Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 60 ไอเดีย จิตตปัญญาในห้องเรียน

60 ไอเดีย จิตตปัญญาในห้องเรียน

Description: 60 ไอเดีย จิตตปัญญาในห้องเรียน

นาย สุภวัทน์ เลี้ยงรักษา

Search

Read the Text Version

60 ไอเดีย จิตตปัญญาในหอ้ งเรยี น

60 ไอเดยี จติ ตปญั ญาในหอ้ งเรยี น จดั ทำ� โดย ศนู ย์จิตตปญั ญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 999 อาคารประชาสงั คมอดุ มพัฒน์ ชน้ั 4 ถนนพุทธมณฑลสายส่ี ตำ� บลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จงั หวัดนครปฐม 73170 สนบั สนนุ โดย สาํ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เลขที่ 99/8 ซอยงามดพู ลี แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 ปที ่ีพิมพ์ : 2565 จ�ำนวนพิมพ์ : 3,000 เล่ม บรรณาธิการ ศักด์ชิ ยั อนันตต์ รีชยั บรรณาธิการตน้ ฉบับ บษุ กร เสนากลุ เรยี บเรยี ง รัชนี วิศษิ ฏว์ โรดม ออกแบบและจดั รปู เล่ม พิจติ ร พรมลี พมิ พท์ ่ี บริษทั โรงพมิ พ์วัชรนิ ทร์ พี.พ.ี การพิมพ์ 177 หมู่ 1 ซอยสำ� เร็จพัฒนา 3 ถนนส�ำเรจ็ พัฒนา ตำ� บลปลายบาง อำ� เภอบางกรวย จังหวัดนนทบรุ ี 11130 ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแห่งชาติ 60 ไอเดยี จติ ตปญั ญาในหอ้ งเรยี น.-- นครปฐม : ศนู ยจ์ ิตตปญั ญาศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหิดล, 2565 232 หน้า 1. จิตตปญั ญาศกึ ษา. I. ชื่อเรอ่ื ง 370.114 ISBN 978-616-443-681-7

คำ� น�ำ ผูอ้ �ำนวยการ ศนู ยจ์ ิตตปญั ญาศึกษา มหาวิทยาลยั มหดิ ล สุขภาวะทางปัญญาเป็นท้ังเป้าหมาย และหนทางของการสร้างสังคม แหง่ ความสขุ โลกทกุ วนั นเี้ กดิ ความพรอ่ งของสขุ ภาวะทางปญั ญา เพราะละเลย การพัฒนาจิตดา้ นใน จนทำ� ใหเ้ กิดการรบั รูค้ วามจริงในโลกท่ีผิดพลาด ตกเป็น เหยอ่ื ของความไม่รทู้ เี่ ป็นรากฐานของวกิ ฤตทัง้ มวลในทกุ ระดับ “จิตตปัญญาศึกษา” ท�ำงานกับมิติด้านในของมนุษย์ เน้นการศึกษา เพ่ือสร้างความตื่นรู้ของจิต เพ่ือเป็นฐานของการสร้างปัญญาในการเข้าไป เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของโลกและชีวิตอย่างเท่าทันและถูกต้อง อันเป็น เสน้ ทางเดยี วกับความพยายามในการสรา้ งเสรมิ สุขภาวะทางปญั ญาให้เกิดขึน้ ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับโอกาสในการท�ำงาน เป็นภาคีเครือข่ายหน่ึงของการขับเคลื่อนแผนงานการสร้างเสริมสุขภาวะ ทางปญั ญา ภายใตก้ ารสนับสนุนของสำ� นักงานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) ในชือ่ โครงการ “หย่งั รากจิตตปัญญา สู่สังคมแห่งความสขุ ” มานับต้ังแต่ พ.ศ.2561 จนถึงปัจจุบัน สาระส�ำคัญของโครงการดังกล่าวคือ การส่งเสริมให้เกิดการน�ำเอากระบวนการ และแนวคิดด้านจิตตปัญญาเข้าไป พัฒนากระบวนการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา เร่ิมต้นจากการพัฒนา กลมุ่ แกนนำ� ทเี่ ปน็ อาจารย์ และขยายตอ่ จนเปน็ กจิ กรรม และเนอ้ื หาในหลกั สตู ร ในรายวิชาต่างๆ อันเป็นแนวคิดของการหย่ังรากจิตตปัญญาให้เกิดขึ้น และ งอกงามขยายผลตอ่ ไป (1)

ในนามของศนู ยจ์ ติ ตปญั ญาศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จงึ ใครถ่ อื โอกาสนี้ ขอบคุณส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และเครือข่าย การศึกษา ประกอบด้วยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี มหาวิทยาลัยราชภัฏ วิทยาลัยอาชีวศึกษา และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ท่ีได้ให้การสนับสนุน และรว่ มมอื กนั จนเกดิ เปน็ งานเชน่ น้ี ขอบคณุ ทมี กระบวนกร รวมถงึ ทมี สนบั สนนุ ของศูนย์จิตตปัญญาศึกษาทุกท่านท่ีได้ทุ่มเทสติปัญญา และก�ำลัง จนเกิดเป็น ผลงานเชน่ น้ี ซงึ่ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ จะชว่ ยใหค้ รบู าอาจารยใ์ นสถาบนั การศกึ ษา ต่างๆ ได้มองเห็นตัวอย่าง และสามารถบูรณาการจิตตปัญญาศึกษาเข้าไป ในชน้ั เรยี น จนเกิดนวตั กรรมแหง่ การเรยี นรทู้ ีส่ รา้ งใหเ้ กดิ ความงอกงาม ในส่งิ ท่ี เรียกวา่ “สุขภาวะทางปัญญา” ตอ่ ไป ลือชยั ศรีเงนิ ยวง ผอู้ ำ� นวยการ ศูนย์จติ ตปัญญาศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหิดล (2)

คำ� นำ� บรรณาธกิ าร คุณลกั ษณะส�ำคญั ของจติ ตปัญญาศกึ ษา คือการเรียนรดู้ ้วยใจ หมายถงึ เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ พ่ี ฒั นาจติ ใจมนษุ ยใ์ หก้ วา้ งใหญข่ น้ึ ศ.นพ. ประเวศ วะสี ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความจิตตปัญญาศึกษาไว้ว่า คือการเรียนรู้ท่ีขยายจิตเล็กไปสู่ จิตใหญ่ จิตเล็กหมายถึงจิตที่เอาแต่ตนเองเป็นศูนย์กลาง ไม่ค�ำนึงถึงสรรพสิ่ง รอบข้าง จิตใหญ่หมายถึงจิตที่มีพื้นท่ีส�ำหรับทุกสรรพส่ิง ค�ำนึงถึงเพื่อนมนุษย์ สรรพสัตว์ และธรรมชาติ หรือจะกล่าวง่ายๆ ว่า คือการเรียนรู้ท่ีพัฒนาจิตใจ ให้เกิดความรัก และความเมตตาแก่สรรพสิ่งรอบตัว ในขณะท่ีกระบวนการ เรียนรู้กระแสหลักมุ่งเน้นไปท่ีการพัฒนาความรู้ ความคิด และความสามารถ เพ่ือสร้างความก้าวหน้าให้กับอารยธรรมโลก เป็นการมุ่งเน้นการพัฒนา หัวสมอง เม่ือบูรณาการจิตตปัญญาเข้ากับการศึกษาในศาสตร์สาขาต่างๆ จึงเปรียบเสมือนการหลอมรวมหัวใจเข้ากับหัวสมองในระบบการศึกษา ทั้งสองสิ่งจะเติมเต็มซ่ึงกันและกัน เป็นการพัฒนามนุษย์แบบองค์รวมครบ ท้ังสามมิติคือ สติปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณ สอดคล้องกับแนวคิด ของ ปาร์คเกอร์ ปาลม์ เมอร์ ที่เขยี นไวใ้ นหนงั สือ “กล้าท่จี ะสอน” วา่ การศกึ ษา ที่แท้ ต้องประกอบไปด้วยการพัฒนาสติปัญญา อารมณ์ และจิตวิญญาณ ไม่สามารถขาดสิ่งหน่งึ ส่ิงใดไปได้ ด้วยฐานความคิดน้ี ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้ด�ำเนินโครงการ หยั่งรากจิตตปัญญาสู่สังคมแห่งความสุข ภายใต้ การสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ต่อเน่ืองมาเป็นเวลา 5 ปี ด้วยการอบรมแนวคิด รวมถึงกระบวนการเรียนรู้ (3)

แบบจิตตปัญญาในหลากหลายเครือข่ายการศึกษา ประกอบด้วยวิทยาลัย พยาบาลราชชนนี มหาวิทยาลัยราชภัฏ วิทยาลัยอาชีวศึกษา และมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายสุดท้าย ให้ครู และอาจารย์ทุกท่าน สามารถบูรณาการจิตตปัญญาศึกษาเข้าไปในชั้นเรียน สร้างนวัตกรรมแห่ง การเรียนร้ใู ห้เกิดขึ้นในสาขาวิชาตา่ งๆ หนงั สอื เลม่ นค้ี อื การรวบรวมไอเดยี ของเหลา่ ครู อาจารย์ ผกู้ ลา้ ทจ่ี ะสอน ท่ีพยายามผสมผสานมิติการพัฒนาหัวใจเข้ากับการพัฒนาสมองในรายวิชา ท่ีตนเองรับผิดชอบอยู่ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักคือ ต้องการให้ลูกศิษย์เติบโต เปน็ มนุษยท์ เี่ ปี่ยมด้วยความเกง่ ความดี ความรกั และความสุข ไอเดียทง้ั หมด ที่ปรากฎในหนังสือเล่มนี้ คือก้าวแรกแห่งความพยายามในการหลอมรวม หวั ใจเขา้ ไปในการศกึ ษาจงึ อาจจะยงั ไมส่ มบรู ณ์ คงยงั ตอ้ งมกี ารพฒั นาตอ่ ยอดกนั ข้ึนไป ถา้ มีความผดิ พลาดประการใดต้องกราบขออภยั ไว้ ณ ทีน่ ี้ สุดท้ายนี้คณะผู้จัดท�ำหนังสือ หวังว่าไอเดียทั้งหมดจากเหล่าครู ผู้กล้าท่ีจะสอนจากหลากหลายสถาบัน และหลากหลายสาขาวิชาจะเป็น ตัวอย่าง และสร้างแรงบันดาลใจแก่ครู อาจารย์ทั้งแผ่นดิน ท่ีต้องการน�ำพา การศึกษาไปสกู่ ารศึกษาทแ่ี ท้ เป็นการพฒั นามนุษย์อยา่ งองคร์ วมทแี่ ทจ้ ริง ศักด์ชิ ยั อนนั ตต์ รีชยั หวั หน้าโครงการย่อยเครอื ข่ายวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี และวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา (4)

สารบัญ หนา้ (1) ค�ำน�ำ ผู้อำ� นวยการ ศูนยจ์ ติ ตปญั ญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหดิ ล (3) ค�ำน�ำ บรรณาธกิ าร 1 Part 1 บทน�ำ 3 ความหมายแกน่ แท้ของจิตตปญั ญาศึกษา 4 หย่งั รากจติ ตปัญญา สสู่ ังคมแหง่ ความสุข 5 เคร่อื งมอื และกจิ กรรมพนื้ ฐานในการจดั กระบวนการเรียนร ู้ 26 Part 2 ตวั อย่าง 60 ไอเดยี บูรณาการจติ ตปญั ญาส่กู ารเรยี นรู้ 27 ทัง้ ในและนอกห้องเรยี น 29 1. รวม 11 ไอเดียปังน่าสนใจ เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ดา้ นใน 31 • เรยี นรู้สทิ ธิมนุษยชน 35 1. Bully Wall ถอ้ ยค�ำแห่งความเกลียดชัง 38 2. เกม Paparazzi ใช้ส่อื โซเชยี ลมีเดียอย่างมีสต ิ 42 • การยอมรับความแตกตา่ งหลากหลาย 46 3. วาดเมืองในฝัน 50 • ความส�ำคญั ของความยุตธิ รรม 57 4. ค�ำพพิ ากษา 60 • เรียนรู้ภาษาไทยให้สนุก 66 5. ตวั อกั ษรสรา้ งสรรค์ • การพยาบาลชมุ ชน (5) 6. Deep Listening หวั ใจของงานพยาบาลชมุ ชน 7. ส่กู ารเปน็ หมอครอบครวั อย่างแท้จรงิ • การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ 8. ทักษะความเปน็ ผนู้ ำ� เพอื่ การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 9. ปฐมนิเทศและเตรียมความพรอ้ มนักศึกษาใหม่ • การพยาบาลสขุ ภาพจติ และจติ เวช 10. เปดิ มมุ มองใหม่ในการดูแลผู้ปว่ ยจิตเวช

สารบัญ หนา้ 72 • การพยาบาลมารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ (หอ้ งคลอด) 11. หอ้ งคลอดท่ีไมน่ า่ กลัวอีกตอ่ ไป 2. การดแู ลผ้ปู ว่ ยดว้ ยหัวใจความเปน็ มนษุ ย์ 75 (Humanized Health Care) 12. วิชาจติ ตปญั ญาศกึ ษา คณุ ค่าส่อู งคร์ วม 76 13. อนามยั ชมุ ชนเร่มิ จากเรยี นรตู้ นเองและครอบครวั 79 14. นยิ ามความเป็นมนุษย์บนภาพวาด 83 15. บอร์ดเกมตน่ื รู้สหู่ น่ึงเดียวกนั 85 16. สายทางใหม่ สใู่ จเดียวกนั The Way of Oneness 87 17. ห้องเรยี นรู้ด้วยหวั ใจความเปน็ มนุษย์ 90 18. กระบวนทศั นใ์ นการดแู ลดว้ ยหัวใจความเป็นมนษุ ย ์ 96 19. ปฏิบัติการพยาบาลสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช 99 20. เยยี่ มบ้านอยา่ งไรให้เขา้ ถงึ ใจสูงอายุ 104 21. เรยี นรู้การพยาบาลชุมชนอย่างมคี วามสขุ 106 22. กิจกรรมเสรมิ สรา้ งเจตคตทิ ี่ดตี ่อวิชาชพี พยาบาล 112 23. กิจกรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 115 24. การออกแบบวธิ กี ารสอนทางสขุ ภาพท่ผี ้สู อนมคี วามสุขผู้ฟังสบาย 119 25. เพม่ิ พลงั กาย…เพิ่มพลงั ใจฝึกปฏิบตั ิงานหอ้ งคลอด 122 26. กลา้ ทีจ่ ะสอนให้กระทบใจ 126 27. กิจกรรมชว่ ยลดความเครียดจากโควดิ -19 และการเรยี นออนไลน ์ 129 28. นวัตกรรมใจ Mind Innovation 132 (6)

สารบัญ หน้า 3. การศึกษาด้วยหวั ใจความเป็นมนุษย์ (Humanized Education) 134 สถาบนั อดุ มศกึ ษา 29. ครผู ูเ้ สยี สละ 135 30. จติ วทิ ยาสำ� หรบั คร ู 138 31. ทักษะการใชช้ ีวิตด้วยธรรมะ 140 32. หัวใจพระพทุ ธศาสนา 142 33. ฝึกทกั ษะการเป็นผฟู้ งั ท่ีดีและการจับประเด็น 144 34. เรียนรูช้ ุมชนโครงการจิตอาสาวิศวกรสงั คม 149 35. สอื่ สารสาธารณะอยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ 153 36. พรสวรรค.์ ..ช่ือของฉนั 158 37. สิ่งของ...สะท้อนคิด 161 4. หอ้ งเรยี นแห่งความสุข (Happy Classroom) วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา 164 38. เรียนรู้ภาษาไทยอย่างมีความสุข 165 39. ศิลปะพฒั นาสมาธิและสติ 168 40. แก้ปญั หาคนเพื่อทำ� โครงการให้ส�ำเรจ็ 172 41. จติ ตปัญญากบั การผลิตส่อื มัลติมีเดยี ส�ำหรบั ธรุ กจิ ดจิ ิทลั 175 42. เขา้ ใจตนเอง เขา้ ใจผู้บรโิ ภค และเข้าใจตลาด 178 43. ตระหนักรู้เหน็ คุณค่างานวจิ ัย 181 44. การออกแบบช้นิ งานสร้างสรรคก์ ฎหมาย 184 45. การประยุกต์ใชใ้ นวิชาสถิต ิ 188 46. สมุดบนั ทกึ อารมณ ์ 191 47. ลำ� ดบั ข้ันแห่งชีวติ 194 48. เปลีย่ นตนเองเพือ่ การเปลยี่ นแปลงสงั คม 197 49. เปลยี่ นวิชาเปน็ อาชพี อาชพี เริ่มทีบ่ ้าน 199 50. การพัฒนาตนเองสู่วิชาชีพในอนาคต 201 (7)

สารบัญ หน้า 205 51. ฝกึ สมาธเิ รยี งก้อนหินให้เกดิ ความสมดุล 207 52. พฒั นาตนจากภายในสูค่ วามเปน็ นกั โลจสิ ติกสม์ อื อาชีพ 211 53. วยั รนุ่ แว๊นด้วยจิตส�ำนึกเรือ่ งความปลอดภยั 215 54. จดุ ภาพเพ่มิ สมาธ ิ 217 55. การสร้างความเปล่ยี นแปลงจากภายในของผนู้ ำ� อกท. 5. กจิ กรรมโฮมรมู เพื่อพัฒนาผู้เรียน 219 56. ในชัว่ โมงครอบครัวเสมือน 220 57. พัฒนาฐานใจดว้ ยจติ ตปัญญา 223 58. พืน้ ท่ีความสขุ สงบ...ผ่านงานศลิ ปะ 225 59. Self - challenge กลา้ ดใี น 21 วัน 228 60. วาดภาพอดีต ปัจจบุ นั อนาคต 230 (8)

Part 1 บทนำ� 1

การเรียนรู้ที่น�ำไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืนน้ันต้องหยั่งรากจาก ภายในตวั ตนและจติ ใจทต่ี ระหนกั รใู้ นตนเอง จนสามารถพฒั นาตนเองในทกุ มติ ิ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ แนวคดิ จติ ตปญั ญาศกึ ษา (Contemplative Education) และ การเรียนร้เู พ่อื การเปล่ียนแปลง (Transformative Learning) เป็นหน่ึงใน หลากหลายแนวคดิ ในการเรยี นรทู้ สี่ ามารถชว่ ยเขา้ ไปเตมิ เตม็ การเรยี นการสอน ให้กับระบบการศึกษากระแสหลักของไทย ที่เดิมมุ่งเน้นการเรียนการสอน ให้ความรู้และฝึกฝนทักษะในการประกอบวิชาชีพให้ปรับเปล่ียนสู่ห้องเรียน แห่งการมีส่วนร่วมท่ีทั้งผู้สอนและผู้เรียนได้มีโอกาสกลับมามองมิติด้านใน ของตนเองเพิ่มขึ้น เพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน และเพ่ือการเป็น ห้องเรียนแห่งความสุขท่ีทุกคนได้รับการโอบอุ้มให้สามารถเรียนรู้ได้เต็ม ตามศกั ยภาพที่แตล่ ะคนมีอยูไ่ ม่เหมอื นกัน โดยจิตตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้เพ่ือการเปล่ียนแปลงเป็นการเรียนรู้ แบบใหม่ที่เปิดพื้นที่แห่งการเรียนรู้ท่ีช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนได้เรียนรู้ เก่ียวกับการพัฒนาด้านใน การวางพ้ืนฐานจิตใจ และกระบวนทัศน์ใหม่ ที่เป็นการพัฒนามนุษย์แบบองค์รวม เน้นการส่งเสริมศักยภาพของ ผู้เรียนให้พัฒนาไปสู่การมีวิธีคิดแบบเติบโต (Growth Mindset) ที่เชื่อว่า ตนเองสามารถพัฒนาเปลี่ยนแปลงได้ โดยพร้อมกับการปลูกฝังทักษะ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning Skill) ความรักในการเรียนรู้ เห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ท่ีมีต่อตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ เข้าถึงวธิ ีการพฒั นาตนเองได้ในทุกมิติ ท้งั ด้านความรู้ ทกั ษะวชิ าชีพ ทกั ษะชวี ิต และการพัฒนาเจตคติมองเห็นศักยภาพในทางสร้างสรรค์ของตนเอง โดยรูปแบบการเรียนรู้ที่เสริมเติมเต็มด้วยกระบวนการของจิตตปัญญาศึกษา และการเรียนรู้เพ่ือการเปลี่ยนแปลงนี้ยังมีเป้าหมายเพ่ือท�ำให้ผู้เรียนสามารถ รับมือกับการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วของโลกปัจจุบันได้เพ่ิมมากข้ึน และ มุ่งหวังในการสร้างพื้นฐานชีวิตในทุกมิติเพื่อให้ผู้เรียนสามารถรับมือกับ ความผันผวนในอนาคตไดด้ ยี ง่ิ ขึ้นด้วย 2

ความหมายแกน่ แท้ของจติ ตปัญญาศึกษา จิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education) คือ การเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ที่น�ำพาให้ผู้เรียนรู้ได้ใคร่ครวญส�ำรวจภายในตนเอง สังเกต สิง่ ท่เี กดิ ขน้ึ ภายในจิตใจ ความคิด และอารมณ์ จนเกิดการตระหนักรใู้ นตนเอง เข้าใจในตัวเอง เข้าใจผู้อ่ืน และสังคม มองเห็นความเช่ือมโยงของมนุษย์กับ ชมุ ชน สังคม และสรรพสงิ่ ในโลก โดยจิตตปัญญาศึกษาเป็นการศึกษาเรียนรู้ในรูปแบบของการมี ประสบการณ์ตรง ผ่านการท�ำกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ที่สนับสนุน ให้เกิดการท�ำความเข้าใจโลกภายในของตัวเอง มองเห็นความเช่ือมโยง ระหว่างตนเองกับเพ่ือนมนุษย์ มีมุมมองท่ีหลากหลายเปิดกว้างเกี่ยวกับชีวิต และมีความเข้าใจที่ลึกซ้ึงเก่ียวกับความจริงของความเป็นมนุษย์ท่ีมีความ หลากหลาย เพื่อก่อให้เกิดความรักต่อตนเอง รักเพ่ือนมนุษย์ มีอิสรภาพ ในการปลดปล่อยตนเองจากกรอบความคิดแบบเดิมท่ีกดข่มการต่ืนรู้ ภายในตนเองไว้ บ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งปัญญาญาณท่ีช่วยให้สามารถ รับผิดชอบต่อการกระท�ำของตนเอง เข้าถึงวิธีการในการพัฒนาศักยภาพ ของตนเอง เข้าถึงความสขุ แห่งชวี ติ และอยรู่ ่วมกับผอู้ น่ื ในสงั คมไดอ้ ย่างสมดลุ 3

หยง่ั รากจิตตปัญญา สูส่ งั คมแหง่ ความสขุ โครงการ “หย่ังรากจิตตปัญญา สู่สังคมแห่งความสุข” ได้ด�ำเนินการ เพ่ือน�ำการเรียนรู้เพื่อการเปล่ียนแปลงขยายผลในกลุ่มครูและสถาบันการ ศึกษาท่ัวประเทศ โดยในแตล่ ะปไี ด้จดั ท�ำโครงการ “สอนนอกกรอบ: ครูผู้สรา้ ง การเปลย่ี นแปลงภายใน” (Teach out of the Box: Transformative teachers from within) ด�ำเนินการจัดอบรมใหก้ บั ครูในสถาบันการศึกษา 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ 1. ครูในเครือขา่ ยสถาบนั อุดมศึกษา 2. ครใู นเครอื ขา่ ยวิทยาลยั พยาบาล 3. ครใู นเครือขา่ ยวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษา และวิทยาลัยการอาชพี ท้ังนี้ครูผู้เข้าอบรมในโครงการจะได้เรียนรู้ทั้งปรัชญา แนวคิด เคร่ืองมือ และกจิ กรรมในแนวทางจิตตปัญญาศกึ ษา และการเรยี นรูเ้ พอ่ื การเปล่ียนแปลง โดยมีวัตถุประสงค์เม่ืออบรมแล้วครูจะน�ำกระบวนการเรียนรู้ท่ีได้รับไป ปรับประยุกตใ์ ช้ในหอ้ งเรยี น สามารถออกแบบกิจกรรม และสรา้ งกระบวนการ การเรยี นรูเ้ พื่อสร้างเสรมิ ศักยภาพของผูเ้ รยี นไดต้ อ่ ไป ท้ังนี้กระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปล่ียนแปลงนั้นต้องสร้างการ เปล่ียนแปลงจากภายในตนเองสู่ภายนอก เริ่มจากการท�ำความรู้จัก เข้าใจ ตัวเอง การตรวจสอบทบทวนตัวเอง สร้างการตระหนักรู้อย่างลึกซ้ึงจาก ด้านในของตนเอง มีเครื่องมือในการสร้างการเปลี่ยนแปลงในระดับลึก เช่น สติในชีวิตประจ�ำวัน สติกับการท�ำงาน การเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม (Group Process) การจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีท�ำให้ผู้เข้าร่วมได้มี ประสบการณต์ รง (Direct - experience) และได้มสี ่วนร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ไปด้วยกัน ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ท่ีสร้างการเปล่ียนแปลงท่ีแท้จริงและย่ังยืน จะเขา้ ไปทำ� งานกบั ธรรมชาตดิ า้ นในลงลกึ ไปถงึ ระดบั ความเชอื่ พน้ื ฐาน ความรสู้ กึ และกรอบความคิดท่ีบุคคลใช้ในการรับรู้และท�ำความเข้าใจโลก กระบวนการ ภายในนี้จะน�ำไปสู่การยกระดับของจิตส�ำนึกจนเกิดการเปล่ียนแปลงภายนอก ที่จะพบได้ทั้งในระดับการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม เปล่ียนแปลงท่าที และ วธิ กี ารแสดงออก 4

เครอื่ งมอื และกจิ กรรมพน้ื ฐานในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เครื่องมือและกิจกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้มักจะเร่ิมต้น ด้วยการฝึกรู้เท่าทันตนเอง รู้จักตัวเอง เพ่ือน�ำไปสู่การตระหนักรู้ในตนเอง (Self - awareness) เป็นการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง เช่น การรู้ว่า กำ� ลงั นง่ั อยู่ การกลบั มารบั รลู้ มหายใจ ฯลฯ และสง่ิ สำ� คญั คอื การเรยี นรเู้ กดิ จาก การเอาใจเข้าไปสัมผัสประสบการณ์นั้นด้วยตนเอง เพ่ือกลับมารับผิดชอบ ชีวิตตนเอง รับผิดชอบส่ิงที่เกิดข้ึนภายในใจ เม่ือเกิดความตระหนักรู้ ในตนเอง (Self - awareness) แล้ว การตระหนักรู้จะเริ่มแผ่ไปสู่ภายนอก จนน�ำไปสู่การตระหนักรู้จนเกิดความตระหนักรู้ในผู้อ่ืน/ส่ิงอื่นๆ (Other - awareness) กอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผอู้ นื่ มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ และในทส่ี ดุ เกิดการตระหนักรู้ต่อสังคม (Social - awareness) ซึ่งคนหลากหลาย มามปี ฏสิ มั พันธ์อาศัยอยรู่ ่วมกันในสงั คม ตัวอย่างเครื่องมือการเรียนรู้และกิจกรรมจิตตปัญญาที่ใช้เป็นพ้ืนฐาน ในการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ 5

1 กิจกรรม Check In วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้ผู้เรียนฝึกส�ำรวจอารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง และสื่อสาร ใหต้ นเองและผอู้ ่ืนรับรไู้ ด้ 2. เพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ให้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง และ ผอ่ นคลายความกังวลต่างๆ 3. เพ่ือให้ผู้สอนสามารถประเมินความพร้อมของผู้เรียน และเข้าใจ ขอ้ จ�ำกดั ตา่ งๆ ของผ้เู รียน เพ่อื น�ำไปสูก่ ารคลี่คลายปัญหาตอ่ ไป แนวคิด “การส�ำรวจใจตนเอง” ช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นกลับมารบั รูอ้ ารมณ์ ความรสู้ ึก ความนึกคิด ท่ีก�ำลังเกิดข้ึนในจิตใจ ณ ปัจจุบันขณะ เป็นจุดเร่ิมต้นของ การฝึกความตระหนักรู้ในตน (Self-awareness) ในคร้ังแรกๆ อาจ ไม่สามารถบอกความรู้สึกได้ๆ แต่เมื่อฝึกฝนบ่อยๆ ผู้เรียนจะเกิด ความช�ำนาญในการสังเกตโลกภายในของตนเองได้ชัดละเอียดประณีตข้ึน มีสติสามารถเท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ท้ังด้านบวกและลบ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมภายนอกของตน และสามารถจัดการดูแลให้อารมณ์ ที่เกิดขึ้นไม่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมด้านลบต่อตนเองและการอยู่ร่วมกับ ผู้อ่ืนได้ 6

วิธีการ 1. ผู้สอนชวนใหผ้ ้เู ข้าร่วมไดล้ องส�ำรวจอารมณ์ ความรสู้ กึ ทีก่ ำ� ลังเกิดขนึ้ โดยให้โจทย์ว่า “ถ้าให้เปรียบเทียบใจของเราเป็นท้องฟ้า ท้องฟ้าภายในใจ ของเราเปน็ อยา่ งไร” (เปรยี บไดก้ บั ท้องฟา้ เวลาใด เช้ามืด สาย เย็น ค่�ำ หรือ กลางคนื มเี มฆ มีฝน มพี ายุหรอื ไม่) 2. ผู้สอนท�ำเป็นตัวอย่างด้วยการ Check In สะท้อนสภาวะใจของตน ใหผ้ ้เู รียนไดร้ บั รู้ 3. ให้ผู้เรียนได้แบ่งปันท้องฟ้าในใจตนออกมาให้เพ่ือนในห้องฟัง โดย ชวนให้เพือ่ นท่ีเหลือตง้ั ใจรับฟงั เพื่อนดว้ ยความจริงใจและใสใ่ จ หมายเหตุ: กิจกรรม Check In เป็นการส�ำรวจจิตใจท่ีเป็นนามธรรม ให้ออกมาเป็นรูปธรรมภายนอกท่ีเข้าใจง่ายขึ้น โดยการเปรียบเทียบสภาพ จติ ใจและอารมณก์ บั ทอ้ งฟา้ และอาจประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ การเปรยี บเทยี บกบั สงิ่ อนื่ ไดอ้ ีก เช่น เปรยี บเทียบกับท้องทะเลในใจ เปรียบใจเปน็ สี เปรียบเป็นลักษณะ การเดนิ ทาง (เดนิ กลางทะเลทราย พายเรอื สบายๆ วง่ิ ขน้ึ เขา หรอื ขม่ี อเตอรไ์ ซด์ วบิ าก ฯลฯ) หรอื เปรียบเทียบกับส่งิ อนื่ ๆ 7

2 กจิ กรรม การฟัง 4 ระดับ และการฟังอยา่ งลกึ ซ้ึง (Deep Listening) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เป็นเคร่อื งมือในการพฒั นาความตระหนักรู้ตนเอง (Self-awareness) มีสตเิ ทา่ ทันการตัดสินเกี่ยวกับสิง่ ตา่ งๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ภายในใจ 2. เพ่ือพัฒนาความสัมพันธ์กับผู้อื่น รับฟังด้วยความเห็นอกเห็นใจ รับรู้ ความรู้สกึ ความตอ้ งการของผู้เล่า 3. เพ่ือเปิดใจผู้เรียนให้กว้างข้ึน มีพื้นท่ียอมรับเร่ืองราวหรือความเห็น ท่ีแตกตา่ งจากตน 4. เพอ่ื สรา้ งพนื้ ทป่ี ลอดภยั ไวว้ างใจ เปน็ พนี้ ทก่ี ารเรยี นรทู้ ใี่ สใ่ จกนั และกนั แนวคดิ การฟัง 4 ระดบั เปน็ การแบ่งระดบั คุณภาพของการฟัง มาจากทฤษฎี ตวั ยขู องออตโต ชารเ์ มอร์ (Otto Scharmer) โดยแบง่ จากจดุ สนใจในการฟงั ของเราในแต่ละขณะ ซ่ึงแตล่ ะขณะกเ็ ปลย่ี นแปลงไปตามสถานการณ์ หาก เราเทา่ ทนั ในแตล่ ะขณะวา่ เรากำ� ลงั ฟงั อะไร เราจะเทา่ ทนั ตวั เองมากขนึ้ เขา้ ใจ ตวั เองมากขน้ึ และจะพฒั นาศกั ยภาพในการฟังของเราไดม้ ากย่ิงขนึ้ เพราะ ปกตเิ ราจะฟงั ไปเรอื่ ยๆ โดยไมไ่ ดร้ เู้ ทา่ ทนั วา่ กำ� ลงั ฟงั อะไรกนั แน่ กำ� ลงั ฟงั คน อ่นื อยู่ หรอื กำ� ลังฟังเสียงความคดิ ในหัวเราของเราเองโดยไมร่ ตู้ ัว 8

การฟังระดับที่ 1: การฟังแบบดาวน์โหลด (Downloading Listening) หรือการฟังจากความคุ้นชิน (I-in-me) เป็นการฟังที่ได้ยิน ในสิ่งท่ีตรงกับความคิดของตัวเองเท่านั้น เป็นการฟังเพื่อยืนยันในสิ่งที่รู้ อยู่แล้ว ใส่ใจในเสียงตัดสินของตนเอง หรือสิ่งท่ีเตรียมจะพูด เป็นช่วงเวลา ท่ีเราใช้ประสบการณ์เก่า นิสัยของความคิดแบบเก่า เต็มไปด้วยส่ิงเดิมๆ ที่ ตัวเราเองคุ้นเคย ผลของการฟังในระดับน้ีคือ ผู้ฟังไม่ได้อยู่กับคนตรงหน้าอย่างเต็มท่ี ไม่ได้ฟังเพื่อผู้พูด แต่เป็นการฟังเพื่อตนเอง ความใส่ใจของเราอยู่กับตัวเราเอง อยู่กับความคิดของตัวเอง จึงได้ชื่อว่า I-in-me เราอยู่ในตัวเอง ข้อเสียของ การฟังระดับน้ีผู้ฟังจึงไม่ได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ และไม่ได้ค้นพบส่ิงใหม่ๆ จาก การฟงั 9

การฟงั ระดับที่ 2: การฟงั แบบขอ้ เท็จจริง (Factual Listening) หรอื ฟงั จากขอ้ มลู (I-in-it) เปน็ การฟงั ทไี่ ดย้ นิ ในสง่ิ ใหมไ่ มต่ รงกบั ความเขา้ ใจ เดิมมาก่อน เกิดจากการเปิดความคิด (Open Mind) ห้อยแขวน (Suspend) เสียงตัดสินจากความคุ้นชินเดิม หรือเรียกว่า VoJ (Voice of Judgment) การฟังระดับน้ีเป็นการฟังท่ีความสนใจ (Attention) ของผู้ฟังอยู่ที่เนื้อหา ข้อมูล ข้อความที่พูด โดยไม่สนใจอารมณ์ ความรู้สึก น้�ำเสียง ท่าทาง (อวัจนภาษา) ของผู้พูด (ในภาพจุดด�ำเคล่ือนมาอยู่ขอบโลกของการสื่อสาร อยู่ทีข่ อ้ มลู ยงั ไมเ่ ขา้ ไปรับรู้โลกภายในของผูพ้ ูด) ผลคือเราอาจไม่ได้ความเป็นจริงทั้งหมดของการสื่อสาร เช่น เม่ือถูก ถามว่าสบายดีไหม คนทั่วไปมักตอบว่าสบายดี ซึ่งบางทีอาจแย้งกับน้�ำเสียง ที่ตอบในขณะน้ัน ฉะนั้นหากเรายึดเพียงข้อมูลหรือค�ำพูดก็อาจท�ำให้เราพลาด ท่ีจะเข้าถึงความจริงทั้งหมดของผู้พูด และเข้าไม่ถึงว่าความรู้สึกหรือ ความต้องการท่ีแท้จริงคืออะไร การฟังในระดับท่ี 1 เรายังสนใจกับความคิด ตัวเองเป็นหลัก การฟังในระดับที่ 2 ก็สนใจเฉพาะเนื้อหาใจความ การฟัง ทง้ั 2 ระดับเป็นการฟงั ดว้ ยสมอง โดยปกตสิ มองมหี น้าทค่ี ดิ วิเคราะห์ ตดั สนิ และเมื่อมีการตัดสินโดยอัติโนมัติเรา (ผู้ฟัง) มักตัดสินให้ตัวเองถูก และผู้อื่น (ผู้พดู ) ผิด จึงไม่แปลกท่กี ารฟังใน 2 ระดบั แรกนีม้ กั จะท�ำใหเ้ กดิ ความขัดแย้ง กันของผู้ที่มีความเห็นต่างกัน ซึ่งยังมีการฟังในอีกลักษณะหนึ่งท่ีแม้ความเห็น แตกต่างกนั แตไ่ มจ่ �ำเป็นต้องขดั แยง้ กนั 10

การฟงั ระดบั 3: การฟงั แบบเขา้ อกเขา้ ใจ (Empathic Listening) หรือการฟังด้วยความกรุณา (I-in-you) เป็นการฟังผ่านทัศนะของคนอ่ืน เห็นผ่านสายตาของคนอ่ืน เกิดจากการเปิดใจ (Open Heart) ใส่ใจ กลับมา (Redirect) ที่ใจของเราเอง สามารถก้าวข้ามเสียงแห่งการเย้ยหยัน หรือ VoC (Voice of Cynicism) ท�ำให้เข้าถึงความรู้สึกของผู้อื่น ผ่านใจ ของเราเอง เปล่ียนผ่านจากความฉลาดของหัว (The intelligence of your head) สู่ความฉลาดของใจ (The intelligence of your heart) ถึงแม้ไมเ่ หน็ ด้วยผ่านทัศนะของตนเอง แตจ่ ะเข้าใจคนอ่ืนผ่านทศั นะของเขาได้ สามารถอยู่กับความหวน่ั ไหวต่อหน้าผ้อู ่ืน โดยไม่แยกตัวออกหา่ ง โดยการฟังในระดับ 3 และ 4 เป็นการฟังด้วยใจ ซึ่งใจปกติของมนุษย์ มีความกรุณาเป็นพ้ืนฐาน ดังเช่นในเวลาปกติเวลาเราเห็นคนล้มตรงหน้าเรา ก็จะช่วยพยุงคนตรงหน้าข้ึนมาเป็นโดยอัตโนมัติ การฟังในระดับ 3 เป็นการ ฟังด้วยความกรุณา ฟังแม้จะไม่เห็นด้วยกับความคิดน้ันก็ยังยอมรับฟัง อย่างเข้าใจ ฟังมากกว่าความคุ้นชินเดิม ฟังมากกว่าใจความเน้ือหา แต่ฟัง ไปถึงความรู้สึกความต้องการท่ีแท้จริงของผู้พูด จุดความสนใจ (Attention) ของผู้ฟังเหมือนกับไปน่ังอยู่ในใจของผู้พูด เพราะใช้หัวใจฟังอย่างแท้จริง (ในภาพจดุ สนใจเคลอ่ื นออกจากโลกของผฟู้ งั ไปอยใู่ นใจผพู้ ดู โลกของการสอื่ สาร เปน็ จดุ ไข่ปลาที่มชี ่องทางใหเ้ กิดการสื่อสารท่ีแทจ้ ริงระหว่างผู้ฟังและผพู้ ดู ) ผลที่เกิดขึ้นคือ ท�ำให้ผู้ฟังเข้าใจผู้พูดมากข้ึน เห็นความเป็นมนุษย์ มากกว่าเห็นผู้พูดเป็นเครื่องมือสื่อสารท่ีบอกข้อมูลเท่านั้น แต่มองว่าผู้พูด เป็นคนที่มีหัวใจ มีอารมณ์ มีความรู้สึก ซึ่งการสื่อสารที่ดีน้ันต้องเช่ือมผู้ฟังกับ ผูพ้ ูดเขา้ หากันจนรสู้ ึกเช่ือมโยง (Connect) กันและกนั 11

การฟังในระดับ 4: การฟังแบบสรรค์สร้าง (Generative Listening) หรอื การฟงั ดว้ ยสติในปจั จบุ นั ขณะ (I-in-now) เป็นการฟัง ที่เปิดพื้นท่ีให้กับบางส่ิงในอนาคตได้ปรากฏขึ้น เกิดจากการเปิดเจตจ�ำนง (Open Will) เปดิ รบั ตอ่ ความไม่รแู้ ละสิง่ ที่ผดุ บงั เกดิ (Openness to what is unknown and emerging) ก้าวขา้ มเสยี งแห่งความกลัว หรือ VoF (Voice of Fear) กล้าปลอ่ ยวางจากส่ิงทเ่ี รามี ส่ิงที่เราเป็น ไม่กลัวท่จี ะสูญเสยี การยอมรับ หรือการมีชีวิตอยู่ต่อไปไม่ได้ เป็นช่วงขณะท่ีเราต้องปล่อยวางสิ่งเดิมที่เราเคย ยดึ ถอื เพื่อเปดิ รบั ความเปน็ ไปได้จากอนาคต การฟังในระดับน้ีรวมคุณภาพการฟังทุกระดับต้ังแต่ 1-2-3 แล้วเพิ่ม คุณภาพใหม่เข้าไป นอกจากฟังในความคิดเดิมของตนท่ีคุ้นชินในระดับ 1 ฟัง และรับรู้เนื้อหาในระดับ 2 ฟังและรับรู้ความรู้สึกและความต้องการของผู้พูด ทแ่ี ทจ้ รงิ รบั รทู้ งั้ สหี นา้ ทา่ ทางทง้ั หมดของผพู้ ดู ในระดบั ที่ 3 การฟงั ระดบั ท่ี 4 นนั้ เพิ่มการรับฟังด้วยความรับรู้ตนเอง มีสติเท่าทันตนเอง ในลักษณะเดียวกับ รบั ฟังผู้อ่นื ในระดับ I-in-you แตเ่ ปน็ การรับรูต้ นเอง เชน่ ขณะฟงั ผูพ้ ูด เราดใี จ ไปกับผู้พูด เราอึดอัดไม่เห็นด้วย เราโมโหจนตัวส่ัน เราลุ้นไปด้วยจนตัวโน้ม ไปข้างหน้า หรอื เราเบือ่ เริ่มมองนาฬิกา การฟงั ในระดับ 4 เราจะเทา่ ทนั ทา่ ทาง รา่ งกาย อารมณ์ ความคดิ เหลา่ นใ้ี นตวั เราเองดว้ ย ในภาพจดุ สนใจ (Attention) มที งั้ ใสใ่ จผฟู้ งั และไมห่ ลงลมื ทจ่ี ะรบั รโู้ ลกภายในของตนเองดว้ ยในเวลาเดยี วกนั เปน็ การตระหนกั รู้ถึงโลกภายในตนเอง แตก่ ไ็ ม่ยึดติดความเป็นตัวตน เพราะยัง เปดิ กว้างยอมรบั ความเหน็ ท่ีแมแ้ ตกตา่ งจากความคดิ ของตน ผลของการฟังในระดับ I-in-now จะท�ำให้เราเข้าใจตัวเองมากขึ้น ซ่ึงเมื่อเราเข้าใจตัวเอง เราจะเท่าทันความคิดตัดสินและห้อยแขวนการตัดสิน ได้มากขึ้น การที่เราเท่าทันอารมณ์ ความคิดของตนท่ีเกิดข้ึนจะเป็นการเพิ่ม ศักยภาพของตนในการเลือกแสดงออกพฤติกรรมท่ีเป็นไปในทางบวก (Positive Reaction) ได้มากขึ้น และหากเป็นการฟังในระดับกลุ่มหรือ การประชมุ การฟงั ระดบั นจี้ ะเปดิ กวา้ งใหค้ วามคดิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไดร้ บั การรบั ฟงั 12

มสี ว่ นชว่ ยกอ่ ใหเ้ กดิ ความคดิ สดใหมท่ ไี่ มอ่ าจเกดิ จากการคดิ ของคนใดคนหนงึ่ ได้ (Generative Listening) นวัตกรรมใหม่ๆ ของโลกมักก�ำเนิดข้ึนในวงประชุม ทม่ี ีคุณภาพการฟงั ในระดับ I-in-now วธิ กี าร 1. บรรยายหลักการฟัง 4 ระดบั 2. ฉายคลิป “เป้ อารักษ์กับการฟังที่เปล่ียนแปลงชีวิตท่ีเหลือของเขา” (https://youtu.be/oD0LwD39_XM) ให้เห็นตัวอย่างของการฟังด้วยหัวใจ แตกต่างกบั การฟงั ดว้ ยสมอง 3. ชวนผู้เรียนเลือกจับคู่กับเพื่อนเพ่ือฝึกการฟังอย่างลึกซึ้ง โดยแต่ละคู่ ห่างจากคู่อืน่ อยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ช่วงแขวนเพือ่ ไมใ่ ห้เสียงดังรบกวนกัน 4. ผู้สอนก�ำหนดโจทย์เพื่อให้ผลัดกันเล่าเรื่องในเวลา 3 นาที เช่น “ประสบการณ์ประทับใจท่ีเคยได้ให้ความช่วยเหลืออาจเป็นคนหรือสัตว์เลี้ยง กไ็ ด”้ หรอื “ประสบการณว์ รี กรรมวยั เดก็ ” “ประสบการณท์ เี่ คยภาคภมู ใิ จในชวี ติ ที่ผา่ นมา” หรือหวั ขอ้ อนื่ ๆ ท่ีเช่อื มโยงกบั ประสบการณ์ของผู้เรยี น 5. ผูส้ อนให้ขอ้ ตกลง “การฟังอยา่ งลกึ ซึ้ง” การฟังอยา่ งลกึ ซ้งึ 1. ใหค้ วามสำ� คญั กับคนตรงหน้า ดว้ ยความเคารพ รกั ษาความลับ 2. ใส่ใจทัง้ ภาษาพูด ภาษากาย สหี น้า แววตา ทา่ ทาง 3. ไมพ่ ูดแทรก ไม่ขดั จังหวะ ยงั ไมถ่ ามตอนน้ี 4. เมอ่ื เกิดค�ำถามหรอื ค�ำตดั สินในใจ ให้ “หอ้ ยแขวน” ไว้ก่อนและกลับมา ฟงั อยา่ งใส่ใจ 13

6. ผสู้ อนใหส้ ญั ญาณคนแรกเรมิ่ คยุ เมอ่ื ครบ 3 นาที ใหส้ ญั ญาณหมดเวลา หลงั จากนนั้ ใหโ้ จทยต์ อ่ วา่ “ใหผ้ ฟู้ งั เลา่ ยอ้ นกลบั ในสงิ่ ทไี่ ดย้ นิ ภายในเวลา 1 นาที ส่วนเจา้ ของเร่ืองลองฟังดูวา่ ผฟู้ ังสามารถรบั ฟงั เรอื่ งราวไดถ้ กู ตอ้ งแค่ไหน” 7. เม่ือครบเวลา 1 นาที ให้เจ้าของเรื่องประเมินผู้ฟังด้วยว่าการฟัง ของเพื่อนมจี ดุ แข็งและจดุ ท่ีควรปรับปรุงอะไร 8. จากน้ันสลบั บทบาทให้อกี คนไดเ้ ป็นผู้เลา่ และเรม่ิ กระบวนการซ�ำ้ เดมิ อกี รอบ 9. ชวนถอดบทเรียนวา่ การฟงั อย่างลึกซ้งึ มขี อ้ ดีตา่ งจากการฟงั ทีผ่ า่ นมา อย่างไร ในฐานะผู้พูดรู้สึกอย่างไรเมื่อมีคนมาต้ังใจฟัง และการฟังที่ดีส่งผล ตอ่ การเลา่ ของผู้พดู อย่างไร 10. ช้ีให้ผู้เรียนเห็นถึงเหตุผลที่ผู้ฟังไม่ควรพูดแทรก เพราะจะเป็นการ ไมร่ กั ษาวาระสำ� คัญทีเ่ ป็นของผูพ้ ูด ณ เวลาน้ัน ซ่ึงจะท�ำให้การเล่าสะดดุ ชะงัก และหนั มาตอบค�ำถามผูฟ้ ัง แทนทีจ่ ะพูดในสงิ่ ทตี่ ้องการเล่าจริงๆ หมายเหตุ: ขอบคุณข้อมูลบางส่วนของหลักการการฟัง 4 ระดับ จาก วิทยานิพนธ์ “ภาวะผู้น�ำแบบเอื้ออ�ำนวยใน “คณะด่ังกันและกัน” หมู่บ้านพลัม ประเทศไทย” โดย ธีรัญญ์ ไพโรจน์อังสุธร และหนังสือ “ฟังสร้างสุข” โดย ธนาคารจติ อาสา 14

3 กิจกรรม กงลอ้ 4 ทิศ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อผู้เรียนรู้จักตนเอง เข้าใจผู้อ่ืน มองเห็นทั้งจุดแข็งและข้อจ�ำกัด ของตนเองและผู้อ่ืน 2. เข้าใจว่าโลกภายในที่แตกต่างกันส่งผลต่อพฤติกรรมภายนอก ท่แี สดงออกตา่ งกัน 3. เห็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง และการปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่น ไดอ้ ยา่ งยอมรบั และเคารพในความแตกตา่ ง อุปกรณ์ 1. ชารต์ ส่ที ิศ 2. กระดาษจดบนั ทึกประจำ� กลุ่มกลุ่มละ 2-3 แผน่ หรอื สมดุ บนั ทกึ แนวคดิ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ ท่ีมา ของบุคลิกภายนอกท่ีแตกต่างกันนั้นล้วนสัมพันธ์กับโลกภายใน (อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ความเชื่อ ค่านิยม) ของคนแต่ละประเภท ในภูมิปัญญา โบราณที่สันนิษฐานว่า อาจมาจากชนเผ่าอินเดียแดงในทวีปอเมริกา หรือ ชนเผ่าเซลต์ในทวีปยุโรปท่ีล้วนอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ และเปรียบเทียบ ลักษณะนิสัยของมนุษย์กับสัตว์ 4 ชนิดคือ กระทิง หนู หมี เหย่ียว กับ ทศิ ทง้ั สี่ และเปรยี บเทียบกบั ธาตุดิน น้�ำ ลม ไฟ และปัญญาฐานการเรยี นรู้ ท้ังสามฐานหวั ฐานใจ และฐานกาย ดังนี้ 15

16

17

โดยคนท่ีมีบุคลิกนิสัยในแต่ละทิศจะมีจุดแข็ง และข้อจ�ำกัดแตกต่างกัน ซึ่งสัมพันธ์กับการให้คุณค่าท่ีเป็นโลกภายในที่คนแต่ละทิศยึดถือไว้แตกต่างกัน ดังน้ี ทศิ เหนอื ความส�ำเร็จ ทศิ ใต้ ความสัมพันธ์ ทิศตะวนั ตก ความสมบรู ณแ์ บบ ทิศตะวนั ออก อิสรภาพ ความสรา้ งสรรค์ คนในแต่ละทิศจะเติบโตมั่นคงภายในข้ึนได้ โดยการส�ำรวจตนเองจน เห็นโทษของขอ้ จ�ำกัดทีก่ ่อให้เกดิ ทกุ ขต์ อ่ ตนเองและผู้อื่น ซ่งึ มักจะมพี ฤตกิ รรม ตกร่องตามลักษณะนิสัยท่ีเป็นข้อจ�ำกัดนี้เสมอ และเห็นประโยชน์ในจุดแข็ง ของคนในทศิ อ่นื ๆ ทเ่ี ป็นขอ้ ดี สามารถเลอื กจดุ แขง็ ของทิศตนเอง และทิศอื่นๆ เพอื่ นำ� มาพฒั นาตนเองใหเ้ กดิ ความสมดลยุ แ์ ละสมบรู ณใ์ นบคุ ลกิ ภาพของตนเอง มากขึ้น 18

ข้อแนะนำ� เพื่อการเตบิ โตภายใน (Inner Work for Inner Growth) ข้อควระวงั ในการใช้เคร่อื งมือกงลอ้ สี่ทิศ 1. ไม่ใช้เป็นข้ออ้างว่าตนเป็นคนทิศน้ี ยอมอยู่ในข้อจ�ำกัดแบบน้ีโดย ไม่ยอมรับการปรบั ปรงุ 2. ไม่ใช้ส่ีทิศไปเพ่ือการตีตราผู้อื่นว่าเป็นคนทิศนี้ย่อมมีข้อเสียแบบน้ี เพราะในความเป็นจรงิ ทุกคนย่อมสามารถเติบโตเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา หมายเหต:ุ คนหนงึ่ อาจมบี คุ ลิกภาพหลายทศิ ในตนเอง แตจ่ ะมีทิศหลกั ที่เป็นบุคลิกภาพหลักของตนที่สะท้อนออกจากคุณค่าหลักท่ียึดถือในการ ดำ� เนินชวี ิต 19

ข้ันตอนและวธิ ีการ 1. ให้ผ้เู รียนถ่ายภาพตนเองผา่ นโทรศัพท์มือถือ และชว่ ยมองภาพตนเอง ในฐานะผู้สังเกตการณ์ (จากสายตาคนนอก) ว่าถ้าเห็นคนในรูปนี้ครั้งแรก คดิ วา่ เขาเปน็ คนทม่ี นี สิ ัยอย่างไร และหากเปรยี บเทียบเปน็ สตั วห์ น่งึ ชนิด คดิ วา่ นสิ ยั เหมือนสตั วช์ นดิ ไหน 2. ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนแบง่ ปนั อยา่ งกระชบั วา่ “เหมอื น... (ชอ่ื สตั ว)์ ....เพราะ... (นิสยั ).....” 3. น�ำเสนอรายละเอียดหรือชาร์ตส่ีทิศ ให้ผู้เรียนได้ลองส�ำรวจว่าตน น่าใกลเ้ คียงหรอื มีทิศหลักเปน็ สัตว์ทิศไหน 4. ให้ผู้เรียนที่เลือกเข้าทิศได้แล้วนั่งรวมกลุ่มกันในทิศเดียวกัน (ไม่เกิน 6 คน) เพ่อื ทบทวนและแบง่ ปันกันในประเด็นตอ่ ไปนี้ ทบทวนและแบง่ ปัน 1 ท�ำไมถึงเลือกเข้าทิศนี้ บอกเหตุผลพร้อมยกเหตุการณ์จริงในชีวิต ประกอบ 2 นิสยั หลกั ของเราเป็นอย่างไร - แง่เป็นประโยชน์กับผู้อืน่ (สร้างความสขุ ) - แงส่ ร้างความล�ำบากใจให้แกผ่ ู้อนื่ (สรา้ งความทุกข)์ 3 เมลด็ พนั ธ(์ุ อารมณ์+)/ วัชพชื (อารมณ์-) ทมี่ ักปรากฏในคนทศิ น้ี 4 คุณค่าหลกั ท่ีคนแบบเรายดึ ถืออยู่ 5. โดยแตล่ ะกลมุ่ ขออาสาสมคั รเปน็ ผบู้ นั ทึก และผ้นู �ำเสนอใน 4 ประเดน็ น้ี 6. ใหผ้ ู้เรยี นนั่งตามทศิ ท้ังสี่ เพือ่ นำ� เสนอ และแลกเปลย่ี นประสบการณ์ใน สถานการณ์ทสี่ มมุตขิ ้ึน เชน่ - สถานการณเ์ มอื่ เราถกู แซงควิ คนในแตล่ ะทศิ จะทำ� อยา่ งไร เพราะอะไร - สถานการณ์เม่ือเพ่ือนเราถูกรุมท�ำร้าย คนในแต่ละทิศจะท�ำอย่างไร เพราะอะไร 20

- สถานการณ์เมื่อเราไม่มีเงิน และเดินสวนทางกับลูกหน้ีพอดี คนใน แต่ละทิศจะท�ำอย่างไร เพราะอะไร - สถานการณเ์ มอื่ เพอื่ นเชยี รใ์ หเ้ ราซอ้ื เสอ้ื ทเ่ี ราไมไ่ ดช้ อบหรอื เลอื กเอาไว้ แตแ่ รก คนในแต่ละทศิ จะทำ� อย่างไร เพราะอะไร - สถานการณ์การวางแผนเดินทางท่องเท่ียว คนในแต่ละทิศจะท�ำ อย่างไร เพราะอะไร - สถานการณท์ เี่ พอื่ นเลอื กดหู นงั คนละโรงกบั เรอ่ื งทเ่ี ราตอ้ งการดู คนใน แตล่ ะทศิ จะทำ� อยา่ งไร เพราะอะไร 7. จากที่ได้รับฟังจนเข้าใจพฤติกรรมและโลกภายในของทุกทิศแล้ว ให้แต่ละทิศไดผ้ ลัดกนั ช่นื ชมทิศอนื่ 1 ข้อ (เพอ่ื สำ� รวจและยอมรับขอ้ ด)ี คนใน ทศิ เหนือ ทศิ ใต้ ทิศตะวนั ตก ทศิ ตะวนั ออก 8. ผู้สอนสรุป ประโยชน์ และข้อจ�ำกัดของการใช้กงล้อส่ีทิศว่าเป็น เคร่ืองมือเพ่ือใช้ในการสังเกตและพัฒนาตนเอง ไม่น�ำไปใช้เป็นข้ออ้างของตน หรือตตี ราผอู้ นื่ 9. จากท่ีได้รับฟังเข้าใจพฤติกรรมและโลกภายในของทุกทิศแล้วให้แต่ละ ทิศเสนอแนะ หรอื มอี ะไรอยากบอกคนในทศิ นั้นๆ บา้ ง 10. ผู้สอนสรุปเร่ืองการพัฒนาจิตใจว่าเหมือนการรักษาร่างกายตาม ภมู ิปัญญาตะวันออก ร่างกายทแ่ี ขง็ แรงตอ้ งมธี าตุท้ังสสี่ มดุล ทัง้ ดิน น้ำ� ลม ไฟ การพัฒนาจิตใจหรือการเติบโตภายในก็ต้องพัฒนาให้มีท้ังสี่ธาตุสี่ทิศในตนเอง ผนู้ ำ� ทม่ี ศี กั ยภาพคอื ผนู้ ำ� ทใี่ หค้ ณุ คา่ ทง้ั ความสำ� เรจ็ ความสมั พนั ธ์ ความสมบรู ณ์ แบบ และความสร้างสรรค์ จากนั้นผู้สอนน�ำเสนอข้อแนะน�ำเพ่ือการเติบโต ของแตล่ ะทิศ 21

4 กจิ กรรม วาดรปู ปริศนา แนวคดิ สืบเนื่องจากกระบวนการเรียนรู้ “กงลอ้ สี่ทศิ ” เพ่ือรูจ้ กั ตนเอง เข้าใจ ผู้อื่นนั้น ภายใต้บุคลิกภาพที่ไม่เหมือนกันของคนแต่ละทิศยังต้องอาศัย การเรียนรู้ฝึกฝนเพื่อการเติบโตด้านใน เช่น คนในทิศเหนือ/กระทิงต้อง บม่ เพาะความใจเยน็ ความประณตี ฯลฯ คนในทศิ ตะวนั ตก/หมตี อ้ งบม่ เพาะ ความยืดหยุ่น ฝึกผ่อนคลาย ฯลฯ คนในทิศใต้/หนูต้องบ่มเพาะการรู้ ความตอ้ งการของตนเอง ต้องฝึกปฏเิ สธผอู้ ื่น ฯลฯ หรอื คนในทิศตะวนั ออก /เหย่ียว ต้องฝึกการอยู่กับปัจจุบันขณะ และฝึกการลงมือท�ำไม่เพียงคิด อยา่ งเดียว ฯลฯ นอกจากน้ีในระหว่างทางของการเรียนรู้และเติบโตน้ันทุกคนก็ยังต้อง ใช้ชีวิตและท�ำงานร่วมกับผู้อื่นที่ต่างจากเรา การเข้าใจและยอมรับความ แตกตา่ งอยา่ งไมม่ องวา่ คอื ปญั หาเปน็ สงิ่ สำ� คญั และการฝกึ ตระหนกั รใู้ นเรอ่ื ง ความหลากหลายท้ังข้อจ�ำกัดและศักยภาพของผู้อ่ืนจะช่วยให้เราสามารถ อยูร่ ว่ มและท�ำงานกับผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเกดิ พลังกลุม่ ในการ ท�ำงานร่วมกัน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมเกิดประสบการณ์ เชื่อมโยงความเข้าใจจากกิจกรรม “กงล้อสี่ทิศ” สู่สถานการณ์ในชีวิตจริงอันจะช่วยให้สามารถมองเห็นและรู้จัก ตนเอง รวมถงึ ยอมรบั ความไมเ่ หมอื นกันของผอู้ ่ืนมากขึ้น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมตระหนักถึงบุคลิกลักษณะภายในตนที่แสดงออก ในบริบทของการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น เช่น ความเป๊ะ (ความสมบูรณ์แบบ) อาการพงุ่ เป้าหมาย (ความสมั ฤทธิ์ผล) อาการยอมตาม (ความประนีประนอม) การสรรคส์ ร้าง การรับฟงั ความละเอยี ดรอบคอบ ความไว และวธิ ีการท�ำงาน ของตนทอ่ี าจเปน็ อุปสรรคหรอื เก้ือหนุนต่อความสำ� เรจ็ ของงาน 22

3. ยอมรับบุคลิกที่หลายหลายของผู้อ่ืน มองเห็นและยอมรับศักยภาพ และข้อจ�ำกัดของผู้อ่ืน และตระหนักถึงสิ่งท่ีตนควรปรับปรุงหรือพัฒนาเพื่อ การเตบิ โตภายในของตนเอง วธิ ีการ 1. ชีแ้ จงกตกิ าและวธิ กี ารท�ำกิจกรรม 2. แบ่งกลุ่มย่อย 5 - 6 คน ภารกิจของกลุ่มคอื วาดรูปตามตน้ แบบให้ ใกลเ้ คยี งทสี่ ดุ ภายในเวลา 45 นาที โดยแบง่ บทบาทหนา้ ทก่ี นั ตามหมายเลขดงั น้ี - หมายเลข 1 สามารถเห็นรูปต้นแบบ และเดินได้ทุกจุดต้ังแต่เร่ิมต้น จนจุดท่ีเพ่ือนคนสุดท้ายวาดรูป ภายในเง่ือนไขว่า เป็นใบ้และแขนพิการ ไมส่ ามารถพดู หรอื ใชม้ อื ช้ี หยบิ จบั อะไรได้ ทำ� ไดเ้ พยี งการพยกั หนา้ และสา่ ยหนา้ สอื่ สารไดเ้ พียง ใชห่ รอื ไม่ใช่เทา่ น้นั - หมายเลข 2 ดภู าพตน้ ฉบบั และบอกตอ่ หมายเลข 3 ในบรเิ วณทก่ี ำ� หนด - หมายเลข 3 ฟงั หมายเลข 2 และบอกตอ่ หมายเลข 4 ในบรเิ วณทก่ี ำ� หนด - หมายเลข 4 ฟังหมายเลข 3 และบอกต่อหมายเลข 5 และ/หรอื 6 - หมายเลข 5 และ 6 ฟงั หมายเลย 4 และวาดรปู ตามค�ำบอก 3. ในระหวา่ งดำ� เนนิ กจิ กรรมจะมสี ญั ญาณเปน็ ระยะบอกเวลา และชวนให้ ผเู้ ข้าร่วมสังเกตตวั เองทงั้ ภายนอกและภายในใจ 4. เม่ือจบกิจกรรมชวนให้ผู้เข้าร่วมแต่ละกลุ่มได้แบ่งปันความรู้สึกท่ี เกดิ ขึน้ ระหวา่ งทำ� กิจกรรม และชวนใหส้ ะท้อนการเรียนรู้ในประเด็น - เห็นการท�ำงานของกลุ่มเป็นอย่างไร ความเป็นทิศแต่ละทิศเป็นแรง สนับสนุน หรอื อุปสรรคต่อกันอย่างไร - เห็นอะไรในตวั เองบ้าง ความชัดเจนของทศิ /ทิศทีห่ ลบซอ่ นอยู่ 5. ชวนแต่ละกลุ่มแบ่งปันในวงใหญ่ และสะท้อนการเรียนรู้ที่ได้จาก กจิ กรรมน้ี 23

ออกแบบกระบวนการเรียนรปู้ ระยุกตส์ ู่ห้องเรียน เม่ือได้เรียนรู้เครื่องมือและกิจกรรมพ้ืนฐานต่างๆ แล้ว ครูอาจารย์ผู้เข้า ร่วมอบรมน�ำส่ิงท่ีได้เรียนรู้กลับสู่สถาบันการศึกษาของตนเอง น�ำความรู้ท่ีได้ รับไปออกแบบกิจกรรม และสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ ผเู้ รยี น เหมาะสมกบั เนอื้ หาสาระทต่ี อ้ งจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าทตี่ นเอง รับผิดชอบ และเป็นการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของสถาบัน การศกึ ษานน้ั ๆ รวมถึงเปน็ ช้นั เรยี นวงกลมแหง่ การเรยี นรู้ พืน้ ทีแ่ ห่งการเรยี นรู้ ร่วมกันของทั้งผู้สอนและผู้เรียน ทุกคนในพื้นที่น้ันมีโอกาสได้แลกเปล่ียน เรยี นรรู้ ่วมกนั อย่างทว่ั ถงึ โดยมี 60 ตัวอย่างกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมท่ีผู้สอนได้น�ำไป ปรับประยกุ ต์ใชใ้ นห้องเรียนได้อย่างน่าสนใจดงั นี้ รวม 11 ไอเดยี ปงั น่าสนใจ เรยี นรผู้ ่านประสบการณ์ดา้ นใน การคิดค้นกิจกรรมใหม่ๆ และออกแบบกระบวนการเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์กระทบใจที่ช่วยท�ำให้เข้าใจประเด็นส�ำคัญของบทเรียน ไดอ้ ยา่ งถ่องแทย้ ่งิ ข้ึน การดแู ลผ้ปู ่วยด้วยหวั ใจความเปน็ มนุษย์ (Humanized Health Care) ครจู ากเครอื ขา่ ยวทิ ยาลยั พยาบาลใชแ้ นวคดิ การเรยี นรเู้ พอ่ื การเปลย่ี นแปลง ในหลายสาขาวิชา เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ทักษะการพยาบาล และพัฒนา ตัวตนสู่การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญ ของการศึกษาทักษะวิชาการพยาบาล และเป็นปรัชญาส�ำคัญในการ ประกอบวชิ าชีพพยาบาล 24

การศกึ ษาดว้ ยหวั ใจความเป็นมนุษย์ (Humanized Education) สถาบันอดุ มศกึ ษา เติมเต็มการเรียนรู้เนื้อหาสาระวิชาการในแต่ละรายวิชาด้วยกิจกรรม และกระบวนการท่ีน�ำพาให้ผู้เรียนได้ใคร่ครวญส�ำรวจภายในตนเอง แล้ว เช่ือมโยงสู่การตระหนักรู้คุณค่าและความหมายของประเด็นส�ำคัญ ในเนอ้ื หาทตี่ นเองกำ� ลงั เรยี นรู้ เปน็ กระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยหวั ใจทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความร้คู วามเข้าใจทล่ี ึกซึง้ และยั่งยนื ยิ่งข้ึน หอ้ งเรียนแหง่ ความสุข (Happy Classroom) วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษา บูรณาการสู่การเรียนการสอนในรายวิชา น�ำเคร่ืองมือและกิจกรรมไป สร้างกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการเข้าสู่การเรียนการสอน เพ่ือให้ ห้องเรียนเป็นสถานท่ีแห่งการเรียนรู้อย่างมีความสุขของท้ังครูและผู้เรียน รวมถึงมีเป้าหมายส�ำคัญเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เน้ือหาสาระใน รายวิชาน้ันๆ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพยง่ิ ขน้ึ กิจกรรมโฮมรูมเพื่อพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมเสริมนอกหลักสูตรรายวิชาอาจารย์ท่ีปรึกษาจัดการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียนในชั่วโมงโฮมรูม หรือผู้สอนจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อพัฒนาผู้เรียน เพิ่มเติม โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวใช้ชีวิตอยู่ในสถานศึกษา ไดอ้ ย่างสงบสุขยิ่งขนึ้ 25

Part 2 ตวั อย่าง 60 ไอเดีย บูรณาการจติ ตปญั ญา สกู่ ารเรียนรู้ทั้งในและนอกหอ้ งเรียน 26

รวม 11 ไอเดยี ปงั นา่ สนใจ เรยี นรผู้ ่านประสบการณ์ด้านใน 11 ตัวอย่างการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ด้านใน จนเกิดการตระหนักรู้ในตนเอง เข้าใจตนเอง และผู้อ่ืน โดยเรียนรู้ผ่าน ประสบการณแ์ ละความรสู้ กึ ทไ่ี ดร้ บั จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมนนั้ ในกระบวนการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) ที่ผู้สอนสามารถประยุกต์ใช้ จิตตปัญญากับการเรียนการสอนในประเด็นความรู้ท่ีหลากหลาย ทั้งการเรียน รู้เรื่องสิทธิมนุษยชน การยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ความยุติธรรม การตระหนักถึงบทบาทของส่ือท่ีส่งผลกระทบต่อสังคม การเรียนรู้ภาษาไทย ท่ีไม่น่าเบื่ออีกต่อไป การพยาบาลชุมชน การอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนา ศักยภาพนักศึกษา รวมถึงประยุกต์ใช้เพ่ือคลายความกังวลส�ำหรับวิชาการ พยาบาลผู้ป่วยจิตเวช และการพยาบาลมารดาทารกในห้องคลอด ซ่ึงมักเป็น วชิ าทนี่ ักศกึ ษาพยาบาลมีความกลวั และวติ กกังวลสงู 27

• เรยี นรู้สทิ ธมิ นษุ ยชน 28

1. Bully Wall ถ้อยคำ� แห่งความเกลียดชงั เขย่าหัวใจให้ส่ันไหวด้วยการเผชิญหน้ากับถ้อยค�ำแห่งความเกลียดชัง ทตี่ นเองทงั้ เคยใชก้ บั ผอู้ น่ื และมผี อู้ น่ื ทเี่ คยใชถ้ อ้ ยคำ� เหลา่ นนั้ กบั ตนเอง เชอ่ื มโยง สู่การเรียนรู้สิทธิมนุษยชนผ่านประสบการณ์การใช้ถ้อยค�ำแห่งความ เกลยี ดชัง และการ Bully โดยชวนทบทวนความคิดและความรู้สึกทงั้ ในฐานะ ผกู้ ระทำ� และผ้ถู ูกกระท�ำ ชอื่ กิจกรรม Bully Wall ประเภทกระบวนการเรยี นรู้ กจิ กรรมในรายวิชา รายวชิ า จริยธรรมส่อื และการส่ือสาร กลมุ่ เปา้ หมาย นสิ ติ ชน้ั ปที ่ี 1 คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้มีความเข้าใจในหลกั การเบือ้ งตน้ ของสิทธิมนุษยชน 2. เพอ่ื ตระหนักถงึ ผลกระทบของการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน 3. เพ่อื ให้สามารถประยุกต์แนวคดิ สิทธมิ นษุ ยชนในการวเิ คราะห์ส่อื วิธกี าร 1. จดั หอ้ งเรยี นให้ผู้เรียนน่งั เป็นวงกลม มพี ื้นทวี่ ่างตรงกลาง 2. แจกกระดาษ A4 ให้ผู้เรยี นคนละ 6 แผน่ 3. ชวนผู้เรียนนึกย้อนถึงเหตุการณ์ในอดีตท่ีเคยมีคนใช้ถ้อยค�ำล้อเลียน ดูถูก เกลียดชงั บูลลีต่ ่อตัวเราเอง และถ้อยคำ� เหลา่ น้ีสง่ ผลตอ่ ความรูส้ ึกของเรา ให้ผ้เู รยี นเลือกมา 3 คำ� เขยี นค�ำเหล่าน้ันลงบนกระดาษค�ำละ 1 แผน่ 4. ชวนผเู้ รยี นนกึ ยอ้ นถงึ เหตกุ ารณใ์ นอดตี ทต่ี วั เราเองเคยใชถ้ อ้ ยคำ� ลอ้ เลยี น ดูถูก บูลล่ีต่อคนอื่น ให้ผู้เรียนเลือกมา 3 ค�ำ เขียนค�ำเหล่าน้ันลงบนกระดาษ คำ� ละ 1 แผ่น 5. ใหผ้ ู้เรียนน�ำกระดาษท้งั 6 แผ่นทมี่ ีถอ้ ยคำ� ของความเกลยี ดชัง ไปวาง บนพนื้ หอ้ ง จนเต็มพ้นื ที่ 29

6. ชวนผเู้ รยี นเดนิ วนรอบถอ้ ยคำ� ของความเกลยี ดชงั โดยใหก้ ลบั มาอยกู่ บั ตัวเอง ค่อยๆ สังเกตความร้สู ึกขณะทอี่ ่านถอ้ ยคำ� เหลา่ นัน้ 7. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้สึกหลังจากได้เห็นถ้อยค�ำ ของความเกลียดชงั จำ� นวนมาก 8. ชวนผู้เรียนคิดต่อว่ามีฐานคิดอะไรท่ีอยู่เบื้องหลังถ้อยค�ำแห่งความ เกลยี ดชงั นน้ั เชน่ ความเกลยี ดชงั เพราะเพศสภาพ สภาพรา่ งกาย สผี วิ การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกจิ อดุ มการณ์ ความเชือ่ ศาสนา ภูมิล�ำเนา เชื้อชาติ เปน็ ต้น ซ่งึ สง่ิ เหลา่ นคี้ อื ส่งิ ทีห่ ลักการสิทธมิ นษุ ยชนให้ความคุ้มครอง 9. ชวนผเู้ รยี นคดิ ตอ่ วา่ จะทำ� อยา่ งไรไดบ้ า้ งเพอื่ เปน็ การลดความเกลยี ดชงั ผา่ นการใชถ้ อ้ ยค�ำ 10. ชวนผเู้ รยี นเขยี นคำ� ขอโทษทมี่ ตี อ่ เหยอื่ ของถอ้ ยคำ� แหง่ ความเกลยี ดชงั 11. ชวนผู้เรียนคิดเช่อื มโยงสู่ระบบโครงสรา้ งสังคมของส่ือวา่ หากถอ้ ยคำ� แหง่ ความเกลยี ดชงั นไี้ ปปรากฎบนสอ่ื จะเกดิ ผลกระทบตอ่ สงั คมวงกวา้ งอยา่ งไร กระรยะะบเววนลกาขารอเงรยี นรู้ อุปกรณท์ ี่ต้องใช้ 2 ชั่วโมง กระดาษ A4 คนละ 6 แผน่ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ผเู้ รยี นมีความเข้าใจในหลกั การเบ้ืองต้นของสิทธมิ นุษยชน 2. ผเู้ รยี นตระหนกั ถึงผลกระทบของการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน 3. ผเู้ รียนสามารถประยุกตแ์ นวคดิ สทิ ธิมนุษยชนในการวเิ คราะห์ส่ือ ออกแบบโดย อ.ชเนตตี ทนิ นาม ภาควชิ าการสอื่ สารมวลชน คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 30

2. เกม Paparazzi ใช้สอ่ื โซเชยี ลมีเดียอยา่ งมสี ติ เพื่อให้ตระหนักว่าการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลบนโลกออนไลน์ไม่ใช่เร่ือง เล่นๆ ทำ� ความเข้าใจความรู้สึกของผู้ถกู ละเมิด และสาเหตุทผ่ี ูก้ ระทำ� ได้ทำ� การ ละเมดิ ผอู้ นื่ ผา่ นกจิ กรรมบทบาทสมมตผิ ลดั กนั สวมบทเปน็ ชา่ งภาพ Paparazzi ผไู้ ล่ลา่ ถ่ายภาพคนอืน่ และผู้ท่ถี กู ช่างภาพตามไลล่ า่ ถ่ายภาพ ช่ือกจิ กรรม เกม Paparazzi ประเภทของกระบวนการเรยี นรู้ กิจกรรมในรายวิชา รายวชิ า การถ่ายภาพเพ่ือสื่อสรา้ งสรรค์ กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษมบณั ฑิต 25-30 คน วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผเู้ รยี นเกดิ ความตระหนกั ถึงการใชส้ ่ือโซเชยี ลมเี ดยี อย่างมสี ติ 2. เพือ่ ให้ผู้เรยี นรจู้ กั การถ่ายภาพใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสังคมสว่ นรวม 3. เพื่อปลกู ฝังจรรยาบรรณวชิ าชพี ส่อื สารมวลชน แนวคิด ในโลกโซเซียลมีเดียท่ีทุกคนต่างท�ำตัวเป็นสื่อ ท�ำตัวเป็นผู้พิพากษา ทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยไม่รู้ตัว ด้วยวิธีการง่ายๆ ที่ทุกคนคุ้นเคย เช่น การแสดงความคิดเห็นส่วนตัว การแชร์ภาพ การถ่ายภาพคนอื่นแล้วน�ำ มาโพสตล์ งโซเชยี ลมเี ดยี โดยไมเ่ คยตระหนกั ถงึ ผลกระทบในดา้ นลบทจี่ ะเกดิ กับคนอ่ืน เพราะไม่เคยได้สัมผัสหรือไม่คาดคิดว่าส่ิงที่เรากระท�ำลงไปเพียง เลก็ นอ้ ยนน้ั จะสง่ ผลอยา่ งไรตอ่ ผอู้ น่ื เกม Paparazzi ออกแบบมาเพอื่ จำ� ลอง เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในสังคม ให้ผู้เล่นเกมได้ผลัดกันเรียนรู้ความรู้สึกของ ผู้กระทำ� และผูถ้ ูกกระทำ� เพ่ือเกดิ ความเขา้ อกเข้าใจผู้อื่นใหม้ ากข้ึน 31

วธิ ีการ 1. นักศึกษาในรายวิชาการถ่ายภาพเพ่ือสื่อสร้างสรรค์ แต่ละ Section มีประมาณ 30 คน แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่มย่อย โดยใช้ วิธีการให้หยบิ กระดาษสที ่ีมหี มายเลขก�ำกบั อยู่ ใครหยบิ ไดส้ ีอะไรกจ็ ะแบ่งกลุ่ม ตามสีนั้นๆ เช่น ทีมกระดาษสีชมพู ทีมกระดาษสีเหลือง ทีมกระดาษสีฟ้า ทีมกระดาษสีเขยี ว เป็นต้น 2. ในกระดาษสแี ตล่ ะแผน่ จะเขยี นหมายเลขทมี่ คี า่ แตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน มากที่สุด กับน้อยที่สุด เช่น เลข 1 เลข 9 โดยให้มีจ�ำนวนหมายเลขที่มีค่า น้อยท่ีสุดมีจ�ำนวนแผ่นกระดาษมากท่ีสุด และจ�ำนวนหมายเลขมากท่ีสุด มีจำ� นวนน้อยไม่เกนิ 3 แผ่น เชน่ หมายเลข 1 มจี �ำนวน 10 แผ่น และหมายเลข 9 มีจ�ำนวน 2 แผ่น 3. เม่อื แบ่งกล่มุ ตามสีตามท่ีผ้เู ลน่ เลอื กไดแ้ ลว้ ใหท้ กุ คนติดแผ่นกระดาษสี ไว้ที่หน้าผากของตนเอง และให้ทุกคนเปิดกล้องจากมือถือของตนเอง และ บอกกตกิ าในการเล่มเกมดังนี้ - หา้ มใชม้ อื ปดิ บงั หมายเลขทหี่ นา้ ผากของตนเองหรอื ปดิ บงั หมายเลข ของคนอ่ืนเดด็ ขาด - ใหแ้ ตล่ ะทมี ไปถา่ ยภาพหมายเลขของทมี อนื่ ทมี ใดทม่ี ภี าพหมายเลข รวมกันแล้วมีจ�ำนวนมากท่ีสุดจะเป็นทีมท่ีชนะ เช่น ถ้าถ่ายภาพหมายเลข 9 มาได้ 10 ภาพก็จะมี 90 คะแนน ถา้ ถา่ ยภาพหมายเลข 1 มาได้ 10 ภาพกจ็ ะ มี 10 คะแนน เปน็ ต้น - ก�ำหนดพื้นที่ในการเล่น และระยะเวลาในการถ่ายภาพ ตามความ เหมาะสมของสถานการณ์นั้นๆ 4. เม่อื หมดเวลาถา่ ยภาพ ให้แต่ละทีมรวบรวมคะแนนของแตล่ ะทมี และ ให้เขียนผลรวมคะแนนไว้ เพือ่ ประกาศผลทีมทช่ี นะ หลังจากนัน้ กระบวนกรจะ ชวนทกุ คนถอดบทเรยี นในเกม เพือ่ เช่ือมโยงถงึ การใช้สื่อโซเชียลมเี ดียตา่ งๆ 32

กระรยะะบเววนลกาขารอเงรียนรู้ ประมาณ 30 นาที อุปกรณ์ท่ีตอ้ งใช้ 1. กระดาษโพสต์อิท แยกสี 4 สี (ควรเป็นสที แ่ี ตกต่างกันอย่างชัดเจน) 2. ปากกาเมจกิ สีต่างๆ ควรใช้สีที่ตัดกนั กบั กระดาษโพสตอ์ ทิ 3. โทรศัพท์มอื ถอื ของแตล่ ะคน 4. กระดาษ A4 จำ� นวน 4 แผน่ (สำ� หรบั เขียนคะแนนรวมของแตล่ ะทมี ) ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 1. ผ้เู รยี นเกดิ ความตระหนกั ร้ถู งึ การใชส้ ือ่ โซเชียลมีเดยี อยา่ งมีสติ 2. ผู้เรียนรูจ้ ักการถา่ ยภาพให้เกดิ ประโยชน์ต่อสังคมสว่ นรวม 3. ผู้เรยี นเขา้ ใจในจรรยาบรรณวิชาชพี ส่ือสารมวลชน ออกแบบโดย อ.วัฒนา เจรญิ ชัยนพกุล มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต 33

• การยอมรบั ความแตกตา่ งหลากหลาย 34

3. วาดเมอื งในฝัน ผู้คนหลากหลาย ขัดแย้ง ร่วมมือ หรือสร้างสรรค์ เรียนรู้การยอมรับ ความหลากหลาย (Diversity) ในสงั คมมนษุ ย์ ผ่านกิจกรรมวาดภาพเมืองในฝนั ชวนผู้เรียนให้จับตาความคิดและความรู้สึกของตนเองเม่ือเมืองในฝันที่ตนเอง ไดเ้ รมิ่ ตน้ วาดไวถ้ กู แตง่ เตมิ ใหเ้ ปลย่ี นแปลงไปโดยคนอนื่ ทมี่ คี วามคดิ ฝนั ตา่ งจาก ตนเอง มองเห็นความเป็นเมืองต่างกัน มีความต้องการต่างกัน เปรียบเสมือน การอยู่ร่วมกันในสังคมท่ีมีคนหลากหลายอัตลักษณ์ หลายหลายความคิด หลากหลายความตอ้ งการ ทำ� ใหห้ ลายครง้ั ตอ้ งมกี ารปะทะสงั สรรคก์ นั ขดั แยง้ กนั หรอื รว่ มมอื กนั เพอ่ื หาแนวทางทสี่ มดลุ ใหค้ นทกุ กลมุ่ สามารถอยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ยา่ ง สนั ติ ชือ่ กิจกรรม วาดเมืองในฝนั ประเภทกระบวนการเรยี นรู้ กจิ กรรมในรายวิชา รายวิชา จริยธรรมส่อื และการส่ือสาร กลมุ่ เปา้ หมาย นสิ ติ ชน้ั ปที ี่ 1 คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผูเ้ รยี นมีความเข้าใจถงึ การอยรู่ ว่ มกับผูค้ นท่หี ลากหลาย ซ่งึ ล้วน มีอตั ลกั ษณท์ ่แี ตกต่างกับตน 2. เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงความส�ำคัญของการเคารพซึ่งความแตกต่าง ในสงั คมมนุษย์ วธิ ีการ 1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนเป็นสี่กลุม่ ๆ ละประมาณ 5-6 คน 2. จดั ใหผ้ ้เู รยี นแต่ละกลมุ่ นง่ั แยกกนั ส่ีมุมของห้อง 3. แจกกระดาษปร๊ฟู หนึ่งแผน่ ใหญ่พร้อมสชี อลก์ หนงึ่ กลอ่ งใหแ้ ตล่ ะกลุม่ 4. เมืองในฝัน: ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มร่วมกันวาดภาพส่ิงต่างๆ ซ่ึงควร จะมีในเมืองที่พวกตนฝนั ถงึ อาทิ โรงเรยี น, สวน, สนามบนิ , ถนน, หอนาฬิกา, บงึ น้�ำ ฯลฯ โดยใหเ้ วลากลมุ่ ละ 10 – 15 นาที ทั้งน้ีไม่ตอ้ งบังคับให้ทุกคนต้อง รว่ มวาดหรือแสดงความคดิ เหน็ จะมีสมาชิกท่ีอยู่เฉยก็ได้ 35

5. เม่ือครบก�ำหนดเวลา ส่งภาพเมืองในฝันของกลุ่มไปยังอีกกลุ่มที่อยู่ ข้างเคียง แล้วให้กลุ่มท่ีได้รับวาดภาพแต่งเติมเมืองในฝันนั้นต่อ เมื่อครบเวลา 15 นาที สง่ ตอ่ ให้กลุ่มต่อไป โดยส่งต่อวนตามเขม็ นาฬกิ า 6. ทำ� เชน่ นีว้ นไป แตล่ ะกล่มุ จะไดว้ าดภาพสรา้ งเมอื ง ทัง้ หมด 4 คร้ัง 7. นำ� ภาพทง้ั หมดมารวมกนั ถอดบทเรยี นจากภาพทเ่ี กดิ จาก “ความหลาก หลาย” ทางความคดิ น้ี a. เมอื งทต่ี นอยากใหเ้ ป็น เปลีย่ นไปมากแค่ไหน รู้สึกอย่างไร b. จากความคิดเห็นท่ีหลากหลายอันสะท้อนผ่านภาพ นิสิตได้เรียนรู้ สิง่ ใด c. การยอมรับความคดิ เหน็ ทแี่ ตกต่างส�ำคัญอยา่ งไร d. สังคมท่ีเรามีชีวิตอยู่จริงๆ มีการยอมรับความหลากหลายได้หรือไม่ อย่างไร e. บทบาทการท�ำงานในกลมุ่ ยอ่ ย มีทั้งคนท่อี อกความเห็น รว่ มออกแบบ และคนที่เป็นตัวแทนในการลงมือปฏิบัติ หรือบางคนอาจวางเฉย ท้ังหมด สามารถโยงกลับไปทกี่ ิจกรรมสัตว์สที่ ิศ รกะรยะะบเววนลกาขารอเงรียนรู้ อปุ กรณ์ 1. กระดาษปรฟู๊ แผน่ ใหญ่ 2 ช่ัวโมง จ�ำนวน 4 แผ่น 2. สชี อลก์ จ�ำนวน 4 กลอ่ ง ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ผู้เรียนมีความเข้าใจถึงข้อเท็จจริงของการอยู่ร่วมกันท่ามกลาง ความแตกตา่ งในสังคมมนุษย์ 2. ผู้เรียนตระหนักถึงความส�ำคัญของการเคารพซ่ึงความแตกต่างใน สงั คมมนษุ ย์ ออกแบบโดย อ.พิชัยวฒั น์ แสงประพาฬ ภาควชิ าวารสารสนเทศ คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 36

• ความสำ� คญั ของความยุติธรรม 37

4. คำ� พิพากษา รู้ทันอคติภายในใจตนเอง เท่าทันการด่วนตัดสินผู้อื่นอย่างไม่เป็นธรรม เรียนรู้เรื่องความเท่ียงธรรมและอคติ (Objectivity and Bias) โดยสวม บทบาทเปน็ เหยอ่ื ผถู้ กู สงั คมตดั สนิ และสวมบทคนในสงั คมทที่ ำ� การตดั สนิ คนอน่ื ฝึกสังเกตความรู้สึกของตนเองในบทบาทต่างๆ ทั้งความรู้สึกของผู้ถูกตัดสิน ความรู้สึกในการเป็นผู้ที่ต้องตัดสินช้ีผิดช้ีถูกในเรื่องท่ีมีความซับซ้อนและ อ่อนไหว ซ่ึงเปิดโอกาสให้ได้ส�ำรวจอคติภายในใจของตนเอง เช่ือมโยงสู่ การรู้เท่าทันอคติในการท�ำงานสื่อ การด�ำรงรักษาความเที่ยงธรรมในฐานะส่ือ และบทบาทของส่ือท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ สงั คม ช่ือกิจกรรม ค�ำพพิ ากษา ประเภทกระบวนการเรยี นรู้ กิจกรรมในรายวิชา รายวชิ า จรยิ ธรรมสื่อและการส่อื สาร กลมุ่ เปา้ หมาย นสิ ติ ชนั้ ปที ่ี 1 คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจและตระหนกั ถงึ ผลกระทบของอคตทิ มี่ ตี อ่ การตดั สนิ ผอู้ ืน่ ในสังคม 2. เพอื่ ใหส้ ามารถประยกุ ตก์ ารเรยี นรเู้ รอื่ งความเทย่ี งธรรมและอคตใิ นการ ท�ำงานส่อื วธิ ีการ 1. อาจารยเ์ ล่าข่าวทเ่ี กดิ ขึน้ กรณี ด.ญ.ลติ า (นามสมมุติ) นักเรียนชนั้ ม.3 วยั 14 ปี หายตวั ไป พอ่ แมไ่ ดป้ ระกาศตดิ ตามหาตวั ในโซเชยี ล ตอ่ มาตำ� รวจพบตวั ด.ญ.ลิตา ที่โรงแรมต่างจังหวัดอยู่กับเพื่อนพ่อวัย 50 ปี โดยเพ่ือนพ่อไปรับท่ี โรงเรียนแล้วข่ีจักรยานยนต์มาด้วยกัน เด็กหญิงยืนยันว่าไม่ได้ถูกล่อลวงแต่ เตม็ ใจมาเพราะนอ้ ยใจทบี่ า้ น ตำ� รวจพาเดก็ หญงิ ไปตรวจรา่ งกายเพอ่ื หารอ่ งรอย การถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ ผสู้ อ่ื ขา่ วพบกลอ่ งนมสำ� หรบั ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภใ์ นหอ้ งพกั 38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook