Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมาภิบาล กองการศึกษา

ธรรมาภิบาล กองการศึกษา

Published by sueksa756, 2021-12-09 07:27:51

Description: ธรรมาภิบาล กองการศึกษา

Search

Read the Text Version

ธรรมาภบิ าล กองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งเขลางคน์ คร Good Governance ความ นติ ธิ รรม คมุ้ คา่ คณุ ธรรม ความ ความ โปรง่ ใส รับผดิ ชอบ การมี สว่ นรว่ ม

สารบัญ : Content ความสาคญั ของธรรมาภบิ าล หนา้ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย 1 การขบั เคล่อื นธรรมาภบิ าล 2 ธรรมาภบิ าลกองการศึกษา 4–7 หลกั นิติธรรม 8 หลักคุณธรรม 9 – 10 หลกั ความโปร่งใส 11 – 13 หลักการมีสว่ นรว่ ม 14 – 16 หลักความรบั ผิดชอบ 17 – 19 หลักความคมุ้ ค่า 20 – 22 เป้าหมายการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ดี ี 23 – 26 27

ธรรมาภบิ าล 1 ความสาคัญของธรรมาภิบาล “ธรรมาภิบาล” เป็นแนวคิดที่อยู่ใน รฐั ธรรมนญู เพือ่ ให้ผู้ปกครองหรือผู้บริหาร ไ ด้ ใ ช้เป็น เครื่ องมื อ ใ นการ ยึ ด ถื อ เป็ น หลักการสาคัญในการบริหารองค์กรทุกระดับ ทุกประเภท ถ้าหากไม่มีธรรมาภิบาล ผู้ปกครองคงจะเป็นคนลุแก่อานาจ ไม่มี หลักไม่มีเกณฑ์ใดๆ จนกระท่ังการนาพา องค์กรเกิดความล้มเหลว ไม่ ประสบ ความสาเรจ็ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ใหก้ ารรบั รองหลกั การของธรรมาภิบาลหรือ หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ผ่านการ กาหนดเปน็ นโยบายแหง่ รัฐ ในมาตรา 76

ธรรมาภบิ าล 2 รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย มาตรา 76 “รัฐ พึ งพัฒ นาระบบการบริ หาร ราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่น ให้เป็นไปตาม “หลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี” โดยหน่วยงานของรัฐต้องร่วมมือและ ช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การ บริหารราชการแผ่นดิน การจัดทาบริการ สาธารณะ และการใช้จ่ายเงินงบประมาณ มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน รวมตลอดท้ังพัฒนาเจ้าหน้าที่ของ รัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็น ผู้ให้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติและปฏิบัติหนา้ ที่อย่าง มีประสิทธิภาพ ....”

ธรรมาภบิ าล 3 การขบั เคลือ่ นธรรมาภิบาลผ่านกลไกภาครฐั 01 ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 02 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การตอ่ ต้านการทจุ ริตและ ประพฤติมิชอบ 03 แผนการปฏิรปู ประเทศ 04 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2564)

ธรรมาภิบาล 4 ทาไมองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ต้องขับเคลื่อนธรรมาภิบาล ? “องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ” มี อ า น า จ ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ก า ร จัดบริการสาธารณะข้ันพื้นฐานให้แก่ ประชาชนในแต่ละท้องถิ่น มีผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภา ท้องถิ่นที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน ใ น ท้ อ ง ถิ่ น เ ป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ก า ร บริหารงานภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย สามารถบริหารการเงิน การคลัง และการพัสดุ กาหนดนโยบายของตนเอง มีรายได้ งบประมาณ และบุคลากรของ ตนเอง

ธรรมาภบิ าล 5 ทาไมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องขับเคลือ่ นธรรมาภิบาล ? “องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น” กฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทต่างๆ ยังได้ บัญญัติถึงอานาจหน้าที่ ว่าการปฏิบัติงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้อง เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน และใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รวมทั้งต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดทางบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน และการเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสาร โดยให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ

ธรรมาภบิ าล 6 ทาไมองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ตอ้ งขบั เคลือ่ นธรรมาภิบาล ? “องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ” ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ ก ร ะ ท ร ว ง มหาดไทยกาหนด ประกอบกับพระราช กฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 52 บัญญัติให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทาหลกั เกณฑ์การบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ ดี ตามแนวทางอย่างน้อย 2 หมวด ได้แก่ หมวด 5 การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน และ หมวด 7 การอานวยความสะดวก และ ตอบสนองความต้องการของประชาชน โดย มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วย กากับดูแล และให้ความช่วยเหลือองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดทาหลักเกณฑ์ การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี

ธรรมาภบิ าล 7 ทาไมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตอ้ งขับเคลื่อนธรรมาภิบาล ? “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ดาเนินกิจกรรมสาธารณะตามที่ กฎหมายบัญญัติ เพื่อประโยชน์ของรัฐ และของประชาชนในท้องถิ่นโดยตรง ซึ่ง ถือเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาท้องถิ่น ที่นาไปสูก่ ารพัฒนาทัว่ ทัง้ ประเทศ

ธรรมาภิบาล 8 “ธรรมาภิบาล กองการศึกษา”

1. หลักนิติธรรม ธรรมาภบิ าล 9 กองการศึกษา ใช้อานาจและ บริหารงานตามกฎหมาย และระเบียบ รวมถึงข้อบังคับต่างๆ ที่มีอยู่ โดยเคร่งครัด และไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ รวมทั้งการจดั ทาบริการ ส า ธ า ร ณ ะ ด า เ นิ น ก า ร อ ย่ า ง เ ท่ า เ ที ย ม ทั้งนีค้ านึงถึง 2 องคป์ ระกอบย่อย ไดแ้ ก่ 1) นิติธรรม (Rule of Law) 2) ความเสมอภาค (Equity)

ธรรมาภบิ าล 10 ตัวอยา่ ง ข้อแนะนาทีค่ วรคานงึ ในการบริหารงานและปฏิบัติหนา้ ท่ี  Do’s หัวหน้าส่วนราชการและบุคลากร ของกอง การศึกษาปฏิบัติหน้าที่และบังคับใช้กฎหมาย ในการ บริหารงานบุคคล การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น การตรา ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ การบริหารการเงิน การคลัง การ พัสดุ และการจัดบริการสาธารณะ ฯลฯ ให้เป็นไป ตาม กฎหมาย ระเบียบ และข้อบงั คับทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั อปท.  Don’ts กองการศึกษา ดาเนินงานโดยไม่คานึงถึง กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ เห็นแก่ประโยชน์ของตนเอง และพวกพ้อง มีการแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือใช้ดุลพินิจนอกเหนือจากที่กฎหมาย กาหนดในการบริหารงานและจัดบริการสาธารณะ เช่น เรียกรับผลประโยชน์ เพ่ือให้ได้เป็นผู้รับจ้างจัดงานของ กองการศกึ ษา

2. หลักคุณธรรม ธรรมาภบิ าล 11 กองการศึกษา พึงมีจิตสานึก ความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ โดยยึดม่นั ในศีลธรรม คุณธรรม ยึดมั่น ในประมวล จริยธรรมของ ท้องถิ่น รวมถึงมาตรฐานและจรรยาบรรณแห่ง วิชาชีพ โดยคานึงถึงประโยชน์สุขของ ป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ห ลั ก ส า คั ญ ท้ั ง นี้ คานึงถึง 2 องคป์ ระกอบย่อย ได้แก่ 1) การปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม มาตรฐาน และจรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพ 2) การปฏิบัติตามหลักการ ขัดกันแหง่ ผลประโยชน์

ธรรมาภบิ าล 12

ธรรมาภบิ าล 13 ตัวอยา่ ง ขอ้ แนะนาทีค่ วรคานงึ ในการบริหารงานและปฏิบัติหนา้ ท่ี  Do’s ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รักษาเกียรติศักด์ิของตาแหน่ง กากับดูแลพฤติกรรม ของผู้ใต้บังคับบัญชาให้อยู่ในกรอบแนวทางที่สมควร ไม่ละเมิดมาตรฐานทางจริยธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มี กลไก/กิจกรรมด้านคณุ ธรรมจริยธรรมให้กบั บุคลากร  Don’ts หัวหน้าส่วนราชการและบุคลากรของกอง การศึกษาละเลยไม่ให้ความสาคัญในการปฏิบัติตาม มาตรฐานทางจริยธรรม ประมวลจริยธรรม จรรยา วิชาชีพ ขาดความเที่ยงธรรม ไม่ดารงตนต้ังมั่นอยู่ใน ศีลธรรม ขาดการเสียสละ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ ยึดถือประโยชน์ตนมากกว่าประโยชน์ประชาชน เช่น ใชเ้ วลาราชการเพ่อื ประกอบกิจสว่ นตัว มาปฏิบตั ิงาน สายกลับก่อนเวลาเป็นประจา ปฏิบัติต่อบุคลากร อยา่ งไม่เท่าเทียมกัน

ธรรมาภบิ าล 14 3. หลักความโปร่งใส บุ ค ล า ก ร ข อ ง ก อ ง ก า ร ศึ ก ษ า มี ค ว า ม ซื่อสัตย์สุจริต ตรงไปตรงมา รวมถึงมีวัฒนธรรม และค่านิยมขององค์กรที่ให้ความสาคัญ กับการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารและส่ือสารกับประชาชน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้รับทราบถึงขอ้ มลู ตา่ งๆ อย่าง สม่าเสมอเป็นปัจจุบัน และจัดให้มีการวางระบบ เพ่ือให้ประชาชน และภาคส่วนอื่นๆ ในสังคม สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของกอง การศึกษาได้โดยง่าย มีความชัดเจน เป็นระบบ เป็ น ที่เข้ า ใ จ รั บ รู้ แ ละคา ดกา ร ณ์ได้ ข อ ง ประชาชน ซึ่งคานึงถึงความโปร่งใส 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการบรหิ ารการเงิน การคลัง และการพสั ดุ 2) ด้านการบริหารงานบคุ คล 3) ดา้ นการจัดบริการสาธารณะ/การ บริการประชาชน

ธรรมาภบิ าล 15

ธรรมาภบิ าล 16 ตวั อย่าง ข้อแนะนาทีค่ วรคานงึ ในการบริหารงานและปฏิบตั ิหนา้ ท่ี  Do’s ก อ ง ก า ร ศึ ก ษ า มี ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น บุคคลที่ได้มาตรฐาน โปร่งใส ตรวจสอบได้ ครอบคลุม ทุกประเด็น เช่น การสรรหา ย้าย/โอน เล่ือนขั้น/ระดับ ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ทุนการศึกษา/การมอบหมาย งานตามสายงาน  Don’ts กองการศึกษาไม่ประกาศหลักเกณฑ์ การ เลื่อนข้ัน/เลือ่ นตาแหนง่ /ค่าจ้างล่วงหน้า ไม่แจ้งผลการ ประเมินประเภทต่างๆ ให้ผู้ถูกประเมิน/ผู้เข้ารับ การ คัดเลือกทราบ และไม่เปิดเผยตาแหน่งและจานวน อัตราวา่ งเพื่อให้เกิดการย้าย/โอนที่โปร่งใส หรือหากมี การเปิดเผย ก็จะประกาศให้ทราบในวงจากัดเท่านั้น ให้อานาจเฉพาะคนของตนเทา่ น้นั

4. หลกั การมีส่วนรว่ ม ธรรมาภบิ าล 17 การปฏิบัติงานของกองการศึกษา ยึดหลักการกระจายอานาจและการมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจ โดยเปิด โอกาสให้ ผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนในท้องถ่ินได้รับรู้ เรียนรู้ และรว่ มแสดงความคิดเห็น หรือเสนอ ปัญหา และประเด็นต่างๆ ที่จาเป็นต้องได้รับ การแก้ไขและพัฒนา นอกจากนั้นประชาชน ยังต้องมีส่วนร่วม ในการดาเนินการ และร่วม ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น โ ด ย มี 2 องค์ประกอบย่อย ไดแ้ ก่ 1) การมีส่วนรว่ ม/การพยายาม แสวงหาฉันทามติ 2) การกระจายอานาจ

ธรรมาภิบาล 18

ธรรมาภิบาล 19 ตวั อย่าง ขอ้ แนะนาทีค่ วรคานงึ ในการบริหารงานและปฏิบตั ิหนา้ ท่ี  Do’s กองการศึกษา ส่งเสริม/สนับสนุน/เปิด โอกาส ให้บุคลากรในสังกัด เข้าร่วมในการ ดาเนินงานในกิจกรรมสาธารณะ และบริการ สาธารณะผ่านการเป็นคณะกรรมการ คณะทางาน และอาสาสมัครประเภทต่าง ๆ  Don’ts กองการศึกษา คัดเลือก / แต่งต้ังบุคคล ที่ไม่เหมาะสมทางสายงาน หรือมีคุณวุฒิ วัยวุฒิ ไม่เหมาะสมกับภารกิจ หรือเลือกเฉพาะพวกพ้อง ของตนเอง

ธรรมาภบิ าล 20 5. หลกั ความรบั ผิดชอบ การปฏิบัติงานของกองการศึกษา มุ่งให้การทางานมีคณุ ภาพ สร้างความเชื่อมั่น ไว้วางใจ และตอบสนองต่อความคาดหวัง ของประชาชน ตลอดจนผมู้ ีส่วนไดเ้ สียภายใน ท้องถ่ิน หากการทาหน้าที่นั้นเกิดปัญหาหรือ ข้อขัดข้อง กองการศึกษาสามารถตอบ คาถาม และอธิบายให้ทราบถึงรายละเอียด เกี่ยวกับประเด็นปัญหาเหล่าน้ัน รวมท้ัง กอง การศึกษา ยังมีการจัดทาระบบการรายงาน ความก้าวหน้า และผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมาย โดยคานึงถึง 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) ความรบั ผดิ ชอบ 2) การตอบสนอง

ธรรมาภบิ าล 21

ธรรมาภบิ าล 22 ตวั อยา่ ง ข้อแนะนาทีค่ วรคานงึ ในการบริหารงานและปฏิบตั ิหนา้ ท่ี  Do’s กองการศึกษา มีการประเมินบุคคล โดย คานึงถึงผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ในตาแหน่งที่ ปฏิบัติ และประโยชน์ที่หน่วยงานได้รับจากการ ปฏิบัติงานของพนักงานสว่ นท้องถิน่ ผู้นั้น ตามประกาศ หลกั เกณฑก์ ารบริหารงานบุคคลที่ กท. กาหนด  Don’ts กองการศึกษา กาหนดตาแหน่งในส่วน ราชการต่าง ๆ ตามโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ไมเ่ หมาะสมกบั ภารกิจอานาจหนา้ ที่ ความรับผดิ ชอบ ลักษณะงาน และปริมาณงาน ขาดการเชื่อมโยงผล การปฏิบัติงานตามตาแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบ กับแรงจูงใจหรือการให้คุณให้โทษ เช่น การ ประเมินผลบุคคลไม่มีการพิจารณาตามภาระงาน หรือผลงาน แตป่ ระเมนิ ตามความพอใจเนื่องจากเปน็ บุคคลใกลช้ ิด หรือพรรคพวก

6. หลกั ความค้มุ ค่า ธรรมาภบิ าล 23 การปฏิบัติงานของกองการศึกษา มี ก า ร ก า ห น ด วิ สั ย ทั ศ น์ เ ชิ ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ตลอดจนเป้าหมายและพันธกิจที่ชัดเจน โดย มีลักษณะที่ตอบสนองต่อความคาดหวังของ บุคลากร และประชาชน นอกจากนี้การ ปฏิบัติงานตามเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ ดังกล่าว ยังคานึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่าง ประหยัดและคุ้มค่า รวมถึงใช้ระยะเวลา ในการดาเนินการที่รวดเร็ว และเหมาะสม โดยคานึงถึง 2 องค์ประกอบยอ่ ย ได้แก่ 1) ประสิทธิผล 2) ประสิทธิภาพ

ธรรมาภิบาล 24

ประสทิ ธผิ ล ธรรมาภบิ าล 25 1 01 มีการจดั ทาแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ท่ีมุ่งตอบสนองความตอ้ งการประชาชน 2 มีแนวทางการปฏิบัติงานทีท่ าให้บรรลเุ ปา้ หมาย ประสทิ ธิภาพ ความประหยดั 1 รวดเรว็ 2 3 มาตรฐานและการพัฒนา คณุ ภาพการให้บริการ

ธรรมาภบิ าล 26 ตวั อย่าง ข้อแนะนาทีค่ วรคานงึ ในการบริหารงานและปฏิบตั ิหนา้ ท่ี  Do’s กองการศึกษา นาระบบบริหารจัดการ สมัยใหม่มาใช้ โดยมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือโทรคมนาคมตามความเหมาะสม และกาลังงบประมาณ ในการปฏิบัติหน้าที่และ ขับเคล่ือนภารกิจต่างๆ เพ่ือช่วยลดข้ันตอน เพ่ิม ประสิทธิภาพ ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการดาเนินงาน โดยไมเ่ กดิ ผลเสียหายแกภ่ ารกิจ  Don’ts ก อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ไ ม่ ค า นึ ง ถึ ง ล า ดั บ ความสาคัญและความจาเป็นเร่งด่วน ขาดการ วางแผนที่ดี ขาดการสื่อสารทาความเข้าใจกับ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดาเนินงาน บรรลุผลตามภารกิจ เพิ่มภาระขั้นตอนในการ ทางานให้แก่บุคลากร โดยไม่คานึงถึงความคุ้มค่า และประหยดั ทรัพยากร

ธรรมาภบิ าล 27

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook