกษา 2560 สัมมนา “International Bursars Meet Montfort Center” ประเทศสงิ คโปร์ ปีการศึกษา 2560 ดูงานโรงเรียนรว่ มกับโรงเรียนอัสสมั ชญั ศรีราชา ณ ประเทศฮอ่ งกง ปีการศกึ ษา 2561 ศกึ ษาดงู านโรงเรยี นประถมชนิ ดอู จี งสอื และเยยี่ มชม โรงเรียนประถมถางหู เมอื งเฉนิ ตู สาธารณรัฐประชาชนจีน ปกี ารศึกษา 2561 ศกึ ษาดงู านโรงเรยี นมธั ยมคามมิ รู ะ ตามโครงการแลกเปลย่ี น นักเรียน ณ เมอื ง Kagoshima ประเทศญปี่ ่นุ ปกี ารศึกษา 2561 ทศั นศกึ ษาและแขง่ ขนั ฟตุ บอลตามโครงการ “Chang Junior Cup 2018 ” ประเทศองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2561 ศึกษาดูงานด้าน IT กบั บรษิ ัทซมั ซงุ ประเทศเยอรมัน ปีการศกึ ษา 2562 ทศั นศกึ ษาในกลมุ่ ประเทศฟนิ แลนด์ เอสโตเนยี ลตั เวยี ลทิ วั เนยี จัดโดยสมาพันธ์สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนในเครือ มูลนธิ ิคณะเซนตค์ าเบรยี ลแห่งประเทศไทย 4477
4488
กาตร่าศงกึ ปษราะดเทูงศาน 4499
5500
5511
5522
5533
5544
5555
5566
5577
5588
5599
6600
6611
6622
6633
6644
6655
6666
6677
6688
6699
7700
7711
7722
7733
“...แม้ว่าคนรอบข้างบางคนจะไม่ รกั ไมส่ งสารและอาจจะท�ำ ทกุ อยา่ งเพอ่ื ใหเ้ ขาทอ้ ใจ แตพ่ ระทเี่ ขารกั และนบั ถอื ไม่ ท�ำ เชน่ นนั้ เพราะพระเลอื กเขามใิ ชม่ นษุ ย์ เป็นคนเลอื ก...” การมองย้อนหลังของชายผหู้ นึง่ ซึง่ ใช้ชีวติ 50 ปี ใน คณะภราดาเซนต์คาเบรียล แม้เขาจะพบปัญหา อุปสรรคมากมายตลอด ชีวิตที่ผ่านมา เขาอดทนและต่อสู้กับตนเองและกับคนอ่ืนมาจนถึงวันนี้เพราะเขารักพระ และพระก็รักใหค้ วามเมตตาสงสาร ช่วยเหลอื และใหอ้ ภัยเขา ถึงแม้วา่ คนรอบข้างบางคน จะไมร่ กั ไมส่ งสาร และอาจจะท�ำ ทกุ อยา่ งเพอ่ื ใหเ้ ขาทอ้ ใจ แตพ่ ระทเ่ี ขารกั และนบั ถอื ไมท่ �ำ เชน่ นน้ั เพราะพระเลอื กเขามิใช่มนษุ ย์เป็นคนเลอื ก ตามบนั ทกึ ในใบเกดิ ทห่ี ายแลว้ หายอกี ตอ้ งไปขอใหมท่ อ่ี �ำ เภอสามพราน จนเจา้ หนา้ ท่ี จำ�ได้วา่ ด.ช.อาจณิ เตง่ ตระกูล เกดิ เม่อื วนั ท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2490 (เวลาใดไม่ ทราบได)้ แตท่ แ่ี น่ๆ คือ เกดิ ทีร่ มิ แมน่ �ำ้ ทา่ จนี บนเรือนไม้ 2 ช้นั ของปู่ชือ่ สูป้ ้ี (ท่านมรณะ เมื่อ 22 มถิ นุ ายน พ.ศ.2462) และย่าช่ือ สดุ (มรณะ10 พฤษภาคม พ.ศ. 2462) แซ่เตง๋ ท่านทัง้ สองเปน็ ผ้รู ว่ มสร้างวัดไมไ้ ผ่หลังแรก เม่ือปี พ.ศ. 2388 กับครอบครวั ชาวจีน และ คุณพ่อดอื ปองค์ ด.ช.อาจิณได้รับศลี ล้างบาปที่วัดหลังใหม่ หลงั มสิ ซาของเช้าวนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน วันรุ่งข้ึนหลังจากวันเกิด คนสมัยน้ันเช่ือว่าถ้าเด็กเสียชีวิตโดยไม่ได้รับศีลล้างบาปจะต้อง ไปอยู่ใต้บาดาล โดยมียายแก่ๆ อุ้มและมีผ้าแพรสีดำ�ห่มพาลงเรือลำ�เล็ก ต่อมาเต่ียเป็น คนพายเรอื ไปจอดทบี่ า้ นครถู น่ิ (ครสู ทุ นิ ) นอ้ งชายเตยี่ ซงึ่ เปน็ ครใู หญโ่ รงเรยี นนกั บญุ เปโตร สมยั นั้นมีถนนใหค้ นเดนิ ตามทุ่งนาเทา่ น้นั เพ่ือไปโรงเรยี นหรอื ไปวัด ไมม่ รี ถหรือลาให้นง่ั บนหลงั ซ่ึงหลงั บา้ นผม คอื บ้านภราดาศักดา กจิ เจรญิ มีควายอยู่ 4 - 5 ตวั เต่ียผมคงไม่ นำ�ผมขึน้ หลงั ควาย และพามาทวี่ ดั แน่ แตเ่ มอื่ ผมอยูป่ ระมาณ ป.2 - 3 ผมและเพอื่ นๆ ไดข้ ่ีควายเหล่านัน้ ชมนกชมไม้ จับปลา ฯลฯ ทุกวนั ที่หยดุ เรียน สนกุ มาก เม่ือ ด.ช. อาจณิ อายไุ ด้ 2 - 3 ขวบ เต่ียกส็ อนให้วา่ ยน้�ำ เพราะกลวั ว่าผมจะตกน�้ำ ตายเหมอื นพ่ีสาวคนโต จนกระทง่ั ผมเรยี นจบช้นั ป.7 ที่โรงเรยี นนกั บุญเปโตร ผมกบั เพ่ือนๆ 7 - 8 คน กส็ มัคร 74 74
เลขประจำ�ตัว อสช 5086 ACS 5086 ครอบครัวเตง่ ตระกลู My Family “Tengtrakul” เข้ายุวลัยเซนต์ยอแซฟ ตำ�บลคลองนครเน่ืองเขต จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จรงิ ๆ แลว้ ผมตอ้ งการเขา้ ยวุ ลยั ตั้งแต่เรียนจบ ป.5 แต่คุณพ่อเจ้าวัดชื่อ คุณพ่อ อังตวน เดชังป์ ไม่เห็นด้วยเพราะเหน็ ว่ายงั เด็กเกิน ไปใหร้ อไว้ก่อน แต่พระเจ้าไม่เคยทอดทง้ิ ผม จึงส่ง โบสถท์ ร่ี ับศีลล้างบาป ภราดาสุนัย กาญจนารัณย์ และภราดาสมหมาย My first parish church where (Richard) ตรีถาวร เดินทางไปตามวัดคาทอลิก ชว่ งเวลาทโี่ รงเรยี นปดิ เทอมใหญ่ เพอื่ เสาะแสวงหา I beptised เยาวชนมาบวชเปน็ ภราดา ผมจึงสมคั รใจ และอยู่ มาเร่ือยๆ เพราะคะแนนความประพฤติของผมดี ไมเ่ คยถกู ตัดถึง 50 คะแนน (ถ้าใครถูกตัดมากกวา่ 50 คะแนนจะถกู สง่ กลบั บา้ น) คะแนนคอื เครอ่ื งมอื ตดั สนิ ว่าเดก็ มีกระแสเรียกหรอื ไม่ รอบๆ ยวุ ลยั มบี อ่ เลย้ี งปลาดกุ ปลาสวาย ปลาสลดิ พวกเราเอาเศษอาหารทเี่ หลอื เลย้ี งปลาเหล่าน้ี บางครั้งถ้ามีสัตวต์ ายลอยผ่านลำ�คลองมาโดยเฉพาะสนุ ขั จะมคี นอาสา วา่ ยน�้ำ เอาเชอื กไปผกู สตั วท์ ต่ี ายลอยน�ำ้ มาลากเขา้ ฝงั่ ช�ำ แหละใสป่ บี กอ่ ไฟตม้ และโยนลง บ่อเพ่ือเป็นอาหารปลา เมื่อเวลาบราเดอร์ต้องการนำ�ปลามาให้พวกเรากิน บราเดอร์จะ จัดการแขง่ ขนั ตกปลาและใหร้ างวัลเปน็ ขนม วนั หยุดชว่ งบ่ายบางครงั้ บางคราวด้วยความ คะนองของพวกเรา จะพากนั ไปทีส่ วนของบ้านพกั พระสงฆ์และเก็บผลไม้ พระสงฆ์ฉลาด กวา่ พวกเรา ทา่ นสะสมกอ้ นหนิ ไวบ้ นบา้ น พอพวกเราเขา้ ไปเกบ็ ผลไม้ จะมกี อ้ นหนิ ลอยมา พรอ้ มกบั ผลไม้ แต่ไม่มใี ครเป็นอะไรเพราะเป็นการขูเ่ ท่านน้ั เอง 7755
ที่ยุวลัยนกั บญุ ยอแซฟ ท่าไข่ St. Josep Juniorate ปี พ.ศ. 2505จบชน้ั ประถม 7 ท่ีโรงเรียนดาราสมุทร ซ่ึงเปน็ ชั้นสงู สุดของโรงเรียน พวกเราต้องย้ายมาเรียนต่อท่ีโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ในช้ัน ม.ศ.1 เลขประจำ�ตัวของ ผมคอื 5086 พร้อมกบั เพอื่ นอกี ประมาณ 24 คน วันท่ี 17 พฤษภาคม เปน็ วันเปิดเรียน วันแรก พวกนักเรียนเข้าใหม่ชั้น ม.ศ.1 ทุกคน จะต้องทดสอบวิชาภาษาอังกฤษท่ีห้อง ประชุมตึกอัสสัมชัญ หลังจากประกาศผลสอบแล้วจะมีการจัดห้องเรียน เกือบทุกคนถูก จดั ให้เรยี นห้องพเิ ศษ เพราะพน้ื ฐานภาษาอังกฤษออ่ นมาก โดยเริม่ เรียน A B C และจะ เรยี นเกอื บทง้ั วนั ซง่ึ นบั วา่ ดมี าก เมอ่ื จบภาคเรยี นท่ี 1 ผลการทดสอบเปน็ ทน่ี า่ พอใจ พวกเราจงึ เริม่ เรียนเหมือนนักเรยี นชั้น ม.ศ.1 คนอื่นๆ ชวี ติ ยุวลยั เซนตห์ ลยุ ส์ แมร่ี 5 ปี ต้ังแตช่ ัน้ ม.ศ.1 - 5 เน้นหนักในการเรยี นวชิ าภาษา ฝร่งั เศส ดนตรี รอ้ งเพลง และเล่นกฬี า จนแทบไมม่ เี วลาทำ�การบา้ น ผทู้ ี่ดูแลพวกเราใน สมัยน้ันตั้งใจฝึกพวกเราให้เก่งและรอบรู้ทุกด้าน หวังให้เป็นภราดาที่มีความสามารถมี ระเบยี บวินยั และความแขง็ แกร่ง ที่ไหนมหี ญ้าหรอื ตอไม้ เนนิ ดิน พวกเราจะขุดและปราบ ใหร้ าบเรยี บในพริบตา มีการซอ้ มกรีฑาทกุ ประเภท ทุกคนต้องเลน่ เป็น และมกี ารจดั สถิติ ทุกคร้งั ถา้ สถติ ไิ ม่ดี ต้องซอ้ มหนัก บางคร้ังอดน�้ำ อดข้าว และอดดูภาพยนตร์ที่โรงเรียน ไมว่ า่ คนผอม คนเตย้ี ไมม่ กี ารยกเวน้ ตอ้ งกระโดดสงู กระโดดไกล ขวา้ งจกั ร ค�ำ้ ถอ่ พงุ่ แหลน วิง่ 100 เมตร 400 เมตร 800 เมตร 1,500 เมตร และอย่านึกวา่ เราจะไดใ้ สร่ องเทา้ วิ่ง ในการวง่ิ แตล่ ะครง้ั รองเทา้ ฟตุ บอลตอกปมุ่ ดว้ ยตะปนู นั่ แหละยอดเยย่ี มในการใสว่ งิ่ เพราะ หนกั ดี การเลน่ ฟตุ บอลกไ็ มเ่ ลว บางครงั้ ซอ้ มตง้ั แตห่ ลงั อาหารเชา้ จนพระอาทติ ยต์ กจงึ หยดุ เพราะมองไม่เห็นลูก ไม่มีครึ่งเวลา หยุดพักเมื่อรับประทานอาหารเที่ยงเท่าน้ัน และมี ผลไมเ้ ปน็ กลว้ ยน�้ำ วา้ จากไรก่ ลว้ ยเปน็ อาหารบ�ำ รงุ ก�ำ ลงั ทยี่ อดสดุ ๆ ของพวกเรา ของหวาน เปน็ สลมิ่ น�้ำ กะทจิ ากกะละมงั ซกั ผา้ ตกั กนิ ตามใจชอบ น�ำ้ หวานสตี า่ งๆใสโ่ ซดาและน�ำ้ แขง็ คอื ของโปรดของพวกเรา ถา้ มีวนั หยุดยาวๆ พวกเราจะเดนิ ไปตามท่ตี า่ งๆ ทง้ั วัน ตัง้ แต่ หลังอาหารเช้าจนถึงอาหารค่ำ� 20.00 น. สถานที่ที่พอจะจำ�ได้ เช่น น้ำ�ตกชันตาเถร 7766
เขาสามมุข รอบอา่ งเก็บนำ�้ บางพระ พัทยาใต้ สัตหบี หรอื เดนิ ตามทาง รถไฟเขา้ ไปในปา่ สง่ิ ดๆี ทจี่ ดจ�ำ ไดอ้ กี อยา่ ง คอื ตอ้ งฝกึ อา่ นหนงั สอื ทุกวันหลังรับประทานอาหารค่ำ� อย่างน้อยประมาณ 10 นาที ตา่ งคนตา่ งอ่านดงั ๆ แขง่ กัน ชว่ งปิดกลางภาคบราเดอรอ์ นญุ าตให้ พวกเรากลับบ้านได้ สำ�หรับคนที่ไม่กลับก็ไปพักผ่อนที่พัทยาใต้ทำ�อาหาร กันเอง ไดเ้ รยี นภาษาและคณติ ศาสตร์ ซง่ึ จะมีบราเดอร์จากตา่ งโรงเรยี น มาช่วยสอน ได้เรยี นการหลอ่ รูปจากปูนปลาสเตอร์ และอ่ืนๆ อีกมากมายซง่ึ พวกเรารู้วา่ สนุกมาก เม่ือจบช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 (ม.ศ.5) วนั ท่ี 6 มนี าคม พ.ศ. 2511 จากท่พี วกเรามี จ�ำ นวน 24 คน เหลือเพียง 5 คน และรวมกับผ้มู าเขา้ ใหมท่ ศี่ รีราชาอีก 3 คน รวมเปน็ 8 คน จากนนั้ กเ็ ตรยี มตวั ไปนวกสถานทป่ี ระเทศอนิ เดยี พวกเราไดห้ บี เสอ้ื ผา้ คนละ 1 ใบ ชดุ ขน้ึ เครือ่ งบนิ 1 ชุด และหา้ มไม่ให้เอาอยา่ งอน่ื ไป รุน่ พๆี่ บอกวา่ เอาไปก็ขาดหมด เพราะ คนอนิ เดยี เขามีวธิ ซี ักผ้าแปลกๆ เขาเอาเส้ือกางเกงฟาดกับหนิ จงึ ไมไ่ ดน้ ำ�อะไรตดิ ตวั ไป เลยนอกจากของฝากรนุ่ พี่ เชน่ หมหู ยอง กนุ เชยี ง ฯลฯ แตก่ ถ็ กู รบิ ไปหมดเมอ่ื ไปถงึ อนิ เดยี สนามบินดอนเมอื งกอ่ นเดนิ ทางไปประเทศอนิ เดยี Don Muang Airport ประมาณต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2511 พวกเราท้ัง 8 คน จึงออกเดินทางจาก สนามบินดอนเมือง ในขณะนั้นยังมชี ัน้ ดาดฟ้าอยู่ โดยสายการบินญป่ี นุ่ บินสู่กรงุ กลั กัตตา จากภาษาองั กฤษแบบงๆู ปลา ๆ พกั โรงแรมทีส่ ายการบินจัดให้ พวกเราตอ้ งใช้ ความพยายามทม่ี ตี ดิ ตอ่ สอบถาม เพอ่ื เดนิ ทางตอ่ ไปยงั กรงุ มทั ราส สมยั นน้ั ไมม่ สี ายการบนิ ตรง และในท่ีสุดเราก็เดินทางมาถึงสนามบินกรุงมัทราส ไม่มีใครมารับ เราจึงเหมารถ แทก็ ซไี่ ปโรงเรียนซานโทม หรือเซนต์โทมัส ตดิ ตอ่ ขอเข้าพบทา่ นอธกิ าร ซงึ่ ในสมัยนน้ั คือ บราเดอร์อัลเซม และปัญหาก็เกิดขึ้นตอนจ่ายค่ารถแท็กซี่ เพราะคนขับเห็นเราเป็นคน ตา่ งชาติ จงึ เพม่ิ ราคามากกวา่ ทคี่ วรจะเปน็ พอบราเดอรอ์ ลั เซมออกมาเหน็ จงึ ไลร่ ถใหอ้ อก ไปจากโรงเรียน หลงั จากรับค่าตอบแทนในราคายุตธิ รรม บราเดอร์อธกิ ารส่งคนไปซ้ือตวั๋ รถไฟเพือ่ ส่งเราตอ่ ไปยงั กรงุ ซาเล็ม ใช้เวลาในการเดินทางไปอกี ประมาณ 1 คืน จ�ำ ได้วา่ 7777
พวกเราแสนจะทรมาน ขณะรอขึ้นรถไฟ เงินกไ็ ม่มีจะซือ้ นำ้�หรอื อาหารรองท้อง เก้าอ้ีนั่งก็ ไม่มีต้องใช้หีบเสือ้ ผา้ รองนงั่ ขณะรอรถไฟ ในทีส่ ดุ ตลอด 1 คืนอันแสนทรมาน เราก็มาถึง สถานีรถไฟกรุงซาเล็ม มีรถบัสขนาดใหญ่มารอรับพวกเรา 8 คน รถพาเราวกวนขึ้น เขาเชวาลอย ใชเ้ วลาประมาณ 2 - 3 ชวั่ โมง และในที่สดุ ก็มอี าหารตกถึงทอ้ งเรา ตเู้ ตียง ทำ�จากกระสอบถกู เตรียมไวส้ �ำ หรบั เรา เพราะบนยอดเขาอากาศเยน็ ฉ่�ำ และความเหนอ่ื ย ล้าจากการที่ไม่ได้นอนตลอดทั้งคืน ทำ�ให้พวกเราหลับสนิท ตื่นขึ้นมาอีกครั้งก็เป็น เวลาเย็น สวดค่ำ�รับประทานอาหาร และพบปะรุ่นพ่คี นไทย พวกเราเรมิ่ เรยี นอยา่ งจรงิ จงั เมอ่ื วนั ที่ 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2511 พรอ้ มกบั ชาวอนิ เดยี รว่ มรนุ่ ท้งั หมดประมาณ 48 คน เปน็ กลุม่ ใหญท่ สี่ ุด มชี าวอนิ เดยี จากทุกภาค ชาตเิ ดียว แต่หลายภาษา สว่ นใหญอ่ ายุน้อยกวา่ พวกเรา 2 - 3 ปี ชว่ งประมาณ 6 - 7 เดอื นนี้ เรียก วา่ ชว่ งการเปน็ “โปสตลุ นั ” หมายถงึ การเตรยี มตวั เพอ่ื รบั เสอ้ื โดยมกี �ำ หนดวนั ที่ 8 ธนั วาคม เปน็ วนั รบั เสอ้ื ซงึ่ ตรงกบั วนั ฉลองพระนางมารผี ปู้ ฏสิ นธนิ ริ มล (Immaculate Conception) พวกเราได้รับเกียรติจากบราเดอร์โรเบิร์ต อธิการยุวลัยในสมัยน้ันมาร่วมเป็นสักขีพยาน และแสดงความยินดี พิธีดังกล่าวทำ�ที่โรงเรียนมงฟอร์ต ยาคอร์ต หลังจากนี้ไปพวกเรา เปน็ “โนวิส” หรือเรยี กว่า “ผฝู้ กึ หัด” ระยะเวลาหนึง่ ปหี กเดอื นทอ่ี ยทู่ น่ี ี่ หลงั อาหารเช้าพวก เราจะแยกยา้ ยกนั ออกไปท�ำ สวน ท�ำ ความสะอาดบา้ น เรยี นวชิ าตา่ งๆ ทางศาสนา และเกย่ี ว กบั ชีวิตนักบวช ในภาคบ่ายเรียนภาษาอังกฤษ โดยบราเดอร์อธิการและผู้ช่วยเป็นผู้สอน พวกเรา วนั ท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 พวกเราไดร้ บั การปฏญิ าณตนเปน็ ภราดา โดยมี บราเดอร์อำ�นวย ปนิ่ รัตน์ มารว่ มแสดงความยนิ ดกี ับพวกเราดว้ ย พวกเราทั้ง 8 คนได้มี โอกาสไปสัมผัสชวี ติ ภราดาทโี่ รงเรยี นทางภาคใต้ของอนิ เดยี เปน็ เวลา 1 เดอื น จบั คกู่ นั ไป หลงั ปฏญิ าณตัวครงั้ แรก After The First Vows 7788
นวกสถานอชิ คิ าดู Eachinkadu Novitiate India ผมกบั บราเดอรย์ นตรกจิ ไปอยู่ ที่โกลาตู ได้ไปเห็นชีวิตการ ทำ � ง า น ข อ ง ค ณ ะ บ ร า เ ด อ ร์ ความเป็นอยู่ของเด็กนักเรียน และชาวบา้ นทแ่ี ทจ้ รงิ ของอนิ เดยี พอครบ 1 เดอื นทกุ คนกก็ ลบั มา รวมกนั อกี ทที่ นิ ดวิ านมั (ขณะน้ี ถูกเปลี่ยนเป็นโรงเรียนสามัญ แล้ว) เป็นที่ฝึกหัดหลังจาก การบวช เพ่ือเรยี นพระคัมภรี ์ และเทวศาสตร์ให้ลึกซ้ึงย่ิงข้ึน ไปเย่ียมเยียนเด็กๆ ท่ีหมูบ่ า้ นทกุ วนั อาทิตย์ Visit the village children on Sunday afternoon.,1970 ก่อนเดินทางกลับมาทำ�งานท่ี เมืองไทย ช่วงชีวิตท่ีอยู่ท่ีนี่ สนุกสนานและประทับใจมาก ทุกบ่ายวันอาทิตย์พวกเราจะข่ีจักรยานไปตามหมบู่ า้ นเพอ่ื สอนค�ำ สอนและพบปะชาวบา้ นจนค�ำ่ ไดท้ �ำ นา ท�ำ สวน เลย้ี งหมู เลย้ี งววั จ�ำ ไดว้ า่ ฆา่ หมไู ปสิบ กวา่ ตวั นกพริ าบตายเปน็ ฝงู ๆ เพราะถกู น�ำ มาแกงกนิ กบั จาปาตแ้ี ละอน่ื ๆ ชวี ติ ของพวกเรา มีความสุขมากหลังอาหารค่ำ�จะขึ้นไปดาดฟ้าของตึก จับกลุ่มนั่งคุย ร้องเพลงจนถึง เวลานอน และไดร้ ับการอบรมลูกเสอื เป็นเวลา 1 สปั ดาห์ (ระหว่างวนั ที่ 13 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2513 หลกั สูตร Scout Master) นอนกลางดิน กินกลางทราย ฝึกหนักมาก ทกุ คน ผ่านหลักสูตรลูกเสืออนิ เดีย แตไ่ ม่เคยน�ำ มาปฏบิ ัติเลย พวกเราอยู่ท่ีประเทศอินเดียครบ 3 ปี ได้รับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษให้ไปเท่ียว ทัชมาฮาลก่อนที่จะเดินทางกลับประเทศไทย โดยนั่งรถไฟไป จำ�ได้ว่าใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 2 วนั 1 คืน จากเมืองมทั ราสถึงเมืองนิวเดลฮี พกั ทโี่ รงเรยี นมงฟอร์ต นวิ เดลฮี ในช่วงเดือนเมษายน อากาศจะร้อนมาก การเดินทางขณะอยู่ทางเหนือเราใช้รถแท็กซี่ 7799
ค่ำ�ไหนนอนนั่น คือนอนตามห้องเรียนของ โรงเรียนท่ีมีอยู่บนเส้นทางท่ีเราผ่าน สุดท้าย พวกเรากม็ าถงึ ทชั มาฮาล ไดส้ มั ผสั แมน่ �ำ้ คงคา จากนน้ั กข็ น้ึ เครอ่ื งบนิ กลบั ประเทศไทย บราเดอร์ อ�ำ นวย ปน่ิ รตั น์ อธิการเจา้ คณะฯ ในสมัยน้ัน อนญุ าตใหก้ ลบั ไปพกั ผอ่ นทบ่ี า้ นได้ 2 สปั ดาห์ หลงั จากกลบั มาจากประเทศอนิ เดยี ผม ได้มาอยู่ที่โรงเรยี นเซนตค์ าเบรียล เพอ่ื รอเดิน นำ้�ท่วมเชียงใหม่ปี ค.ศ. 1954 ขณะเดินทาง ทางไปเรยี นวชิ าชา่ งยนตท์ บ่ี อยทาวส์ ประเทศ ไปสนามบิน สิงคโปร์ ผมปฏบิ ตั ิตามทันที ตามสไตลผ์ ู้บวช Flood in Chiang Mai, in 1954 on the way to the Airport with Rev. Bro. Georges ใหม่ ผมไปเรยี นทป่ี ระเทศสงิ คโปรป์ ระมาณ 2 ปี Le Vern และกลับมารับตำ�แหน่งเป็นครูใหญ่ท่ีโรงเรียน อัสสัมชัญการช่างจังหวัดระนองกับบราเดอร์ ฟรังซัวส์ ขณะท่ีรอการเปิดเรียนก็เขียน หลักสูตรการเรียนการสอนวิชาช่างกลโรงงาน และชา่ งยนต์ให้ครบ 3 ปี หลงั จากโรงเรียน เปิดทำ�การสอน ปรากฏว่าไม่มีใครมาเรียน เพราะอปุ สรรคตา่ งๆ เชน่ คา่ เทอม สง่ิ แวดลอ้ ม ระยะทาง และอน่ื ๆในทส่ี ดุ หลงั จากเปดิ ท�ำ การ ได้ 3 ปี โรงเรยี นอสั สมั ชญั การชา่ งระนองกต็ อ้ ง ยา้ ยไปอยู่ จ.ขอนแกน่ ภายใตช้ อ่ื วริ ยิ านชุ นสถาน The Final Profession at ACS on May 1, 1970 (หลายคนสงสัยว่าทำ�ไมมีชื่อวิริยะนำ�หน้า เพราะว่าโรงเรียน แห่งน้ีกอ่ ต้งั ขึ้นในสมัยบราเดอร์วิริยะเปน็ เจา้ คณะฯ หรือเปล่า) หลงั จากโรงเรยี นอสั สมั ชญั การชา่ งระนองปดิ ตวั ลง ผมกไ็ ดร้ บั ค�ำ สง่ั ใหม้ าอยโู่ รงเรยี น อสั สมั ชญั ศรรี าชา เพอ่ื ดแู ลนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และดูแลนักเรียนประจำ�ตึกนฤมล ร่วมกับบราเดอร์โดนาเชียงเป็นเวลา 1 ปี ซึง่ ในสมัยนน้ั บราเดอรย์ อห์น แมร่เี ปน็ อธิการ ทา่ นเปน็ อธกิ ารทน่ี า่ รกั มาก เปน็ แบบอยา่ งของนกั บวชทด่ี จี นถงึ วนั สน้ิ ชวี ติ ของทา่ น (ทา่ นรกั ทุกคนและจำ�ช่ือได้ทุกคน) ปีต่อมาผมก็ย้ายไปดูแลตึกอัสสัมชัญเป็นเวลา 3 ปี ขณะ เดยี วกนั กด็ แู ลกฬี าของโรงเรยี น ชว่ งระยะเวลา 4 ปที อี่ สั สมั ชญั ศรรี าชาผมรสู้ กึ วา่ สนกุ มาก ได้จบั เดก็ แอบสบู บหุ ร่ี เดก็ หนไี ปวา่ ยน�ำ้ และอกี มากมาย เปน็ ชว่ งเวลาทไ่ี ดร้ บั ประสบการณ์ ตา่ งๆ ในชวี ติ ไดเ้ รยี นรใู้ ห้รูจ้ กั การต่อส้แู ละอดทน หลายคร้งั ทีร่ ู้สกึ ท้อแท้ แตผ่ มก็ผ่านมนั ไปได้ และในทสี่ ดุ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 ผมกไ็ ดถ้ วายตวั ตลอดชพี ทว่ี ดั นกั บญุ หลยุ ส์ มารี บางแค โดยมีพระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธาน เมื่ออยโู่ รงเรียนอสั สมั ชัญศรรี าชา 4 ปีแล้วหลังจากนน้ั ผมกไ็ ดร้ บั อนญุ าตใหไ้ ปเรยี น ต่อท่ีมหาวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ บาเกียว สาขาการตลาด ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นเวลา ประมาณ 3 ปีครงึ่ (พ.ศ. 2521- พ.ศ.2523) หลังจากเรียนจบผมได้รบั ค�ำ สงั่ ให้ไปด�ำ รง ต�ำ แหนง่ อธกิ ารโรงเรียนอัสสมั ชญั อุบลราชธานี เปน็ เวลา 2 ป(ี พ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2526) จากนน้ั ไดร้ ับมอบหมายใหม้ าอยโู่ รงเรียนเซนต์คาเบรยี ล 8800
ณ โรงเรยี นเซนตค์ าเบรยี ล ผมได้รับหน้าทีด่ แู ลช้ันมัธยมศึกษา ตอนตน้ และเปน็ เหรญั ญกิ ของโรงเรยี น พรอ้ มกบั สอนวชิ าภาษา อังกฤษระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ชีวิตความเป็นอยู่สะดวก สบายทุกอย่าง แม้ว่าจะต้องรับผิดชอบการงานมากมาย แต่ผม รู้สึกสนุกกับการทำ�งาน เพราะ สามารถทำ�ทุกอย่างได้อย่างอิสระ มีคณุ ครูชว่ ยงานตลอด ไมว่ า่ จะงาน ลูกเสือ การผลิตสื่อการสอน สอน นักเรียนร้องเพลงภาษาอังกฤษใน ชว่ งเชา้ กอ่ นเขา้ หอ้ งเรยี น และบกุ เบกิ คา่ ยลกู เสอื ทป่ี ากเกรด็ จากนน้ั ผมได้ รับอนุญาตให้ไปเรียนปริญญาโทท่ี มหาวิทยาลัยแห่งฟิลิปปินส์ สาขา บรหิ ารการศกึ ษา ผมส�ำ เรจ็ การศกึ ษา ระดับปริญญาโท เมื่อวันท่ี 16 มนี าคม พ.ศ. 2532 เมอ่ื กลบั เมอื งไทย กไ็ ดไ้ ปประจ�ำ อยทู่ โี่ รงเรยี นอสั สมั ชญั บางรัก รับผิดชอบดูแลนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และเป็น กฬี า 4 สถาบันทอี่ ัสสัมชญั ธนบรุ ี Football senior stars at ACT หัวหนา้ ฝา่ ยการเงนิ เปน็ เวลา 1 ปี ปีการศึกษา 2533 ได้รับมอบหมายให้ไปเป็นอธิการโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ผมอยู่ที่อัสสัมชัญระยองเป็นเวลา 6 ปีเต็ม (1 พ.ค. 2533 – 30 เม.ย. 2539) เป็น อธกิ ารคนท่ี 10 ของท่ีโรงเรยี นน้ี ผมเริม่ จดั งาน Charity Night ครัง้ แรก โดยเกบ็ เงนิ คนละ 100 บาท จดั การแขง่ ขนั โบวล์ ง่ิ การกศุ ล สง่ เสรมิ การประหยดั น�้ำ ประหยดั ไฟ ควบคุมการ ใช้จ่ายการทำ�อาหารเลี้ยงนักเรียนประจำ� และควบคุมดูแลร้านค้าภายใน โรงอาหาร พฒั นาอาคารสถานทข่ี องโรงเรยี นไดแ้ ก่ ท�ำ ถนนบรเิ วณหนา้ โรงเรยี น สรา้ งประตโู รงเรยี นใหม่ ปรับปรุงกำ�แพงรอบโรงเรียน ในตอนนั้นมีนักเรียนอนุบาลเพิ่มขึ้นจาก 300 - 400 คน เปน็ 800 คน จงึ สร้างอาคารอนบุ าลชว่ งท่ี 2 สร้างสระว่ายน�้ำ ซเี มออน ด้วยงบประมาณ 5 ลา้ นบาท และอาคารยอห์น แมรี่ งบประมาณ 11 ล้านบาทเมื่อครบวาระ 6 ปี (30 เดือนเมษายน พ.ศ. 2539) ผมได้ขอลาพักตามกฎระเบียบ และก็ได้มาช่วยงาน นักเรียนประจ�ำ ทอี่ ัสสมั ชัญศรีราชาเป็นเวลา 1 ปี กอ่ นทีจ่ ะไปด�ำ รงตำ�แหน่งเปน็ ครูใหญ่ท่ี โรงเรยี นอัสสัมชญั แผนกประถม เป็นเวลา 4 ปี เม่ืออยู่โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม เริ่มทำ�งานในวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 โดยมีบราเดอรเ์ ลอชัย ลวสตุ เป็นอธิการ แตผ่ มจะไปพักที่อสั สมั ชัญแผนกมธั ยม ทุกเช้าหลังจากฟังมิสซาที่อาสนวิหารอัสสัมชัญ ก็จะนั่งรถไปโรงเรียนอัสสัมชัญ แผนก ประถม โดยมบี ราเดอร์ศกั ดา สกนธวฒั น์ หัวหน้าฝ่ายวิชาการเปน็ คนขบั รถมาถึงโรงเรียน ประมาณ 07.00 น. รับประทานอาหารเช้า และเริ่มงานจนถึง 17.00 น.จึงกลับโรงเรยี น อสั สมั ชญั แผนกมธั ยม ครทู กุ คนใหค้ วามรว่ มมอื ดมี าก มกี ารสรา้ งตกึ อสั สมั ชญั 2000 ขน้ึ ในโอกาสฉลองปี ค.ศ. 2000 ในปี พ.ศ. 2543 สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ เสดจ็ ฯ ทรง เปิดอาคาร เมือ่ วนั เสารท์ ี่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 ผมต้งั ใจบรหิ ารงานในทกุ ๆ ด้าน ส่งเสริมให้ครูมีโอกาสไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทเพ่ือเป็นการเพิ่มศักยภาพและความ สามารถของบุคลากร เพิ่มประการณ์ให้บุคลากรมีโอกาสพบอาจารย์ตามมหาวิทยาลัย 8811
“...พระเจา้ ทผ่ี มนบั ถอื เปน็ พระทยี่ ตุ ธิ รรม มคี วามเมตตาสงสาร พระองค์ให้อภัยเวลาท่ีผมท�ำ ผิดพลาด และฟังคำ�ภาวนาผมตลอด มา พระองค์ไมเ่ คยทรยศ แลว้ ผมจะทงิ้ พระองค์ได้อยา่ งไร...” ต่างๆ เพ่อื แลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณ์ ครมู ีโอกาสไปเรยี นต่อ ปีละ 5 - 6 คน หลังจากมาดำ�รงต�ำ แหนง่ อยู่ครบ 4 ปแี ล้ว กไ็ ด้รบั คำ�ส่ังใหไ้ ปด�ำ รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการ โรงเรียนอสั สมั ชัญศรรี าชา ผมมาประจำ�ทโ่ี รงเรยี นอสั สมั ชัญศรีราชา ตัง้ แตว่ ันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 ถงึ ปี พ.ศ. 2547 ชว่ งระยะเวลา 3 ปที โี่ รงเรยี นอสั สมั ชญั ศรรี าชานี้ แมห้ นา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ จะมากมาย เนื่องจากมภี ราดาที่ทำ�งานบริหารเพียง 2 คนเท่านั้น แตท่ กุ อย่างกด็ ำ�เนินไป ด้วยความเรียบรอ้ ยและประสบผลส�ำ เร็จพอสมควร โดยเฉพาะอย่างย่ิง การไดร้ ับรางวัล โรงเรียนพระราชทานฯ ระดบั อนุบาลและประถม ระดบั อนุบาลในปี พ.ศ. 2546 และใน ปถี ัดมา ปี พ.ศ. 2547 ไดร้ บั รางวลั ระดับประถมศึกษาขนาดใหญ่ ซ่ึงเป็นทน่ี ่าภูมใิ จของ โรงเรียนเป็นอยา่ งยงิ่ ในปี พ.ศ. 2544 คณะภราดาเซนตค์ าเบรยี ล ได้จัดฉลองการถวายตัวตลอดชีวติ ครบ 25 ปี ใหผ้ มพร้อมกบั บราเดอร์สรุ เดช วิสทุ ธิวรรณ เมอ่ื วนั ท่ี 15 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ผมร้สู ึกประทบั ใจมากท่ีทางคณะฯ ไม่ลมื ส่งิ เหล่านี้ ในชว่ ง 3 ปีทอ่ี ยทู่ ่นี ี่ ผมยงั ได้มีโอกาส จัดการฉลองโรงเรยี นครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2547 อีกดว้ ย หลังจากทมี่ าดำ�รงตำ�แหน่งอธกิ ารทีอ่ ัสสมั ชัญศรรี าชา 3 ปี หรือ 1 วาระ ผมได้รับ มอบหมายให้มารับผิดชอบงานท่ีโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี ผมเดินทางมาถึงเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 สาเหตุที่มาเรม่ิ ทำ�งานช้าเนอ่ื งจากต้องพาคณะครจู ำ�นวน 25 คน จากอัสสัมชัญศรีราชาไปแสวงบุญท่ปี ระเทศฝรัง่ เศส สวิสเซอรแ์ ลนด์ และอิตาลี เป็นเวลา 12 วัน เพื่อเป็นการตอบแทนให้กับคณะครูของโรงเรียนท่ีเสียสละและต้ังใจทำ�งานใน โอกาสทีโ่ รงเรยี นอสั สมั ชญั ศรีราชาครบ 60 ปี สง่ิ ท่ีนา่ ภมู ิใจในช่วง 3 ปี ขณะรับหนา้ ท่อี ยู่ทโี่ รงเรียนอสั สมั ชัญธนบรุ ี ประการแรก คือ รางวัลพระราชทานระดับประถมศึกษาขนาดใหญ่ และมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ 2 ปี ติดต่อกัน อันแสดงถึงความสามัคคี อดทน และการรู้จักทำ�งานร่วมกันของผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง นักเรียนและชุมชน ความภูมิใจประการที่สอง คือ ได้เริ่มการผลิตขนมเค้ก เซรามคิ เบญจรงค์ กจิ กรรมแรลลร่ี ะดบั ชนั้ ตา่ งๆ และกรฑี าสี ผปู้ กครองและนกั เรยี นระดบั ประถม อนั แสดงถึงความร่วมมอื ท่ีดีทผี่ ้ปู กครองมีต่อโรงเรยี น ประการทส่ี าม โรงเรียนได้ รับการยกย่องจากสภากาชาดไทย เก่ียวกับการป้องกันและต่อต้านสิ่งเสพติดเป็นเวลา ตดิ ตอ่ กนั ประการทส่ี โ่ี รงเรยี นไดร้ บั การยกยอ่ งจากทา่ นอธกิ ารเจา้ คณะแขวงฯ และชมุ ชน วา่ เปน็ โรงเรยี นที่สะอาดและสวยท่ีสดุ เปน็ แหล่งการเรียนรทู้ ่ีเพยี บพรอ้ มในทุกด้าน และ ประการสดุ ท้าย ผมกไ็ ด้จดั งานฉลองโรงเรียนอสั สัมชญั ธนบรุ มี อี ายุครบ 45 ปีดว้ ยเช่นกนั 8822
ท่รี มิ แมน่ ำ�้ จอร์แดน At Jordan River, 1970 ในปี พ.ศ. 2550 - 2553 หลงั จากรับตำ�แหน่งเหรญั ญิกของมูลนธิ ฯิ ครบ 3 ปี ผม ได้ย้ายไปอยู่โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกมัธยม ระหว่างปีพ.ศ. 2554 - 2556 โดย เป็นอธกิ ารและผู้อำ�นวยการคนท่ี 17 ระหวา่ งอยูโ่ รงเรียนมงฟอรต์ วทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ผม ได้รับความรว่ มมืออย่างดี ทัง้ จากคณะครู สมาคมผู้ปกครองและครู และสมาคมศิษย์เกา่ ทัง้ ทเ่ี ชยี งใหมแ่ ละกรงุ เทพ ฯ ทกุ ฝา่ ย ทกุ หนว่ ยงานใหก้ ารสนบั สนนุ การบรหิ ารงานของผมใน ทุกๆ ดา้ น ไม่ว่าจะเป็นในดา้ นวชิ าการ การปกครอง หรอื การพัฒนาโรงเรียน โดยเฉพาะ อย่างย่ิงด้านการเงิน จนสามารถสร้างสระว่ายน้ำ� “เดอะ มงฟอร์ต” ซึ่งเป็นสระว่ายน้ำ� ขนาดมาตรฐาน สวยสงา่ ดว้ ยทนุ งบประมาณในการกอ่ สรา้ ง 80 ลา้ นบาท ในโอกาสท่ี โรงเรยี นมงฟอรต์ วทิ ยาลยั ครบรอบ 60 ปี ผมไดส้ รา้ งบา้ นพกั ครตู า่ งชาติ เปน็ อาคารสงู 2 ชน้ั จ�ำ นวน 24 หอ้ ง มอี ปุ กรณท์ นั สมยั ดว้ ยงบประมาณ 24 ลา้ นบาท ปรบั ปรงุ ถนนในโรงเรยี น โดยการระดมทนุ จากนกั เรยี นและชมุ ชนมงฟอรต์ เปน็ จ�ำ นวนเงนิ 2 ลา้ นบาท จดั การแขง่ ขนั โบว์ลิ่งการกุศล นักเรียนปัจจุบันและศิษย์เก่า ในช่วงสมัยที่ผมดำ�รงตำ�แหน่งผมทำ�ให้ โรงเรียนมสี ระว่ายน�ำ้ เป็นของตนเอง ไมต่ อ้ งใหน้ ักเรียนและบคุ ลากรออกไปวา่ ยน้�ำ ทคี่ ่าย ทหารหรอื สถาบนั อน่ื ๆ ครตู า่ งชาตไิ มต่ อ้ งออกไปเชา่ หอ้ งพกั ภายนอก และครมู หี อ้ งฟติ เนส ส�ำ หรับออกกำ�ลงั กาย วันพุธท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ผมกป็ ฏิบตั ิตามกฎกตกิ าโดยขนของใส่รถตู้ ออกเดนิ ทางต้ังแตเ่ ชา้ ตรู่ มุง่ สจู่ งั หวดั ฉะเชิงเทรา มาถึงโรงเรยี นเซนต์หลยุ ส์ ฉะเชงิ เทรา ตอนเยน็ เวลา 17.00 น. รับหน้าท่ีเปน็ อธิการและผู้อ�ำ นวยการคนที่ 18 ท่นี ผี่ มรู้สกึ เป็น หนบ้ี ุญคุณอนั ใหญห่ ลวงตอ่ โรงเรียนเซนตห์ ลยุ ส์ ฉะเชงิ เทรา คณะครู ศิษยเ์ ก่า ผปู้ กครอง และนกั เรยี นทกุ คน คอื ผมไดข้ อ้ มลู และเอกสารตา่ งๆ ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากครหู ลายๆ ทา่ นทช่ี ว่ ยงานผมในการเรยี นระดบั ปรญิ ญาเอกประมาณ 2 ปกี วา่ ๆ จนประสบความส�ำ เรจ็ โดยเริ่มจากวันที่ผมไปรับตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการจนถึงวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2558 วันที่ ผมผ่านการสอบวิทยานิพนธ์ และรับปริญญาวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 รนุ่ ท่ี 43 เพราะถา้ ไมม่ บี คุ คลดงั กลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ผมคงไมส่ ามารถเรยี นจบการศกึ ษาระดบั ปริญญาเอกได้ 8833
ในขณะทอ่ี ยทู่ เี่ ซนตห์ ลยุ ส์ ฉะเชงิ เทราไดม้ สี ว่ นรว่ มกบั คณะ ครทู �ำ หนงั สือขึน้ มา 1 เลม่ จ�ำ นวน 185 หนา้ เปน็ หนังสอื ที่ รวบรวมพนั ธไุ์ มใ้ นโรงเรยี นเซนตห์ ลยุ ส์ ฉะเชงิ เทรา หนงั สอื มชี อ่ื วา่ “สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเซนตห์ ลยุ ส์ ฉะเชงิ เทรา” และใน เดือนมกราคม พ.ศ.2559 ผมก็ทราบว่าจะต้องย้ายไปอยู่ มหาวิทยาลยั อัสสมั ชัญ โดยได้เร่มิ การท�ำ งาน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 วนั เสาร์ท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2559 ผม ก็ย้ายของออกจากโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชงิ เทราสมู่ หาวทิ ยาลยั อสั สมั ชญั วทิ ยาเขต หวั หมาก หลงั จากพกั ผอ่ นประมาณ 1 สปั ดาห์ และเรม่ิ ท�ำ งานอยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื วนั เสารท์ ่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ประจ�ำ อยทู่ ช่ี น้ั 16 ตกึ Queens Tower ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ผบู้ รหิ ารขนั้ สงู (Top Management) กรรมการสภามหาวิทยาลัย และเป็นผู้ตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัย(Internal University Auditor) และตอ่ มาได้ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ เปน็ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ าร และเปน็ อธกิ ารบา้ น ภราดามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีผู้หลักผู้ใหญ่ถามผมว่าอยู่ มหาวิทยาลัยมีความสุขไหม? ผมตอบทันทีว่า “สขุ มาก” มเี วลาวา่ ง อา่ น หนังสือ และทำ�อะไรต่างๆ ที่ต้องการ ไปไหนมาไหนตามทอ่ี ยากไปนอกเหนอื จากงาน ประจำ� ท่สี ำ�คัญการได้มาทำ�งานอย่มู หาวิทยาลัยอัสสัมชัญผมมีคนช่วยเหลือด้านต่างๆ มากมาย และใหก้ �ำ ลงั ใจตลอดเวลา มหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชญั มอี าจารยท์ ม่ี าจากตา่ งประเทศ และอาจารย์ท่ีเป็นคนไทยซึ่งมีระดับการศึกษาต้ังแต่ปริญญาตรีถึงปริญญาเอกมากกว่า หน่งึ พนั คน จ�ำ นวนนกั ศกึ ษาท้ังไทยและตา่ งชาตกิ ว่า 16,000 คน เน่อื งจากการที่ผมเป็น คนนบนอบ ทำ�ทุกอย่างอยา่ งดีทส่ี ดุ เม่ือได้รบั มอบหมายใหร้ ับผิดชอบงานตา่ งๆ ดังน้นั ใน วนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ผมได้รับต�ำ แหนง่ เพมิ่ มาอีกหน่ึงตำ�แหน่งคอื รกั ษาการ รองอธกิ ารบดฝี ่ายกิจการนักศกึ ษาผมก็รับด้วยความเตม็ ใจ พระเจา้ ท่ผี มนบั ถอื เป็นพระทย่ี ตุ ิธรรม มคี วามเมตตาสงสาร พระองคใ์ ห้อภยั เวลา ท่ีผมทำ�ผิดพลาด และฟังคำ�ภาวนาผมตลอดมา พระองค์ไม่เคยทรยศ แล้วผมจะทิ้ง พระองค์ไดอ้ ยา่ งไร ผมสวดภาวนาเสมอ ดังที่สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซสิ ตรสั กับคณะ พระสงฆ์ นกั บวช และผรู้ ่วมรบั เสดจ็ พระองค์ เมอื่ วันที่ 22 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 ที่ วัดนักบุญเปโตร สามพรานวา่ “ถา้ หากไมม่ กี ารภาวนา ชีวติ และภารกิจของเราจะไร้ซ่ึง ความหมาย ปราศจากพละกำ�ลังและความร้อนรน” ขอพระเจา้ อวยพรทุกคน ข้อเตอื นใจ “ความรัก เงินตรา เปน็ รากเหงา้ ของความชัว่ รา้ ยทกุ ประการ” (1 ทิโมธี 6 : 10) สวัสด.ี .. 8844
ไดร้ บั ของทรี่ ะลกึ จากสมณทตู จากวาติกนั ขห่ี ลงั ยคั (จามร)ี รมิ แมน่ �ำ้ มณฑลยนู นาน ประเทศจนี ในโอกาสฉลองครบ 25 ปกี ารปฏญิ าณตนครง้ั แรก Riding the Yak in river, Yunnan, China, 2003 25th The First Profession Celebration received a gift from the Apostolic Nuncio at ACT Churchon April 24, 1995 ตดั รบิ บน้ิ เปดิ ตกึ เรยี นทแ่ี ขวงบรจิ าคเงนิ กอ่ สรา้ งท่ี Kalibo Opening new school building at Kalibo หนงั สือสวนพฤกษศาสตรข์ องโรงเรียนเซนต์หลยุ ส์ ฉะเชิงเทรา Botanical Book at SLC, 2014 พิธรี ับปริญญาดุษฎีบณั ฑิต ณ ศนู ย์การประชมุ แห่งชาติสริ ิกติ ิ์ PhD.OD Graduation Ceremony., 2015 at Queen Sirikit National Convention Center 8855
ภราดาออกัสติน อาจิณ เตง่ ตระกูล คณะเซนตค์ าเบรยี ล เกิด วันที่ 20 พฤศจิกายน 1947 บดิ า-มารดา นายวัฒนา (เสียชวี ิต วนั ที่ 9 มิ.ย.41) – นางยวง เตง่ ตระกลู (เสยี ชวี ติ วนั ท่ี 1 พ.ค. 53) มพี น่ี อ้ งทง้ั หมด 6 คน เปน็ ชาย 2 คน หญงิ 4 คน ภราดาเป็นบตุ รคนท่ี 3 พ่นี ้องในครอบครัว 1. นายวิมล เต่งตระกูล(เสียชีวติ วันที่ 23 ม.ค. 56) 2. นางพจนา บุญบางยาง 3. ภราดาอาจณิ เต่งตระกลู 4. นางสาวรัตนา เต่งตระกลู 5. นางสาวนติ ยา เตง่ ตระกลู 6. นางสาวจนิ ตนา เตง่ ตระกลู ภูมิลำ�เนา บ้านเลขท่ี 57 หมู่ 4 ตำ�บลท่าข้าม อำ�เภอสามพราน จังหวดั นครปฐม 8866
การ ศึกษา ค.ศ.1953 - เรียนทโี่ รงเรียนนกั บุญเปโตร อ�ำ เภอสามพราน จงั หวัดนครปฐม จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 7 ค.ศ.1962 - เรยี นทีโ่ รงเรยี นดาราสมุทร ตำ�บลคลองนครเนอื่ งเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ค.ศ.1963 - เรยี นท่ีโรงเรยี นอสั สมั ชัญศรรี าชา จังหวดั ชลบรุ ี ค.ศ.1968 - ศึกษาต่อทน่ี วกสถาน ประเทศอนิ เดยี ค.ศ.1970 - ศึกษาตอ่ ที่ Boy’s Town ประเทศสงิ คโปร์ วชิ าชา่ งเคร่อื งยนต์ ค.ศ.1976 - ศึกษาต่อที่ University of the Philippines ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ ระดับปรญิ ญาตรี สาขาการตลาด ค.ศ.1985 - ศกึ ษาตอ่ ที่ University of the Philippines at Los Baños ประเทศฟิลิปปินส์ ระดบั ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา ค.ศ.2013 - ศึกษาต่อที่ Assumption University ระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาบรหิ ารองคก์ ร ค.ศ.1962 - เขา้ บา้ นเณร สมัยคุณพอ่ อังตวน เดชังป์ แบร์แยร์ เป็นเจ้าอาวาส ปฏิญาณตนคร้ังแรก วนั ที่ 28 เมษายน ค.ศ.1970 ทีป่ ระเทศอนิ เดีย ปฏญิ าณตนตลอดชีวติ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม ค.ศ.1976 ทว่ี ดั นอ้ ยนกั บญุ มงฟอรต์ โรงเรียนอัสสมั ชัญธนบรุ ี ปฏิญาณตนครบ 25 ปี วันที่ 27 มกราคม ค.ศ.1996 ท่ีโรงเรียนอสั สัมชัญ ศรีราชา จังหวดั ชลบุรี แรงจูงใจ “ได้เห็นตัวอย่างจากรุ่นพ่ีที่อุทิศ ตนเพอ่ื การศกึ ษาของเยาวชน และ ตัวอย่างจากนักบวชรุ่นแรกๆ อีก ทั้งได้รับการส่งเสริมจากคุณพ่อ คุณแมต่ ง้ั แต่เยาวว์ ัย” ข้อตงั้ ใจ “จะใช้ความรู้ ความสามารถที่มี อยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดกับ สังคม เยาวชนไทย และผู้ด้อย โอกาส พรอ้ มทง้ั สรา้ งความรกั ความ สามัคคีและความยุติธรรมให้เกิด ขึ้นใน ทุกๆ สถานที่ที่ต้องไป ทำ�งาน 8877
หนา้ ทีร่ ับผิดชอบ ค.ศ.1973-1974 โรงเรยี นศรีอรโุ ณทัย อำ�เภอเมอื ง จังหวดั ระนอง ค.ศ.1975-1977 ครใู หญ่ โรงเรยี นอสั สมั ชัญการช่าง อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดระนอง ค.ศ.1977-1981 หัวหน้าฝ่ายนักเรียนประจำ� โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา อำ�เภอ ศรรี าชา จังหวัดชลบุรี ค.ศ.1981-1982 ครใู หญแ่ ละผอู้ �ำ นวยการ โรงเรยี นอสั สมั ชญั อบุ ลราชธานี อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี ค.ศ.1983-1989 หัวหน้าฝ่ายการเงิน โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ค.ศ.1989-1990 หัวหนา้ ฝา่ ยการเงนิ โรงเรียนอสั สมั ชญั เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ค.ศ.1990-1996 ครูใหญแ่ ละผู้อำ�นวยการ โรงเรียนอสั สัมชัญระยอง อ�ำ เภอเมือง จังหวดั ระยอง ค.ศ.1996-1997 หัวหน้าฝ่ายนักเรียนประจำ� โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา อำ�เภอ ศรรี าชาจงั หวดั ชลบุรี ค.ศ.1997-2001 ครใู หญ่ โรงเรยี นอสั สัมชญั แผนกประถม เขตสาธร กรุงเทพมหานคร ค.ศ.2001-2003 ผอู้ �ำ นวยการ โรงเรยี นอสั สมั ชญั ศรรี าชา อ�ำ เภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี ค.ศ.2004-2007 ครูใหญ่ และผู้อำ�นวยการ โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี เขตบางแค กรุงเทพมหานคร ค.ศ.2007-2013 เหรญั ญกิ มลู นธิ ฯิ คณะกรรมการบรหิ ารมลู นธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรยี ล แหง่ ประเทศไทย ค.ศ.2010-2013 - ผูอ้ ำ�นวยการโรงเรยี นมงฟอร์ตวทิ ยาลัย - ผรู้ ับมอบอ�ำ นาจทำ�การแทนผรู้ บั ใบอนุญาตโรงเรยี นมงฟอรต์ วิทยาลยั - เหรญั ญกิ มลู นธิ ฯิ คณะกรรมการบรหิ ารมลู นธิ คิ ณะเซนตค์ าเบรยี ล แหง่ ประเทศไทย ค.ศ.2011-2013 ประธานคณะกรรมการการคดั เลอื กครดู เี ดน่ ของสมาพนั ธส์ มาคม ผู้ปกครองและครูโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียล แหง่ ประเทศไทย ค.ศ.2004-2013 ประธานคณะกรรมการประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โรงเรียนในเครอื มูลนิธคิ ณะเซนตค์ าเบรียลแห่งประเทศไทย ค.ศ.2013-2015 ผอู้ �ำ นวยการ โรงเรยี นเซนต์หลุยส์ อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 7 พ.ค.2015-31 พ.ค.2016 ผู้ตรวจสอบภายในมหาวทิ ยาลยั อัสสมั ชญั และ กรรมการสภามหาวิทยาลัย รองอธกิ ารบดฝี า่ ยบรหิ าร และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั 1 ม.ิ ย.2016-ปัจจบุ ัน รักษาการรองอธกิ ารบดฝี า่ ยกิจการนกั ศกึ ษา 1 มิ.ย.2020-ปจั จุบัน 8888
ประกาศนยี บัตรและรางวลั เชดิ ชูเกียรติ ค.ศ. 1970 ประกาศนียบัตรการอบรมลูกเสือ Scout Master ประเทศอินเดยี ค.ศ. 1976 Certificate Inservice Training Project Teachers Helping Teachers Thai-Canadian. ค.ศ. 1990 SAIDI, Southeast Asia Interdisciplinary Development Institute, Philippines. ค.ศ. 1991 Certificate in Campus Ministry จาก Grace Institute Shrewsbury, Massachusetts,U.S.A. ค.ศ. 1998-2001 Certificate from Faculty of Psychology and Educational Sciences, Katholieke University, Leuven, Belgium. ค.ศ. 1998 Certificate in Internal Quality Audit จากจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ค.ศ. 1998 บุคคลตัวอย่างแห่งปี สาขานักบริหาร-พัฒนาการศึกษาจากมูลนิธิ เพอื่ สงั คมไทย และหนังสอื พิมพ์เส้นทางเศรษฐกจิ ค.ศ. 1999 นกั บรหิ ารดเี ด่น สาขานกั บรหิ าร-พฒั นาการศึกษาดีเดน่ จากมูลนธิ ิ เพ่ือสงั คมไทย และหนงั สอื พมิ พเ์ สน้ ทางเศรษฐกจิ ค.ศ. 2000 ประกาศนียบัตร ISO 14001, Implementation Course. จาก Thailand Environment Institute, Bangkok. ค.ศ. 2002 Certificate from OIEC, Catholic Education World Congress, Brazil. ค.ศ. 2005 Certificate from Thai-Chinese Youth Camp จากกระทรวง ศึกษาธกิ าร ค.ศ. 2011 Certificate from Queensland Government School, Australia. ค.ศ. 2011 Certificate from ITE Institute for Teaching Excellence, Phoenix Academy, Perth, Australia ค.ศ. 2013 Certificate ABAC ODI Summit 2013 AU, Assumption University, Bangkok. ค.ศ. 2014 Certificate from Stanford University, Stanford Center for Professional Development, On Organizational Development Program, U.S.A. ประวัตกิ ารรบั เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ พ.ศ. 2536 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เบญจมาภรณ์ ช้ันที่ 5 พ.ศ. 2548 เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ เบญจมดิเรกคณุ าภรณ์ ช้นั ที่ 5 พ.ศ. 2556 เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ จตตุ ถดิเรกคุณาภรณ์ ช้นั ท่ี 4 8899
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น รว่ มปลกู ขา้ วกบั คณะครแู ละนกั เรยี น โรงเรยี นมงฟอรต์ วทิ ยาลยั Growing rice at MC Korea, talking small train in with officer With Montfortian Associates at MC from Education Officer in Chiang Mai Floating at the Dead Sea 9900
On Masada fortress southern Israel’s Judean desert Sacellvm Primat vs Sancti Petri, Galilee In front of the Sycamore tree At the grotto of the God pan in Jericho At Belgium with Dr. Sanan Angubolkul, the President of the PTA Confederation 9911
With the Postman, at Pai, Mae Hong Son A short self-reflection of a man- a perfectionist, but not a perfect religious. He loves God and God loves him and God has compassion on him and always forgives him. That is the reason, he is still faithful to God up to now. That man is, Bro. Augustine Achin Tengtrakul; 50 years in Religious Life. I was born on Thursday 20, November 1947 in a house situated on the bank of Tha Chin River, Nakorn Patom Province, about 30 kilometers from Bangkok. My family and I belonged to the St. Peter in Prison Parish Church. We are six in the family, with two boys. My eldest brother passed away on June 9, 1998 and the remainder of my siblings are four girls. I am the third child. Rearing pigs is the main occupation of my family, and of the people in the village. My grandfather and mother were among the first family settling down at this parish church, the year 1845. I joined St. Joseph Juniorate at St. Roch Church, Chachoengsao after finishing Primary 7 in the year 1960. I was and am still very grateful to Rev. Bro. Stephen Sunai Kanchanarun who recruited me to the juniorate, otherwise I may not have known the Montfort Brothers of Saint Gabriel. Bro. Sunai my spiritual inspiration passed away on 18-7-2019. He taught me to fight against all difficulties because during holidays and Sundays we had morning walks, games of soccer under the hot sun, and the whole day, with no time to do our home-work. 9922
He showed us the good example of how to recruit new members, the juniors, by going around during holidays to different churches, giving them talks and showing them film slides about our Founder and our schools. When we finished M.6 or Higher Secondary School, we went to India, eight of us. Bro. Stephen came along to Don Mueng Airport to send us off to India, in April 1968. I was two years in Eachinkadu Novitiate, Yercaud and one year in Tindivanum Post Novitiate, Tamil Nadu. Here at the Tindivanum post Novitiate, I learnt the spirit of Montfort who cared for the poor, the neglected, etc. We went about every Sunday afternoon cycling, to visit the poor villages boys and girls. That is why after coming back to Thailand I still continue to do this charitable work as Montfort did. I usually take with me teachers and service personnel wherever I go. At this Post Novitiate, everyday, we worked in the paddy fields, slept on the terrace, smelt the bones and carcasses of the dead cows, watched the crows and the vultures flying up and down after eating the dead cows. It was the butcher’s house. All of us was trained to be scout masters here at the Post Novitiate. Eight of us came back to Thailand around the month of May 1970. Our first profession at Eachinkadu was on May 15,1970 with Bro. Robert Richard as witness, on behalf of Bro.Philip Amnuay the Provincial at that time (1965-1973). Brother Philip Amnuay passed way on Oct 3, 2017. On our way back to Thailand, we were privileged to visit the schools in the north of India and the Taj Mahal with Bro. Selvanathan, the Socius, as our guide. After few days holiday at home after coming back from India, Bro. Philip sent me to Singapore at Boys’ Town Technical School, Bukit Timah where I learnt Motor Mechanics, Machine shop and welding for two years, hoping that I may draw up a technical sylla- bus and prepare other papers and documents ready for the new Technical School in Ranong. Bro. Francois was my superior. Ranong is about 600 k.m. from Bangkok, towards the south of Bangkok. I was always alone with God and some dogs as my friends, because Bro. Francois most often drove for business in Bangkok. And I achieved the mission for which I trained in Singapore. We started the school, but with some problems, we closed it after 3 years of operation and moved to Khon Kaen admitting the sons of lepers, and destitute boys at Nakorn Panom presently. 9933
After Assumption Technical School, Ranong I was sent to Sriracha to take care of the Boarding School and to other schools later on. When I was at Ranong, Bro. Amnuay taught me many things in Religious life. He told me not to quit Religious life when facing problems, he told me to go ahead with courage, and to pray always. While working at Assumption College Sriracha for few years, I pronounced my Perpetual Vows on May 1, 1976 at Assumption Thonburi in front of Cardinal Michael Meechai with other three Brothers in my group that still survived in Religious Life after 6 years of the first profession. Now I am alone. Thank God I still survive. I should have died five years ago, that is on December 24, 2015, due to an operation. A Brother who was very grateful to me is Bro. Sakda Kitcharoen, our Thai Provincial 2001-2007. He passed away on May 8, 2010. Once he said to me that he (Bro. Sakda) joined the Montfort Brothers of Saint Gabriel because he saw my good examples when I was coming back to visit home during holidays. I and my friends (12 juniors) attended Mass every morning and visited the Blessed Sacrament every afternoon. We played soccer together in front of the Church with other seminarians. So, don’t let me be disappointed with my Religious Life. (His house is behind my house at Sampran). He told me Religious Life is not bargaining business, don’t bargain anything with him. Let me take this opportunity to thank all people, Schools, Administrators that are helping me. First and foremost I would like to thank Assumption University for allowing me to study PhD.OD and all the Brothers for being kind to me : who always show love, and concern to me in my Religious Life through the past 50 years, (May 1, 1970-October 2020) especially for my health and my work. Thanks to the Brothers at the AU Community for my daily responsibilities in the community and in the University during the past four years, With Professor and Classmates on Graduation Day 9944
including serving in the Top Management, all personnel and faculty members for helping me to do my work. Thanks to teachers, parents and Alumni, school administrators in all the schools that I have worked with in giving me advice and assistance. Thank God for sending me to be among these very nice and loving people . Lastly, throughout the past 50 years (28-04-1970 till 02-10-2020) I want to share with all of you that, God is kind, merciful and He is the forgiving God. If not I would not be faithful to my Religious vocation in the Congregation of the Brothers of Saint Gabriel up till now. The only duty for me from now is to be faithful to Him, never betray Him and do my best in everyday of my life in whatever He asks me to do through my superiors till my last breath. Many people ask me, how can I live the Religious Life so long. I would say that, every morning when I get up I see the statue of Our Lady, I feel that she is looking at me and she wants me to be like her, that is, to imitate her; first she never says No to the challenge she has to face in accepting to be the mother of Jesus, even though everything is not clear for the future in saying Yes. Second ; after Jesus was nailed to the Cross, she never ran away or gave up or remained in grief and sorrow. She continued the mission of her son and consoled the apostles. And third ; when she visited St. Elizabeth after learning that her cousin needs help ; although she was herself pregnant. The gospel says, she went with haste to visit her. So all these three examples of Mary, help me each day to live like Mary as a brave Religious never giving up, and paying attention to the needs of others although sometimes I am busy. Lord God, my last prayer to you is that, please bless the Montfort Brothers of Saint Gabriel, the prosperity of the missions, may all members to be faithful to the call, grant us more vocations, Bless all those who persecute the Congregation, give them the light to see what is right and wrong. Forgive them for they don’t know what they do because they also are Your sons and daughters. May God bless you all. Reminder : …Money is the source of all evils…( 1 Tim 6:10) Thank you 9955
ถา่ ยกับคณะครูโรงเรียนเซนต์หลยุ ส์ ฉะเชงิ เทรา ณ มหาวทิ ยาลัยอสั สมั ชญั With SLC teachers on graduation day, 2015 at Assumption University With relatives on graduation day, 2015 Planting trees with Personnel and students at Assumption University on St. Augustine feast day Candle parade with the Prosonnel and students to the Buddhist temple on Buddhist lent day 9966
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128