Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้

ใบความรู้

Published by aseesah261236, 2021-07-01 04:54:03

Description: ใบความรู้

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ประวตั ิขนมไทย ขนมไทยในงานมงคล ในสมัยโบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคญั เท่านั้น เปน็ ต้นว่างานทาบุญ งานแต่ง เทศกาลสาคญั หรอื ตอ้ นรบั แขกสาคญั เพราะขนมบางชนดิ จาเป็นต้องใช้กาลงั คนอาศัยเวลาในการทาพอสมควร สว่ นใหญ่เป็น ขนบประเพณี เปน็ ต้นวา่ ขนมงาน เน่อื งในงานแต่งงาน ขนมพนื้ บ้าน เช่น ขนมครก ขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนม ในรวั้ ในวังจะมีหนา้ ตาจุ๋มจิม๋ ประณตี วจิ ิตรบรรจงในการจดั วางรปู ทรงขนมสวยงาม ขนมไทยด้ังเดิม มีสว่ นผสมคือ แปง้ นา้ ตาล กะทิ เทา่ นั้น ส่วนขนมท่ีใช้ไข่เปน็ สว่ นประกอบ เชน่ ทองหยบิ ทองหยอด เมด็ ขนุน นน้ั มารี กีมาร์ เดอ ปนี า (ทา้ วทองกีบม้า) หญิงสาวชาวโปรตุเกส เป็นผ้คู ดิ คน้ ขน้ึ มา ขนมไทยทนี่ ยิ มทากันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการตา่ งๆ ก็คือขนมจากไข่ และเชื่อกันว่าชอ่ื และ ลักษณะของขนมนั้นๆ เช่น รบั ประทานฝอยทอง เพ่ือหวงั ให้อยูด่ ้วยกนั ยดื ยาว มอี ายยุ ืน รบั ประทาน ขนมชั้นก็ ใหไ้ ด้เล่ือนขัน้ เงนิ เดือน รับประทาน ขนมถ้วยฟูก็ขอให้เจริญ รับประทานขนมทองเอก กข็ อให้ไดเ้ ปน็ เอก เป็น ตน้ ในสมัยรชั กาลที่ 1 มีการพิมพ์ตาราอาหารออกเผยแพร่ รวมถึงตาราขนมไทยดว้ ย จึงนบั ได้ว่าวัฒนธรรม ขนมไทยมีการบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์อักษรครัง้ แรก ตาราอาหารไทยเลม่ แรกคือแมค่ รัวหวั ปา่ ก์ในสมัยตอ่ มาเม่ือ การคา้ เจริญขึ้นในตลาดมีขนมนานาชนิดมาขาย และนับว่าเป็นยคุ ท่ขี นมไทยเปน็ ที่นิยม ขนมไทยแต่ละภาค ขนมไทยภาคเหนอื ส่วนใหญ่จะทาจากข้าวเหนียว และส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้ม เช่น ขนมเทียน ขนมวง ข้าวต้มหัวหงอก มักทากนั ในเทศกาลสาคัญ เชน่ เขา้ พรรษา สงกรานต์ ขนมทน่ี ิยมทาในงานบุญเกือบทกุ เทศกาลคือขนมเทยี นหรือขนมจ๊อก ขนมทหี่ าซอื้ ได้ทั่วไปคือ ขนมปาด ซ่ึงคลา้ ยขนมศิลาออ่ น ข้าวอีตูหรือข้าวเหนียวแดง ขา้ วแตนหรอื ข้าวแต๋น ขนมเกลอื ขนมทีม่ รี บั ประทานเฉพาะ ฤดูหนาว ได้แก่ ข้าวหนุกงา ซ่ึงเป็นงาค่ัวตากับข้าวเหนียว ถ้าใส่น้าอ้อยด้วยเรียกงาตาอ้อย ข้าวแคบหรือข้าว เกรียบวา่ ว ลูกกอ่ ถ่ัวแปะยี ถว่ั แระ ลูกลานตม้ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ขนมพ้ืนบ้านได้แก่ ขนมอาละหว่า ซ่ึงคล้ายขนมหม้อแกง ขนมเปงม้ง ซึ่งคล้าย ขนมอาละหว่าแต่มีการหมักแป้งให้ฟูก่อน ขนมสว่ ยทะมินทาจากขา้ วเหนยี วน่งึ น้าตาลออ้ ยและกะทิ ในช่วงท่ีมี น้าตาลอ้อยมากจะนิยมทาขนมอีก 2 ชนิดคือ งาโบ๋ ทาจากน้าตาลอ้อยเคี่ยวให้เหนียวคล้ายตังเมแล้วคลุกงา กบั แปโหย่ ทาจากนา้ ตาลออ้ ยและถว่ั แปยี มีลักษณะคล้ายถ่วั ตดั

ขนมไทยภาคกลาง ส่วนใหญ่ทามาจากข้าวเจ้า เช่น ข้าวตัง นางเล็ด ข้าวเหนียวมูน และมีขนมท่ีหลุดลอดมาจากร้ัววัง จน แพร่หลายสู่สามญั ชนทวั่ ไป เชน่ ขนมกลบี ลาดวน ลกู ชุบ หมอ้ ข้าวหม้อแกง ฝอยทอง ทองหยิบ ขนมตาล ขนม กลว้ ย ขนมเผือก เปน็ ตน้ ขนมไทยภาคอสี าน เป็นขนมที่ทากันง่ายๆ ไม่พิถีพิถันมากเหมือนขนมภาคอื่น ขนมพื้นบ้านอีสานได้แก่ ข้าวจ่ี บายมะขาม หรือมะขามบ่ายข้าว ข้าวโป่ง [9]นอกจากนั้นมักเป็นขนมในงานบุญพิธี ที่เรียกว่า ข้าวประดับดิน โดยชาวบ้าน นาข้าวท่ีหอ่ ใบตอง มดั ดว้ ยตอกแบบขา้ วต้มมัด กระยาสารท ขา้ วทพิ ย์ ขา้ วยาคู ขนมพืน้ บา้ นของจงั หวัดเลยมัก เปน็ ขนมงา่ ยๆ เช่น ขา้ วเหนียวนึง่ จม้ิ นา้ ผึ้ง ข้าวบ่ายเกลือ คือข้าวเหนยี วป้ันเปน็ ก้อนจ้มิ เกลือให้พอมีรสเค็ม ถา้ มมี ะขามจะเอามาใสเ่ ปน็ ไส้เรยี กมะขามบ่ายข้าว นา้ ออ้ ยกะทิ ทาด้วยนา้ ออ้ ยทเ่ี ค่ยี วจนเหนยี ว ใสถ่ วั่ ลสิ งคัว่ และ มะพร้าวซอย ขา้ วพองทามาจากข้าวตากคัว่ ใส่มะพร้าวหน่ั เปน็ ชน้ิ ๆ และถัว่ ลสิ งควั่ กวนกบั นา้ ออ้ ยจนเหนียวเท ใส่ถาด ในงานบุญต่างๆจะนิยมทาขนมปาด (คล้ายขนมเปียกปูนของภาคกลาง) ลอดช่อง และขนมหมก (แป้ง ข้าวเหนียวโม่ ป้ันเป็นกอ้ นกลมใสไ่ ส้กระฉกี ห่อเป็นสามเหลี่ยมคลา้ ยขนมเทยี น นาไปนึง่ ) ขนมไทยภาคใต้ ชาวใต้มีความเชื่อในเทศกาลวันสารท เดือนสิบ จะทาบุญด้วยขนมท่ีมีเฉพาะในท้องถิ่นภาคใต้เท่าน้ัน เช่น ขนมลา ขนมพอง ข้าวต้มห่อด้วยใบกะพ้อ ขนมบ้าหรือขนมลูกสะบ้า ขนมดีซาหรือเมซา ขนมเจาะหูหรือ เจาะรู ขนมไข่ปลา ขนมแดง เป็นต้น ตัวอยา่ งของขนมพน้ื บา้ นภาคใต้ได้แก่ • ขนมหน้าไข่ ทาจากแป้งข้าวเจ้านวดกับน้าตาล นาไปนึ่ง หน้าขนมทาด้วย กะทิผสมไข่ น้าตาล เกลือ ตะไครแ้ ละหวั หอม ราดบนตัวขนม แล้วนาไปน่ึงอีกครงั้ • ขนมฆีมันไม้ เป็นขนมของชาวไทยมุสลิม ทาจากมันสาปะหลังนาไปต้มให้สุก โรยด้วยแป้งข้าว หมาก เก็บไว้ 1 คืน 1 วันจงึ นามารับประทาน • ขนมจูจ้ นุ ทาจากแป้งข้าวเจ้านวดกับน้าเชื่อม แล้วเอาไปทอด มลี ักษณะเหนียวและอมน้ามัน • ขนมคอเป็ด ทาจากแป้งข้าวเจ้าผสมกับแป้งข้าวเหนียว นวดรวมกับไข่ไก่ รีดเป็นแผ่น ตัดเป็นช้ินๆ เอา ไปทอด สกุ แล้วเอาไปเคล้ากบั น้าตาลโตนดที่เคยี่ วจนเหนยี วขน้ • ขนมคนที ทาจากใบคนที ผสมกับแป้งและนา้ ตาล นง่ึ ใหส้ กุ คลุกกบั มะพรา้ วขูด จิม้ กบั น้าตาลทราย • ขนมกอแหละ ทาจากแป้งข้าวเจ้ากวนกับกะทิและเกลือ เทใส่ถาด โรยต้นหอม ตัดเป็นชิ้นๆ โรยหน้า ด้วย มะพร้าวขูดควั่ กงุ้ แหง้ ป่น และน้าตาลทราย • ขนมก้านบัว ทาจากข้าวเหนียวน่ึงสุก นาไปโขลกด้วยครกไม้จนเป็นแป้ง รีดให้แบน ตากแดดจนแห้ง ตดั เปน็ รปู สี่เหลีย่ มผนื ผ้า ทอดให้สุก ฉาบดว้ ยน้าเชือ่ ม

• ขา้ วเหนียวเชงา เป็นขา้ วเหนยี วน่ึงสกุ ตาผสมกับงาและนา้ ตาลทราย • ข้าวเหนียวเสือเกลือก คล้ายข้าวโพดคลุกของภาคกลางแต่เปลี่ยนข้าวโพดเป็นข้าวเหนียวนึ่งสุกและใส่ กะทิด้วย • ข้ีหมาพองเช มีลักษณะเป็นก้อนๆ ทาจากข้าวเหนียวค่ัวสุกจนเป็นสีน้าตาล ตาให้ละเอียดเคล้ากับ มะพรา้ วขูด นา้ ตาลโตนดท่ีเค่ียวจนขน้ เคล้ให้เขา้ กนั ดี แล้วป้ันเป็นก้อน • ขนมดาดา เป็นขนมของชาวไทยมุสลิม ใช้ในโอกาสเดียวกับฆานม ประกอบด้วยข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ผสมน้าบดใหล้ ะเอยี ด นาไปละเลงในกระทะที่มนี ้ามันร้อนๆ พับให้เป็นแผ่น กินกับน้าตาลเหลว • ขนมกรุบ นิยมทากันในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แป้งข้าวเหนียวนวดกับน้าอุ่น นาไปรีดให้แผ่บางบน ใบตอง นาไปนงึ่ แล้วตากแดดให้แหง้ แล้วทอดให้กรอบคลกุ กบั น้าตาลทีเ่ คี่ยวเป็นยางมะตมู • ขนมก้องถึง่ ทาจากถวั่ ลสิ งคัว่ คลุกกับน้าตาลร้อนๆ แลว้ ใชไ้ มท้ ุบให้ละเอยี ดจนเป็นแผ่น ตดั เปน็ ชิ้น • ขนมด้วง ทาจากแป้งมันและแป้งข้าวจ้าว นวดด้วยน้าดอกมะลิ ป้ันเป็นก้อนยาวขนาดประมาณสี่ เซนติเมตร นาไปนึ่ง เม่อื สกุ ใหน้ ามาจดั จาน โดยโรยดว้ ยมะพรา้ วขดู หรือนา้ ตาลทราย ขนมในพิธีกรรมและงานเทศกาล ขนมไทยมีส่วนร่วมในวิถีชีวิตไทยในทุกเทศกาลและโอกาสต่างๆ แสดงให้เห็นถึงความผูกพันและเป็น ส่วนสาคัญของวัฒนธรรมไทยต้ังแต่สมัยโบราณ ขนมที่ใช้ในงานเทศกาลและพิธีกรรมต่างๆของไทยตลอดท้ังปี สรปุ ได้ดังน้ี ขนมไทยในงานเทศกาล • งานตรุษสงกรานต์ ทพี่ ระประแดง และราชบรุ ี ใช้กะละแมเปน็ ขนมประงานตรุษ[12] [13] • สารทไทย เดือน 10 ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ใช้กระยาสารทเป็นขนมหลัก นอกจากน้ัน อาจมี ข้าวยาคู ข้าวมธุปายาส ข้าวทิพย์ ส่วนทางภาคใต้ จะมี ขนมสารทเดือนสิบ โดยใช้ขนมลา ขนมพอง ขนมท่อน ใต้ ขนมบ้า ขนมเจาะหูหรือขนมดีซา ขนมต้ม (ข้าวเหนียวใส่กะทิห่อใบกะพ้อต้ม ต่างจากขนมต้มของ ภาคกลาง) ยาสาด (กระยาสารท) ยาหนม (กะละแม) [12] โดยขนมแตล่ ะชนิดท่ใี ช้มคี วามหมายคือ ขนม พอง เป็นแพพาข้ามห้วงมหรรณพ ขนมกงหรือขนมไข่ปลา เป็นเครื่องประดับ ขนมดีซาเป็นเงินเบี้ย สาหรับใช้สอย ขนมบา้ ใชเ้ ป็นลูกสะบา้ ขนมลาเปน็ เส้ือผ้าแพรพรรณ [14] • เทศกาลออกพรรษา การตักบาตรเทโว เดือน 11 นิยมทาข้าวต้มผัดห่อด้วยใบตองหรือใบอ้อย ธรรม เนียมนี้มาจากความเช่ือทางศาสนาที่ว่า เม่ือประชาชนไปรอรับเสด็จพระพุทธเจ้าเมื่อทรงพุทธดาเนิน จากเทวโลกกลับสู่โลกมนุษย์ ณ เมืองสังกัสสะ ชาวเมืองท่ีไปรอรับเสด็จได้นาข้าวต้มผัดไปเป็นเสบียง ระหวา่ งรอ บางท้องทม่ี ีการทาข้าวต้มลูกโยนใสบ่ าตรด้วยเชน่ ชาวไทยเชื้อสายมอญท่จี งั หวัดราชบุรี • ในช่วงออกพรรษา ที่จงั หวัดนครศรีธรรมราชมีประเพณลี ากพระและตักบาตรหน้าล้อ ซึง่ จะใช้ขนมสอง ชนิดคือ ห่อต้ม (ข้าวเหนียวผัดกะทิห่อเป็นรูปสามเหล่ียมด้วยใบพ้อ) และห่อมัด (เหมือนห่อต้มแต่ห่อ ด้วยใบจากหรือใบมะพรา้ วออ่ นเปน็ รูปสี่เหลยี่ มใช้เชอื กมดั )

• ในช่วงถือศลี อดในเดอื นรอมฎอน ชาวไทยมสุ ลิมนิยมรับประทานขนมอาเก๊าะ • เดือนอ้าย มีพระราชพิธีเล้ียงขนมเบ้ือง เม่ือพระอาทิตย์โคจรเข้าราศีธนู นิมนต์พระสงฆ์ 80 รูป มาฉัน ขนมเบ้อื งในพระที่นัง่ อมรินทรวนิ จิ ฉยั • เดือนอ้ายในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีประเพณีให้ทานไฟ โดยชาวบ้านจะก่อไฟและเชิญพระสงฆ์มาผิง ไฟ ขนมท่ีใช้ในงานน้ีมี ขนมเบื้อง ขนมครก ขนมกรอก ขนมจูจุน กล้วยแขก ข้าวเหนียวกวน ขนมกรุบ ข้าวเกรียบปากหม้อ ) • เดือนสาม ทางภาคอีสานมปี ระเพณีบุญข้าวจี่ ซ่ึงจะทาข้าวจี่ไปทาบญุ ท่ีวดั • ชาวไทยมสุ ลมิ มีประเพณกี วนขนมอาซรู อในวนั ที่ 10 ของเดือนมูฮรอม ขนมไทยในพธิ กี รรมและความเช่ือ • การสะเดาะเคราะหแ์ ละแกบ้ นของศลิ ปินวายัง-มะโยง่ ของชาวไทยมสุ ลมิ ทางภาคใต้ ใช้ขา้ วเหนียวสามสี (ขาว เหลือง แดง) ขา้ วพอง (ฆแี น) ขา้ วตอก (มือเตะ) รา (กาหงะ) และขนมเจาะหู (ลีงอโตะ๊ แว) • ในพิธีเข้าสุหนตั ขน้ึ บ้านใหม่ แตง่ งาน นาเรอื ใหม่ลงน้า ชาวไทยมุสลิมนิยมทาขนมฆานม • ขนมที่ใช้ในงานแต่งงาน ในภาคกลางนอกกรุงเทพฯออกไปจะมีขนมกงเป็นหลัก นอกจากนั้นมีทองเอก ขนมชะมด ขนมสามเกลอ ขนมโพรงแสม ขนมรงั นก บางแหง่ ใช่ขนมพระพายและขนมละมุดก็มี ในบาง ท้องถิ่น ใช้ กะละแม ข้าวเหนียวแดง ขา้ วเหนยี วแกว้ ขนมช้นั ขนมเปียก ขนมเปี๊ยะ ถา้ เปน็ ตอนเชา้ ยัง ไม่ถึงเวลาอาหาร จะมีการเล้ียงของว่างเรียก กินสามถ้วย ได้แก่ ข้าวเหนียวน้ากะทิ ข้าวตอกนากะทิ ลอดชอ่ งน้ากะทิ บางแหง่ ใช้ มนั น้ากะทิ เมด็ แมงลกั นา้ กะทิ[20] บางท้องถน่ิ ใชข้ นมต้มดว้ ย • พิธีแต่งงานของชาวไทยมุสลิม จะมีพิธีกินสมางัตซึ่งเป็นการป้อนข้าวและขนมให้เจ้าบา่ วเจ้าสาว ขนมที่ ใช้มี กะละแมหรือขนมดอดอย ขนมก้อหรือตูปงปตู ู ขนมลาและขา้ วพอง • ขนมที่ใช้ในงานบวชและงานทอดกฐินของชาวไทยเชื้อสายมอญในจังหวัดราชบุรีได้แก่ ขนมปลาหาง ดอก และลอดช่องน้ากะทิ • ในงานศพ ชาวไทยเชือ้ สายมอญในจงั หวดั ราชบุรนี ิยมเล้ียงเมด็ แมงลักน้ากะทิ • การบูชาเทวดาในพิธีกรรมใดๆ เช่น ยกเสาเอก ต้ังศาลพระภูมิใช้ขนมต้มแดง ขนมต้มขาว เป็นหลักใน เครื่องสังเวยชุดธรรมดา ชดุ ใหญเ่ พม่ิ ข้าวตอก งาคัว่ ถว่ั ทอง ฟกั ทองแกงบวด ในพิธที าขวัญจุกใช้ขนม ต้มขาวต้มแดงด้วยเช่นกัน เครื่องกระยาบวชในการไหว้ครูเพื่อทาผงอิทธิเจ ใช้ขนมต้มแดงต้มขาว เช่นกัน • พธิ เี ลีย้ งผีของชาวไทยเช้ือสายมอญในจงั หวดั ราชบรุ ใี ช้ ขนมบวั ลอย ขนมทอด • ขนมท่ีใช้ในพิธีไหว้ครูมวยไทยและกระบี่กระบอง ได้แก่ แกงบวด (กล้วย เผือกหรือมัน) เผือกต้ม มัน ตม้ ขนมต้มแดงต้มขาว ขนมช้ัน ถ้วยฟู ฝอยทอง เม็ดขนนุ • ในการเลน่ ผหี ิ้งของชาวชอง บนห้งิ มขี นมต้ม

ขนมที่มีชือ่ เสยี งเฉพาะถิน่ • กรงุ เทพมหานคร เขตธนบุรีมขี นมฝรง่ั กุฎีจนี เขตปทุมวันมขี นมกลีบลาดวน • จังหวดั จนั ทบุรีและจังหวดั ตราด มที ุเรยี นกวน • จงั หวดั ฉะเชิงเทรา มีขนมชนั้ • จงั หวดั ชลบรุ ี ตลาดหนองมน มขี ้าวหลาม • จงั หวัดชุมพร มีขนมข้าวควายลยุ • จังหวดั ตรัง มี ขนมเค้กเมอื งตรงั • จงั หวัดนครปฐม มขี นมผิงและข้าวหลาม • จงั หวดั นครสวรรค์ มีขนมโมจิ ขนมฟกั เขยี วกวน • จังหวดั นครพนม มีขนมโซเซ • จงั หวัดปราจนี บรุ ี มขี นมเขียว • จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่วนใหญ่เป็นผลไม้เชื่อม ผลไม้กวน เช่น มะยมเช่ือม พุทรากวน ท่ีตาบล ทา่ เรอื มขี นมบา้ บิน่ • จังหวัดพทั ลุง มขี นมก้านบัว • จงั หวดั พษิ ณุโลก อาเภอบางกระทมุ่ มีกลว้ ยตาก • จงั หวัดเพชรบุรี เป็นแหลง่ ท่ีมขี นมหวานทมี่ ชี ่ือเสยี งมานาน โดยเฉพาะขนมท่ที ามาจากนา้ ตาลโตนดเช่น จาวตาลเชื่อม โตนดทอด ตังเม ส่วนขนมชนิดอื่นท่ีมีชื่อเสียงตั้งแต่สมัยรัชกาลท่ี 4 เป็นต้นมาคือ ขนม ขหี้ นู ข้าวเกรยี บงา ขนมหมอ้ แกง • จังหวัดสตลู มี ขนมบหุ งาบูดะ ขนมโรตีกาปาย และข้าวเหนยี วกวนขาว • จังหวัดสมุทรปราการ มีขนมจาก • จังหวดั สมทุ รสงคราม มขี นมจา่ มงกุฎ • จังหวดั สงิ ห์บรุ ี มีมะม่วงกวนหรือสม้ ล้ิม • จงั หวดั สุพรรณบุรี อาเภอบางปลาม้า มีขนมสาลี่ • จงั หวัดอา่ งทอง อาเภอวเิ ศษชัยชาญ มีขนมเกสรลาเจยี ก • จงั หวดั อตุ รดิตถ์ มีขนมเทียนเสวย ข้าวหลามทุ่งย้งั • จังหวดั อุทัยธานี หนองแก มขี นมกง ขนมปงั สงั ขยา • จังหวดั อบุ ลราชธานี ขา้ วหลาม

ขนมไทยที่ได้รับอทิ ธิพลจากขนมของชาตอิ ืน่ ไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติต่างๆ มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น วัตถุดิบที่ หาได้ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนการบริโภคแบบไทย จนทาให้คนรุ่นหลัง แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมท่ีเป็น ไทยแท้ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอนื่ เชน่ ขนมทใ่ี ชไ้ ขแ่ ละขนมที่ต้องเข้าเตาอบ ซงึ่ เข้ามาใน รัชสมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากคณุ ทา้ วทองกีบม้าภรรยาเช้ือชาติญี่ปุ่น-โปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเย นทร์ ผู้เป็นกงสุลประจาประเทศไทยในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทองมาเท่าน้ัน หากยงั ให้ความสาคัญกับขนมเหล่านโี้ ดยใช้เป็นขนมมงคลอีกด้วย สว่ นใหญ่ตารับขนมที่ใส่ไข่มักเป็น \"ของเทศ\" เชน่ ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส ขนมไทยในงานมงคล 9 อยา่ ง “ขนมไทย” เอกลักษณ์ของความเป็นไทย นอกจากจะมีความงดงามวิจิตร ละเอียดอ่อน พิถีพิถัน ในทกุ ขั้นตอนการทาแลว้ ยังมรี สชาติทีอ่ รอ่ ย หอมกลิ่นพชื พรรณจากธรรมชาติ และกลน่ิ อบรา่ ควันเทยี น อีกท้ัง ขนมแต่ละชนิดยังมีชื่อเรียกที่บ่งบอกถึงคุณค่าและแฝงไปด้วยคว ามหมายอันเป็นสิริ มง คล คาว่า “มงคล”หมายถึง ส่ิงท่ีนามาซึ่งความดีงามและความเจริญรุ่งเรือง ส่วน “ขนมมงคล” หมายถึง ขนมไทยท่ีนาไปใช้ประกอบเคร่ืองคาวหวาน ถวายพระ เลี้ยงแขก ในงานพิธีมงคลต่างๆ เช่น งาน มงคลสมรส งานบวช หรอื งานขนึ้ บ้านใหม่ เป็นต้น โดยจะตอ้ งเลอื กใช้เฉพาะขนมไทยทม่ี ีชื่อไพเราะและเป็นสิริ มงคล ดังเช่น 1. ทองหยบิ เปน็ ขนมมงคลชนดิ หนงึ่ มีลกั ษณะงดงามคล้ายดอกไม้สที อง ต้องใชค้ วามสามารถและความพถิ ีพถิ นั เป็น อย่างมากในการประดิษฐป์ ระดอย จบั กลบี ใหม้ ีความงดงามเหมือนกลีบดอกไม้ ชือ่ ขนมทองหยิบเป็นชื่อสิริ มงคล เชอ่ื ว่าหากนาไปใช้ประกอบพิธีมงคลต่างๆ หรอื ให้เป็นของขวัญแก่ใครแลว้ จะทาให้เกดิ ความมั่งคัง่ ร่ารวย หยบิ จับการงานส่งิ ใดกจ็ ะร่ารวย มเี งินมีทองสมดังชอ่ื “ทองหยิบ”

2. ทองหยอด ใช้ประกอบในพธิ ีมงคลทั้งหลายหรือมอบเป็นของขวญั ในโอกาสสาคญั ๆแกผ่ ู้ใหญ่ทเ่ี คารพรกั หรือญาตสิ นิท มติ รสหายแทนคาอวยพรให้ร่ารวยมีเงนิ มที อง ใช้จ่ายอย่างไมร่ ูห้ มดส้นิ ประดุจใหท้ องคาแกก่ ัน 3. ฝอยทอง เปน็ ขนมในตระกูลทองที่มีลกั ษณะเป็นเส้น นิยมใชก้ ันในงานมงคลสมรส ถือเคล็ดกันว่าห้ามตดั ขนมให้สน้ั ตอ้ งปล่อยใหเ้ ป็นเส้นยาวๆ เพ่ือท่ีคู่บ่าวสาวจะไดค้ รองชีวิตคู่ และ รกั กนั ไดอ้ ย่างยืนยาวตลอดไป 4. ขนมชั้น เป็นขนมไทยท่ีถือเปน็ ขนมมงคลและจะต้องหยอดขนมชั้นให้ได้ 9 ช้นั เพราะ คนไทยมคี วามเชื่อว่า เลข 9 เปน็ เลขสริ ิมงคล หมายถงึ ความเจริญกา้ วหน้า และ ขนมชนั้ ก็หมายถงึ การได้เล่ือนชนั้ เลอ่ื น ยศถาบรรดาศกั ดิใ์ หส้ ูงสง่ ยิ่งๆ ขึ้นไป

5. ขนมทองเอก เป็นขนมในตระกูลทองอีกชนิดหน่ึงที่ตอ้ งใช้ความพิถพี ิถันเ ปน็ อยา่ งยิง่ ในทกุ ข้นั ตอนการทา มลี กั ษณะที่สงา่ งาม โดดเดน่ กว่าขนมตระกลู ทองชนดิ อืน่ ๆ ตรงท่ีมที องคาเปลว ติดไว้ที่ดา้ นบนของขนม คา วา่ “เอก” หมายความถงึ การเป็นท่ีหนง่ึ การใชข้ นมทองเอกประกอบพิธีมงคลสาคัญตา่ งๆ หรอื ใชม้ อบเปน็ ของขวัญในงานฉลองการเลอ่ื นยศ เลอื่ นตาแหนง่ จงึ เปรยี บเสมือนคาอวยพรให้เป็นที่หน่ึงด้วย 6. ขนมเม็ดขนนุ เป็นหนงึ่ ในขนมตระกูลทองเชน่ กัน มสี ีเหลืองทอง รปู ร่างลกั ษณะคล้ายกบั เม็ดขนนุ ข้างในมีไส้ทาด้วยถว่ั เขยี วบด มคี วามเช่ือกนั วา่ ช่ือของขนมเม็ดขนุนจะเป็นสิริมงคลชว่ ยให้มคี นสนบั สนุนหนนุ เน่อื งในการดาเนิน ชวี ติ และในหนา้ ที่การงานหรอื กิจการต่างๆ ทีไ่ ด้กระทาอยู่ 7. ขนมจ่ามงกฎุ เป็นขนมทีท่ ายาก มีข้ันตอนในการทาสลับซับซ้อน นยิ มทากนั เพ่ือใชป้ ระกอบพธิ ีการที่สาคัญจรงิ ๆ คา วา่ “จ่ามงกฎุ ” หมายถึง การเปน็ หวั หน้าสงู สุด แสดงถึงความมเี กยี รติยศสูงส่ง นยิ มใชเ้ ปน็ ของขวัญในงานเล่ือน ยศ เล่อื นตาแหนง่ ถอื เปน็ การแสดงความยนิ ดแี ละอวยพรให้มีความก้าวหนา้ ในหน้าท่กี ารงานยงิ่ ๆ ข้ึนไป

8. ขนมถ้วยฟู ใหค้ วามหมายอนั เปน็ สิริมงคล หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองเฟื่องฟู นยิ มใช้ประกอบในพิธีมงคลตา่ งๆ ทุกงาน เคลด็ ลบั ของการทาขนมถว้ ยฟใู ห้มีกลน่ิ หอมน่ารบั ประทานน้นั คอื การใชน้ ้าดอกไม้สดเป็นสว่ นผสมและการอบ รา่ ด้วยดอกมะลิสดในข้นั ตอนสดุ ทา้ ยของการทา 9. ขนมเสนห่ ์จนั ทน์ “จันทน์” เป็นต้นไมช้ นดิ หนึง่ มผี ลสุกสเี หลอื งเปล่งปล่งั ทงั้ สวยงามและมีกลน่ิ หอมชวนให้หลงใหล คน โบราณจงึ นา ความมเี สน่หข์ องผลจันทน์มาประยุกตท์ าเปน็ ขนม และได้นา “ผลจนั ทนป์ ่น” มาเปน็ ส่วนผสมทา ให้มกี ลิ่นหอมเหมือนผลจันทน์ ใหช้ ื่อวา่ “ขนมเสนห่ ์จันทน์” โดยเช่ือว่าคาวา่ เสนห่ จ์ นั ทน์ เปน็ คาที่มสี ิรมิ งคล จะทาให้มเี สนห่ ์ คนรกั คนหลงดังเสนห่ ข์ องผลจันทน์ ขนมเสน่ห์จันทน์จงึ ถกู นามาใชป้ ระกอบในงานพธิ มี งคล สมรส

เทคนคิ ในการทาขนม การทาขนมหวานไทยให้ดี ต้องประกอบด้วยปัจจัยหลายอย่าง คือ ต้องมีใจรัก ชอบทามีความอดทน ตงั้ ใจมคี วามพิถีพิถนั ในการประดิษฐ์ให้ขนมมรี ูปรา่ งท่นี ่ารับประทาน ขนมหวานไทยบางชนิดต้องฝึกทาหลายๆ ครั้งจงึ จะได้ลักษณะท่ดี ี ประสบการณ์ และความชานาญในการทาบอ่ ย ๆ ผู้ประกอบขนมหวานไทย จะประสบ ความสาเร็จในการทา การทาขนมหวานไทยของคนรุ่นก่อนๆ จะใช้การกะส่วนผสมจากความเคยชินท่ีทาบ่อย ๆ สัดส่วนของขนมจะไม่แน่นอน และยังเป็นการถ่ายทอดความรู้ให้กันเฉพาะภายในครอบครัวเท่านั้น แต่ใน ปัจจบุ นั ขนมหวานไทยได้ววิ ัฒนาการใหท้ ัดเทียมกับขนมนานาชาติ มีสตู รที่แนน่ อน มสี ดั ส่วนของสว่ นผสม และ วิธีทาท่ีบอกไว้อย่างชัดเจน ผ้ปู ระกอบขนมหวานไทยเปน็ ที่จะต้องใช้อุปกรณท์ ่ีเป็นมาตรฐานในการช่ัง การตวง มีถ้วยตวง ช้อนตวง ใช้ภาชนะให้ถูกต้องกับชนิดของอาหาร เช่น การกวนจะใช้กระทะทองดีกว่าหม้อ หรือ กระทะเหล็ก การทอดใช้กระทะเหล็กดีกว่ากระทะทอง ทาตามตารับวิธีทาขั้นตอน อุณหภูมิที่ใช้ในการทา ตลอดจนเลอื กเคร่อื งปรงุ ทีใ่ หม่ การทาขนมไทยควรคานงึ ถึงสิ่งตอ่ ไปนี้คือ ๑. อปุ กรณ์ในการทาขนม ๒. เครื่องปรงุ ต่าง ๆ ๓. เวลา ๔. สูตร เครอ่ื งปรงุ และวิธีการทาขนม ๕. ชนดิ ของขนม ๖. วธิ ีการจัดขนม

บรรณานกุ รม ประวัตขิ นมไทย.สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 28 กรกฎาคม 2556 จากเว็บไซต์: http//:www.ezythaicooking.com/thai_dessert_recipes.html มณี ทองคา. (2555). ตารบั ขนมไทยชาววัง. กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์ส่อื สขุ ภาพ. รมั ภา ศริ ิวงศ.์ (2552). ขนมไทย. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพด์ วงกมลพับลชิ ชง่ิ . ศรสี มร คงพันธ์ุ. (2533). ขนมไทย(เลม่ 1). กรุงเทพฯ: ศูนยก์ ารพิมพพ์ ลชัย. ศรสี มร คงพนั ธ,ุ์ มณี สวุ รรณผ่อง และอัจฉรา ชนิ าลยั . (2534). ขนมไทย2. กรุงเทพฯ: ศนู ย์การพมิ พพ์ ลชัย. ขนมไทย. (2553). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แสงแดด. เ ส้นทางขนมไทย กาเนดิ และวิวัฒนาการขนมไทยต้ังแต่สมัยสุโขทยั จนถึงปจั จบุ นั . (2553). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพแ์ สงแดด.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook