Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร

Published by charantorn.0702, 2021-02-02 04:54:00

Description: ระบบย่อยอาหารและอวัยวะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหาร

Keywords: วิทยาศาสตร์ ป.6

Search

Read the Text Version

ระบบย่อยอาหาร (Digestive Ststem) จดั ทาํ โดย นางสาวชรลั ธร จนั ทนมลู ตรี รหัสนักศึ กษา 62040111118

Ç·Ô ÂÒÈÒʵÏ ».6 by ครบู ิว

ยนิ ดตี ้อนรบั เขา้ สกู่ ารเรยี นรู้ เรอื ง ระบบยอ่ ยอาหาร

อาหารประเภทต่างๆทีเราบรโิ ภคโดยเฉพาะ สารอาหารทีใหพ้ ลังงานแก่รา่ งกาย คือ คารโ์ บไฮเดรตโปรตีนและไขมนั ล้วนแต่มี โมเลกลุ ขนาดใหญ่เกินกวา่ ทีจะลําเลียงเขา้ สู่ เซลล์สว่ นต่างๆของรา่ งกายได้ ยกเวน้ วติ ามนิ และเกลือแรซ่ งึ มอี นภุ าคขนาดเล็ก จงึ จาํ เปนต้องมอี วยั วะและกลไกการทํางาน ต่างๆทีจะทําใหโ้ มเลกลุ ของสารอาหาร เหล่านันมขี นาดเล็กลงจนสามารถลําเลียง เขา้ สเู่ ซลล์ได้ เรยี กวา่ “ การยอ่ ย ”

การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถงึ การยอยอาหาร การทําใหส้ ารอาหารทีมีโมเลกลุ ขนาดใหญก่ ลาย (Digestion) เปนสารอาหารทีมีโมเลกลุ เล็กลง จนกระทัง แพร่ผา่ นเยอื หุม้ เซลลไ์ ด้ การยอ ยเชงิ กล(Mechanical Digestion) คือการบดเคี้ยวอาหารโดย ฟน เปน การเปลย่ี นแปลงขนาดโมเลกลุ ทําใหสารอาหารมขี นาดเลก็ ลง การยอยเชิงเคมี (Chemical Digestion) คอื การเปลีย่ นแปลงขนาด โมเลกุลของสารอาหารโดยใชเอนไซมท ่ีเก่ยี วขอ งทําใหโมเลกุลของสาร อาหารเกิดการเปลยี่ นแปลงทางเคมไี ดโมเลกลุ ทีม่ ีขนาดเลก็ ลง

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) เม่อื มนุษยรบั ประทานอาหารเขาสูรา งกาย จะผา นระบบตา ง ๆ ดงั น้ี ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาํ ไสเล็ก ลาํ ไสใหญ ของเสยี ออกทางทวารหนัก

อวัยวะที่ ตอมนา้ํ ลาย (Salivary Gland) ผลติ นํา้ ยอยอะไมเลส (Amylase) หรือไทยาลนิ (Ptyalin) ยอย เกยี่ วของกบั แปง ใหเปนน้ําตาลมอลโทส กระเพาะอาหาร (Stomach) ผลติ นํา้ ยอยเพปซิน ยอ ยโปรตนี ใหเ ปนโปรตนี สายสนั้ (เพปไทด) การยอย และ นา้ํ ยอ ยเรนนนิ ยอยโปรตนี ในนมใหเปน โปรตีนเปน ลิ่ม ๆ ลาํ ไสเ ลก็ (Small Intestine) ผลติ นํ้ายอ ยมอลเทส ยอ ยนํา้ ตาลมอลโทสใหก ลายเปนนา้ํ ตาล กลูโคส น้าํ ยอยซเู ครส ยอ ยนา้ํ ตาลซโู ครสใหเ ปน น้าํ ตาลกลูโคสและนา้ํ ตาลฟรกั โทส นา้ํ ยอ ยแลก เทส ยอ ยน้ําตาลแลกโทสใหเปนน้าํ ตาลกลโู คสและนํ้าตาลกาแลกโตส นํ้ายอ ยอะมโิ นเพปทิเดส ยอ ยโปรตนี สายสน้ั ใหเปนกรดอะมิโน ตบั (Liver) ผลิตน้ําดี ยอยไขมนั ใหเปนไขมนั แตกตัวเปน เมด็ เล็ก ๆ ตบั ออ น (Pancreas) ผลติ นํ้ายอ ยลิเพส ยอ ยไขมันแตกตัวใหเปนกรดไขมนั และกลเี ซอรอล นา้ํ ยอ ยทริปซนิ ยอยโปรตีนใหเ ปน พอลิเพปไทดแ ละไดเพปไทด น้ํายอ ยคารบ อกซเิ พปพิเดส ยอยเพป ไทดใหเปฯกรดอะมโิ น น้าํ ยอ ยอะไมเลส ยอ ยเชน เดียวกบั น้าํ ยอ ยอะไมเลสในปาก

ต่อมนาลายต่อมนาลาย (Silvary Gland) เปนต่อมมที ่อ ทําหน้าที ต่อมนาํ ลาย ผลิตนาลาย (Saliva) ต่อมนาลายของคนมอี ยู่ 3 คู่ คือ 1. ต่อมนาลายใต้ลิน (Sublingual Gland) 1 คู่ 2. ต่อมนาลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1 คู่ 3. ต่อมนาลายขา้ งกกหู (Parotid Gland) 1 คู่ ต่อมนาลายทัง 3 ค่นู ี ทําหน้าทีสรา้ งนาลายทีมเี อนไซมอ์ ะไมเลส ซงึ เปนเอนไซมท์ ียอ่ ยสารอาหารจาํ พวกแปงเท่านัน ความสําคัญของนาลาย เปนตัวหล่อลืน และทําให้อาหารรวมกันเปนก้อน เรยี กวา่ โบลัส (Bolus)ชว่ ยทําความสะอาดปากและฟนมเี อนไซมช์ ว่ ยยอ่ ยแปง ชว่ ยทําให้ปุมรบั รสตอบสนองต่อรสหวาน รสเค็ม รสเปรยี ว และ รสขมได้ดี

การย่อยในปาก เรมิ่ ต้นจากการเคียวอาหารโดยการทํางานรว่ มกันของ ฟน ลิน และแก้ม ซงึ ถือเปนการยอ่ ยเชงิ กล ทําให้อาหารกลายเปนชนิ เล็ก ๆ มพี นื ทีผวิ สัมผสั กับ เอนไซมไ์ ด้มากขึน ในขณะเดียวกันต่อมนาลายก็จะหลังนาลายออกมาชว่ ย คลกุ เคล้าให้อาหารเปนก้อนลืนสะดวกต่อการกลืน เอนไซมใ์ นนาลาย คือ ไท ยาลิน หรอื อะไมเลสจะยอ่ ยแปงในระยะเวลาสัน ๆ ในขณะทีอยูใ่ นชอ่ งปากให้ กลายเปนเดกซท์ รนิ (Dextrin) ซงึ เปนคารโ์ บไฮเดรตทีมโี มเลกลุ เล็กกวา่ แปง แต่ใหญ่กวา่ นาตาล และถูกยอ่ ยต่อไปจนเปนนาตาลโมเลกลุ คู่ คือ มอลโตส

กระเพาะ อาหาร ประกอบขนึ ด้วยกล้ามเนือเรยี บทีอดั กันหนามาก ด้านในมี ลักษณะเปนสันชว่ ยในการบดอาหารให้มขี นาดเล็กลงอกี ผนังด้านในสามารถสรา้ งเอนไซมเ์ พปซโิ นเจน (Pepsinogen) และกรดไฮโดรคลอรกิ หรอื กรดเกลือ (HCI) เพปซโิ นเจนจะถกู กรดเกลือเปลียนสภาพให้กลายเปนเอน ไซมเ์ พปซนิ (Pepsin) ซงึ มคี วามสามารถในการยอ่ ยโปรตีน ให้มโี มเลกลุ เล็กลง เรยี ก่า เพปไทด์ (Peptide) แต่ยงั ไม่ สามารถดดู ซมึ ได้

อาหารจะถกู คลกุ เคล้าอยใู่ นกระเพาะดว้ ยการหดตัว และคลายตวั ของ การยอ่ ยใน กลา้ มเนอื ทแี ข็งแรงของกระเพาะ โปรตนี จะถูกยอ่ ยในกระเพาะ โดยนํา กระเพาะ ยอ่ ยเพปซิน ซึงยอ่ ยพนั ธะบางชนดิ ของเพปไทด์เท่านัน ดังนนั โปรตีนที ถกู เพปซินยอ่ ยสว่ นใหญจ่ ึงเปนพอลิเพปไทด์ทีสันลง ส่วนเรนนนิ ช่วย อาหาร เปลยี นเคซนี (Casein) ซงึ เปนโปรตีนในนาํ นมแล้ว รวมกบั แคลเซยี ม ทาํ ให้มลี กั ษณะเปนลมิ ๆ จากนนั จะถกู เพปซินย่อยตอ่ ไป ในกระเพาะอาหาร นาํ ยอ่ ยลิเพสไมส่ ามารถทํางานได้ เนอื งจากมีสภาพ เปนกรด โดยปกตอิ าหารจะอยใู่ นกระเพาะอาหารนาน 30 นาทีถึง 3 ชวั โมง ซงึ ขึนอย่กู ับชนิดของอาหารนัน ๆ กระเพาะอาหารก็มีการดูดซึมอาหารบางชนิดได้ แต่ปรมิ าณน้อยมาก เชน่ นํา แร่ธาตุ นาํ ตาลโมเลกุลเดียว กระเพาะอาหารดดู ซึม แอลกอฮอลไ์ ด้ดี อาหารโปรตีน เช่น เนือววั ย่อยยากกวา่ เนอื ปลา ในการปรงุ อาหารเพือ ให้ย่อยง่าย อาจใชก้ ารหมกั หรือใส่สารบางอยา่ งลงไปในเนอื สตั วเ์ หลา่ นนั เช่น ยางมะละกอ หรอื สับปะรด

ลําไส้เล็ก ลําไส้เล็ก เปนทางเดินอาหารส่วนทียาวมาก แบง่ เปน 3 ส่วน คือ ดโู อดีนัม เจจนู ัม และไอ เลียม ทีผนังลําไส้เล็กสามารถสรา้ งนายอ่ ยขนึ มาได้ ซงึ มหี ลายชนิด นอกจากนัน ทีลําไส้เล็กส่วนดโู อดีนัม ยงั ได้รบั นายอ่ ยจากตับออ่ น และนาดีมาจากตับ นา ยอ่ ยจากตับออ่ นมหี ลายชนิดทีสามารถยอ่ ยคารโ์ บไฮเดรต โปรตีนและไขมนั ได้การยอ่ ยอาหารในลําไส้เล็ก 1.ยอ่ ยนาตาลโมเลกลุ คู่ ให้เปนนาตาลโมเลกลุ เดียว ดังนี - มอลโทส โดยเอนไซมม์ อลเทส ได้กลโู คส 2 โมเลกลุ - ซูโครส โดยเอนไซมซ์ ูเครส ได้กลโู คส และฟรกั โทส - แลกโทส โดยเอนไซมแ์ ลกเทส ได้กลโู คส และกาแลกโทส 2. ยอ่ ยสารอาหารโปรตีนต่อจากกระเพาะอาหาร ได้แก่ เพปไทด์โดยเอนไซม์ ทรปิ ซนิ ได้กรดอะมโิ น ซงึ เปน โปรตีนโมเลกลุ เดียว 3. ยอ่ ยไขมนั โดยเอนไซม์ ลิเพส จะยอ่ ยไขมนั โมเลกลุ เล็ก ( emulsified fat ) ให้เปนไขมนั โมเลกลุ เดียว ได้แก่ กรดไขมนั และกลีเซอรอล

ลําไส้ใหญ่ การดดู ซมึ อาหารทียอ่ ยแล้วส่วนใหญ่เกิดขึนทีผนัง ลําไส้เล็ก ส่วนอาหารทีไมถ่ ูกยอ่ ยหรอื ยอ่ ยไมไ่ ด้ เชน่ เซลลโู ลส ก็จะถูกส่งไปยงั ลําไส้ใหญ่ ส่วนต้นของ ลําไส้ใหญ่มไี ส้เล็ก ๆ ปลายตัน เรยี กวา่ ไส้ติง ไส้ติงของ คนไมไ่ ด้ทําหน้าทีอะไรแต่ก็อาจเกิดการอักเสบถึงกับ ต้องผา่ ตัดไส้ติงออกไป ซงึ อาจเกิดจากการอาหารผา่ น ชอ่ งเปดลงไป หรอื เส้นเลือดทีไปเลียงไส้ติงเกิดการอุด ตัน อาหารทีเหลือจากการยอ่ ยและดดู ซมึ แล้วจะผา่ น เข้าสู่ลําไส้ใหญ่ ลําไส้ใหญ่มแี บคทีเรยี อยูจ่ ํานวนมาก ซงึ จะใชป้ ระโยชน์จากกากอาหารนีจึงทําให้กากอาหารข้น ขึน จนเปนก้อนกากอาหารจะผา่ นไปถึงไส้ตรง ท้ายสุด ของไส้ตรงเปนกล้ามเนือหูรูดแข็งแรงมาก มลี ักษณะ เปนวงรอบปากทวารหนักทําหน้าทีบบี ตัวในการขับถ่าย และผนังภายในลําไส้ใหญ่จะขับเมอื กออกมาหล่อลืน ก้อนอาหาร

ทขีเอขบา้ รคว่ ณุ ม!

谢谢Thank you


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook