Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานไตรมาส 1-2 ปี 2564 กศน.ตำบลเว่อ

รายงานไตรมาส 1-2 ปี 2564 กศน.ตำบลเว่อ

Published by Atchalalak Chareonjit, 2021-06-11 07:29:02

Description: รายงานไตรมาส 1-2 ปี 2564 กศน.ตำบลเว่อ

Search

Read the Text Version

หนา้ 1

คานา รายงานผลการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ กศน.ตาบล (ระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม 2563 –31 มีนาคม 2564) จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการดาเนินงานของ กศน.ตาบล ท่ีจัดกิจกรรมให้ สอดคลอ้ งเช่ือมโยงกบั นโยบายเรง่ ด่วน และจุดเนน้ การดาเนินงานของสานกั งาน กศน. การออกแบบการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ยึดหลักการสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนในแต่ละบริบทของชุมชนและทิศทางการพัฒนาชุมชน เพ่ือ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเสริมสร้างและเติมเต็มโอกาสทางการศึกษาให้กับ กลุ่มเป้าหมายในตาบล ให้ได้รับการศึกษาตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน นาไปสู่สังคมแห่งการ เรียนรู้ และการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยการจัดกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ ซึ่งสามารถดาเนินการจัด กศน. ได้ อยา่ งครบวงจร (PDCA) ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานผลการดาเนินงาน รอบ 6 เดือน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของ กศน.ตาบล (วันที่ 1 ตุลาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564) ฉบับน้ีจะนาไปสู่การปฏิบัติงานท่ีประสบผลสาเร็จตาม เปา้ หมายท่ีวางไว้ และพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ดีย่ิงขึ้นไป และจะนาผล จากการประเมินผลสมั ฤทธ์ขิ องงานในครง้ั นี้ไปเปน็ แนวทางในการจดั การศกึ ษาและพัฒนาของกศน.ตาบล ต่อไป กศน.ตาบลเวอ่ มีนาคม 2564 หน้า 2

สารบัญ เร่อื ง หนา้ คานา สารบัญ สว่ นท่ี 1 บทนา (ขอ้ มลู พ้ืนฐาน) 3 สว่ นท่ี 2 ผลการดาเนินงานจุดเน้นงาน กศน. 22 ส่วนท่ี 3 ผลการขับเคลื่อนการดาเนนิ งาน กศน.ตาบล 29 - งบดาเนนิ งาน ผลผลติ ที่ 4 ผู้รบั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ - งบดาเนนิ งาน ผลผลิตที่ 5 ผ้รู บั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั - งบดาเนนิ งาน โครงการสนับสนุนกิจกรรมการศึกษาระดบั ขั้นพื้นฐาน - งบรายจา่ ยอน่ื โครงการขบั เคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยง่ั ยนื - งบรายจ่ายอน่ื โครงการยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทลั ส่วนท่ี 4 งานอนื่ ๆ 57 - งานภาคเี ครือขา่ ย - ศนู ย์ส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย ส่วนท่ี 5 ภาคผนวก 60 -รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในระบบ DMIS - แบบรายงานผลการใช้งบประมาณตามผลผลติ /โครงการ งบดาเนินงาน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอน่ื -รายงานในระบบ DMIS หน้า 3

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐาน หน้า 4

ส่วนท่ี 1 บทนา ส่วนท่ี 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพนื้ ฐาน 1. ด้านกายภาพ 1.1 ทต่ี ั้งของตาบล ตาบลเว่อ มเี นอ้ื ท่ี 14,200 ไร่ อยหู่ า่ งจากตัวอาเภอยางตลาด ประมาณ 17 กิโลเมตร และห่างจากตวั จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ประมาณ 36 กโิ ลเมตร โดยทางรถยนต์ มีอาณาเขตตดิ ต่อดงั น้ี ทศิ เหนือ จรด ตาบลหัวหนิ อาเภอห้วยเม็ก จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ทศิ ใต้ จรด ตาบลโนนสะอาด อาเภอหว้ ยเม็ก จงั หวดั กาฬสินธุ์ ทิศตะวนั ออก จรด ตาบลเขาพระนอน อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธ์ุ ทิศตะวนั ตก จรด ตาบลโนนสะอาด อาเภอหว้ ยเม็ก จงั หวัดกาฬสินธ์ุ แบ่งการปกครองออกเปน็ 11 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ หมูท่ ่ี หมทู่ ี่ 1 บา้ นหนองเสือ หมทู่ ่ี 2 บ้านห้วยเตย หมทู่ ่ี 3 บา้ นหว้ ยเตยใต้ หมทู่ ่ี 4 บา้ นห้วยเตยเหนอื หมทู่ ่ี 5 บ้านหว้ ยเตยกลาง หมู่ที่ 6 บ้านหว้ ยเตยคา หมู่ท่ี 7 บา้ นโคกสาราญ หมูท่ ่ี 8 บา้ นปา่ ติว้ หมูท่ ี่ 9 บา้ นศรีสาราญ หมู่ท่ี 10 บา้ นคาเจริญ หมู่ที่ 11 บ้านห้วยเตยหลานปู่ สานกั งานองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลเวอ่ (จดั ตง้ั เป็นองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลตามประกาศลงวันท่ี 23 เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2540 ปัจจบุ ันเปน็ องค์การบริหารส่วนตาบลขนาดกลาง) ต้ังอยู่ เลขท่ี 194 หมทู่ ่ี 11 ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ 46120 - โทรศพั ท์ 043 – 840759 - โทรสาร 043 – 840759 1.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ สภาพพ้ืนท่ตี าบลเว่อ เปน็ ทร่ี าบและลูกคลืน่ ลอนลาดเลก็ น้อย มีความสงู เฉลย่ี 170-200 เมตร จาก ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง โดยพ้ืนท่รี าบมีความลาดชนั 0-2 เปอร์เซ็นต์ มเี น้ือท่ี 2,458 ไร่ หรือร้อยละ 17.31 ของ เนอื้ ทีต่ าบล ซง่ึ เป็นราบลุ่มใช้ทานา พื้นทสี่ ่วนใหญ่อยู่ตอนกลางของตาบล สภาพพ้ืนที่เป็นลกู คล่นื ลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชนั 2-5 เปอรเ์ ซน็ ต์ มเี น้อื ท่ี 10,986 ไร่ หรือร้อยละ 77.37 ของเนือ้ ที่ตาบล พื้นทสี่ ว่ นใหญ่อยู่ทัว่ ไปท้งั ตาบล โดยเป็นทล่ี ุม่ ใชท้ านา 3,983 ไร่ หรือร้อยละ 28.05 ของเนื้อทีต่ าบล เป็นท่ดี อนใชป้ ลูกไมย้ ืนต้น และพชื ไร่ 7,003 ไร่ หรอื ร้อยละ 49.32 ของเน้ือทต่ี าบลพน้ื ทีส่ ว่ นทเี่ หลือจากทก่ี ลา่ วมาแลว้ ได้แกช่ ุมชน และแหล่งน้า มีเน้ือที่ 560 และ 196 ไร่ หรือรอ้ ยละ 3.94 และ 1.38 ของเนอ้ื ทีต่ าบล ตามลาดบั หน้า 5

1.3 ลกั ษณะภมู ิอากาศ สภาพภมู ิอากาศ เปน็ แบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู แบ่งฤดกู าลออกเปน็ 3 ฤดู คอื ฤดูฝน เรม่ิ ประมาณเดือนพฤษภาคมถงึ ตน้ เดือนตลุ าคม ฤดูหนาว เริ่มในชว่ งกลางเดือนตลุ าคมถึงกลางเดือนกมุ ภาพันธ์ ฤดูรอ้ น เร่มิ ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธก์ ลางเดือนเมษายน 1.4 ลกั ษณะของดิน ดนิ จะแยกเป็น 2 ลักษณะ คือ ดนิ ในท่ลี ุ่ม และดินในทดี่ อน (1) ดนิ ในทล่ี มุ่ ดนิ ในท่ลี ุม่ การระบายนา้ ค่อนขา้ งเลวถึงเลว มเี นื้อท่ี 766 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 5.39 ของเนื้อท่ี ทง้ั หมด เปน็ กลุ่มชดุ ดินทเ่ี ป็นดินรว่ นลกึ มากสเี ทาทเี่ กดิ จากวตั ถุต้นกาเนดิ ดินพวกตะกอนลาน้า พบบริเวณพ้ืนทล่ี ุม่ ตะกอนนา้ พาทเี่ ปน็ ส่วนตา่ ของสนั ดินรมิ น้า มสี ภาพพื้นท่รี าบเรยี บหรอื ค่อนขา้ งราบเรยี บ มนี ้าแช่ขงั ในฤดูฝนการระบาย น้าค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณต์ ามธรรมชาติตา่ มีน้าไหลบา่ ท่วมขังสูงในฤดูฝนการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ในปัจจุบนั ใช้ทา นา เนื้อท่ี 3,862 ไร่ หรือร้อยละ 27.20 ของเนื้อที่ทง้ั หมด เป็นกลุม่ ชดุ ดนิ ที่เปน็ ดินร่วนลึกมาก สีเทาท่เี กดิ จากวตั ถตุ ้นกาเนิดดนิ พวกตะกอนลาน้า พบบรเิ วณพื้นท่ลี มุ่ ตะกอนนา้ พาท่ีเป็นสว่ นต่าของสันดนิ ริมน้า มี สภาพพ้นื ที่เป็นลูกคลืน่ ลอนลาดเลก็ นอ้ ย มีน้าแชข่ งั ในช่วงฤดูฝนการระบายน้าค่อนขา้ งเลว ความอดุ มสมบูรณ์ตาม ธรรมชาตติ า่ มนี ้าไหลบา่ ท่วมขังสงู ในฤดูฝนการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ในปัจจบุ นั ใช้ทานา เนื้อท่ี 1,692 ไร่ หรอื ร้อยละ 11.92 ของเนอื้ ท่ีทัง้ หมด เปน็ กลมุ่ ชุดดนิ ท่ีเปน็ ดนิ ร่วนหยาบลกึ มากสี เทาท่ีเกิดจากวัตถุตน้ กาเนดิ ดินพวกตะกอนลานา้ หรอื เคลื่อนยา้ ยมาทับถมของวัสดเุ นื้อหยาบ พบในบรเิ วณพน้ื ที่ลุม่ ราบเรียบหรือค่อนขา้ งราบเรียบหรอื พน้ื ที่ลุ่มระหวา่ งเนินมีน้าแชข่ ังในชว่ งฤดูฝน การระบายนา้ คอ่ นข้างเลว ความอดุ ม สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่า บางพ้นื ท่ีพบในพืน้ ท่ลี ุ่มตา่ มนี ้าไหลบา่ ท่วมขังสูงในฤดฝู น พบในพ้นื ที่ค่อนขา้ งดนิ ทาใหเ้ ส่ยี ง ตอ่ การขาดแคลนน้าหรือได้รับผลกระทบความเค็มจากพ้ืนที่ใกล้เคียง การใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินในปัจจุบันใช้ทานาบางแห่ง ยังคงสภาพเป็นป่า เนอ้ื ท่ี 121 ไร่ หรือร้อยละ 0.85 ของเน้อื ที่ทงั้ หมด เปน็ กลมุ่ ชุดดินทีเ่ กิดจากวัตถตุ น้ กาเนิดดนิ พวก ตะกอนลาน้า หรอื เคลอ่ื นย้ายมาทบั ถมของวสั ดเุ น้อื หยาบ พบในบรเิ วณท่ีเป็นลกู คลน่ื ลอนลาดเลก็ น้อย มีน้าแช่ขังในช่วง ฤดฝู น การระบายน้าค่อนขา้ งเลว ความอุดมสมบรู ณ์ตามธรรมชาติต่า บางพ้ืนทีม่ ชี ั้นทรายหนา 50-100 เซนตเิ มตร จากผวิ ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดนิ ในปัจจุบันใชท้ านา (เป็นดินทรายจดั ซ่งึ จดั เป็นดนิ ท่ีมปี ัญหาในการเพาะปลกู ) (2) ดนิ ในทดี่ นิ เนอื้ ที่ 3,984 ไร่ หรือรอ้ ยละ 28.06 ของเน้ือทท่ี ้ังหมด เปน็ กลุ่มชุดดินทเ่ี ปน็ ดินร่วนหยาบ ลึกมากทเ่ี กิดจากการทบั ถมของตะกอนลาน้า หรือจากการสลายตัวผพุ ังอย่กู บั ทีห่ รอื เคล่อื นยา้ ยมาทับถมของพวกวัสดุ เน้ือหยาบ มสี ภาพพื้นทเ่ี ปน็ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอ้ ยเปน็ ดินลึกมาก มีการระบายนา้ ดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ ตามธรรมชาติต่า บางพื้นท่ีอาจพบรังมากในช่วงความลกึ 100-150 เซนตเิ มตรจากผิวดนิ การใชป้ ระโยชน์ท่ีดินใน ปจั จุบนั ปลกู พชื ไรต่ ่างๆ เชน่ มันสาประหลงั อ้อยและถัว่ บางแห่งมสี ภาพเป็นป่าละเมาะ หรอื ท่งุ หญ้าธรรมชาติ เนอื้ ท่ี 2,784 ไร่ หรือรอ้ ยละ 19.35 ของเนื้อท่ีท้งั หมด เปน็ กลมุ่ ชุดดนิ ทเี่ ปน็ ดินรว่ นหยาบลึกมากท่ี เกดิ จากการทับถมของตะกอนลานา้ หรอื จากการสลายตัวผผุ ังอย่กู บั ท่ีหรือเคล่ือนยา้ ยมาทบั ถมของพวกวัสดุเน้ือหยาบ มีสภาพเป็นลูกคลน่ื ลอนลาดเล็กน้อยเป็นดนิ ลกึ มากมกี ารระบายน้าดถี ึงปานกลาง ความอดุ มสมบรู ณต์ ามธรรมชาติต่า บางพ้นื ท่ีอาจพบลกู รังมากในช่วงความลึก 100-150 เซนตเิ มตรจากผวิ ดิน การใช้ประโยชนท์ ี่ดินในนาขา้ ว มกั ทาให้ เกดิ ปญั หาการขาดน้า หน้า 6

เน้อื ที่ 271 ไร่ หรอื ร้อยละ 1.91 ของเนื้อที่ทงั้ หมด เป็นกลมุ่ ชุดดินทีม่ ีชน้ั ทราบหนาปานกลางและ หนามาก ได้แก่ การระบายนา้ ดีปานกลาง ลักษณะดนิ อนื่ ๆ มีปัญหาในการทานามาก เนื่องจากมชี ้นั ทรายหนากกั เกบ็ น้า ในการทานายาก เนอื้ ที่ 756 ไร่ หรอื ร้อยละ 5.32 ของเน้ือท่ีทั้งหมด ไดแ้ ก่ชมุ ชนและแหล่งนา้ ดินมีปัญหาหรอื ดนิ มีข้อจากัดมากในการเพาะปลกู พืช ตาบลเวอ่ ประกอบดว้ ย ดินทรายจดั จะมีความสามารถในการอุ้มน้าและดดู ซบั ธาตุอาหารของดินต่าถึงต่ามาก ธาตุ อาหารท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อพชื สญู เสยี ไปในดินช้นั ล่างหรือออกไปนอกพนื้ ทไ่ี ด้งา่ ย เม่ือมีการให้น้าหรอื มีฝนตก เมือ่ ฝนท้ิง ช่วงพชื จะแสดงอาการขาดนา้ เช่นเหีย่ วเฉา หรืออาจตายได้ แนวทางแกไ้ ข การใช้ประโยชน์ของพชื บรเิ วณนี้ ควรเลอื กชนิดพืชทม่ี ศี ักยภาพเหมาะสมมา มกี ารปรบั ปรงุ บารุงดนิ ร่วมกับมีระบบการอนรุ ักษ์ดินและนา้ เชน่ ปุ๋ยหมัก อัตรา 1-4 ตนั ตอ่ ไร่ ปุย๋ คอก 1-2 ตันตอ่ ไร่ หรือปุ๋ยพืชสด อตั ราเมล็ดพันธ์ุ 5-10 กโิ ลกรมั ต่อไร่ รว่ มกับป๋ยุ เคมแี ละใช้วสั ดุคลุมดิน ทาคนั ดนิ ปลกู หญา้ แฝกหรือปลูก พชื เปน็ แถบสลับ พฒั นาแหล่งนา้ ไวใ้ ชใ้ นช่วงท่พี ืชขาดน้า การใช้ปยุ๋ เคมคี วรใช้ทลี ะน้อยแต่บอ่ ยคร้งั เพอื่ ลดการสญู เสยี ธาตอุ าหารลงไปในช้ันดนิ ลา่ งก่อนที่พืชจะนาไปใช้ได้ เมือ่ มีการให้น้าหรือมีฝนตก สาหรบั ในพนื้ ทล่ี ุ่มนอกจากการใช้ปุ๋ย อนิ ทรีย์รว่ มกบั ปยุ๋ เคมีและมีการพฒั นาแหลง่ นา้ ไว้ใชแ้ ล้ว ควรมกี ารตีและไถกลบตอซังขา้ วด้วยจะเป็นการช่วยเพิ่มปุย๋ อินทรยี ใ์ ห้กบั ดนิ อีกทางหนง่ึ 1.5 ลักษณะของแหล่งน้า 1.5.1 แหล่งน้าธรรมชาติ แหลง่ นา้ ธรรมชาตทิ ่สี าคัญ ไดแ้ ก่ หนองบา้ น และหว้ ยใหญ่ 1.5.2 แหลง่ นา้ ทส่ี ร้างข้ึนเอง ประปาหมู่บ้าน บ่อน้าตื้น บ่อบาดาล ที่ใช้ประโยชน์ในการอุปโภคบริโภค และการปลูก พืชผัก 1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้ ตาบลเวอ่ มปี า่ ไม้ตามกฎหมายทงั้ หมด 292 ไร่ หรอื ร้อยละ 2.06 ของเนอื้ ท่ีตาบล เป็นพื้นทปี่ ่าไม้ สมบูรณ์นอกเขตปา่ สงวนมีเน้ือที่ 29 ไร่ ชนิดป่าท่ีพบเปน็ ป่าผสมผลัดใบมพี นั ธุ์ไมท้ ีส่ าคัญ ไดแ้ ก่ ไม้แดง ไม้เตง็ ไม้ ยาง ไมพ้ ยุง ไม้ตะเคยี น และไม้ตะแบก เป็นต้น 2. ดา้ นการเมอื ง/การปกครอง องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเวอ่ มจี านวนหมบู่ า้ นทง้ั หมด 11 หมูบ่ า้ น มีประชากรท้ังส้ิน 4,330 คน แยกเป็น ชาย 2,183 คน เป็นหญิง 2,133 คน และมีจานวนครัวเรือน 1,216 ครัวเรือน นับถือศาสนาพุธ 100 เปอร์เซ็นต์ ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดซื้อจัดจ้างขององค์การบริหารส่วนตาบล ประชาชนให้ความร่วมมือด้านการเลือกต้ังเป็น อย่างดี เช่น การเลือกต้ังสมาชิกสภาฯ ในปี พ.ศ. 2556 ประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้ง จานวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง นายกองค์การบริหารส่วนตาบล 2,648 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งส้ิน 3,392 คน คิดเป็นร้อยละ 78.06 จานวนผู้มาใช้สิทธิเลือกต้ังสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล 2,648 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งส้ิน 3,392 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 78.06 ปญั หาคือการแข่งขันทางการเมืองค่อนข้างสูง มีจุดที่น่าสังเกตคือ มีการย้ายเข้าย้ายออกช่วงท่ี จะมีการเลือกต้ัง ไม่ว่าจะเป็นการเลือกผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภา นายกองค์การบริหารส่วนตาบล โดยเฉ พาะ การ คัดเลือกผู้ใหญ่บ้าน การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตาบลคือ ขอความร่วมมือ ผู้นา เจ้าหน้าท่ีท่ีมีหน้าที่ รับผิดชอบให้ระมัดระวัง สอดส่องพฤติกรรมและให้รายงานอาเภอทราบ การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลท่ี ถูกต้อง เก่ียวกับข้อกฎหมายของการเลือกตั้งท่ีกระทาได้และทาไม่ได้ให้ประชาชนได้รับทราบ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น องค์การบริหารส่วนตาบลก็ได้พยายามแก้ไข โดยเร่ืองจากการประชุมประชาคมท้องถ่ินทุกหมู่บ้านในเขตองค์การ บริหารส่วนตาบล ในการจัดทาแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตาบลจากผลการประชุมทุกคร้ังท่ีองค์การบริหารส่วน ตาบลจัดขึ้น มีประชาชนสนใจเข้าร่วมประชุมรวมทั้งแสดงความคิดเห็นท่ีหลากหลาย ส่งผลให้องค์การบริหารส่วน หน้า 7

ตาบลดาเนนิ งานตามความต้องการของประชาชน และประชาชนได้รับและมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์การบริหารส่วน ตาบล นอกจากน้ี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลไดจ้ ดั โครงการอบรมศึกษา ดงู าน ของคณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภาองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบล พนักงานองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล อสม. และกรรมการชุมชน โครงการอ่ืนๆ สาหรับประชาชนอีก หลายโครงการ เพอื่ นาความร้แู ละประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั มาพัฒนาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลให้เจริญเท่าเทียมกับองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลอน่ื ๆ และองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลมโี ครงการจดั ซื้อเครื่องมือเคร่อื งใช้ในการปฏบิ ตั ิงานให้ทันสมัยและ มีประสิทธิภาพ โครงการบางโครงการต้องระงับไว้เน่ืองจากข้อจากัดด้านงบประมาณ มีอัตรากาลังพนักงานองค์การ บริหารส่วนตาบลจากัด ไม่เพียงพอต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชนในด้านบริการ โดยองค์การบริหาร สว่ นตาบลแบง่ เขตการปกครอง ดังนี้ 2.1 เขตการปกครอง หมูท่ ี่ 1 บ้านหนองเสอื ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธ์ุ หมทู่ ่ี 2 บา้ นหว้ ยเตย ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธ์ุ หมทู่ ี่ 3 บ้านหว้ ยเตยใต้ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ หมู่ที่ 4 บา้ นห้วยเตยเหนอื ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ หมทู่ ี่ 5 บ้านห้วยเตยกลาง ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ หม่ทู ่ี 6 บ้านห้วยเตยคา ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ หมทู่ ่ี 7 บา้ นโคกสาราญ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ หมู่ท่ี 8 บา้ นป่าติ้ว ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ หมทู่ ี่ 9 บ้านศรสี าราญ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ หมทู่ ี่ 10 บา้ นคาเจริญ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ หมทู่ ี่ 11 บา้ นหว้ ยเตยหลานปู่ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ 2.2 การเลือกต้งั เดมิ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลเวอ่ ไดแ้ บ่งเขตการเลือกตง้ั นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลเว่อ ท้งั องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเวอ่ 11 เขตเลือกตั้ง สมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลเวอ่ 11 เขต ดงั น้ี เขต 1 บา้ นหนองเสอื ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ เขต 2 บา้ นห้วยเตย ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ เขต 3 บา้ นหว้ ยเตยใต้ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสินธุ์ เขต 4 บา้ นห้วยเตยเหนือ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ เขต 5 บา้ นห้วยเตยกลาง ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ เขต 6 บา้ นหว้ ยเตยคา ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสินธุ์ เขต 7 บ้านโคกสาราญ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ เขต 8 บา้ นปา่ ติว้ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เขต 9 บ้านศรสี าราญ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เขต 10 บ้านคาเจรญิ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธุ์ เขต 11 บา้ นห้วยเตยหลานปู่ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธุ์ ประชาชนในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลเวอ่ สว่ นใหญ่รว่ มกจิ กรรมทางการเมืองเสมอมาและ ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลยงั มีส่วนร่วมในการบรหิ ารงาน การช่วยเหลืองานองค์การบริหารส่วนตาบล เสนอแนะในกจิ กรรมขององค์การบริหารส่วนตาบลในการดาเนินงานต่างๆ เชน่ การประชุมประชาคมในการจดั แผนพัฒนาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ประชมุ ประชาคมแก้ไขปัญหาความยากจน ฯลฯ หน้า 8

ผ้มู ีสทิ ธิเลือกตัง้ (ข้อมูลเมอ่ื วันท่ี 19 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2556) - จานวนผูม้ สี ทิ ธิเลือกต้ังนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 3,392 คน - จานวนผมู้ ีสทิ ธิเลอื กต้งั สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบล 3,392 คน จานวนผมู้ าใช้สทิ ธิเลือกตัง้ คร้งั ลา่ สดุ (พ.ศ. 2556) - จานวนผู้มาใชส้ ทิ ธิเลือกต้งั นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลเวอ่ 2,648 คน จากผู้มสี ทิ ธิเลอื กตง้ั ทั้งส้ิน 3,392 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.06 - จานวนผูม้ าใชส้ ทิ ธเิ ลือกต้ังสมาชิกองค์การบริหารสว่ นตาบลเวอ่ 2,648 คน จากผู้มสี ิทธเิ ลอื กตง้ั ท้งั สนิ้ 3,392 คน คิดเป็นร้อยละ 78.06 3. ประชากร 3.1 ข้อมูลเก่ียวกับจานวนประชากร หมทู่ ่ี ชอ่ื หมบู่ า้ น จานวนประชากร จานวนครัวเรือน ชาย หญิง รวม 1 บา้ นหนองเสอื 227 221 448 126 2 บา้ นห้วยเตย 176 180 356 97 3 บา้ นหว้ ยเตยใต้ 175 161 336 110 4 บา้ นห้วยเตยเหนือ 296 281 577 182 5 บ้านหว้ ยเตยกลาง 173 178 351 101 6 บ้านห้วยเตยคา 263 246 509 140 7 บา้ นโคกสาราญ 114 97 211 60 8 บา้ นปา่ ติ้ว 135 130 265 69 9 บ้านศรีสาราญ 216 218 434 106 10 บ้านคาเจริญ 172 172 344 93 11 บ้านห้วยเตยหลานปู่ 250 249 499 132 รวม 2,183 2,133 4,330 1,216 ขอ้ มูลจาก งานทะเบียนราษฎร์ ท่ีทาการปกครองอาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ณ เดือนมีนาคม 2559 3.2 ชว่ งอายุและจานวนประชากร ชว่ งอายุ เพศ รวม (คน) ชาย หญงิ อายตุ า่ กว่า 18 ปี 433 361 794 อายุ 18-60 ปี 1,512 1,413 2,925 อายุมากกวา่ 60 251 340 591 4. สภาพทางสังคม 4.1 การศกึ ษา จากการสารวจข้อมลู พืน้ ฐานพบว่า ประชากรอายุ 15 – 60 ปเี ต็ม รอ้ ยละ 99 อ่าน เขียนภาษไทย และคิดเลขอย่างง่ายได้ เด็กอายุ 6 – 14 ปี รอ้ ยละ 100 ไดร้ ับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ไดเ้ รียนตอ่ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 หรอื เทียบเท่า และที่ไม่ไดเ้ รียนต่อมีงานทา ร้อยละ 99 ด้านการศึกษาอยูใ่ นเกณฑท์ ด่ี ี ปัญหาคือ ยังไม่สามารถทจ่ี ะแข่งขนั กับเมอื งใหญๆ่ ได้ การแก้ปญั หาขององค์การบริหารสว่ นตาบล ได้จัดกจิ กรรมใหก้ บั เด็กของ หนา้ 9

ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก การสนบั สนุนอาหารเสริมนม อาหารกลางวนั ในหบั ทางโรงเรียนในเขตพ้นื ที่ และรว่ มกนั จัด กิจกรรมต่างๆ กบั ทางโรงเรยี น 4.2 สาธารณสุข จากการสารวจข้อมูลพ้ืนฐานพบว่า ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพท่ีดี มีการคัดกรองสุขภาพให้กับ ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในหมู่บ้าน เช่นกัน ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน โรคเอดส์ โรค ไข้เลอื ดออก มือ-ปาก-เทา้ ในเดก็ และโรคอนื่ ๆ อกี มาก มีสถติ ิเข้ารบั การรกั ษาพยาบาล ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจาปี การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตาบลและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล ได้จัดกจิ กรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสาคัญในเรื่องน้ีซ่ึงก็ได้ผลในระดับหน่ึง ประชาชน ใหค้ วามรว่ มมือเปน็ อยา่ งดี แต่ต้องเป็นการดาเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี สาหรับเด็กแรกเกิด - 6 ปี จาก การสารวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ การใช้ยาเพ่ือบาบัดอาการเจ็บป่วยท่ีไม่ เหมาะสม การออกกาลังกายยังไม่สม่าเสมอ และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ ปัญหาเหล่าน้ีองค์การ บรหิ ารส่วนตาบลพยายามอย่างยิง่ ที่จะแกไ้ ข โดยรว่ มมอื กับโรงพยาบาล สาธารณสุข จดั กจิ กรรมเพ่อื แกไ้ ขปญั หา (1) หน่วยงานด้านสาธารณสุข - โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 1 แหง่ - ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสุข สขุ ศาลา จานวน 9 แหง่ ไดแ้ ก่ 1,3,4,5,6,7,8,9,11 4.3 อาชญากรรม องค์การบริหารส่วนตาบลไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดข้ึน แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และทาลายทรัพย์สินของราชการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตาบลก็ได้ดาเนินการป้องกันการเกิดเหตุดังกล่าว จากการ สารวจข้อมูลพนื้ ฐานพบว่า สว่ นมากครวั เรือนมีการป้องกันอุบตั ิภัยอยา่ งถูกวิธี มีความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน 4.4 ยาเสพตดิ ปัญหายาเสพตดิ ในหมู่บ้านขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล จากการท่ีทางสถานีตารวจภูธรนากุงได้แจ้ง ให้กับองค์การบริหารส่วนตาบลทราบนั้นพบว่าในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลมีผู้ท่ีติดยาเสพติดแต่เม่ือเทียบกับพ้ืนท่ี อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นา ประชาชน หน่วยงานของ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลท่ีชว่ ยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจา การแก้ไขปญั หาขององค์การบริหารส่วนตาบลสามารถทาได้ เฉพาะตามอานาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้า นอกเหนือจากอานาจหน้าที่ ก็เปน็ เรื่องของอาเภอหรือตารวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตาบลก็ได้ให้ความ ร่วมมอื มาโดยตลอด 4.5 การสงั คมสงั เคราะห์ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลไดด้ าเนินการดา้ นสงั คมสงั เคราะห์ ดังนี้ (1) ดาเนนิ การจ่ายเบย้ี ยังชีพใหก้ บั ผู้สูงอายุ ผพู้ ิการ และผู้ป่วยเอดส์ (2). รับลงทะเบยี นและประสานโครงการเงินอดุ หนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกดิ (3) ประสานการทาบตั รผพู้ ิการ (4) ต้งั โครงการชว่ ยเหลอื ผูย้ ากจน ยากไร้ รายไดน้ ้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ท่ีพงึ่ 5. ระบบบริการพืน้ ฐาน ในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลมรี ะบบบรกิ ารพน้ื ฐาน ดังนี้ 5.1 การคมนาคมขนสง่ 1. ทางหลวงชนบท ผ่านหมู่ที่ 3,1,10,9,7 2. ถนนลูกรงั ภายในหมู่บ้านระยะทางรวมประมาณ 2,987 เมตร 3. ถนนคอนกรีตภายในหมูบ่ ้าน ระยะทางรวมประมาณ 11,789 เมตร 4. ถนนลาดยางภายในหมบู่ า้ น ระยะทางรวมประมาณ 122 เมตร หนา้ 10

5.2 การไฟฟ้า องค์การบริหารส่วนตาบลเว่อมกี ระแสไฟฟา้ ครบทุกหมบู่ า้ น แตไ่ ม่ครบทุกครัวเรอื น โดยเฉพาะเขตท่อี ยู่ ห่างไกลรอบนอกหมูบ่ ้าน การใหแ้ สงสวา่ งตามจดุ ตา่ ง ๆ ในเขตหมู่บา้ นยังไมม่ ีเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของประชาชน จานวนประชากรท่ีใช้ไฟฟ้าจานวนร้อยละ 99 โดยแยกได้ดงั นี้ 1. มีผใู้ ช้ไฟฟ้าทั้งหมด 1,027 ครวั เรือน 5.3 การประปา ประชากรมนี า้ ประปาใช้จานวน 1,027 ครวั เรอื น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11 องค์การบริหารสว่ นตาบลเวอ่ ยังขาดแคลนน้าด่ืมน้าใชท้ ี่สะอาด ยังต้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานอ่นื ตลอดเม่ือถงึ ฤดูแลง้ การบริการนา้ ประปายังอยใู่ นเขตเทศบาลตาบลเทา่ นัน้ มีบางหมู่บา้ นที่มีประปาหมบู่ า้ น แต่ยังไมเ่ พียงพอต่อ ความตอ้ งการ อีกทงั้ ไมม่ ีแหลง่ เกบ็ นา้ ดิบ ไวใ้ ช้นอกฤดฝู น ซ่ึงเป็นปญั หาทาให้ขาดแคลน น้าสะอาดในการ อปุ โภค บรโิ ภค องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลเว่อ มีโครงการที่จะประสานกบั หนว่ ยงานราชการที่มหี น้าที่เกี่ยวกับการ จดั ทาประปาเพื่อแก้ไขปัญหาเร่ืองนี้ตอ่ ไป 5.4 โทรศพั ท์ ส่วนใหญ่องค์การบริหารสว่ นตาบล จะใช้โทรศพั ทส์ ่วนบคุ คล 5.5 ไปรษณยี ์หรือการส่ือสารหรือการขนสง่ และวสั ดุ ครุภณั ฑ์ มีไปรษณยี ์ จานวน 1 แห่ง ใหบ้ ริการ เวลา 08.00 – 16.00 น. ในวันจันทร์ – เสาร์ (วันเสาร์ คร่งึ วัน) หยดุ วันอาทติ ย์ 6. ระบบเศรษฐกิจ 6.1 การเกษตร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชพี ดา้ นการเกษตร ครัวเรือนทที่ านาเปน็ อาชพี หลกั ลาดับแรกมีรอ้ ยละ 87.65 ของจานวนครวั เรือนทง้ั หมด ตาบลเวอ่ มพี ืชท่สี าคัญไดแ้ ก่ ขา้ ว มันสาปะหลัง ส่วนอ้อยโรงงานและไม้ผล มีเนอื้ ที่ ปลกู ไม่มากนัก และมีการเพาะปลูกพืชฤดแู ล้งหลงั การเก็บเกยี่ วข้าวนาปี ไดแ้ ก่ ขา้ วโพดหวาน ถั่วลิสงค์ พืชผกั และเห็ด ฝาง 6.2 การประมง เกษตรกรท่มี บี ่อปลาตามหวั ไร่ปลายนา ก็จะซ้ือปลามาปล่อยเล้ยี งในฤดฝู น บางรายก็จะเอาปลา ธรรมชาติท่จี ะเขา้ บ่อปลาเอง สว่ นใหญ่เลี้ยงเพือ่ บรโิ ภคในครัวเรือน 6.3 การปศสุ ัตว์ เกษตรกรเล้ียง โค กระบอื สุกร ไว้เพ่ือจาหน่วย ส่วนเป็ด ไก่ เลี้ยงเพ่อื จาหนา่ ยร้อยละ 75 และเลย้ี ง เพอื่ บรโิ ภคในครัวเรอื นรอ้ ยละ 25 เกษตรกรต้องการเลี้ยงโค กระบือมาก แตไ่ มม่ เี งินทุนในการซื้อพันธ์ุโค กระบือ เพราะมรี าคาสงู อยู่ระหวา่ งราคาตวั ละ 15,000-50,000 บาท วิธีการเล้ียงปล่อยตามหัวไรป่ ลายนา ไมต่ ้องเสีย ค่าอาหารใหแ้ ก่โคและกระบือ เกษตรกรไม่นยิ มเล้ียงสุกรนอกจากรายท่ีมโี รงสขี ้าวเปน็ ของตนเอง เพราะอาหารมรี าคา สูงและยงั ต้องเสียคา่ ใชจ้ า่ ย อาทิ คา่ พันธุ์ คา่ อาหาร อาหารเสรมิ ยาปฏิชีวนะ แต่ราคาจาหนา่ ยตา่ เกษตรกรจึงไมอ่ ยาก เสี่ยงด้านราคา จานวน โค-กระบอื และสุกรเฉล่ีย 2 ตัวตอ่ ครัวเรือน และมีการเลีย้ งสัตว์ปี เป็ด-ไก่ เฉลี่ย 15 ตัวต่อ ครัวเรอื น 6.4 การบริการ ร้านคา้ 38 แหง่ ร้านเกมส์ 2 แห่ง หน้า 11

6.5 การท่องเทย่ี ว ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเท่ียวให้เกิดข้ึนในชุมชน เชน่ การจัดงานประเพณีตา่ งๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสาหรบั ใช้พักผ่อนย่อนใจ 6.6 อุตสาหกรรม 1 ป้มั นา้ มนั ขนาดเล็ก 2 แห่ง 2 โรงงานอตุ สาหกรรม(ขนาดกลาง) 1 แห่ง 3 โรงงานอตุ สาหกรรม(ขนาดเล็ก) 7 แหง่ 4 โรงสขี า้ ว 13 แห่ง 6.7 การพาณชิ ย์และกลุม่ อาชพี กลุ่มอาชพี มีกลมุ่ อาชพี จานวน 6 กลมุ่ 1. กลมุ่ ดอกไมป้ ระดิษฐ์ หมู่ 3 2. กลุ่มทอเสือ่ กกแปรรปู ผลิตภัณฑ์ หมู่ 1 3. กลมุ่ ทอเสอ่ื กกแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ หมู่ 4 4. กลมุ่ ทอเสื่อกกแปรรูปผลิตภณั ฑ์ หมู่ 8 5. กลุ่มทอจักรเย็บผา้ อตุ สาหกรรม หมู่ 5 6. กลมุ่ ปลกู ผักปลอดสารพิษ หมู่ 4 6.8 แรงงาน จากการสารวจขอ้ มลู พน้ื ฐานพบวา่ ประชากรที่มอี ายุ 15 – 60 ปี อยู่ในกาลังแรงงาน แต่ค่าแรงใน พ้นื ทีต่ ่ากวา่ ระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง 25 – 50 ปี บางส่วน ไปรับจ้าง ทางานนอกพื้นที่ รวมท้งั แรงงานที่ไปทางานต่างประเทศ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทางานนอกพ้ืนที่ในเมืองท่ีมี โรงงานอุตสาหกรรม บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรม เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นท่ีอยู่ อาศยั ปัญหาน้ยี ังไมส่ ามารถแก้ไขได้ 7. เศรษฐกจิ พอเพียงทอ้ งถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้า) 7.1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของหมบู่ ้าน 7.1.1. หมบู่ า้ นหนองเสอื หมูท่ ี่ 1 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสินธ์ุ มีจานวน ประชากรท้งั หมด 448 คน แยกเป็นชาย 227 คน หญงิ 221 คน ครวั เรอื นทง้ั หมด 126 ครวั เรอื น พนื้ ที่ ทั้งหมด 650 ไร่ ข้อมูลด้านการเกษตร บ้านหนองเสือหม่ทู ่ี 1 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 115 ครวั เรือน 650 ไร่ ผลผลติ เฉล่ยี 300 กก./ไร่ ตน้ ทุนการผลิตเฉลีย่ 3,350 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉล่ยี 3,900 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย จานวน 9 ครวั เรือน 70 ไร่ ผลผลติ เฉลีย่ 8,000 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลิต 6,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลีย่ 10,000 บาท/ไร่ ทาไร่มันสาปะหลัง จานวน 5 ครวั เรอื น 20 ไร่ ผลผลติ เฉลี่ย 3,000 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลติ 3,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลย่ี 6,000 บาท/ไร่ ข้อมูลด้านแหล่งน้าทางการเกษตร ปริมาณน้าฝน ความเพียงพอของปริมาณน้าฝนที่ใช้ในการทาการเกษตรมี ไม่เพียงพอ แหล่งน้าธรรมชาติ จะมีห้วย/ลาธาร ความเพียงพอของน้าเพ่ือการเกษตรตลอดท้ังปี มีไม่เพียงพอ การ เข้าถงึ แหล่งน้าการเกษตร มไี มท่ ว่ั ถงึ คิดเปน็ รอ้ ยละของครวั เรือนท่เี ขา้ ถงึ ฯ 13.04% หนองน้า/บึง ความเพียงพอของ น้าเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี มีไม่เพียงพอ การเข้าถึงแหล่งน้าการเกษตร มีไม่ทั่วถึง คิดเป็นร้อยละของครัวเรือนท่ี เข้าถึงฯ 13.91% แหล่งน้าท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ฝายความเพียงพอของน้าเพื่อการเกษตรมีไม่เพียงพอ การเข้าถึงแหล่งน้า การเกษตร มีไม่ทั่วถึง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.22% หนา้ 12

ขอ้ มูลดา้ นแหล่งน้ากิน นา้ ใช้ (หรอื น้าเพื่อการอปุ โภค บรโิ ภค) มีบ่อบาดาลสาธารณะ ไมม่ ี บอ่ น้าตืน้ สาธารณะ ไม่มี ประปาหมบู่ า้ น มีแต่ไม่เพยี งพอและมแี ต่ไมท่ ่ัวถึง คดิ เป็นร้อยละของครัวเรือนท่ีเขา้ ถึง 100% ระบบประปา (การประปาสว่ นภมู ิภาค) ไม่มี สรปุ ครัวเรอื นในหมู่บ้านบา้ นหนองเสอื หมู่ท1่ี มีนา้ กิน น้าใช้ไม่เพยี งพอ คดิ เป็นร้อยละ 100% ของท้งั หมู่บา้ น 7.1.2. หมู่บ้านหว้ ยเตย หมู่ท่ี 2 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธ์ุ มีจานวนประชากร ท้ังหมด 356 คน แยกเปน็ ชาย 176 คน หญิง 180 คน ครัวเรือนทั้งหมด 97 ครัวเรือน พ้ืนท่ีทั้งหมด 615 ไร่ ขอ้ มูลดา้ นการเกษตร บ้านหว้ ยเตย หมู่ท่ี 2 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 50 ครัวเรือน 200 ไร่ ผลผลิตเฉล่ยี 300 กก./ไร่ ตน้ ทุนการผลิตเฉลีย่ 3,500 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉล่ีย 3,900 บาท/ไร่ ทา สวนผกั จานวน 10 ครัวเรอื น 3 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 200 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉล่ีย1000บาท/ไร่ ราคาขาย โดยเฉลี่ย 3000 บาท/ไร่ ทาไรอ่ อ้ ย จานวน 70 ครวั เรือน 350 ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 1000 กก./ไร่ ต้นทุนการ ผลิต 5000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 10000 บาท/ไร่ ทาไร่ข้าวโพด จานวน 5 ครัวเรือน 2 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 500 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิต 3000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉล่ีย 10000 บาท/ไร่ ทาไร่ สาปะหลัง จานวน 20 ครัวเรือน 60 ไร่ ผลผลติ เฉล่ยี 3000 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลิต 3000 บาท/ไร่ ราคา ขายโดยเฉล่ยี 6000 บาท/ไร่ ข้อมูลด้านแหล่งน้าทางการเกษตร ปริมาณน้าฝน ความเพียงพอของปริมาณน้าฝนที่ใช้ในการทา การเกษตรมีไม่เพียงพอ แหล่งน้าธรรมชาติ จะมีห้วย/ลาธาร ความเพียงพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี มีไม่ เพยี งพอ การเขา้ ถึงแหลง่ นา้ การเกษตร มีไมท่ ว่ั ถึง คิดเป็นรอ้ ยละของครัวเรอื นท่ีเขา้ ถงึ ฯ 6.74 ข้อมูลด้านแหล่งน้ากิน น้าใช้ (หรือน้าเพ่ือการอุปโภค บริโภค) มีบ่อบาดาลสาธารณะ ไม่มี บ่อน้า ต้นื สาธารณะ ไม่มี ประปาหมู่บ้าน มีแต่ไม่เพียงพอและมีแต่ไม่ทั่วถึง คิดเป็นร้อยละของครัวเรือนท่ีเข้าถึง 100% ระบบประปา (การประปาสว่ นภูมภิ าค) ไมม่ ี สรุป ครัวเรือนในหมู่บ้านบ้านบ้านห้วยเตย หมู่ท่ี 2 มีน้ากิน น้าใช้ไม่เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 100% ของท้ัง หมู่บ้าน 7.1.3. หมู่บ้านห้วยเตยใต้ หมู่ท่ี 3 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ มีจานวน ประชากรทั้งหมด 336 คน แยกเป็นชาย 175 คน หญิง 161 คน ครัวเรือนทั้งหมด 110 ครัวเรือน พื้นที่ ท้ังหมด - ไร่ ข้อมูลด้านการเกษตร บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 3 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 50 ครัวเรือน 788 ไร่ ผลผลติ เฉลย่ี 384 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 3,700 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 4,224 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย จานวน 7 ครัวเรือน 50 ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 10,000 กก./ไร่10ตัน ต้นทุนการผลิต 5,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 9,000 บาท/ไร่ ทาไร่มันสาปะหลัง จานวน 6 ครัวเรือน 30ไร่ ผลผลติ เฉลีย่ 2,000 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลติ 2,500บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลย่ี 2,200 บาท/ไร่ ข้อมูลด้านแหล่งน้าทางการเกษตร ปริมาณน้าฝน ความเพียงพอของปริมาณน้าฝนที่ใช้ในการทา การเกษตรมีไม่เพียงพอ แหล่งน้าธรรมชาติ จะมีห้วย/ลาธาร ความเพียงพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดท้ังปี มีไม่ เพยี งพอ การเข้าถึงแหล่งนา้ การเกษตร มีไม่ท่วั ถงึ คดิ เป็นรอ้ ยละของครวั เรอื นทเี่ ขา้ ถงึ ฯ 8% ขอ้ มลู ด้านแหลง่ นา้ กิน น้าใช้ (หรือนา้ เพอื่ การอุปโภค บริโภค) มบี อ่ บาดาลสาธารณะ ไม่มี บ่อน้าตื้นสาธารณ ไม่มี ประปาหมู่บ้าน มีแต่ไม่เพียงพอและมีแต่ไม่ท่ัวถึง คิดเป็นร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง 80% ระบบประปาบาดาลของหมูท่ ี่ 3 มีไมเ่ พียงพอและมไี ม่ทัง่ ถงึ คดิ เปน็ รอ้ ยละครวั เรือนที่เข้าถงึ 20% หน้า 13

สรุป ครัวเรอื นในหมู่บา้ นบา้ นบ้านหว้ ยเตยใต้ หมู่ที่ 3 มีนา้ กนิ น้าใช้ไม่เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 100% ของทั้ง หมูบ่ า้ น 7.1.4. หมู่บ้านห้วยเตยเหนือ หมู่ที่ 4 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ มีจานวน ประชากรทั้งหมด 577 คน แยกเป็นชาย 296 คน หญิง 281 คน ครัวเรือนท้ังหมด 182 ครัวเรือน พื้นท่ี ทงั้ หมด 1,924 ไร่ ข้อมูลด้านการเกษตร บา้ นหว้ ยเตยเหนอื หมทู่ ่ี 3 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 180 ครัวเรอื น 1994 ไร่ ผลผลิตเฉล่ยี 384 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลติ เฉลี่ย 2,300 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลีย่ 2,366 บาท/ไร่ ทาสวนยางพารา จานวน 3 ครวั เรอื น 6 ไร่ ผลผลติ เฉลยี่ 3,000 กก./ไร่10ตนั ตน้ ทนุ การผลติ 3,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 3,187 บาท/ไร่ ทาไร่ออ้ ย จานวน 142 ครวั เรอื น 994ไร่ ผลผลิตเฉลย่ี 13,000 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลิต 9000บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลีย่ 12,000 บาท/ไร่ ไรม่ นั สาปะหลัง จานวน 5 ครัวเรือน 30 ไร่ ผลผลติ เฉล่ีย 5,000 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลิต 8,000บาท/ไร่ ราคา ขายโดยเฉลี่ย 10,750บาท/ไร่ 10.1.3 ขอ้ มลู ด้านแหล่งนา้ ทางการเกษตร แหลง่ น้าธรรมชาติ หนองน้าคลอง/บงึ ความเพยี งพอของนา้ เพ่ือการเกษตร ไมเ่ พยี งพอ การเขา้ ถึงแหล่งน้าการเกษตร รอ้ ยละครวั ของครวั เรือนทีเ่ ขา้ ถงึ 40% แหล่งนา้ ท่มี นุษยส์ ร้างขึ้น ฝ่าย ความเพยี งพอของนา้ เพอ่ื การเกษตรตลอดทั้งปี ไม่เพียงพอ การเขา้ ถึงแหลง่ นา้ การเกษตร ทวั่ ถงึ ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง 60% ขอ้ มูลดา้ นแหล่งนา้ กิน น้าใช้ (หรือนา้ เพ่ือการอุปโภค บรโิ ภค) ประปาหมู่บา้ น(ขององค์การบรหิ าร สว่ นท้องถิน่ ) มีไม่เพยี งพอ ไม่ทว่ั ถงึ สรปุ ครวั เรือนในหมู่บา้ นบา้ นบา้ นหว้ ยเตยเหนอื หมทู่ ี่ 4 มีนา้ กนิ น้าใช้ไมเ่ พียงพอ คดิ เปน็ ร้อยละ 65% ของ ท้งั หมบู่ า้ น 7.1.5. หม่บู า้ นหว้ ยเตยกลาง หมูท่ ี่ 5 ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ มีจานวน ประชากรทง้ั หมด 351 คน แยกเป็นชาย 173 คน หญงิ 178 คน ครัวเรอื นทั้งหมด 101 ครัวเรอื น พ้นื ที่ ทั้งหมด 918 ไร่ ขอ้ มลู ดา้ นการเกษตร บ้านห้วยเตยกลาง หมู่ท่ี 5 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 65 ครวั เรือน 480 ไร่ ผลผลติ เฉลีย่ 800 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลยี่ 3,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลีย่ 12,000 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย จานวน 33 ครัวเรอื น 353 ไร่ ผลผลติ เฉลย่ี 10,000 กก./ไร่ ต้นทุนการ ผลิต 8,500 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 10,000 บาท/ไร่ ทาไรม่ นั สาปะหลงั จานวน10.ครวั เรอื น 85ไร่ ผลผลิตเฉล่ยี 3,200 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลติ เฉลีย่ 5,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลย่ี 7,500 บาท/ไร่ ขอ้ มลู ดา้ นแหลง่ น้าทางการเกษตร แหล่งนา้ ธรรมชาติ หนอง/บึง ความเพียงพอของน้าเพ่อื การเกษตรตลอดท้ังปี ไมเ่ พยี งพอ การเขา้ ถงึ แหล่งน้าการเกษตร ไม่ทัว่ ถึง รอ้ ยละครวั ของ ครัวเรอื นท่ีเข้าถึง 40% แหล่งน้าทม่ี นุษยส์ รา้ งขึน้ ฝาย ความเพียงพอของน้าเพ่ือการเกษตรตลอดทง้ั ปี ไม่ เพียงพอ การเข้าถึงแหลง่ น้าการเกษตร ไมท่ วั่ ถึง รอ้ ยละของครวั เรือนทเี่ ขา้ ถึง 30% สระ ความเพยี งพอของน้า เพื่อการเกษตรตลอดท้งั ปี ไม่เพียงพอ การเขา้ ถึงแหลง่ น้าการเกษตร ไม่ทว่ั ถงึ ร้อยละของครัวเรอื นทเ่ี ขา้ ถงึ 15% ขอ้ มลู ดา้ นแหล่งน้ากนิ น้าใช้ (หรอื น้าเพื่อการอปุ โภค บริโภค) แหล่งน้า บอ่ บาดาลสาธารณะ มเี พยี งพอ ไม่ทว่ั ถึง คิดเปน็ รอ้ ยละครวั เรือนที่เข้าถงึ 90% บอ่ นา้ ต้นื สาธารณะ ไมมี ประปาหม่บู า้ น (ขององค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ) ไมม่ ี ระบบประปา (การประปาสว่ นภมู ภิ าค) ไม่มี แหลง่ น้าธรรมชาติ มไี ม่เพียงพอ ไม่ทวั่ ถงึ คดิ เปน็ ร้อยละของครวั เรือนที่เขา้ ถึง 30% สรปุ ครวั เรอื นในหม่บู ้านบา้ นบา้ นหว้ ยเตยกลาง หมทู่ ่ี 5 มีนา้ กิน นา้ ใชเ้ พยี งพอ คิดเปน็ ร้อยละ 75% ของทง้ั หมู่บา้ น หนา้ 14

7.1.6. หมบู่ า้ นหว้ ยเตยคา หมทู่ ่ี 6 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ มจี านวน ประชากรทง้ั หมด 509 คน แยกเปน็ ชาย 263 คน หญงิ 2ถต คน ครวั เรือนทั้งหมด 140 ครัวเรือน พน้ื ท่ี ทั้งหมด - ไร่ ขอ้ มูลด้านการเกษตร บ้านหว้ ยเตยคา หม่ทู ี่ 6 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 120 ครัวเรอื น 1100 ไร่ ผลผลิตเฉลยี่ 465 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลิตเฉล่ีย 7,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 8,000 บาท/ไร่ ทาไร่สวนยางพารา จานวน 2 ครวั เรอื น 19 ไร่ ทาไร่อ้อย จานวน70 ครัวเรือน 500ไร่ ผลผลติ เฉล่ยี 6,000 กก./ไร่ ตน้ ทนุ การผลติ เฉลีย่ 7,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลยี่ 56,400 บาท/ไร่ ขอ้ มลู ดา้ นแหลง่ น้าทางการเกษตร แหลง่ นา้ ทางการเกษตร ปริมาณนา้ ฝน ความเพียงพอของปรมิ าณนา้ ฝนทใี่ ชใ้ นการทาการเกษตร ไม่เพยี งพอ แหล่งน้าธรรมชาติ แมน่ ้า ความเพยี งพอของ น้าเพ่อื การเกษตรตลอดทั้งปี มีไม่เพยี งพอ การเข้าถึงแหล่งน้าการเกษตรไมท่ ่ัวถึง คดิ เป็นรอ้ ยละของครัวเรือนที่ เขา้ ถึง 30% หว้ ย/ลาธาร ความเพยี งพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพยี งพอ การเข้าถึงแหลง่ น้าการเกษตร ไม่ท่วั ถงึ คลอง ความเพยี งพอของน้าเพ่ือการเกษตรตลอดทงั้ ปี ไมเ่ พยี งพอ การเข้าถึงแหล่งน้าการเกษตร ไมท่ ่ัวถึง หนองน้า/บึง ความเพยี งพอของนา้ เพ่ือการเกษตรตลอดทง้ั ปี ไม่เพียงพอ การเข้าถึงแหล่งน้าการเกษตร ไม่ทั่วถงึ คดิ เป็นรอ้ ยละของครวั เรอื นที่เขา้ ถงึ 30% แหล่งนา้ ท่มี นุษยส์ รา้ งขนึ้ แก้มลิง ความเพยี งพอของน้าเพื่อการเกษตร ตลอดทั้งปี ไมเ่ พยี งพอ การเข้าถึงแหล่งนา้ การเกษตร ไม่ท่ัวถึง อา่ งเกบ็ นา้ ความเพียงพอของนา้ เพ่ือการเกษตร ตลอดทัง้ ปี ไมเ่ พียงพอ การเขา้ ถงึ แหลง่ น้าการเกษตร ไม่ทว่ั ถงึ ฝาย ความเพียงพอของนา้ เพื่อการเกษตรตลอดทั้ง ปี ไมเ่ พยี งพอ การเข้าถึงแหลง่ น้าการเกษตร ไมท่ วั่ ถึง คิดเป็นร้อยละของครัวเรอื นท่ีเข้าถงึ 20% สระ ความ เพยี งพอของนา้ เพ่ือการเกษตรตลอดทงั้ ปี ไม่เพยี งพอ การเขา้ ถงึ แหล่งนา้ การเกษตร ไมท่ ัว่ ถงึ ฝาย ความเพยี งพอ ของน้าเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี ไมเ่ พียงพอ การเข้าถึงแหลง่ นา้ การเกษตร ไม่ทวั่ ถึง คดิ เป็นรอ้ ยละของครวั เรือนที่ เขา้ ถงึ 40% คลองชลประทาน ความเพียงพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดทัง้ ปี ไม่เพียงพอ การเข้าถงึ แหลง่ น้า การเกษตร ไม่ทว่ั ถึง ขอ้ มลู ด้านแหล่งนา้ กนิ นา้ ใช้ (หรอื น้าเพื่อการอุปโภค บรโิ ภค) แหล่งนา้ บ่อบาดาลสาธารณะ มไี ม่เพยี งพอ ไมท่ ่ัวถึง ประปาหมบู่ า้ น (ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น) ไมเ่ พยี งพอ ไม่ท่ัวถึง แหลง่ น้าธรรมชาติ มไี ม่เพยี งพอ ไมท่ ั่วถงึ สรปุ ครวั เรอื นในหมูบ่ า้ นบ้านบ้านหว้ ยเตยคา หมู่ท่ี 6 มนี า้ กนิ น้าใช้ 7.1.7. หมูบ่ ้านโคกสาราญ หมทู่ ี่ 7 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสินธ์ุ มจี านวน ประชากรทั้งหมด 211 คน แยกเปน็ ชาย 114 คน หญงิ 97 คน ครวั เรอื นทงั้ หมด 60 ครัวเรือน พน้ื ที่ ทัง้ หมด 650 ไร่ ขอ้ มูลดา้ นการเกษตร บ้านโคกสาราญ หมทู่ ่ี 7 ทาการเกษตรนอกเขตชลประทาน จานวน 46 ครวั เรือน 350 ไร่ ผลผลิตเฉลย่ี 450 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลิตเฉลีย่ 3000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 5400 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย จานวน 15 ครวั เรือน 140 ไร่ ผลผลติ เฉล่ีย 1200 กก./ไร่ ตน้ ทุนการผลติ เฉล่ีย 5000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลย่ี 10000 บาท/ไร่ ไร้สาปะหลัง จานวน 12 ครัวเรือน 100 ไร่ ผลผลติ เฉลี่ย 3000 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลีย่ 2500 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 6000 บาท/ ไร่ ขอ้ มลู ด้านแหลง่ นา้ ทางการเกษตร แหล่งนา้ ธรรมชาติ ห้วย/ลาธาร ความเพียงพอของน้าเพ่ือการเกษตรตลอดทงั้ ปี มีไมเ่ พียงพอ การเขา้ ถงึ แหล่งน้า การเกษตร ไม่ทวั่ ถึง คิดเป็นร้อยละของครวั เรอื นทเ่ี ข้าถึง 80% หนองน้า/บงึ ความเพียงพอของน้าเพอ่ื การเกษตรตลอดทงั้ ปี ไม่เพยี งพอ การเข้าถึงแหล่งนา้ การเกษตร ไม่ท่วั ถึง คิดเป็นร้อยละของครัวเรอื นท่ีเขา้ ถึง หน้า 15

80% สระ ความเพยี งพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี มีไมเ่ พยี งพอ การเขา้ ถึงแหลง่ น้าการเกษตร ไม่ทั่วถึง คิดเป็นร้อยละของครัวเรือนที่เขา้ ถงึ 90% ข้อมูลด้านแหล่งนา้ กิน นา้ ใช้ (หรอื น้าเพ่ือการอปุ โภค บริโภค) แหล่งนา้ บอ่ บาดาลสาธารณะ มีไมเ่ พยี งพอ ไม่ทว่ั ถึง ร้อยละของครวั เรือนทเ่ี ข้าถึง 50% บอ่ นา้ ตนื้ สาธารณะ ความเพียงพอของน้าเพ่ือการเกษตรตลอดทั้งปี มีไม่เพยี งพอ การเขา้ ถึงแหล่งน้าการเกษตร ไม่ทั่วถงึ คิดเปน็ รอ้ ยละของครวั เรอื นท่เี ข้าถึง 50% ประปาหม่บู ้าน (ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ) ไม่เพยี งพอ ไม่ท่วั ถึง แหล่งน้าธรรมชาติ มีไม่เพยี งพอ ไม่ทวั่ ถึง ร้อยละของ ครวั เรือนทเี่ ข้าถึง 70% แหลง่ น้าธรรมชาติ ไม่เพยี งพอ ไมท่ ั่งถึง ร้อยละของครัวเรอื นทเ่ี ข้าถึง 50% สรุป ครวั เรือนในหมู่บา้ นบา้ นโคกสาราญ หมทู่ ี่ 7 มนี า้ กิน มีนา้ กนิ นา้ ใช้ ไมเ่ พยี งพอ คิดเป็นร้อยละ 60% ของหมู่บา้ น 7.1.8. หมูบ่ า้ นป่าตว้ิ หมทู่ ่ี 8 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ มจี านวนประชากร ทั้งหมด 265 คน แยกเป็นชาย 135 คน หญิง 130 คน ครวั เรอื นทงั้ หมด 69 ครัวเรือน พืน้ ที่ทั้งหมด - ไร่ ข้อมูลดา้ นการเกษตร บ้านติ้ว หมู่ที่ 8 ทาการเกษตร ทานา นอกเขตชลประทาน จานวน 58 ครวั เรอื น 1,000 ไร่ ผลผลติ เฉล่ยี 2,500 กก./ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 12,000 บาท/ไร่ ทาไรอ่ ้อย จานวน 10 ครวั เรือน 70 ไร่ ผลผลิตเฉลย่ี 1,000 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลติ เฉล่ยี 2,400บาท/ไร่ ราคาขาย โดยเฉลยี่ 1,000 บาท/ไร่ ไรส้ าปะหลัง จานวน 15 ครวั เรอื น 70 ไร่ ผลผลิตเฉล่ยี 3,000 กก./ไร่ ต้นทุน การผลิตเฉลยี่ 2,500 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลยี่ 2,000 บาท/ไร่ ขอ้ มลู ดา้ นแหลง่ น้าทางการเกษตร แหล่งนา้ ทางการเกษตร ปริมาณน้าฝน ความเพยี งพอของปรมิ าณนา้ ฝนทใ่ี ช้ในการทาการเกษตร ไมเ่ พียงพอแหล่ง น้าธรรมชาติ หว้ ย/ลาธาร ความเพยี งพอของน้าเพอื่ การเกษตรตลอดทั้งปี มีไม่เพียงพอ การเขา้ ถึงแหลง่ น้า การเกษตร ไมท่ ่ัวถึง คดิ เป็นรอ้ ยละของครัวเรือนทีเ่ ขา้ ถึง 50% หนองนา้ /บึง ความเพียงพอของนา้ เพอ่ื การเกษตรตลอดทัง้ ปี ไมเ่ พยี งพอ การเข้าถึงแหล่งน้าการเกษตร ไม่ทวั่ ถึง คิดเป็นร้อยละของครวั เรอื นท่เี ข้าถึง 40% แหลง่ นา้ ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้ ฝาย ความเพยี งพอของนา้ เพ่ือการเกษตรตลอดทั้งปี มไี ม่เพยี งพอ การเขา้ ถงึ แหลง่ น้าการเกษตร ไม่ทั่วถึง คดิ เป็นรอ้ ยละของครัวเรือนท่เี ขา้ ถึง 45% สระ ความเพยี งพอของนา้ เพื่อการเกษตร ตลอดทงั้ ปี มีไม่เพยี งพอ การเขา้ ถงึ แหลง่ น้าการเกษตร ไมท่ ว่ั ถงึ คดิ เปน็ ร้อยละของครวั เรอื นทเ่ี ข้าถงึ 30% ขอ้ มูลดา้ นแหลง่ น้ากิน น้าใช้ (หรือน้าเพื่อการอปุ โภค บริโภค) แหล่งน้า บ่อบาดาล สาธารณะ ไม่มี บอ่ น้าตืน้ สาธารณะ ไมมี ประปาหมูบ่ ้าน (ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ) เพยี งพอ ท่ัวถึง รอ้ ยละของครวั เรือนท่ีเข้าถงึ 100% แหลง่ นา้ ธรรมชาติ ไมเ่ พยี งพอ ไม่ทว่ั ถึง รอ้ ยละของครวั เรือนทีเ่ ขา้ ถงึ 40% สรุป ครัวเรือนในหมู่บ้านบา้ นติ้ว หม่ทู ่ี 8 มีนา้ กิน มนี า้ กนิ น้าใช้ ไมเ่ พียงพอ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100% ของ หมู่บา้ น 7.1.9. หมบู่ ้านศรสี าราญ หม่ทู ่ี 9 ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธ์ุ มีจานวน ประชากรท้ังหมด 434 คน แยกเป็นชาย 216 คน หญงิ 218 คน ครวั เรอื นทงั้ หมด 106 ครัวเรือน พน้ื ท่ี ทัง้ หมด 518 ไร่ ขอ้ มลู ด้านการเกษตร บ้านต้วิ หม่ทู ี่ 9 ทาการเกษตร ทานา นอกเขตชลประทาน จานวน 38 ครัวเรือน 298 ไร่ ผลผลิตเฉลย่ี 400 กก./ไร่ ตน้ ทุนการผลติ เฉลยี่ 3,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 4,800 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย จานวน 42 ครัวเรอื น 130 ไร่ ผลผลติ เฉลีย่ 15,000 กก./ไร่ ต้นทุนการ ผลิตเฉล่ีย 5,000บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 9,000 บาท/ไร่ ไร้สาปะหลัง จานวน 22 ครัวเรือน 90 ไร่ ผลผลติ เฉลี่ย 3,000 กก./ไร่ ต้นทุนการผลิตเฉล่ีย 3,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉล่ีย 6,500 บาท/ไร่ ขอ้ มลู ด้านแหล่งน้าทางการเกษตร แหล่งน้าทางการเกษตรปริมาณน้าฝน ความเพียงพอของปรมิ าณน้าฝนที่ใช้ในการทาการเกษตร ไม่เพียงพอแหล่งนา้ ธรรมชาติ ห้วย/ลาธาร ความเพยี งพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดท้ังปี มีไมเ่ พยี งพอ การเข้าถึงแหลง่ นา้ การเกษตร หนา้ 16

ไมท่ ว่ั ถงึ คิดเป็นร้อยละของครัวเรอื นท่เี ข้าถึง 5% แหลง่ นา้ ทม่ี นษุ ยส์ ร้างขนึ้ ฝาย ความเพยี งพอของนา้ เพ่อื การเกษตรตลอดทงั้ ปี มีไมเ่ พียงพอ การเข้าถึงแหล่งน้าการเกษตร ไม่ทว่ั ถึง คิดเปน็ ร้อยละของครวั เรือนท่เี ข้าถงึ 5% ข้อมลู ด้านแหลง่ นา้ กิน นา้ ใช้ (หรอื นา้ เพื่อการอุปโภค บริโภค) แหลง่ นา้ บอ่ บาดาลสาธารณะ ไมม่ ี บ่อ นา้ ต้นื สาธารณะ ไมมี ประปาหมูบ่ า้ น (ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น) ไม่เพยี งพอ ทั่วถึง ร้อยละของครัวเรือนท่ี เข้าถงึ 100% สรุป ครัวเรือนในหมูบ่ า้ นบา้ นตวิ้ หม่ทู ี่ 9 มนี า้ กนิ มนี ้ากนิ นา้ ใช้ ไมเ่ พยี งพอ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100% ของ หมู่บา้ น 7.1.10. หมู่บ้านคาเจริญ หมูท่ ่ี 10 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ มีจานวน ประชากรทัง้ หมด 344 คน แยกเปน็ ชาย 172 คน หญงิ 172 คน ครวั เรือนทัง้ หมด 93 ครวั เรือน พน้ื ท่ี ท้ังหมด 331 ไร่ ข้อมลู ดา้ นการเกษตร บ้านคาเจริญ หมูท่ ี่ 10 ทาการเกษตร ทานา นอกเขตชลประทาน จานวน 93 ครวั เรอื น 331 ไร่ ผลผลิตเฉลย่ี 540 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลิตเฉล่ยี 2,500 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย ราคาขายโดยเฉลี่ย 4,320 บาท/ไร่ ทาไร้อ้อย จานวน 11 ครัวเรอื น 40 ไร่ ผลผลติ เฉลี่ย 1,000 กก./ไร่ ต้นทุนการผลติ เฉลีย่ 5,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลย่ี 15,000 บาท/ไร่ ทาไรส้ าปะหลัง จานวน 20 ครวั เรอื น 78 ไร่ ผลผลติ เฉลย่ี 800 กก./ไร่ ตน้ ทุนการผลติ เฉล่ีย 1,000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลี่ย 2,200 บาท/ไร่ ข้อมลู ดา้ นแหล่งน้าทางการเกษตร แหลง่ น้าทางการเกษตร ปรมิ าณน้าฝน ความเพียงพอของปริมาณนา้ ฝนทใี่ ชใ้ นการทาการเกษตร ไม่เพียงพอแหล่ง นา้ ธรรมชาติ หว้ ย/ลาธาร ความเพยี งพอของน้าเพื่อการเกษตรตลอดทัง้ ปี มีไมเ่ พยี งพอ การเข้าถงึ แหล่งนา้ การเกษตร ไม่ทวั่ ถึง คดิ เป็นรอ้ ยละของครัวเรือนที่เขา้ ถึง 8% หนองนา้ /บึง ความเพยี งพอของนา้ เพื่อการเกษตร ตลอดทง้ั ปี ไมเ่ พียงพอ การเขา้ ถึงแหลง่ น้าการเกษตร ไม่ทัว่ ถึง คดิ เปน็ รอ้ ยละของครัวเรอื นที่เข้าถึง 8% ข้อมลู ด้านแหลง่ นา้ กิน นา้ ใช้ (หรอื น้าเพื่อการอปุ โภค บริโภค) แหล่งน้า บ่อบาดาล สาธารณะ ไมม่ ี บอ่ นา้ ตืน้ สาธารณะ ไมมี ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ) ไม่เพยี งพอ ไม่ ทวั่ ถึง รอ้ ยละของครวั เรือนท่ีเขา้ ถึง 1% แหล่งนา้ ธรรมชาติ ไมเ่ พียงพอ สรุป ครวั เรอื นในหมบู่ ้านคาเจรญิ หมู่ท่ี 10 มนี า้ กิน มนี า้ กนิ น้าใช้ ไม่เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 100% ของ หมูบ่ า้ น 7.1.11. บ้านห้วยเตยหลานปู่ หมทู่ ี่ 11 ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ มจี านวน ประชากรท้งั หมด 499 คน แยกเป็นชาย 250 คน หญิง 249 คน ครัวเรือนทั้งหมด 132 ครัวเรือน พืน้ ท่ี ทง้ั หมด 1,094 ไร่ ข้อมูลด้านการเกษตร บา้ นหว้ ยเตยหลานปู่ หม่ทู ี่ 11 ทาการเกษตร ทานา นอกเขต ชลประทาน จานวน 100 ครวั เรือน 1,000 ไร่ ผลผลิตเฉล่ยี 375 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลิตเฉลย่ี 5,000 บาท/ไร่ ทาไร่อ้อย ราคาขายโดยเฉลยี่ 4,500 บาท/ไร่ ทาไร้ออ้ ย จานวน 15 ครัวเรือน 120 ไร่ ผลผลิตเฉล่ีย 10,000 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลิตเฉลย่ี 5000 บาท/ไร่ ราคาขายโดยเฉลยี่ 8,500 บาท/ไร่ ทาไร้สาปะหลัง จานวน 10 ครัวเรอื น 60 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 4800 กก./ไร่ ต้นทนุ การผลติ เฉล่ยี 2,500 บาท/ไร่ ราคาขาย โดยเฉล่ีย 960 บาท/ไร่ ข้อมูลด้านแหลง่ นา้ ทางการเกษตร แหลง่ น้าทางการเกษตร ปรมิ าณน้าฝน ความเพยี งพอของปริมาณน้าฝนทีใ่ ช้ในการทาการเกษตร ไมเ่ พียงพอแหล่ง นา้ ธรรมชาติ ห้วย/ลาธาร ความเพยี งพอของนา้ เพอ่ื การเกษตรตลอดทงั้ ปี มีไมเ่ พยี งพอ การเข้าถงึ แหล่งนา้ หนา้ 17

การเกษตร ไม่ทัว่ ถึง คดิ เป็นร้อยละของครัวเรือนทีเ่ ขา้ ถึง 10% แหลง่ นา้ ท่ีมนุษย์สรา้ งขนึ้ ฝาย ความเพียงพอของ น้าเพอื่ การเกษตรตลอดทง้ั ปี มไี ม่เพียงพอ การเขา้ ถึงแหล่งนา้ การเกษตร ไม่ทั่วถงึ คิดเป็นร้อยละของครัวเรือนที่ เข้าถึง 10% สระ ความเพยี งพอของนา้ เพ่ือการเกษตรตลอดท้งั ปี มีไม่เพยี งพอ การเข้าถึงแหล่งนา้ การเกษตร ไม่ ท่วั ถึง คดิ เป็นร้อยละของครัวเรอื นทีเ่ ขา้ ถึง 20% ขอ้ มลู ดา้ นแหลง่ นา้ กิน นา้ ใช้ (หรอื น้าเพ่ือการอปุ โภค บรโิ ภค) แหล่งนา้ บ่อบาดาล สาธารณะ ไมม่ ี บ่อนา้ ตื้นสาธารณะ ไมมี ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น) ไม่เพียงพอ ไม่ ทว่ั ถึง ร้อยละของครวั เรอื นที่เข้าถึง 100% แหล่งนา้ ธรรมชาติ ไม่เพียงพอ และไม่ทั่วถงึ สรปุ ครวั เรือนในหม่บู ้านหว้ ยเตยหลานปู่ หมูท่ ี่ 11 มีนา้ กนิ มีนา้ กนิ น้าใช้ ไมเ่ พียงพอ คิดเป็นร้อยละ 40% ของหมู่บา้ น 8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 8.1 การนบั ถือศาสนา - ผู้ท่นี บั ถือศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 100 วดั 7 แหง่ 8.2 ประเพณีและงานประจาปี - ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม - ประเพณีบญุ คนู ลาน ประมาณเดอื น มกราคม - ประเพณบี ุญผะเหวด ประมาณเดอื น เมษายน - ประเพณวี นั สงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน - ประเพณบี ุญบ้ังไฟ ประมาณเดือน มถิ นุ ายน - ประเพณลี อยกระทง ประมาณเดอื น พฤศจิกายน - ประเพณีวนั เข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจกิ ายน 8.3 ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภาษาถิ่น ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ประชาชนในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตาบลได้อนรุ ักษภ์ มู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ได้แก่ วิธกี ารทาเคร่ืองจักสารใช้สาหรบั ในครัวเรอื น วิธกี ารทอเสื่อจากต้นกก และวธิ กี ารจบั ปลาธรรมชาติ ภาษาถิน่ สว่ นมากรอ้ ยละ 100 % พดู ภาษาอีสาน 8.4 สนิ ค้าพืน้ เมืองและของท่ีระลึก ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลได้ผลิตของใช้พ้ืนเมืองข้ึนใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จา หนว่ ยบา้ ง ได้แก่ เสื่อท่ที อจากตน้ กกและแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ เครอ่ื งจักรสานทท่ี าจากไมไ้ ผ่ 9. ทรัพยากรธรรมชาติ 9.1 น้า ท่ีใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้าที่ได้จากน้าฝน และน้าจากหนองบ้าน ซ่ึงจะต้องนามาผ่าน กระบวนการของระบบประปา สาหรบั น้าใต้ดนิ มีปริมาณนอ้ ย ไม่สามารถนาข้ึนมาใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งเค็ม ไม่ สามารถใช้ดม่ื และอุปโภคได้ 9.2 ป่าไม้ ในเขตองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลมปี า่ ไม้ 9.3 ภเู ขา ในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลไมม่ ีภูเขา 9.4 คณุ ภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลส่วนมากเป็นพื้นที่สาหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถาน ประกอบการ ตามลาดบั และมพี ้นื ทเ่ี พียงเลก็ น้อยท่ีเป็นพน้ื ทส่ี าธารณะ ทรพั ยากรธรรมชาติในพนื้ ท่ี ก็ได้แก่ ดิน น้า ต้นไม้ อากาศท่ไี ม่มมี ลพิษ . อ่ืนๆ (ไม่มี) หน้า 18

11. ปัญหาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชนท่ีจาแนกตามลกั ษณะของกลุ่มเป้าหมาย 11.1 ขนาด กศน.ตาบล จานวนผู้เรยี น/นักศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาที่ใหบ้ รกิ าร กศน.ตาบลเวอ่ ตง้ั อยู่หมู่ 10 บ้านคาเจรญิ ตาบลเว่อ อาเภอยางตลาด จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ มี ขนาดพ้ืนท่ีโดยรอบ 1 งาน เป็นสถานท่ีจัดการเรียนการสอนท่ีเป็นเอกเทศ จัดการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตาม อัธยาศัย และการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้ไม่รู้หนังสือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทงั้ สิ้นจานวน 389 คน ดงั น้ี ผู้ไม่รหู้ นงั สือ จานวน ๗ คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน ๖๒ คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๕๘ คน รวมทง้ั สนิ้ จานวน 1๒๗ คน 11.2 ปญั หาและความตอ้ งการทางการศกึ ษาของประชาชน กศน.ตาบลเว่อ จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในทุกด้านโดยเน้น การมีส่วนร่วมและความต้องการทางการศึกษาของชุมชน โดยการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในชุมชน มุ่งผลสัมฤทธ์ิ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนและนโยบายของสานักงาน กศน. โดยใช้ กศน.ตาบลเป็นฐานขับเคล่ือนงานเพ่ือลด ความเหล่ือมล้า ให้โอกาสทางการศึกษา แก้ปัญหาผู้ไม่รู้หนังสือ ตลอดจนการสร้างโอกาสความเท่าเทียมและลดความ เหลอื่ มลา้ ทางการศึกษา เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการศึกษาอย่างมีคุณภาพมีความรู้ความสามารถ และได้เรียนรู้เก่ียวกับ อาชีพตามบริบทของพ้นื ที่ 11.3 คณะกรรมการ กศน.ตาบลเวอ่ ประธานกรรมการ นายสากล อุทการ กรรมการทเ่ี ปน็ ตวั แทนจากหมบู่ า้ นหรือชมุ ชน (หมบู่ า้ นหรือชมุ ชนละ 2 คน) ได้แก่ 1. นายสุนทร ภูแผ่นนา ตัวแทนหมบู่ า้ นหนองเสอื หมูท่ ี่ 1 2. นางเตอื นใจ ภแู ผน่ นา ตวั แทนหมู่บ้านหนองเสอื หมู่ที่ 1 3. นายสง่า ภูสดุ สงู ตวั แทนหมบู่ า้ นหว้ ยเตย หมู่ที่ 2 4. นายทองเล่ือน ภูจอมขา ตวั แทนหมู่บา้ นห้วยเตย หมู่ที่ 2 5. นายสากล อทุ การ ตวั แทนหมบู่ ้านหว้ ยเตยใต้ หมู่ที่ 3 6. นางบังอร โพธิ์สงั ข์ ตวั แทนหมู่บ้านหว้ ยเตยใต้ หมทู่ ี่ 3 7. นายบรรจง กรีเทพ ตวั แทนหมู่บ้านหว้ ยเตยเหนอื หมู่ท่ี 4 8. นายพรชยั ภูบรรสุข ตัวแทนหมบู่ า้ นห้วยเตยเหนอื หมู่ท่ี 4 9. นายประวทิ ย์ นามโส ตวั แทนหมู่บา้ นห้วยเตยกลาง หมู่ที่ 5 10. นางสาวสทุ ธิดา ภผู ารชิ อ่ ตวั แทนหมู่บ้านหว้ ยเตยกลาง หมู่ท่ี 5 11. นายสงวน ภูสมตา ตัวแทนหมู่บ้านห้วยเตยคา หมู่ที่ 6 12. นางสาวอาไพ ภูกันดาร ตวั แทนหมู่บา้ นห้วยเตยคา หมู่ที่ 6 13. นายสุทัศน์ เหลา่ ตวั แทนหมู่บ้านโคกสาราญ หมทู่ ี่ 7 14. คณุ นายสา พลเสน ตัวแทนหมบู่ ้านโคกสาราญ หมู่ท่ี 7 15. นายสาน ทระคาหาร ตวั แทนหมู่บ้านปา่ ตว้ิ หมทู่ ่ี 8 16. นางสาวยพุ ิน ขัดติยะวงษ์ ตวั แทนหมูบ่ ้านปา่ ตว้ิ หมู่ท่ี 8 17. นายคาตา พลเสน ตวั แทนหมู่บา้ นศรีสาราญ หมู่ที่ 9 18. นายบุญจันทร์ พรชัย ตัวแทนหมบู่ ้านศรีสาราญ หมู่ท่ี 9 19. นายสมพร บุภาโพธิ์ ตวั แทนหมบู่ า้ นคาเจรญิ หมทู่ ี่ ๑๐ หน้า 19

20. นายสมพร คา้ ขาย ตวั แทนหมบู่ ้านคาเจรญิ หมูท่ ี่ ๑๐ หมู่ท่ี ๑๑ 21. นายอทุ ยั นาสอ้าน ตัวแทนหมูบ่ ้านห้วยเตยหลานปู่ หมู่ท่ี ๑๑ 22. นายสมเพชร วราศรี ตัวแทนหมู่บา้ นหว้ ยเตยหลานปู่ กรรมการทีเ่ ปน็ ผ้แู ทนองค์กรนกั ศกึ ษา (จานวน 2 คน) ได้แก่ 1. นายพนิ จิ ภูทะวัง 2. นางเสมือน สิทธดิ า กรรมการท่ีเปน็ อาสาสมคั ร กศน. (จานวน 1 คน) ได้แก่ นางป่ินทอง เมอื งมงุ คุณ 5. กรรมการและเลขานุการ (หัวหนา้ กศน.ตาบล) ได้แก่ นางดรุณี ชะนะบุญ หน้า 20

โครงสร้างของ กศน.ตาบล นายสวา่ ง แก้วไตรรตั น์ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน นางดรณุ ี ชะนะบุญ นางสาวสริ ิวรรณ ภมู ่งิ เดือน ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล หน้า 21

กศน.ตาบลเว่อ มจี านวนครแู ละบุคลากรทปี่ ฏบิ ตั งิ าน ดงั น้ี 1. ผูบ้ ริหาร จานวน 1 คน 1 คน 2. ครอู าสาสมัคร (พนักงานราชการ) จานวน ๒ คน ๔ คน 3. ครู กศน.ตาบล (พนักงานราชการ) จานวน รวมทง้ั สิ้น ชอ่ื กศน.ตาบล ท่ีตงั้ ผ้รู ับผดิ ชอบ กศน.ตาบลเว่อ หม่ทู ่ี ๑๐ บ้านคาเจริญ 1.นายสวา่ ง แกว้ ไตรรัตน์ ต.เว่อ อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ 2.นางดรณุ ี ชะนะบญุ ๓.นางสาวสิริวรรณ ภมู ิ่งเดือน จานวนนกั ศกึ ษานอกระบบขั้นพ้นื ฐาน ปีการศึกษา 2562 ระดับ เพศ หมายเหตุ ชาย หญิง - - ผู้ไม่รหู้ นังสือ -- - ๖๒ - ระดับประถมศกึ ษา -- ๕๘ ๑๒๐ - ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ๓๖ ๒๖ - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๓๖ ๒๒ รวม ๗๒ ๔๘ หน้า 22

บทท่ี 2 วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอยางตลาด วสิ ัยทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามม่นั คง มงั่ คั่ง ย่ังยืนเปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง” หรอื เป็นคติพจนป์ ระจาชาติ “มนั่ คง ม่งั ค่ัง ยัง่ ยืน” พันธกิจ ๑. จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่มี คี ุณภาพ เพื่อยกระดบั การศึกษา พฒั นาทักษะการเรียนร้ขู องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงบริบททางสังคม และสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ๒. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคีเครือข่าย ในการมสี ่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั และการเรียนตลอดชวี ิต รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรยี นและแหล่งเรียนรู้อื่น ในรปู แบบต่างๆ ๓. สง่ เสรมิ และพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้กับประชาชนอยา่ งทวั่ ถึง ๔. พฒั นาหลกั สตู ร รปู แบบกรจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื และนวตั กรรม การวัดและประเมินผลในทุกรปู แบบให้ สอดคล้องกบั บริบทในปจั จุบัน ๕. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ เพื่อมงุ่ จดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ท่ีมี คณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอ่ เนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัย ทีม่ ีคณุ ภาพอย่างเท่าเทยี มและทั่วถงึ เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย ๒. ประชาชนได้รับการยอระดบั การศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ พลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรา้ งความเข้มแข็งใหช้ มุ ชน เพอ่ื พัฒนาไปส่คู วามม่ันคงและยั่งยืนทางดา้ น เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่ิงแวดล้อม ๓. ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรยี นรู้ และมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห์ และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน รวมทัง้ แกป้ ญั หาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตได้อย่างสร้างสรรค์ ๔. ประชาชนไดร้ บั การสรา้ งและสง่ เสริมใหม้ ีนสิ ัยรกั อา่ นเพ่ือการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง ๕. ชมุ ชนและภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ น ร่วมจัด สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทงั้ การขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการยกระดับคณุ ภาพในการ จดั การเรียนรแู้ ละเพม่ิ โอกาสกรเรียนร้ใู หก้ บั ประชาชน หนา้ 23

๗. หน่วยงานและสถานศกึ ษาพฒั นาสื่อและการจดั กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ท่ี ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดล้อม รวมทงั้ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทห่ี ลากหลาย ๘. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจดั การที่เป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล ๙. บคุ ลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ ับการพฒั นาเพอ่ื เพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ จากการระดมความคิดเห็น มีการกาหนดประเด็นยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ : ยุทธศาสตร์ด้านความม่นั คง ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ : ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความสามารถในการแข่งขนั ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ : ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔: ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ : ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ : ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดลุ พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ กลยทุ ธ์และแนวทางการดาเนินงานของแต่ละประเดน็ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความม่นั คง แนวทางการดาเนินงาน ๑.๑ พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมทงั้ น้อมนาและเผยแพรศ่ าสตร์ พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถงึ แนวพระราชดาริตา่ งๆ ๑.๒เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจท่ถี ูกต้องและการมีส่วนร่วมอย่างถกู ต้องกบั การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุขในบริบทของไทยความเป็นพลเมืองดียอมรับและเคารพความ หลากหลายทางคิดและอดุ มการณ์ ๑.๓ ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่ท้ังยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ ๑.๔ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและสรา้ งเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การพัฒนาทกั ษะ การ สรา้ งอาชพี และการใชช้ ีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดน ภาคใต้ และพนื้ ที่ ชายแดนอื่นๆ ๑.๕ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบา้ นยอมรับและ เคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ่ ชาติพันธ์ุ และชาวต่างชาติทีม่ ีความหลากหลาย ในลักษณะพหุสงั คมท่ีอยู่รว่ มกัน ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน แนวทางการดาเนนิ งาน ๒.๑ เร่งปรับหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาอาชพี กศน. เพ่อื ยกระดบั ทักษะดา้ นอาชพี ของประชาชนให้เปน็ อาชีพที่ รองรับอุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S – curve และ New S – curve) โดยบรู ณาการความร่วมมือในการ พัฒนาและเสริมทกั ษะใหม่ด้านอาชพี รวมถงึ ม่งุ เน้นสร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองตอ่ ความ ตอ้ งการของตลาดแรงงานทั้งภาคอตุ สาหกรรมและการบริหารการ โดยเฉพาะในพืน้ ทีเ่ ขตระเบยี งเศรษฐกิจ และเขต พฒั นาพเิ ศษตามภมู ิภาคตา่ งๆ ของประเทศสาหรบั พื้นทปี่ กติให้พฒั นาอาชีพที่เน้นการต่อยอดศักยภาพและตามบริบท ของพนื้ ที่ หน้า 24

๒.๒ จัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาพ้ืนท่ภี าคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กบั ประชาชนใหจ้ บการศกึ ษาอย่างนอ้ ย การศึกษาภาคบังคับ สามารถนาคุณวฒุ ทิ ่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมทัง้ พัฒนาทกั ษะในการประกอบ อาชพี ตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชพี สรา้ งรายได้ ตอบสนองต่อบรบิ ทของสงั คมและชุมชน รมท้ังรองรับ การพฒั นาเขตพื้นท่รี ะเบียบเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) ๒.๓ พฒั นาและสง่ เสรมิ ประชาชนเพอื่ ต่อยอดการผลิตและจาหน่ายสนิ ค้าและผลติ ภัณฑ์ออนไลน์ ๑. เรง่ จดั ตง้ั ศูนยใ์ ห้คาปรึกษาและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ Brand กศน. เพื่อยกระดบั คุณภาพของสินค้าและ ผลติ ภัณฑ์ การบรหิ ารจัดการที่ครบวงจร(การผลติ การตลาด การสง่ ออกและสรา้ งชอ่ งทางการจาหน่าย) รวมท้ังสง่ เสริม การใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการเผยแพร่และจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ ๒. พัฒนาและคดั เลือกสดุ ยอดสินคา้ และผลิตภณั ฑ์ กศน. ในแตล่ ะจังหวดั พร้อมทั้งประสานความรว่ มมือกบั สถานบี ริการนา้ มนั ในการเปน็ ช่องทางการจาหน่ายสุดยอดสนิ คา้ และผลิตภณั ฑ์ กศน.ให้กว้างขวางยิง่ ข้ึน ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ แนวทางการดาเนนิ งาน ๓.๑ สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรท่ีเก่ยี วข้องกบั การจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู้ เป็นผเู้ ช่ือมโยงความรู้กบั ผูเ้ รยี นและผรู้ บั บรกิ าร มคี วามเป็น “ครูมอื อาชพี ” มีจิตบริการ มีความรอบรูแ้ ละทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของสังคมและ เปน็ “ผู้อานวยการการเรยี นรู้” ท่ีสามารถบรหิ ารจัดการความรู้ กิจกรรมและการเรยี นรทู้ ่ีดี ๑. เพิม่ อัตราข้าราชการครูใหก้ บั สถานศึกษาทกุ ประเภท ๒. พัฒนาขา้ ราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สตู รทีเ่ ชอ่ื มโยงวทิ ยฐานะ ๓. พัฒนาครู กศน.ตาบลใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการจัดการ เรยี นการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ ๔. พฒั นาศกึ ษานิเทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕. พัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทให้มคี วามรแู้ ละทักษะเร่ืองการใชป้ ระโยชน์จากดิจิทลั และ ภาษาตา่ งประเทศทจี่ าเปน็ รวมท้ังความรเู้ ก่ยี วกับอาชีพท่รี องรับอุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S – curve และ New S – curve) ๓.๒ พฒั นาหลักสตู รการจัดการศกึ ษาอาชพี ระยะสน้ั ให้มคี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของ พ้ืนที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผ้รู บั บรกิ าร ๓.๓ ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรทู้ ่ีทนั สมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อตอ่ การเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถเรียนไดท้ ุกท่ี ทุกเวลา มีกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน ๓.๔ เสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สง่ เสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ท้ังภาครฐั เอกชน ประชาชนสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รวมทง้ั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนและจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูใ้ ห้กับ ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ ๓.๕ พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพ่ือประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย ๑. พฒั นาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ทัง้ ในรปู แบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวติ และ ทักษะอาชีพ การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทั้งการพฒั นาชอ่ งทางการค้าออนไลน์ ๒. ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏบิ ัตงิ าน การบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ ๓. สง่ เสริมให้มีการใชก้ ารวจิ ัยอย่างงา่ ยเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ๓.๖ พัฒนาศักยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ั (Digital Literacy) ๑. พฒั นาความรู้และทักษะเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือพั?ฒนารปู แบบการจัดการ เรียนการสอน ๒. สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้ด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพือ่ ให้ประชาชนมีทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล ทส่ี ามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั รวมทัง้ สร้างรายไดใ้ ห้กบั ตนเองได้ หน้า 25

๓.๗ ยกระดับการศึกษาให้กบั กลมุ่ เป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทัง้ กลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษอน่ื ๆ อาทิ ผตู้ ้องขัง คนพกิ ารเด็กออกกลางคนั ประชากรวัยเรยี นท่อี ยนู่ อกระบบการศกึ ษา ใหจ้ บการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน ๓.๘ พฒั นาทักษะภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรปู แบบตา่ งๆ โดยเน้นทักษะภาษาเพอ่ื อาชพี ท้ังในภาคธรุ กิจ การบริการ และการท่องเทย่ี ว ๑. สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมให้กบประชาชนเพ่ือสรา้ งความตระหนกั ถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผสู้ งู อายุ มี ความเขา้ ใจในพฒั นาการของชว่ งวยั รวมทงั้ เรยี นรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลรบั ผิดชอบผู้สงู อายุในครอบครัวและชมุ ชน ๒. พัฒนาการจัดบรกิ ารการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรยี มความพรอ้ มเข้าสวู่ ัยสูงอายทุ ่ี เหมาะสมและมีคณุ ภาพ ๓. จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ สาหรบั ผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศกึ ษาเพื่อพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และพัฒนาทักษะชวี ิต ให้สามารถดูแลตนเองทง้ั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตและ รู้จักใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี ๔. สรา้ งความตระหนกั ถึงคุณค่าและศกั ดิ์ศรขี องผสู้ งู อายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพรภ่ ูมิปัญยาของผ้สู ูงอายุ และให้มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมด้านต่างๆ ในชมุ ชน เช่น ด้านอาชีพ กฬี า ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. จดั การศึกษาอาชีพเพื่อรองรบั สังคมผูส้ งู อายุ โดยบรู ณาการความรว่ มมือกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องในทุก ระดบั ๓.๙ การสง่ เสริมวิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษา ๑. จดั กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์เชิงรกุ และเนน้ ให้ความร้วู ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ยกบั ประชาชนในชมุ ชนทงั้ วทิ ยาศาสตรใ์ นวถิ ีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชวี ติ ประจาวนั ๒. พฒั นาสอื่ นิทรรศการและรูปแบบการจดั กจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใ์ หม้ ีความทันสมยั ๓.๑๐ สง่ เสรมิ การรภู้ าษาไทยใหก้ ับประชาชนในรปู แบบตา่ งๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ท่สี ูงใหส้ ามารถฟัง พูด อา่ น และเขยี นภาษาไทย เพ่อื ประโยชนใ์ นการใชช้ วี ติ ประจาวนั ได้ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม แนวทางการดาเนินงาน ๔.๑ จดั ตง้ั ศูนยก์ ารเรยี นรูส้ าหรบั ทุกช่วงวัย ทเี่ ป็นศนู ย์การเรียนรู้ตลอดชวี ิตทสี่ ามารถให้บริการประชาชนได้ทุก คน ทกุ ชว่ งวัย ทมี่ ีกจิ กรรมท่หี ลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรยี นรใู้ นแต่ละวัยและเป็นศูนยบ์ ริการความรู้ ศูนยก์ ารจัดกิจรรมท่ีครอบคลุมทกุ ช่วงวัย เพื่อให้มพี ฒั นาการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมและมีความสขุ กบั การเรยี นรู้ตามความ สนใจ ๑. เร่งประสานกับสานกั งานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน เพือ่ จัดทาฐานข้อมูลโรงเรยี นทถ่ี ูกยุบ ๒. ให้สานักงาน กศน.จงั หวัดทกุ แห่งทอ่ี ยู่ในจังหวัดที่มีโรงเรียนทถ่ี กู ยบุ รวม ประสานขอใช้พน้ื ที่เพื่อจดั ตัง้ ศนู ย์ การเรียนรู้สาหรับทุกชว่ งวยั กศน. ๔.๒ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรบั กลุม่ เปา้ หมายผู้พกิ าร ๑. จัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยเนน้ รปู แบบ การศกึ ษาออนไลน์ ๒. ใหส้ านักงาน กศน.จงั หวัดทุกแหง่ / กทม. ทาความร่วมมือกับศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ในการใช้ สถานที่ วสั ดุอปุ กรณ์ และครุภัณฑ์ดา้ นการศึกษา เพ่ือสนบั สนนุ การจดั การศึกษาและการเรยี นรสู้ าหรบั กล่มุ เปา้ หมายผู้ พกิ าร หน้า 26

๔.๓ ยกระดบั การศึกษาให้กับกล่มุ เปา้ หมายทหารกองประจาการ รวมทัง้ กลุ่มเป้าหมายพอเศษอ่ืนๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เดก็ ออกกลางคนั ประชากรวยั เรียนที่อยนู่ อกระบบการศึกษาให้จบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน สามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง ๔.๔ พัฒนาหลกั สตู รการจัดการศึกษาอาชพี ระยะสนั้ ใหม้ ีความหลากหลาย ทันสมยั เหมาะสมกบั บรบิ ทของ พน้ื ที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผรู้ ับบรกิ าร ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รต่อส่งิ แวดดอ้ ม แนวทางการดาเนนิ งาน ๕.๑ สง่ เสริมให้มีการใหค้ วามร้กู ับประชาชนในการับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสยี หายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบท่เี กย่ี วข้องกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ๕.๒ สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสรา้ งสงั คมสีเขียว สง่ เสริมความรู้ให้กบั ประชาชนเกย่ี วกบั การคดั แยกตั้งแต่ต้นทาง การกาจดั ขยะ และการนากลบั มาใช้ซา้ เพ่อื ลดปริมาณและตน้ ทนุ ในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยงา่ ย รวมทั้งการจัดการมลพิษในชุมชน ๕.๓ ส่งเสรมิ ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาใชพ้ ลงั งานทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม รวมทัง้ ลดการใช้ทรัพยากรท่สี ง่ ผล กระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถงุ พลาสตกิ การประหยดั ไฟฟ้า เบือ้ งต้น ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ ๖ ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบกรบริหารจัดกรภาครัฐ แนวทางการดาเนนิ งาน ๖.๑ พฒั นาและปรับระบบวธิ ีการปฏบิ ัตริ าชการใหท้ นั สมยั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมิชอบ บรหิ ารจัดการรวบรวมบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์มคี วามโปร่งใส ๖.๒ นานวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานทีเ่ ป็นดจิ ิทัลมาใช้ในการบรหิ ารและพัฒนางานสามารถ เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมลู กลางของกระทรวงศึกษาธิการ พรอ้ มท้ังพฒั นาโปรแกรมออนไลนท์ ่ีสามารถเช่ือมโยงข้อมูล ต่างๆ ทท่ี าใหก้ ารบรหิ ารจดั การเปน็ ไปอย่างต่อเนอื่ งกันตัง้ ตน้ จนจบกระบวนการและให้ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายสามารถ เขา้ ถึงบริการได้อย่างทันที ทุกทีและทุกเวลา ๖.๓ ส่งเสรมิ การพฒั นาบุคลากรทกุ ระดบั อย่างต่อเนือ่ ง ให้มีความรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ใหต้ รงกับสายงาน ความชานาญ และความต้องการของบุคลากร หนา้ 27

ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนินงานจุดเนน้ การดาเนินงาน กศน.ตามยุทธศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 หน้า 28

หนา้ 29

หนา้ 30

หนา้ 31

สว่ นท่ี 3 ภารกิจการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งาน กศน.ตาบล หน้า 32

งบดาเนนิ งาน แผนงาน : พื้นฐานด้านการพฒั นาเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี 4 ผูร้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ 1.1 การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาต่อเน่อื ง 1.1.1 กจิ กรรมส่งเสรมิ การรู้หนงั สอื เป้าหมาย 20 คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาด ในไตรมาส 1 -2 (1 ตุลาคม 2563 – 31 มนี าคม2564) ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ดาเนินการจดั กิจกรรมส่งเสริมการรหู้ นังสอื ให้กบั ประชาชน กล่มุ เปา้ หมายผู้ไม่รู้หนังสอื /ผู้ลมื หนังสอื ในพ้นื ที่ตาบล มอบหมายให้ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียนรับผิดชอบ จานวน 20 คน เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบการดาเนนิ งานจดั ทาแผนการเรียนรตู้ ามโครงสร้างหลักสูตรทกี่ าหนด 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ ปญั หา ผ้รู บั ผิดชอบการดาเนินงานจัดทาแผนการเรียนรู้ ยงั ขาดความรู้ความสามารถในการออกแบบ เครื่องมือในการวัดผลและประเมินผล และการจัดทาส่ือการเรยี นรดู้ จิ ิทลั อปุ สรรค ผเู้ รยี นมคี วามร้เู ดิมไม่เทา่ กนั บางคนไมเ่ คยเรียน หรือทิง้ หนังสือมานานทาใหค้ รูผสู้ อนตอ้ ง จัดการเรียนรู้หลากหลายรปู แบบ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความร้ตู ามหลักสตู ร ขอ้ เสนอแนะ ผสู้ งู อายสุ ่วนใหญ่ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การใชค้ าวา่ ผู้ไมร่ ้หู นังสอื ขอให้เปลีย่ นใชเ้ ปน็ ผู้ลมื หนังสือ และควรมกี ารพฒั นาครผู ูส้ อนในการออกแบบเคร่ืองมือวัดผลและประเมนิ ผลการรู้หนังสือ และสอื่ ดจิ ทิ ลั 3) ปจั จัยความสาเรจ็ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื สาหรบั ผู้ไมร่ หู้ นงั สอื ลืมหนงั สอื ศูนย์การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาดได้ให้การสนบั สนุนในการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการรู้หนงั สอื สาหรบั ผ้ไู มร่ ู้ หนงั สือและได้รับความร่วมมือจากหนว่ ยงานภาคเี ครอื ขา่ ยในการจัดกิจกรรมเปน็ อย่างดีในทุกคร้ังท่ีมีการพบกลุม่ จัด กิจกรรม และครูผสู้ อนเปน็ ผทู้ ่ีมคี วามรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ กลมุ่ เป้าหมาย 4) ภาพประกอบกิจกรรม หน้า 33

๑.1.2 กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต เป้าหมาย 2๔ คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอยางตลาด เป็นสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิต มภี ารกจิ ท่ีหลากหลาย และครอบคลมุ พืน้ ที่อาเภอ ยางตลาด การศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต เป็นกจิ กรรมหนึ่งของการศึกษาต่อเน่ือง โดยการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต หมายถงึ การศึกษาท่ใี ห้ความสาคัญกบั การพัฒนาคน เพื่อใหม้ ีความรู้ เจตคติและทักษะทีจ่ าเป็นสาหรับการดารงชวี ติ ในสงั คมปจั จุบัน เพือ่ ใหบ้ ุคคลสามารถ เผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ในชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเตรียม ความพร้อมกับการปรบั ตวั ในอนาคต เชน่ สขุ ภาพกายและใจ ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่ดี ี เป็นตน้ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาด จึงจัดทาโครงการสง่ เสริม สุขภาวะที่ดแี ละมสี นุ ทรียภาพสาหรบั ผสู้ งู อายุโดยใช้สื่อดิจทิ ัล เพื่อให้ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติ และทกั ษะทจี่ าเป็นสาหรบั การดารงชีวติ ในสงั คมปจั จบุ นั สามารถเผชญิ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจาวันได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเตรยี มพร้อมสาหรบั การปรบั ตวั ให้ทันตอ่ การเปล่ียนแปลงข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี สมยั ใหม่ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ปญั หา เน่อื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ COVID – 19 ทาให้กลุม่ เป้าหมายไมอ่ ยาก มาเข้าร่วมกิจกรรม อปุ สรรค ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพอยู่ตา่ งจงั หวดั หรอื ไม่สามารถลางานมาร่วมกิจกรรมได้ และกิจกรรมทจ่ี ัดสาหรับกลุ่มเปา้ หมายทาให้การเข้ารว่ มกจิ กรรม 3) ปจั จัยความสาเร็จ ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และทักษะท่ีจาเป็นสาหรบั การดารงชวี ิตในสงั คมปจั จุบนั สามารถเผชิญสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้นึ ในชีวติ ประจาวันได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเตรียมพรอ้ มสาหรับการปรบั ตวั ใหท้ นั ต่อการเปลีย่ นแปลงข่าวสารข้อมูล 4) ภาพประกอบกิจกรรม หนา้ 34

1.1.3 กิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน เป้าหมาย 1๙ คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาด ไดจ้ ัดประชุมช้แี จง แนวทางการดาเนินงานให้กับ กศน.ตาบล ภารกจิ ตอ่ เนื่อง การศึกษาต่อเน่ือง จัดการศึกษาต่อเน่ืองเพื่อพัฒนาสังคมและ ชมุ ชน โดยใชห้ ลกั สูตรและการจดั กระบวนการเรยี นรแู้ บบบูรณาการในรปู แบบการฝึกอบรม ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและบริบทของชุมชนแต่ละพื้นท่ี โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปล่ียน เก่ียวกับการนาเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาเรียนรู้ และสามรถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้เรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสามรถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ดาเนินการจัดกิจกรรมในไตรมาส 1 – 2(1 ตุลาคม 2563 – 31 มีนาคม 2564) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดงั นี้ โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้ด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล (โคก หนอง นา โมเดล) 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ผูเ้ ขา้ รับการอบรมโครงการ มีชว่ งอายุทีแ่ ตกตา่ งกนั ทาใหม้ ีพน้ื ฐานและความสามารถในการเรยี นรูแ้ ละ การทากจิ กรรมในด้านต่าง ๆ ไมเ่ ท่ากนั ทาให้กระบวนการเรียนรู้ ต้องใชเ้ วลาและกระบวนการจัดกิจกรรม ควรมกี ารจัด กจิ กรรมให้เหมาะสม 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ ผ้เู ขา้ อบรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจสามารถนาความร้ทู ่ีได้ไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวันและเกิดประโยชน์ ต่อตนเองและครอบครัวต่อไป 4) ภาพประกอบกจิ กรรม หน้า 35

1.1.4 กจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเปา้ หมาย ๗ คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด ได้จัดประชุมชี้แจงแนวทางการ ดาเนนิ งานให้กบั กศน.ตาบล ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง การศึกษาต่อเนื่อง กิจกรรมการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยใชห้ ลกั สตู รและการจดั กระบวนการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการในรปู แบบการฝกึ อบรม ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและบริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่ โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยน เก่ียวกับการนาเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาเรียนรู้ และสามรถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้เรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสามรถนาไป ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมโครงการ มีช่วงอายุท่ีแตกต่างกัน ทาใหม้ ีพนื้ ฐานและความสามารถในการเรยี นรูแ้ ละการทา กจิ กรรมในด้านต่าง ๆ ไมเ่ ทา่ กนั ทาใหก้ ระบวนการเรียนรู้ ตอ้ งใชเ้ วลาและกระบวนการจัดกิจกรรม ควรมีการจัด กจิ กรรมใหเ้ หมาะสม 3) ปัจจยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดน่ จดุ แขง็ นวัตกรรม และเกิดประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกผ่ เู้ รียน อยา่ งไรบา้ ง มีตน้ แบบ หรอื แบบอยา่ งท่ีดีทีเ่ กิดขึน้ จากการดาเนนิ การตามนโยบายหรอื ไมอ่ ย่างไร) 4) ภาพประกอบกจิ กรรม หน้า 36

งบดาเนินงาน แผนงาน : พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี 5 ผ้รู ับบริการการศึกษาตามอัธยาศยั 1.2 กิจกรรมการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั 1.2.1 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น/หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอ เปา้ หมาย ..........-......... คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย ...............................................................................-.......................................................................... ...............................................................................-.......................................................................... 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ...............................................................................-.......................................................................... ................................................................................-......................................................................... 3) ปัจจยั ความสาเร็จ (ความโดดเดน่ จดุ แขง็ นวัตกรรม และเกิดประโยชน์หรือผลกระทบ ทางบวกแกผ่ ู้เรียน อยา่ งไรบ้าง มตี น้ แบบ หรือแบบอยา่ งที่ดที เ่ี กิดขน้ึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรือไม่อย่างไร) ...................................................................................-...................................................................... ....................................................................................-..................................................................... 4) ภาพประกอบกิจกรรม ....................................................................................-..................................................................... .....................................................................................-.................................................................... 1.2.2 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน/ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัด เปา้ หมาย ..........-......... คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย ...............................................................................-.......................................................................... ...............................................................................-.......................................................................... 2) ปญั หา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ...............................................................................-.......................................................................... ................................................................................-......................................................................... 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดน่ จดุ แข็ง นวตั กรรม และเกิดประโยชน์หรอื ผลกระทบ ทางบวกแก่ผเู้ รียน อยา่ งไรบา้ ง มตี น้ แบบ หรอื แบบอย่างที่ดีท่ีเกิดขึน้ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรอื ไม่อยา่ งไร) ...................................................................................-...................................................................... ....................................................................................-..................................................................... 4) ภาพประกอบกจิ กรรม ....................................................................................-..................................................................... .....................................................................................-.................................................................... หน้า 37

1.2.3 กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น/หอ้ งสมดุ เฉลิมราชกมุ ารี เป้าหมาย - คน 1) ผลการขบั เคล่ือนนโยบาย ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอยางตลาด ในไตรมาส 1 -2 (1 ตุลาคม 2563 – 31 มีนาคม2564) ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือให้กับประชาชน กลมุ่ เป้าหมาย ผไู้ ม่รู้หนงั สือ/ผ้ลู ืมหนงั สอื 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ ...............................................................................-.......................................................................... ................................................................................-......................................................................... 3) ปจั จัยความสาเรจ็ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ สาหรับผู้ไม่รู้หนังสือ ลืมหนังสือ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาดได้ให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือสาหรับผู้ไม่รู้ หนังสือ และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภาคเี ครอื ข่ายในการจดั กิจกรรมเป็นอยา่ งดใี นทุกคร้ังท่ีมีการพบกลุ่มจัด กิจกรรม และครูผู้สอนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ กล่มุ เปา้ หมาย 4) ภาพประกอบกิจกรรม 1.2.4 กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น/บา้ นหนงั สือชุมชน เปา้ หมาย 9๐๐ คน ผลการดาเนินงาน ๑๘๙๐ คน 1) ผลการขบั เคล่ือนนโยบาย กศน.ตาบล ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการส่งเสริมการอ่าน บ้านหนังสอื ชุมชน โดยมกี ารมีการนาหนังสอื วารสาร ต่างๆ และหนงั สือพิมพ์มอบใหก้ บั บ้านหนังสือชุมชนสัปดาหล์ ะ 1 ครัง้ เพื่อใหช้ ุมชนหมู่บ้านหนงั สือชุมชน จานวน 5 หมู่บ้าน ในเขตตาบล 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ...............................................................................-.......................................................................... ...............................................................................-.......................................................................... 3) ปจั จัยความสาเรจ็ หนา้ 38

กศน.ตาบลเว่อ สารวจขอ้ มลู และความต้องการของชุมชน จัดทาฐานขอ้ มลู บ้านหนังสอื ชุมชน ประสานงาน จดั ทา แผนการดาเนนิ งาน และประชาสมั พนั ธ์ ให้คาแนะนา และรว่ มจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านและการเรยี นรู้ สนบั สนนุ วัสดอุ ปุ กรณ์ สือ่ หนังสือ หมุนเวียนสื่อให้ กศน ตาบล ทาใหเ้ กิดประโยชน์หรือผลกระทบทางบวกแกผ่ ู้รับบรกิ าร เชน่ ผรู้ บั บริการบา้ นหนังสอื ชมุ ชนทุกชว่ งวยั นาความรู้จากการอ่านไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน นักเรียน นักศกึ ษา ศึกษา สบื ค้นขอ้ มูลจากสอื หนังสือเพื่อทารายงานสง่ ครู และใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 4) ภาพประกอบกจิ กรรม 1.2.5กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน/หน่วยบริการเคลอ่ื นท่ี (รถโมบาย) เป้าหมาย - คน 1) กศน.ตาบล ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการสง่ เสรมิ การอา่ น เพอื่ ใหช้ ุมชนหมู่บา้ นหนังสอื ชมุ ชน 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ...............................................................................-.......................................................................... ...............................................................................-.......................................................................... 3) ปัจจยั ความสาเร็จ กศน.ตาบลเว่อ สารวจขอ้ มูลและความต้องการของชุมชน จัดทาฐานขอ้ มลู บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ประสานงาน จดั ทาแผนการดาเนินงาน และประชาสมั พนั ธ์ ให้คาแนะนา และร่วมจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้ สนับสนนุ วสั ดอุ ปุ กรณ์ สื่อหนังสอื หมุนเวยี นส่อื ให้ กศน ตาบล ทาใหเ้ กดิ ประโยชน์หรอื ผลกระทบทางบวกแก่ ผู้รับบริการ เชน่ ผู้รบั บริการบา้ นหนังสือชุมชนทกุ ช่วงวัยนาความรจู้ ากการอ่านไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน นักเรียน นักศึกษา ศึกษาสบื คน้ ข้อมลู จากสื่อหนังสือเพ่ือทารายงานส่งครู และใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ หน้า 39

4) ภาพประกอบกิจกรรม 1.2.6 กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น ) เปา้ หมาย ๙๙๐ คน ผลการดาเนนิ งาน ๙๙๐ คน 1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ..........................................................................-............................................................................... ..........................................................................-............................................................................... 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ข้อเสนอแนะ .........................................................................-................................................................................ .........................................................................-................................................................................ 3) ปจั จยั ความสาเรจ็ (ความโดดเดน่ จุดแขง็ นวตั กรรม และเกิดประโยชนห์ รือผลกระทบ ทางบวกแก่ผ้เู รียน อยา่ งไรบ้าง มีต้นแบบ หรือแบบอย่างท่ดี ที ี่เกิดขน้ึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรอื ไม่อยา่ งไร) ......................................................................-................................................................................... ......................................................................-................................................................................... 4) ภาพประกอบกจิ กรรม .....................................................................-.................................................................................... ......................................................................-................................................................................... 1.2.7กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/ห้องสมดุ เคล่ือนที่สาหรบั ชาวตลาดฯ เปา้ หมาย .......-....... คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ........................................................................-................................................................................. ........................................................................-................................................................................. 2) ปญั หา / อปุ สรรค / ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................-.................................................................................. ......................................................................-................................................................................... 3) ปจั จัยความสาเร็จ (ความโดดเด่น จดุ แขง็ นวัตกรรม และเกดิ ประโยชน์หรอื ผลกระทบ หน้า 40

ทางบวกแกผ่ ู้เรียน อย่างไรบา้ ง มีตน้ แบบ หรือแบบอย่างที่ดีท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนนิ การตามนโยบาย หรอื ไม่อยา่ งไร) ......................................................................-................................................................................... ......................................................................-................................................................................... 4) ภาพประกอบกิจกรรม ......................................................................-................................................................................... ......................................................................-................................................................................... 1.3 กจิ กรรมจดั สร้างแหลง่ เรยี นรู้ในระดบั ตาบล 1.3.1 โครงการ/กิจกรรม ............................-................................. เปา้ หมาย ......-....... คน 1) ผลการขบั เคล่ือนนโยบาย ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 3) ปัจจัยความสาเรจ็ (ความโดดเด่น จดุ แข็ง นวัตกรรม และเกดิ ประโยชน์หรอื ผลกระทบ ทางบวกแกผ่ ู้เรยี น อยา่ งไรบ้าง มีตน้ แบบ หรอื แบบอย่างที่ดที เ่ี กิดขึน้ จากการดาเนินการตามนโยบาย หรอื ไม่อย่างไร) ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ 4) ภาพประกอบกจิ กรรม ........................................................................-............................................................................. ........................................................................-................................................................................ หน้า 41

งบดาเนินงาน แผนงาน : ยุทธศาสตรส์ รา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนบั สนนุ กจิ กรรมจัดการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 2.1 การจัดการศกึ ษาตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 2.1.1 ค่าหนังสอื เรียน เปา้ หมาย 120 คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาด ได้ดาเนินการจดั หาสอื่ หนังสอื เรียน โดยมอบหมายให้ครูดาเนนิ การสารวจสื่อหนงั สอื เรียนทั้งรายวิชาบงั คับและรายวชิ าเลอื กใน กศน.ตาบล ว่ามจี านวน เท่าใดโดยใชแ้ บบสารวจสอื่ หนังสอื เรียน จากนน้ั ตรวจสอบการลงทะเบียนรายวิชาในโปรแกรม ITW วา่ มียอดจานวน นักศึกษาทลี่ งทะเบียนในรายวชิ าบงั คบั และรายวชิ าเลอื กเท่าใด โดยใช้เอกสารสรุปผลการลงทะเบียน จากนัน้ นาข้อมลู ท่ีมที ้ังสองส่วนเข้าทีป่ ระชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาของอาเภอเพ่ือเสนอและคดั เลือกรายวชิ า จานวนทีต่ อ้ งการจดั หา ทั้งนีค้ านึงถงึ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร เม่อื ไดร้ ายการส่ือหนงั สอื เรียนและจานวนที่ต้องการแลว้ ต้องผา่ นความเหน็ ชอบ จากคณะกรรมการสถานศึกษา จงึ จะดาเนินการตอ่ ไป 2) ปัญหา / อปุ สรรค / ขอ้ เสนอแนะ การจัดหาสือ่ หนงั สือเรยี นไม่เพยี งพอต่อความต้องการของนกั ศึกษา ครคู วรทาใบความรู้ และใบงานเพิม่ เติม และแนะนาใหน้ กั ศึกษา เรียนรู้เพ่มิ เตมิ จากสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ของสานักงาน กศน. หรอื หน่วยงานอืน่ 3) ปจั จัยความสาเรจ็ สถานศึกษาได้พจิ ารณาคัดเลือกหนงั สือเรียนจากหลายบริษัททผี่ า่ นการพจิ ารณาจาก สานกั งาน กศน. 4) ภาพประกอบกิจกรรม ดาเนินการจัดกิจกรรมพบกลุ่ม/เย่ยี มบ้านนักศึกษา กศน. ประจาภาคเรียนที่ 2/2563 หน้า 42

2.1.2 คา่ จัดการเรยี นการสอน เป้าหมาย 120 คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด ไดด้ าเนินการจัดการศกึ ษา ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เนน้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ตาม ปรชั ญา คดิ เปน็ มุ่งให้ผู้เรียนสามารถคดิ ตัดสนิ ใจได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยมีครู กศน.ตาบล และครศู ูนย์การเรียน ชมุ ชน เปน็ ผูอ้ อกแบบและจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยคานึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล เนน้ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ และสร้างองค์ความรสู้ าหรับตนเอง ชมุ ชน และสังคม ครสู ว่ นใหญม่ ีประสบการณ์ในการจัดการเรียน การสอน มีใบประกอบวิชาชีพครู มคี วามรู้ ความสามารถและทักษะทีห่ ลากหลาย มีแผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณา การ และแบบรายวชิ าในการจัดการเรยี นรู้ มีการปรบั เปล่ียนแผนบ้างในบางเวลาเพอ่ื ความเหมาะสม จัดกระบวนการ เรียนรู้โดยใช้รปู แบบ ONIE MODEL การเรยี นรูแ้ บบโครงงาน เพ่ือฝึกทกั ษะกระบวนการคดิ วิเคราะห์ การแสวงหา ความรู้ และการเรยี นรู้จากการปฏิบัติ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั มกี ารมอบหมายใบงานให้นักศึกษา เป็นรายบคุ คล และรายกลมุ่ เพือ่ ศกึ ษาเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้และการนาเสนอผลการเรียนรู้ ฝกึ ทักษะโดยการทาแบบฝึกหดั ก่อนและหลงั การเรยี นรู้ เพ่ือวัดและประเมินผลการเรียนร้ขู องนักศกึ ษา ในการจดั การ เรียนรูค้ รูมกี ารใชส้ ื่อทีห่ ลากหลาย เชน่ วีดีทศั น์ YOUTUBE FACEBOOK แหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน เปน็ ต้น เพ่ือ กระตนุ้ และสรา้ งองค์ความรใู้ ห้กบั นกั ศึกษา มีการชว่ ยเหลอื นักศึกษาทีไ่ มส่ ามารถเข้าเรียนได้ครบทุกครง้ั ดว้ ยการเรยี นรู้ ผา่ นระบบออนไลน์ LMS (Learning Management System) ซึ่งสามารถใชไ้ ด้ท้ังคอมพวิ เตอร์และสมารท์ โฟน และมี การตงั้ กล่มุ ไลน์ เพื่อแนะแนวใหค้ าปรึกษานักศึกษาเป็นรายบุคคล และรายกลมุ่ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ครบู างคนไม่มีวฒุ ิ หรือไม่ได้รับการอบรม หรือมีประสบการณต์ รงตามสาขาวิชาทจ่ี ดั ขาดความรู้และทักษะใน การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้สือ่ เทคโนโลยี 3) ปัจจัยความสาเร็จ ครูมีการวเิ คราะหผ์ ู้เรียน เพ่ือนามาจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั นักศกึ ษา จัดทาแผนการจัดการ เรยี นการสอน แผนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง แผนการสอนเสรมิ ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบ และบนั ทึกหลงั สอน และ ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ในการจดั การเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ LMS (Learning Management System 4) ภาพประกอบกจิ กรรม หน้า 43

อบรมการใชง้ านระบบบรหิ ารจดั การเรียนการสอนออนไลน์ (LMS) ใหก้ บั คณะครู กศน.อาเภอยางตลาด เพ่ือประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน พัฒนาบุคลากรให้มีความร้คู วามเข้าใจและทักษะในการใช้ ระบบ (LMS) สามารถนาไปพัฒนาและปรบั ใชใ้ นการบริหารจัดการเรยี น การสอนออนไลน์ 2.1.3 คา่ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น เปา้ หมาย ๓๖๐ คน 1. โครงการขบั เคลอื่ นการขยายผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดว้ ยกระบวนการ “หลุมพงึ่ พงิ ” สาหรับนักศกึ ษา กศน.เปา้ หมาย 4๗ คน 2. โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้อนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มสาหรับนักศึกษา กศน. เปา้ หมาย 4๒ คน 3. โครงการส่งเสริมการเรยี นรูด้ ้านเทคโนโลยี (โคก หนอง นาโมเดล)เป้าหมาย 19 คน 4. โครงการฝึกทักษะการเรยี นรู้หอ้ งเรียนออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรบั นกั ศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายเป้าหมาย 3๒ คน 5. โครงการฝกึ ทักษะการเรยี นรู้หอ้ งเรียนออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรบั นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเป้าหมาย ๕๐ คน 6. โครงการตวิ เขม้ เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสาหรับนักศึกษา กศน.เปา้ หมาย 50 คน 7. โครงการพัฒนาวชิ าการเพื่อเพ่มิ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นนักศึกษา กศน.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป้าหมาย ๖๒ คน 8. โครงการพัฒนาวิชาการเพ่ือเพิม่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นนักศกึ ษา กศน.ระดบั มัธยมศกึ ษาตอน ปลาย เปา้ หมาย ๕๘ คน หน้า 44

1) ผลการขับเคล่ือนนโยบาย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอยางตลาด จดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพ ผู้เรียน ตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรม พฒั นาคุณภาพผู้เรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดังนี้ กิจกรรมพัฒนา วิชาการ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชวี ิต กจิ กรรมทแ่ี สดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ กิจกรรมการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมลูกเสอื กิจกรรมเพ่อื พัฒนาความรู้ความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) กิจกรรมจติ อาสา “เราทาดีด้วยหวั ใจ” จัดทาแผนการจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียนด้าน วิชาการ เพื่อขอความเห็นชอบจากสานักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ์ และดาเนินการตามแผนเม่ือได้รับการอนุมัติ และ รายงานผลการดาเนนิ การต่อผู้บรหิ ารเมอื่ สิ้นสุดโครงการ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ปญั หา - สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)ทาใหน้ กั ศกึ ษาไม่สามารถ มารว่ มกจิ กรรมได้ อปุ สรรค 1.นกั ศึกษาบางสว่ นมภี ารกิจด้านอาชพี ครอบครัว ทาใหไ้ มส่ ามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้ตลอดโครงการ 2. สถานประกอบการทน่ี ักศึกษาทางานบางแห่งไมใ่ ห้การสนบั สนนุ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นทหี่ ลากหลาย โดยใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาทง้ั ในและนอกจังหวัด เพ่อื สรา้ งโอกาสทางการเรียนรู้ให้กับผู้เรยี น 2. ควรจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นทีส่ อดคล้องกับสภาพปัญหา สถานการณ์ปจั จุบัน เพื่อให้ผู้เรียน สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งเหมาะสม 3) ปัจจยั ความสาเร็จ โครงการกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนมีความหลากหลาย ครอบคลุมตามกรอบกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ทาให้สามารถจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพใช้แหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปัญญาในชมุ ชนท่ีมีศักยภาพใน การถ่ายทอดความรู้ใหก้ ับผเู้ รียน สามารถนาผู้เรียนไปศกึ ษาเรยี นรู้ได้ หน้า 45

4) ภาพประกอบกิจกรรม โครงการฝึกทักษะการเรยี นรู้หอ้ งเรยี นออนไลน์ในระบบ LMS (Learning Management System) สาหรับนักศกึ ษา กศน.ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โครงการส่งเสรมิ การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี (โคก หนอง นาโมเดล) หน้า 46

โครงการส่งเสรมิ การเรยี นรู้อนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มสาหรับนกั ศึกษา กศน. โครงการติวเข้มเพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสาหรับนกั ศึกษา กศน. หน้า 47

งบรายจา่ ยอนื่ แผนงาน : ยุทธศาสตรเ์ พ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขบั เคลือ่ นการพัฒนาการศึกษาทยี่ ง่ั ยืน 3.1 กิจกรรมส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน 3.1.1 กิจกรรมการศกึ ษาฯ เปา้ หมาย .......-....... คน 1) ผลการขบั เคลื่อนนโยบาย ........................................................................-................................................................................. ........................................................................-................................................................................. 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ .......................................................................-.................................................................................. ......................................................................-................................................................................... 3) ปจั จัยความสาเร็จ (ความโดดเด่น จดุ แขง็ นวัตกรรม และเกิดประโยชน์หรอื ผลกระทบ ทางบวกแกผ่ เู้ รยี น อยา่ งไรบ้าง มีต้นแบบ หรอื แบบอยา่ งท่ีดีทเ่ี กดิ ขึน้ จากการดาเนินการตามนโยบาย หรือไม่อย่างไร) ......................................................................-................................................................................... ......................................................................-................................................................................... 4) ภาพประกอบกิจกรรม ......................................................................-................................................................................... ......................................................................-................................................................................... 3.1.2 กจิ กรรมการศึกษาแบบชน้ั เรียนวิชาชีพ 31 ชั่วโมงขน้ึ ไป เปา้ หมาย 1๗ คน ผลการดาเนินงาน ๑๘ คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย กศน.ตาบลเว่อ สงั กดั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอยางตลาด ได้ดาเนนิ การจดั กิจกรรมสง่ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน ในรูปแบบกจิ กรรมช้นั เรยี นวิชาชพี (31 ชัว่ โมง ขน้ึ ไป) โดย ดาเนินการจัดกจิ กรรมหลักสูตร ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายโดยได้รับความร่วมมอื จากภาคีเครือข่ายในการ สนบั สนุน ในเร่อื งของ การจดั หาสถานทีก่ ารจัดกจิ กรรม สนับสนนุ ด้านวัสดอุ ุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการจดั กิจกรรม ในการ ดาเนินการจัดกิจกรรมฝกึ อาชีพนัน้ หลักสตู รทใ่ี ช้จะประกอบไปดว้ ย กล่มุ อาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพอตุ สาหกรรม กล่มุ อาชีพความคดิ สร้างสรรค์ และกลุม่ อาชพี การบรหิ ารจดั การและบริการ สร้างเปน็ อาชีพเสริมรายได้และสามารถ สรา้ งเปน็ อาชพี ใหม่ เปน็ การเพม่ิ รายได้ให้กับตนเองและครอบครัว โดยมีการดาเนินการดังน้ี 2) ปัญหา / อุปสรรค / ขอ้ เสนอแนะ ปัญหา 1. วสั ดุอุปกรณใ์ นการจัดการเรียนการสอนบางรายวชิ าไม่เพยี งพอตอ่ จานวนผ้เู รยี น 2. ผู้เรียนบางสว่ นติดภารกิจจึงไมส่ ามารถมาเรยี นได้ครบชวั่ โมงในแต่ละวนั อุปสรรค หน้า 48

1. ผ้เู รียนมคี วามรพู้ ้นื ฐานไมเ่ ท่ากันทาใหเ้ ปน็ อปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอน 2. ผูจ้ บหลกั สตู รบางส่วนยังไม่สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ ข้อเสนอแนะ 1. สง่ เสริมการเรียนรอู้ าชีพใหมๆ่ ให้เป็นทางเลือกเพื่อกระตุ้นเศรษฐกจิ ในชมุ ชน 2. จดั ใหม้ รี ะบบนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อใหว้ ิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ดาเนนิ การจดั การเรยี นรไู้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลมากน้นั 3) ปัจจัยความสาเร็จ หลักสูตรพฒั นาอาชพี ตรงตามความตอ้ งการของชุมชน วิทยากรมคี วามรู้ ความสามารถตรงตามสาขาวชิ าและ สามารถถา่ ยทอดความร้ใู ห้กับผเู้ รียนไดเ้ ป็นอย่างดีเครือข่ายมีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรม นาทรพั ยากรและแหลง่ เรียนรู้ ในพื้นท่ีมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ 4) ภาพประกอบกิจกรรม โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลักสตู รพัฒนาอาชพี วชิ าชีระยะสั้น จานวน 50 ชว่ั โมง วิชาช่างปนู ระหว่างวนั ที่ 18-29 มกราคม 2564 ณ กศน.ตาบลเวอ่ หมู่ 10 บา้ นคาเจริญ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ 3.1.3 การศึกษาแบบพฒั นาอาชพี ระยะส้นั กลุ่มสนใจ ไม่เกนิ 30 ช่วั โมงเป้าหมาย ๑๒ คน ผลการ ดาเนินงาน ๒๔ คน 1) ผลการขับเคลื่อนนโยบาย กศน.ตาบลเว่อ สงั กัดศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอยางตลาด ไดด้ าเนินการจัด กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนในรูปแบบกิจกรรมพฒั นาอาชพี (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) โดยดาเนนิ การจัดกจิ กรรม หลกั สูตรตามความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย โดยได้รับความร่วมมือจากภาคเี ครอื ข่ายในการสนบั สนุน ในเรือ่ งของการ จดั สถานท่ี การจดั กิจกรรม สนบั สนนุ ดา้ นวสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการจัดกิจกรรม ท้งั วิทยากรกเ็ ปน็ บคุ คลซ่ึงมคี วามรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ในการดาเนินการจดั กิจกรรมฝึกอาชพี นั้น หลักสูตรที่จะใชป้ ระกอบไปดว้ ย กลมุ่ อาชีพพาณชิ ยกรรม กล่มุ อาชีพอตุ สาหกรรม กล่มุ อาชีพความคิดสร้างสรรค์ และกล่มุ อาชีพบริหารจัดการและบริการ ซ่ึง หนา้ 49

ประชาชนผู้รับบรกิ ารสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับไปพัฒนาทักษะฝมี ือของตนเองใหเ้ พ่ิมขึน้ พฒั นาต่อยอดอาชพี เดิม สรา้ ง อาชพี ใหม่และสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว โดยมกี ารดาเนนิ การดงั น้ี 1.การจัดการศกึ ษาต่อเนื่อง รูปแบบกล่มุ สนใจ (ไม่เกนิ 30 ชม.) วชิ าการทาธงุ จานวน 10 ชั่วโมง จานวน 3 กลมุ่ 3.โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน หลกั สตู รพฒั นาอาชีพ รปู แบบ กล่มุ สนใจ จานวน 10 ชว่ั โมง วชิ า การทาขนมเทยี นแกว้ จานวน 1 กล่มุ 2) ปัญหา / อุปสรรค / ข้อเสนอแนะ ผู้เรียนมคี วามรพู้ ื้นฐานไมเ่ ท่ากันทาให้เปน็ อปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอน และผู้จบหลกั สตู ร บางส่วนยังไม่สามารถนาความรทู้ ี่ได้ไปประกอบอาชีพได้ ควรสง่ เสริมใหม้ กี ารนาความรูไ้ ปประกอบอาชพี และหา ช่องทางการตลาด 3) ปจั จัยความสาเรจ็ วิทยากรให้ความรู้เป็นผู้ทีม่ ีความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด และฝึกประสบการณ์ในการประกอบ อาชพี ให้กบั ผ้เู รียนเปน็ อย่างดี 4) ภาพประกอบกจิ กรรม การจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง รปู แบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชม.) วิชาการทาธุง จานวน 10 ชว่ั โมง จานวน 3 กล่มุ หนา้ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook