48 5. ด้านอ่ืน ๆ 5.1 อตุ สาหกรรมการตอ่ เรอื และซ่อมเรือ ประเทศไทยพ่ึงพาการค้ า ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เท ศ เป็ น ห ลั ก โดย รอ้ ยละ 90 ของปรมิ าณ การคา้ ระหวา่ งประเทศ อาศยั การขนส่งทางน้�ำ เนื่องจาก ส ามารถบรรทุกสินค้ าได้ ใน ปรมิ าณมาก และมตี น้ ทนุ การขนสง่ ท่ีราคาถูกกว่าการขนส่งด้านอ่ืน ๆ ดังนั้น อุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ จึงเป็นอุตสาหกรรมที่ช่วยสนับสนุนกิจการเดินเรอื ขนส่งและกิจการค้า ระหว่างประเทศให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงทุกประเทศท่ัวโลกยอมรบั ว่า อุตสาหกรรมต่อเรอื และซอ่ มเรอื นั้นเปน็ อุตสาหกรรมทเ่ี ก่ียวเน่ืองกับการปอ้ งกันประเทศ (Defense Related Industry) เพราะจะให้การสนับสนุนประเทศด้านความม่ันคงและ เศรษฐกิจในยามสงครามด้วย ซง่ึ หากอุตสาหกรรมนี้ได้รบั การพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง จะท�ำให้ การขนสง่ สนิ คา้ ทง้ั ขาเขา้ และขาออกไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพงึ่ พากองเรอื ของประเทศอน่ื และยงั สามารถ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั กับต่างประเทศได้อีกด้วย 5.2 การผลติ นำ�้ จดื จากทะเล โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตน้�ำประปาจากน้�ำทะเลระบบรีเวอร์สออสโมซีส (Reverse Osmosis: RO) ท่ีใช้แรงดันสูงดันน้�ำทะเลผ่านเยื่อกรองที่มีรูขนาดเล็ก เพอื่ กรองแรธ่ าตเุ กลอื และ สารตกตะกอนตา่ ง ๆ ออกจากน้ำ� ทะเล ทำ� ใหน้ ้ำ� จดื ออกมาและ พรอ้ มปอ้ นเขา้ สรู่ ะบบจา่ ยน้ำ� ประปา สว่ นเกลอื ทไี่ ดน้ นั้ น�ำกลับไปท้งิ ในทะเล เทคโนโลยีนี้ จะใชก้ ับพ้ืนทท่ี ่ีมสี ภาพเปน็ เกาะ ทไี่ ม่มแี หล่งน้�ำจืดส�ำหรบั อุปโภคและบรโิ ภค เพอื่ ช่วย แก้ปัญหาการขาดแคลนน้�ำ โดยจ�ำเป็นต้องมีการบรหิ ารจัดการน้�ำรว่ มระหว่างน้�ำจืด จากธรรมชาตแิ ละน้ำ� จดื ทสี่ กดั จากน้ำ� ทะเล ซงึ่ ปจั จบุ นั ประเทศไทยไดม้ กี ารนำ� เทคโนโลยนี ี้ มาใช้ในพนื้ ทเี่ กาะสชี ัง เกาะสมยุ และเกาะล้าน
49 5.3 การทำ� นาเกลอื การท�ำเกลือทะเลต้องใช้น้�ำทะเลเป็นวัตถุดิบ โดยการน�ำ น้�ำทะเลขึ้นมาตากแดดให้น้�ำระเหยไปเหลือแต่ผลึกเกลือ SALT ตกอยู่ (Solar Evaporation System) เกลือประเภทน้ี มกี ารผลติ และการใชม้ าตงั้ แตส่ มยั โบราณ และถอื เปน็ อาชีพเก่าแก่อาชีพหน่ึงของโลกและของคนไทย โดยไดม้ กี ารกำ� หนดเปน็ สนิ คา้ เกษตรกรรมขนั้ ตน้ SALT ตามพระราชบัญญัติธนาคารเพอ่ื การเกษตรและ สหกรณก์ ารเกษตร พ.ศ. 2509 ดังน้ัน แหล่งผลิตจึงต้องอยู่บริเวณใกล้ ชายฝ่ ังทะเล ถึงแม้ประเทศไทยจะมีชายฝ่ ังทะเลยาวถึง 3,193.44 กิโลเมตร แต่แหล่งท่ีเหมาะสมส�ำหรบั การผลิตเกลือ ทะเลมีค่อนข้างจ�ำกัด คือ ต้องมีลักษณะทางภูมิประเทศเป็นที่ราบ สภาพดนิ ตอ้ งเปน็ ดนิ เหนยี ว สามารถอมุ้ น้ำ� ไดด้ ปี อ้ งกนั ไมใ่ หน้ ้ำ� เคม็ ซมึ ลงไปใตด้ นิ และปอ้ งกนั ไมใ่ หน้ ้ำ� จดื ซมึ ขนึ้ มาบนดนิ มกี ระแสลมและแสงแดดชว่ ยในการตกผลกึ เกลอื ซงึ่ แหลง่ ทเ่ี หมาะสมตอ่ การทำ� นาเกลอื ของประเทศไทยในปจั จบุ นั ไดแ้ ก่ จงั หวดั สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม และเพชรบรุ ี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจบุ ัน กิจกรรมการใช้ประโยชน์พนื้ ท่ีชายฝ่ งั ส่วนใหญ่ ท่ีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ได้แก่ การขนส่งและพาณิชยนาวี การส�ำรวจและผลิต ปิโตรเลียม การท่องเท่ียวทางทะเล ส�ำหรบั กิจกรรมที่มีแนวโน้มลดลง ได้แก่ การประมงและการเพาะเล้ียงสตั วน์ ้�ำ และการทำ� นาเกลือ โดยรวมแล้ว กิจกรรม การใช้ประโยชน์บนฐานทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ ัง มีแนวโน้มของปรมิ าณ การใชท้ เ่ี พมิ่ ขนึ้ ทง้ั นี้ เกดิ จากปจั จยั ขบั เคลอ่ื นในประเทศทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส่งผลให้เกิดการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ เพ่ิมขึ้น ซึ่ ง จ ะ เป็ น ก า ร ใช้ ท รัพ ย า ก ร ท า ง ท ะ เ ล แ ล ะ ช า ย ฝ่ ัง ม า ก ขึ้ น จ น ท� ำ ให้ เกิ ด ความเส่อื มโทรมมากขึ้นด้วยเชน่ เดียวกัน (สถานการณ์ด้านทรพั ยากรทางทะเล และชายฝ่ งั และการกัดเซาะชายฝ่ งั ของประเทศไทย พ.ศ. 2560 กรมทรพั ยากร ทางทะเลและชายฝ่ ัง กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
50 ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลของไทย 1. ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลในมิติทางเศรษฐกิจเชงิ พื้นที่ มิติผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเชิงพนื้ ที่ เขตผลประโยชน์ / บนฝ่ ังทีเ่ กี่ยวเนื่องกับทะเล กิจกรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ ง • การเพาะเลี้ยงชายฝ่ งั การประมง • อุตสาหกรรมต่อเนื่องกับประมง ทั้งอุตสาหกรรม อาหาร ยา และเทคโนโลยชี วี ภาพ ฯลฯ ทะเลของไทย • การประมงทะเล การเพาะเลย้ี งในทะเล เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะของประเทศอ่ืน • การประมงนอกน่านน้�ำ ทะเลหลวง • การประมงนอกน่านน้�ำ เขตผลประโยชน์ / บนฝ่ งั ท่เี กี่ยวเนื่องกับทะเล กิจกรรมทเี่ กี่ยวขอ้ ง • โรงกลน่ั น้�ำมนั พลังงาน • โรงแยกกา๊ ซ • อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี พลังงานทางเลือก/ ทะเลของไทย พลังงานทดแทน/ • การสำ� รวจ/ขดุ เจาะน้�ำมนั ในทะเล พลังงานหมนุ เวียน • การสำ� รวจ/ขดุ เจาะกา๊ ซในทะเล เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะของประเทศอื่น • การสำ� รวจ/ขดุ เจาะน้�ำมนั ในทะเล • การสำ� รวจ/ขดุ เจาะกา๊ ซในทะเล บนฝ่ ังทเี่ กี่ยวเน่ืองกับทะเล • โรงไฟฟา้ ทะเลของไทย • กงั หนั ลม • แผงพลงั งานแสงอาทติ ย์ • พลงั งานจากคล่ืน
51 เขตผลประโยชน์ / บนฝ่ ังทีเ่ ก่ียวเน่ืองกับทะเล กิจกรรมทเี่ ก่ียวขอ้ ง พาณิชยนาวี • อตุ สาหกรรมการต่อเรอื / • สนิ คา้ เขตผลประโยชน์ / ซอ่ มเรอื • การประกนั ภัย กิจกรรมทเี่ กี่ยวขอ้ ง การทอ่ งเทีย่ ว • ทา่ เรอื • สำ� นักงาน เขตผลประโยชน์ / • Shipping • กิจการน�ำเขา้ / กิจกรรมทเี่ กี่ยวขอ้ ง กิจกรรมอื่น • Stevedoring สง่ ออก ฯลฯ ทะเลของไทย • การขนสง่ ทางทะเล (ชายฝ่ งั ) เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะของประเทศอื่น • การขนสง่ ทางทะเล (ระหวา่ งประเทศ) ทะเลหลวง • การขนสง่ ทางทะเล (ระหวา่ งประเทศ) บนฝ่ งั ท่ีเก่ียวเน่ืองกับทะเล • สำ� นักงาน • โรงแรม/ทพ่ี กั • กิจกรรมนันทนาการ (ตกปลา เดนิ เลน่ พกั ผอ่ น อาบแดด ฯลฯ) ทะเลของไทย • การด�ำน้�ำ • การเดนิ เรอื • ทพ่ี กั • กิจกรรมนันทนาการ (ตกปลา แขง่ เรอื ฯลฯ) เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะของประเทศอื่น • การเดนิ เรอื ทะเลหลวง • การเดนิ เรอื • กิจกรรมนันทนาการ (ตกปลา แขง่ เรอื ฯลฯ) บนฝ่ ังท่เี กี่ยวเน่ืองกับทะเล • การผลิตน้�ำจดื จากน้�ำทะเล • การทำ� นาเกลือ • การจัดการขยะในทะเล ฯลฯ ทะเลของไทย • การทำ� เหมอื งแร่ • การสรา้ งทพี่ กั /ทอ่ี าศยั
52 ปญั หา 2. ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติทางทะเลในมิติเชงิ ลึก ผวิ น้�ำ (สง่ิ แวดล้อม) ขยะ มิติเชงิ ลึกในน่านน้�ำไทย ประเภทของผลประโยชน์ ผวิ น้�ำ เรอื แพ วสั ดลุ อยน้�ำ กะชงั ปลา ใต้น้�ำ ใต้น้�ำ สตั วน์ ้�ำ - (สง่ิ แวดล้อม) น้�ำเสยี - เสยี งรบกวนใต้น้�ำ ประเภทของผลประโยชน์ ผิวดิน ปญั หา หญา้ ทะเลปะการงั ปะการงั เทยี ม ผวิ ดิน สง่ิ แวดล้อม อทุ ยานใตน้ ้�ำ (โลหะหนัก) ดินใต้ผิวดิน แรธ่ าตุ น้�ำมนั ก๊าซธรรมชาติ
53 มูลคา่ การใชป้ ระโยชนจ์ ากทะเลของไทย การใชป้ ระโยชนจ์ ากทะเลของไทย นำ� ไปสผู่ ลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเลอยา่ งมหาศาล ทงั้ ทไ่ี ดจ้ ากทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี ชี วี ติ และไมม่ ชี วี ติ รวมถงึ ทไี่ ดจ้ ากกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทะเลที่ก่อให้เกิดมูลค่า ซึ่งมีการประเมินว่า ผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทยมีมูลค่า ประมาณ 24 ลา้ นลา้ นบาทตอ่ ปี โดยกจิ กรรมทที่ ำ� ใหเ้ กดิ มลู คา่ มากทส่ี ดุ คอื การขนสง่ ทางทะเล และในห้วง 10 ปีข้างหน้า ผลประโยชน์ทางทะเลของไทย มีแนวโน้มมลู ค่าเพิ่มมากขนึ้ อยา่ ง ต่อเน่ือง ล้านล้านบาท 1.540 0.403 0.450 1.005 0.100 20.500 รวม 23.998 ล้านล้านบาท ทรพั ยากรมีชีวติ อุตสาหกรรมต่อเน่ืองต่าง ๆ ทรพั ยากรไมม่ ชี ีวิต การทอ่ งเท่ยี วและนันทนาการทางทะเล การขนสง่ ทางทะเล อ่ืน ๆ ทีม่ า: สำ� นักงานสภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ตารางที่ 1 มูลค่าการใช้ประโยชนจ์ ากทะเลของประเทศไทย
54 ผลกระทบท่เี กิดขึน้ จากทะเล 1. ด้านการประมง 1.1 การเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรสัตวน์ ้�ำทะเล สาเหตุของการเส่ือมโทรมเกิดได้ท้ัง และเครอ่ื งมอื ประมงมมี ากกวา่ จำ� นวนทรพั ยากร จากธรรมชาติ และจากการใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ ในธรรมชาตจิ ะอำ� นวยใหเ้ ขา้ มา และการฝา่ ฝนื โดยการเสื่อมโทรมตามธรรมชาติ ได้แก่ ม า ต ร ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร สั ต ว์ น้� ำ การเปลยี่ นแปลงกระแสน้ำ� การพงั ทลายของดนิ มีการท�ำลายแหล่งท่ี อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง สั ต ว์ น้� ำ ตามชายฝ่ ังทะเล การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ อั น เป็ น เห ตุ ให้ ท รัพ ย า ก ร สั ต ว์ น้� ำ ท ะ เ ล ของน้ำ� ในทะเล และการเกดิ คลน่ื ลมอยา่ งรนุ แรง ของไทยเกิดการเส่ือมโทรมอย่างรวดเร็ว สาเหตุตามธรรมชาติเหล่าน้ีส่งผลต่อแหล่ง และต่อเนื่อง วางไข่ แหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ขบวนการหว่ งโซอ่ าหาร ซงึ่ ทำ� ใหก้ ารดำ� รงชวี ติ ของสตั วน์ ้ำ� เปลยี่ นแปลงไป สว่ นสาเหตทุ เ่ี กดิ จากการใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ ได้แก่ การท�ำประมงมากเกินไป ดังจะเห็น ไ ด้ จ า ก ก า ร เพ่ิ ม ข้ึ น ข อ ง จ� ำ น ว น เรือ ป ร ะ ม ง ประสทิ ธภิ าพของเรอื ประมง
55 1.2 การทำ� การประมงผดิ กฎหมาย 1.3 การใชแ้ รงงานผิดกฎหมายและ การค้ามนุษย์ ประเทศไทยเปน็ ผสู้ ง่ ออกสนิ คา้ สตั วน์ ้ำ� ในล�ำดับต้นของโลก ทำ� รายได้เข้าสู่ประเทศ ความนิยมในการท�ำงานภาคประมง มหาศาล ในขณะทที่ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล ของคนไทยลดลง สวนทางกบั ภาคเอกชนของไทย ให้ผลผลิตประมงมูลค่ามากมาย แต่กลับ ที่ มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ แร ง ง า น ภ า ค ป ร ะ ม ง ประสบปัญหาความเส่ือมโทรมจากการท�ำ ในปรมิ าณมากและราคาถกู ประกอบกบั ปญั หา ประมงมากเกินไป (Overfishing) โดยเฉพาะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ภ า ย ใ น ข อ ง ป ร ะ เท ศ เพ่ื อ น บ้ า น เครอื่ งมือท่ีมกี ารทำ� ลายสูง (เครอ่ื งมือที่ไม่ ท�ำให้มีผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย สามารถคัดเลือกสัตวน์ ้�ำเปา้ หมายได้) อาทิ จากประเทศเพอื่ นบา้ น ถกู จ้างมาเปน็ แรงงาน อวนลาก และอวนรุน นอกจากนี้ การละเลย ห รือ ถู ก ห ล อ ก ใ ห้ ม า ท� ำ ง า น บ น เรือ ป ร ะ ม ง ในการประกอบกิจการประมงที่ไม่เป็นไป โดยนายหนา้ จดั หางาน สง่ ผลใหม้ กี ารดำ� เนนิ การ ตามกฎหมาย อาทิ การไม่จดทะเบียนเรอื ในรปู แบบของขบวนการลกั ลอบขนคนขา้ มชาติ และการไมม่ กี ารรายงานผลการทำ� การประมง แ ล ะ ก า ร ค้ า ม นุ ษ ย์ ข้ า ม ช า ติ ซึ่ ง ผ ล จ า ก ทำ� ใหเ้ ขา้ ขา่ ยการทำ� การประมงทผี่ ดิ กฏหมาย การคา้ มนษุ ยใ์ นอตุ สาหกรรมการประมง สง่ ผล ขาดการรายงาน และไรก้ ารควบคมุ (Illegal, กระทบต่อภาพลักษณ์และความเสียหายต่อ Unreported and Unregulated Fishing: ก า ร ส่ ง อ อ ก สิ น ค้ า ป ร ะ ม ง ข อ ง ไท ย อี ก ด้ ว ย IUU Fishing) ซงึ่ รฐั บาลไทยไดก้ ำ� หนดมาตรการ ทั้งน้ี สหรัฐอเมริกา ได้เผยแพร่รายงาน เพอื่ แกไ้ ขปญั หา IUU Fishing อยา่ งเขม้ งวด สถานการณ์การค้ามนุษย์ประจ�ำปี 2017 อาทิ การจดทะเบยี นเรอื ประมง การติดต้ัง โดยปรบั เปล่ียนสถานะให้ประเทศไทยอยู่ใน ระบบติดตามเรอื การออกพระราชก�ำหนด บัญชีท่ีมีการค้ามนุษย์จากระดับ Tier 3 การประมง พ.ศ. 2558 พระราชก�ำหนด เป็น Tier 2 Watch List (แบบต้องจับตามอง การประมง (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 และ เป็นพิเศษ) และเป็น Tier 2 แม้ว่าไทยจะ กฎหมายล�ำดับรอง และการก�ำหนดจ�ำนวน ถูกปรบั เปลี่ยนดีขึน้ แต่ยังคงส่งผลกระทบต่อ วันทำ� การประมง ภาพพจน์ของสินค้าประมงของไทยในตลาด สหรฐั ฯ และตลาดอนื่ ๆ ทอ่ี าจนำ� ไปเปน็ ขอ้ อา้ ง ในการกีดกันทางการค้า โดยไทยยงั คงแก้ไข ปั ญ ห า อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง เพ่ื อ ให้ แร ง ง า น เข้ า สู่ ระบบอย่างถกู ต้องตามกฎหมาย
56 2. ด้านการขนสง่ และพาณิชยนาวี 2.1 น้�ำมันรว่ั ในทะเล ทำ� ใหช้ ายหาดกลายเปน็ สดี ำ� จนตอ้ งมกี ารประกาศ ใหเ้ ปน็ พนื้ ทภี่ ัยพบิ ตั ิทางทะเล ซง่ึ เปน็ เหตกุ ารณ์ การรั่วไหลของน้�ำมันมีทั้งท่ีเกิด ท่ี มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ท รัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ โดยธรรมชาติ อาทิ รวั่ จากแหลง่ น้ำ� มนั ใตด้ นิ ส่ิงแวดล้อม และระบบนิเวศอย่างชัดเจน และเกิ ดจากกิ จกรรมของมนุ ษย์ อาทิ รวมไปถงึ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว การประมง การขดุ เจาะน้ำ� มนั การลกั ลอบปลอ่ ยทงิ้ สทู่ ะเล และการเพาะเลย้ี งชายฝ่ งั และยงั สง่ ผลถงึ มนษุ ย์ กิจกรรมการขนส่งทางทะเลและอุบัติเหตุ อี ก ด้ ว ย เนื่ อ ง จ า ก ส า ร พิ ษ ต่ า ง ๆ จ ะ เกิ ด จากเรือ ดังเช่นเหตุการณ์เม่ือปี 2556 ก า ร ส ะ ส ม อ ยู่ ใน ห่ ว ง โซ่ อ า ห า ร ตั้ ง แ ต่ ผู้ ผ ลิ ต ไดเ้ กดิ เหตทุ อ่ รบั น้ำ� มนั ในเรอื บรรทกุ น้ำ� มนั ดบิ (แพลงก์ตอนพืช) ผ้บู รโิ ภคขัน้ ต้น (แพลงก์ตอน รั่ว ท�ำให้น้�ำมันรั่วไหลลงสู่ทะเลบริเวณ สัตว์/ปลา) จนถึงผู้บรโิ ภคข้ันสุดท้ายซ่ึงก็คือ ท่าเทียบเรอื นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มนุษยน์ ั่นเอง จังหวัดระยอง มีปริมาณ 50,000 ลิตร และได้ถูกคลื่นลมทะเลซัดขึ้นชายหาดเป็น ระยะทางกวา่ 1 กิโลเมตร บรเิ วณชายหาด อ่าวพรา้ วของเกาะเสม็ด
57 2.2 การลักลอบขนส่งผิดกฎหมาย 2.3 การก่อการรา้ ยและการกระทำ� อัน มกี ารทำ� เปน็ เครอื ขา่ ย โดยทง้ั คนไทย เป็นโจรสลัด และชาวตา่ งชาตทิ ใ่ี ช้ เรอื สนิ คา้ เรอื ทอ่ งเทย่ี ว และเรอื ประมงเปน็ พาหนะในการกระทำ� ผดิ ไทยไดร้ บั ผลกระทบจากปญั หาการกอ่ การลักลอบล�ำเลียงสิ่งผิดกฎหมาย อาทิ การรา้ ยสากลจากการทสี่ มาชกิ กลมุ่ กอ่ การรา้ ย น้ำ� มนั เถอื่ น ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ การจดั เกบ็ ภาษี เขา้ มาจดั หาเอกสารเดนิ ทางปลอม และชนิ้ สว่ น ของรฐั และยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งตอ่ อบุ ตั กิ ารณ์ หรอื สารประกอบระเบิด เพ่ือน�ำไปใช้ก่อเหตุ ทางทะเล อนั มผี ลกระทบตอ่ ความหลากหลาย ในประเทศที่สาม หรอื เป็นเส้นทางคมนาคม ทางชีวภาพและความย่ังยืนของทรพั ยากร ทางทะเลในลกั ษณะหลบหนเี ขา้ เมอื งผดิ กฎหมาย ธรรมชาติ ในท้องทะเล และยาเสพติ ด และลักลอบขนอาวุธ โดยมีเป้าหมายเป็น ซึ่งส่งผลกระทบต่อประเทศ เปน็ ภัยรา้ ยแรง การกอ่ การรา้ ย นอกจากนี้ ไทยประสบปญั หา ข อ ง สั ง ค ม ท่ี ทุ ก ป ร ะ เท ศ ใ ห้ ค ว า ม ส� ำ คั ญ ภัยคุกคามจากโจรสลัด ได้แก่ อ่าวเอเดน ในการแก้ไขปญั หา เขตนา่ นน้ำ� โซมาเลยี อา่ วกนิ เี ขตนา่ นน้ำ� แอฟรกิ า ตะวนั ออก และชอ่ งแคบมะละกาและทะเลจนี ใต้ การก่อการรา้ ยและการคุกคามของโจรสลัด เป็นสิ่งท่ีต้องเตรียมความพร้อมและอาศัย ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อป้องกัน การเกิดขึ้น
58 3. ด้านการท่องเทีย่ วและนันทนาการทางทะเล 3.1 ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเท่ยี วทางทะเล อันเน่ืองมาจากการพัฒนาการท่องเท่ียวที่เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเรว็ ก�ำลังก่อให้เกิด อาทิ การทิ้งขยะลงในทะเล เรอื ท่องเทีย่ วทอดสมอทำ� ลายแนวปะการงั การจับสัตว์ทะเลหายาก ขึ้นมาโชว์นักท่องเท่ียวบนเรอื โดยท่ีสาเหตุหลัก เกิดจากผู้ประกอบการท่องเที่ยว รวมถึง ตัวนักทอ่ งเทย่ี วเองขาดความเขา้ ใจและขาดการมสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยในส่วนของหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ ก็ยังขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรูค้ วามสามารถ ในการบรหิ ารจัดการพ้ืนที่ ท�ำให้กฎระเบียบต่าง ๆ ไม่สามารถใช้ควบคุมจัดการได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ
59 3.2 ขยะทะเล ของเสียที่เกิดจากกระท�ำของมนุษย์ จึงถูกพดั พาไปโดยคลื่น ลม กระแสน้�ำ ทัง้ โดยตรง ได้แก่ การทง้ิ ขยะลงทะเล ระบบ และน้ำ� ขน้ึ น้ำ� ลง ซง่ึ ขยะพลาสตกิ สว่ นใหญ่ การจดั การขยะดอ้ ยประสทิ ธภิ าพ และโดยออ้ ม มาจากของใช้ในชีวิตประจ�ำวัน อาทิ ไดแ้ ก่ การทงิ้ ขยะลงแมน่ ้ำ� ลำ� คลอง ลมและน้ำ� ถุง ขวด ภาชนะใส่อาหาร และวัสดุ พัดพาจากชุมชนออกสู่ทะเล ซึ่งขยะทะเล ที่ใช้ในการบรรจุหีบห่อ และผลิตภัณฑ์ มาจาก 2 แหล่งหลัก คือ อุตสาหกรรม รวมท้ังเครอื่ งมือประมง 1) จากทะเล อาทิ การขนส่งทางเรือ เรือ ซง่ึ เปน็ ปญั หาทส่ี ง่ ผลกระทบเปน็ วงกวา้ ง ส�ำราญ และเรอื ท่องเทย่ี ว เรอื ประมง แทน่ อาทิ การตายของสตั ว์ทะเลหายากและ ขุดเจาะน้�ำมันและก๊าซ การเพาะเลี้ยงสัตว์ ใ ก ล้ สู ญ พั น ธุ์ จ า ก ก า ร กิ น ข ย ะ จ� ำ พ ว ก และพืชน้�ำในทะเล และ พลาสติก และในส่วนของด้านอาหาร 2) จากแผน่ ดิน อาทิ จากแหล่งอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจุบัน ท่ัวโลกได้ให้ความส�ำคัญ บรเิ วณชายฝ่ ัง การขนส่งจากแม่น้�ำบรเิ วณ กับไมโครพลาสตกิ ทข่ี ณะน้ีปะปนอยใู่ น ชายฝ่ งั ของเสยี ทป่ี ลอ่ ยออกมาจากบา้ นเรอื น หว่ งโซอ่ าหารและสามารถถ่ายทอดมาสู่ การท้ิงขยะจากการท่องเที่ยวบรเิ วณชายฝ่ ัง ม นุ ษ ย์ โ ด ย ผ่ า น อ า ห า ร ท ะ เ ล ท่ี เร า ใช้ ขยะท่ีเกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซ่ึงขยะ บรโิ ภค ดังกล่าวเปน็ ขยะพลาสติก มีน้�ำหนักเบาและ ไม่สามารถย่อยสลายได้ในเวลาอันสน้ั
60 4. ด้านพลังงาน การสำ� รวจและการผลติ และสงิ่ ตดิ ตง้ั โดยปนเป้ ือนอยูใ่ นอากาศ ดิน และแหล่งน้�ำ ท่ี ใช้ ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ใน ท ะ เ ล ต่าง ๆ ซง่ึ เปน็ แห่งน้�ำดื่ม น้�ำใช้ รวมทง้ั น้�ำเพ่ือ โดยกระบวนการดังกล่าว ลว้ นสง่ ผลกระทบ การเกษตรและการประมง ท้ังน้ี พ้ืนที่ทะเล ต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมทางทะเล ดา้ นอา่ วไทย มแี ทน่ ปโิ ตรเลยี มทงั้ หมด 452 แทน่ รวมทง้ั ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ อาทิ การขดุ เจาะ ซ่ึงจะทยอยหมดอายุสัมปทานและการใช้งาน เพ่ื อ ส� ำ ร ว จ น้� ำ มั น ดิ บ แ ล ะ ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ต้ังแต่ปี 2562 เปน็ ต้นไป ตามล�ำดับ เมอื่ อายุ ซ่ึงอาจท�ำให้เกิดการรว่ั ไหลของน้�ำมันลงสู่ สั ม ป ท า น สิ่ ง ติ ด ตั้ ง ที่ ใช้ ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ทอ้ งทะเล สง่ ผลตอ่ ระบบนิเวศทำ� ใหส้ ตั วน์ ้�ำ ปิโตรเลียมหมดลง จ�ำเป็นต้องมีการพิจารณา มีปรมิ าณลงลดเนื่องจากปรบั ตัวไม่ได้และ ท า ง เ ลื อ ก ก า ร รื้อ ถ อ น เพื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ท า ง เ ลื อ ก ไดต้ ายลงไป และไอระเหยจากกา๊ ซธรรมชาติ ท่ีเหมาะสม โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ ทไี่ ดส้ ง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งรนุ แรง นเิ วศวทิ ยา 5. ด้านอ่ืน ๆ 5.1 สึนามิ เปน็ คล่ืนยกั ษ์ขนาดใหญ่ ซ่ึงมักปรากฏหลังแผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม การระเบิดของภูเขาไฟใต้ทะเล และอุกกาบาต ซึ่งมคี วามรุนแรงและสรา้ งความเสียหายต่อท้ังชีวิต ทรพั ย์สิน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงเศรษฐกิจอีกด้วย ท้ังนี้ เมื่อปี 2547 ได้เกิดเหตุการณ์สึนามิในประเทศไทย ในจังหวัดภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล ท�ำให้มี ผ้เู สียชวี ติ ประมาณ 5,400 คน บาดเจ็บกว่า 8,000 คน และ สญู หายอีกมากมาย บ้านเรอื นประชาชน รสี อรท์ และโรงแรม ตลอดจนระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ อาทิ ไฟฟ้า ประปา โทรศพั ท์ ถนน มูลค่าความเสียหายกวา่ 1,000 ล้านบาท
61 5.2 การกัดเซาะชายฝ่ ัง ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการกัดเซาะชายฝ่ ัง ได้แก่ 1) จากธรรมชาติ อาทิ ลมมรสมุ คลื่น และกระแสน้�ำชายฝ่ ัง 2) จากการกระท�ำของมนุษย์ อาทิ การก่อสรา้ ง การบุกรุกป่าชายเลน และการสูบน้�ำบาดาล ซง่ึ สง่ ผลกระทบในด้านสง่ิ แวดล้อม ทำ� ใหร้ ะบบนิเวศชายฝ่ งั เสยี สมดลุ และจ�ำนวนสตั วน์ ้�ำลดลง ด้านสังคม เกิดการสูญเสียที่อยู่อาศัย ท�ำให้ประชาชนต้องอพยพย้ายถิ่นฐานไปยังพ้ืนท่ีอ่ืน และด้านเศรษฐกิจ กระทบต่อรายได้ของภาคการท่องเที่ยว และการลงทุนของภาคธุรกิจ ในอนาคต จากการสำ� รวจแนวชายฝ่ งั ประเทศไทยปี 2560 โดยกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ ัง พบพ้ืนที่ กัดเซาะชายฝ่ งั ได้ด�ำเนินการแก้ไขแลว้ เปน็ ระยะทาง ประมาณ 559 กิโลเมตร จากระยะทางประมาณ 800 กิโลเมตร คิดเปน็ ประมาณ รอ้ ยละ 18 ของ แนวชายฝ่ งั คงเหลอื พนื้ ทกี่ ดั เซาะทย่ี งั ไมร่ บั การ แก้ไขเป็นระยะทางประมาณ 145 กิโลเมตร คิดเป็นประมาณ รอ้ ยละ 5 ของความยาว ชายฝ่ งั และพน้ื ทท่ี ไ่ี มม่ ปี ญั หาการกดั เซาะ ระยะทาง 2,447 กิโลเมตร คิดเป็น ประมาณ รอ้ ยละ 77 ของแนวชายฝ่ งั 5.3 การบรหิ ารจัดการ การแสวงหาประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ จากทะเลยังขาดความรับผิดชอบและการควบคุม ส่ ง ผ ล ให้ ส่ิ ง แว ด ล้ อ ม ท า ง ท ะ เ ล ไ ด้ รับ ผ ล ก ร ะ ท บ อยา่ งกวา้ งขวางและความหลากหลายทางชวี ภาพลดลง อย่างรวดเร็ว ปัญหาที่เกิดข้ึนและส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมทางทะเลอย่างรุนแรง อาทิ นักท่องเท่ียว ทขี่ าดความรบั ผดิ ชอบ การสรา้ งสงิ่ ปลกู สรา้ งทไี่ มค่ ำ� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม การทำ� การประมงผดิ กฎหมาย นอกจากนี้ ยงั เกดิ จากการไมไ่ ด้รบั ความรว่ มมอื ในการปกปอ้ งและดแู ลรกั ษาทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ งั จากประชาชนเทา่ ทค่ี วร และขาดมาตรการทางกฎหมาย ท่ีเข้มงวดส�ำหรบั ผู้ที่ฝ่าฝืนกฎระเบียบ ทั้งผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว
บทท่ี 4 กฎหมายและ หนว่ ยงาน ทางทะเล
64
65 กฎหมายทะเลระหว่างประเทศ เปน็ ทที่ ราบกนั ดวี า่ กฎหมายเปน็ เครอื่ งมอื ในการควบคมุ ความประพฤติ ของบุคคลให้ต้องปฏิบัติตาม รวมทั้งส่งเสริมให้สภาพความเป็นอยู่ ในสังคมมีความผาสุก และประเทศชาติมีความเจรญิ รุง่ เรอื ง มั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยนื โดยในส่วนของการใชท้ ะเลและมหาสมุทร กฎหมายจะทำ� หน้าท่ี ในการควบคุมพฤติกรรมของผู้ใช้ทะเล และสนับสนุนให้มีการอนุรกั ษ์และ ใชป้ ระโยชน์จากมหาสมุทรและทรพั ยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน ดังน้ัน เพื่อให้ผู้ใช้ทะเลได้มีความรู้ ความเข้าใจ เคารพ และปฏิบัติ ตามกฎหมายทางทะเล จะได้กล่าวถึงสภาพความมีอยู่ของกฎหมายทะเล ทเี่ ปน็ หลกั สากล หรอื กฎหมายระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยทะเล ทถี่ อื วา่ เปน็ แมบ่ ท ของบรรดากฎหมายทางทะเลอื่น ๆ ท้ังหมด กฎหมายทางทะเลที่มีลักษณะ ควบคุมกิจกรรมหรอื เหตกุ ารณ์ทางทะเลเป็นการเฉพาะเรอ่ื ง ท่มี ีผลกระทบ ต่อการควบคุมการใช้ประโยชน์จากทะเลของประเทศไทยท่ีส�ำคัญ รวมท้ัง สถานะของประเทศไทย ดังนี้
66 1. อนุสัญญากรุงเจนวี า วา่ ดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 (1958 Geneva Conventions on the Law of the Sea) ในอดตี แมก้ ารใชท้ ะเลและมหาสมทุ รในกจิ การตา่ ง ๆ ของรฐั ชายฝ่ งั จะมมี าอยา่ งกวา้ งขวาง แต่กฎหมายทะเลระหว่างประเทศในช่วงเวลาเหล่าน้ัน ก็เป็นเพียงจารตี ประเพณีของชาวเรอื ท่ยี อมรบั ปฏิบตั ิเป็นสากลเท่าน้ัน เช่น การยอมรบั เสรภี าพแห่งทะเลหลวง (Freedom of the High Seas) การยอมรบั วา่ อำ� นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) ของรฐั ชายฝ่ งั ขยายออกมา ได้ในทะเล 3 ไมล์ทะเล หรอื ประมาณ 5 กิโลเมตร เปน็ ต้น การใชอ้ �ำนาจรฐั ต่าง ๆ ในทะเลและ มหาสมทุ ร ยงั ไมม่ บี ทบญั ญตั สิ ากลหรอื อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศรองรบั จะมผี ลในทางปฏบิ ตั ิ เพยี งใด ขึ้นอยู่กับก�ำลังอ�ำนาจของรฐั น้ัน ๆ เอง แนวความคิดที่จะมีบทบัญญัติสากลหรืออนุสัญญา ระหว่างประเทศเก่ียวกับทะเล เพ่ิงมาเรม่ิ เม่ือหลังสงครามโลก ครง้ั ที่ 1 โดยองค์การสันนิบาตชาติได้มองเห็นความส�ำคัญว่า จะต้องมีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล ที่จะเป็น บทบัญญัติและแม่บทท่ีประเทศทั้งหลายในโลกจะได้ถือปฏิบัติ จึงได้จัดให้มีการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ครงั้ ที่ 1 ณ กรุงเจนีวา ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) โดยมีประเทศ สมาชิกเข้ารว่ มประชมุ 86 ประเทศ และมหี วั หน้าคณะผแู้ ทนของ ประเทศไทย คอื พระเจา้ วรวงศเ์ ธอกรมหมน่ื นราธปิ พงศป์ ระพนั ธ์ ไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ ประธานการประชมุ ซงึ่ นบั วา่ เปน็ เกยี รตยิ ศอยา่ งยง่ิ ส�ำหรบั ประเทศไทย
67 การประชุมครง้ั นี้ปรากฏผลเป็นอนุสญั ญา 4 ฉบบั คือ • อนุสัญญาวา่ ด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเน่ือง • อนุสัญญาวา่ ด้วยทะเลหลวง • อนุสญั ญาว่าด้วยการประมงและการอนุรกั ษ์สงิ่ ทีม่ ชี ีวิตในทะเลหลวง • อนุสญั ญาว่าด้วยไหล่ทวีป โดยมากมกั เรยี กอนุสญั ญาทง้ั 4 ฉบบั นี้สนั้ ๆ วา่ “อนุสญั ญากรุงเจนีวา 1958” (1958 Geneva Conventions on the Law of the Sea) นับเปน็ ความก้าวหน้า อยา่ งมากของกฎหมายทะเล ทม่ี บี ทบญั ญตั ขิ องกฎหมายระหวา่ งประเทศในประเดน็ ตา่ ง ๆ อยา่ งมากมายและไม่เคยมีมาก่อน ท้งั นี้ ประเทศไทยได้ลงนามเขา้ เปน็ ภาคีอนุสญั ญาท้งั 4 ฉบับ เมอื่ วนั ท่ี 29 เมษายน ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) และใหส้ ตั ยาบนั เมอื่ วนั ท่ี 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1968 (พ.ศ. 2511) อย่างไรก็ตาม อนุสัญญาดังกล่าวก็มีจุดอ่อนบางประการอยู่ โดยมี ประเด็นท่สี ำ� คัญทีส่ ดุ คือ การไม่สามารถบัญญัติไว้ว่า ทะเลอาณาเขตมีความกว้าง เทา่ ใด สหประชาชาตจิ งึ จดั การประชมุ กฎหมายทะเล ครงั้ ที่ 2 ขน้ึ อกี ครง้ั ในปี ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) เพื่อพิจารณาประเด็นการก�ำหนดความกวา้ งของทะเลอาณาเขตเพียง เรอ่ื งเดียว แต่การประชุมดังกล่าวไมป่ รากฏผลความตกลงเป็นข้อยุติได้
68 2.อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยกฎหมายทะเลค.ศ.1982 (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea : 1982 UNCLOS) การประชมุ ภายใตอ้ งคก์ ารสนั นบิ าตชาติ ตอ่ มา ในการประชมุ ภายใตอ้ งคก์ าร จัดขนึ้ ภายหลังสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ระหว่าง สหประชาชาติ ซึ่งจากผลการประชุม วันท่ี 13 มีนาคม - 12 เมษายน ค.ศ. 1930 สหประชาชาติ ว่าด้ วยกฎหมายทะเล (พ.ศ. 2473) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ครงั้ ที่ 2 ท่ีไม่บรรลุความตกลงดังกล่าว มีผู้แทนจาก 42 ประเทศ เข้าร่วมประชุม ได้ผลักดันให้มีการประชุมสหประชาชาติ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือสรา้ งข้อบังคับและมาตรการ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ครง้ั ที่ 3 ขึ้น ซ่งึ การ ในการใชท้ ะเล โดยยดึ หลักความเปน็ ธรรมและ ประชุมครง้ั น้ี ได้มีการเตรยี มการเมอ่ื วนั ที่ จารีตประเพณีเป็นหลักใหญ่ แต่การประชุม 18 ธนั วาคม ค.ศ. 1967 (พ.ศ. 2510) และ ล้มเหลว เน่ืองจากไมส่ ามารถหาขอ้ ยตุ ิเกยี่ วกับ เสรจ็ สิ้นการประชุมครงั้ สุดท้ายเม่ือวันท่ี ความกวา้ งของทะเลอาณาเขต และควรกำ� หนด 3 ธันวาคม ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525) เขตต่อเน่ืองจากทะเลอาณาเขตหรอื ไม่ ปรากฏผล คอื รา่ งอนสุ ญั ญาสหประชาชาติ วา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และเปิด ให้ลงนามเข้าเป็นภาคีท่ีจาเมกา ระหว่าง วนั ท่ี 6 - 10 ธนั วาคม ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525)
69 อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 United Nations on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) ท�ำให้มีหลักกฎหมาย ในการจดั ระเบยี บกจิ กรรมทางทะเลในทกุ ดา้ นทสี่ มบรู ณ์ มากยงิ่ ขนึ้ ประกอบดว้ ย 320 ขอ้ บท กบั อกี 9 ภาคผนวก โดยมบี ทบญั ญตั ทิ ส่ี ำ� คญั ๆ ไดแ้ ก่ บทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั การกำ� หนดเขตและระบอบทางทะเล อำ� นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) สทิ ธอิ ธปิ ไตย (Sovereign Rights) เขตอำ� นาจ (Jurisdiction) หรอื สทิ ธหิ นา้ ทใ่ี ด ๆ ของรฐั ในแตล่ ะเขตพนื้ ท่ี ครอบคลมุ ไปถงึ การเดนิ เรอื ชอ่ งแคบ ที่ใชส้ �ำหรบั การเดินเรอื ระหว่างประเทศ รฐั หมู่เกาะ สทิ ธขิ องเรอื รบในการขนึ้ ตรวจตรา (Right of Visit) และสิทธไิ ล่ตามติดพนั (Right of Hot Pursuit) หน้าท่ใี นการให้ความช่วยเหลือ (Duty to Render Assistance) การคมุ้ ครองและการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอ้ มทางทะเล การทดลองวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลและการพฒั นาและการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ทางทะเล
70 การส�ำรวจและการใช้ทรัพยากร วา่ ด้วยทะเลก�ำหนดไวอ้ ยา่ งเต็มที่ รวมถึง ใน ส่ ว น พื้ น ดิ น ท้ อ ง ท ะ เ ล แ ล ะ ม ห า ส มุ ท ร ได้รบั การคุ้มครองผลประโยชน์ทางทะเล และบรเิ วณใต้พ้ืนท่ีเหล่านั้นที่อยู่นอกเขต อย่างสมบูรณ์ เชน่ การใชส้ ทิ ธใิ นการแสวง อ�ำนาจแห่งรฐั (Area Beyond National และใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ Jurisdiction) ทง้ั น้ี อนุสญั ญาฯ ไดก้ �ำหนด ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตในเขตเศรษฐกิจ ให้องค์กรพน้ื ดินทอ้ งทะเลระหวา่ งประเทศ จ�ำเพาะ และไหล่ทวีป การได้รบั สว่ นแบง่ มหี นา้ ทด่ี แู ลจดั การทรพั ยากรในเขตดงั กลา่ ว จากบรรดาทรัพยากรก้นทะเลที่อยู่นอก นอกจากนี้ ในภาค 15 ของอนุสัญญาฯ เขตอธิปไตยของรฐั ใด ๆ ซ่ึงถือเป็นสมบัติ ยังได้ก�ำหนดกระบวนการระงับข้อพิพาท รว่ มกนั ของมนษุ ยชาติ (Common Heritage ระหว่างรฐั ภาคีอันเกิดจากการตีความและ of Mankind) นอกจากนี้ ยงั เปน็ การเสรมิ สรา้ ง การใชบ้ งั คบั อนสุ ญั ญาฯ อกี ดว้ ย ซง่ึ ถอื ไดว้ า่ ภาพลักษณ์ และยกระดับบทบาทของไทย อนสุ ญั ญาฉบบั นเี้ ปรยี บเสมอื นเปน็ ธรรมนญู ใ น เ ว ที ภู มิ ภ า ค แ ล ะ พ หุ ภ า คี อี ก ด้ ว ย ทางทะเล โ ด ย ไท ย ไ ด้ ยื่ น สั ต ย า บั น ส า ร เพื่ อ ก า ร เขา้ เปน็ ภาคี เมอ่ื วนั ท่ี 15 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 ตอ่ มา เมอื่ วนั ที่ 26 เมษายน ค.ศ. 2011 (พ.ศ. 2554) และมผี ลทางกฎหมายบงั คบั ใช้ (พ.ศ. 2554) รฐั สภาได้ให้ความเห็นชอบ กับไทย เมือ่ วนั ท่ี 14 มถิ นุ ายน ค.ศ.2011 ใหไ้ ทยเขา้ เปน็ ภาคอี นสุ ญั ญาสหประชาชาติ ( พ . ศ . 2 5 5 4 ) นั บ เป็ น ป ร ะ เท ศ ท่ี 1 6 2 ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และ ทเี่ ข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฉบับนี้ ความตกลงเกี่ยวกับการอนุวัติภาค 11 ของอนุสญั ญาฯ เพอื่ ใหไ้ ทยสามารถใชส้ ทิ ธิ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศ
71 ด้วยเหตุที่ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี อนุสญั ญากรุงเจนีวาวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 รวม 4 ฉบบั อยกู่ อ่ นแลว้ แมไ้ ทย จะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ด้วย แต่อนุสัญญากรุงเจนีวาฯ ท้ัง 4 ฉบับ ก็ยัง มีผลใช้บังคับกับไทยในฐานะรฐั ภาคีเท่าท่ี ไ ม่ ขั ด ห รือ แ ย้ ง กั บ อ นุ สั ญ ญ า ฉ บั บ ใ ห ม่ น้ี ส� ำ ห รั บ ส่ ว น ที่ แ ต ก ต่ า ง ห รื อ ขั ด แ ย้ ง กั น ก็ให้เป็นไปตามอนุสัญญาฉบับใหม่ เช่น การก�ำหนดความกว้างของไหล่ทวปี ใชว้ ัด จากระยะการลาดเทของพน้ื ทตี่ ามธรรมชาติ แทนการวดั ความลึกของท้องทะเล เป็นต้น ในการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ น้ี ท�ำให้ ประเทศไทย มีพันธกรณีที่ต้องออกหรอื แก้ ไขกฎหมายภายในของไทยเพื่อให้ สอดคล้องกับบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ (หรือที่เรียกว่า “อนุวัติการ”) เพ่ือให้มี สภาพบงั คับแก่ประชาชนภายในรฐั ต่อไป
72 3. กฎหมายและความตกลงระหวา่ งประเทศ กลมุ่ การเดนิ เรือและความปลอดภยั ทางทะเล องคก์ รหลกั ทมี่ บี ทบาทในการสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในการ ก�ำหนดมาตรฐานและแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการเดินเรอื รวมถึง การคุ้มครองส่งิ แวดล้อมทางทะเล ได้แก่ องค์การทางทะเลระหวา่ งประเทศ (International Organization: IMO) ซึ่งเปน็ ทบวงการชำ� นาญการพิเศษ ของสหประชาชาติ และจัดต้ังขน้ึ ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1959 (พ.ศ. 2502) มปี ระเทศ สมาชิกรวมท้ังส้ิน 174 ประเทศ และ 3 สมาชิกสมทบ ได้แก่ หมู่เกาะฟาโร มาเก๊า และฮ่องกง สำ� นักงานใหญ่ต้ังอยู่ ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร อนุสัญญาระหวา่ งประเทศทต่ี ราข้ึนโดย IMO แบง่ ได้เป็นด้าน ดังนี้ 3.1 ดา้ นความปลอดภยั ทางทะเล (Maritime Safety) เป็นการก�ำหนดมาตรฐานขั้นต่�ำในการคุ้มครอง ความปลอดภัยในชีวิตในทะเล อาทิ การต่อเรอื คนเรอื อุปกรณ์ที่ติดต้ังบนเรอื การเดินเรอื การบรรทุกสินค้า รวมไปถึงการค้นหาช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัยทางทะเล อาทิ
73 • อนุสัญญาระหวา่ งประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแหง่ ชวี ิต ในทะเล ค.ศ. 1974 (1974 International Convention for the Safety of Life at Sea: 1974 SOLAS) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการเดินเรอื โดยก�ำหนด มาตรฐานข้นั ต่�ำในเรอ่ื ง โครงสรา้ ง ประเภท และวธิ กี ารติดตั้ง อุปกรณ์และการใช้งานบนเรอื ทง้ั นี้ ประเทศไทยได้ให้สตั ยาบนั เมื่อวันที่ 18 ธนั วาคม ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎข้อบังคับระหว่าง ประเทศเพื่อป้องกันเรอื โดนกันในทะเล ค.ศ. 1972 (1972 Convention on the International Regulations for Preventing Collisions at Sea: 1972 COLREG) เพอื่ ใหม้ กี ฎขอ้ บงั คบั เปน็ แบบอยา่ งสากลวา่ ดว้ ยการเดนิ เรอื ใ น เ ว ล า เ รื อ เ ข้ า ใ ก ล้ กั น ห รื อ ใ น ข ณ ะ ท่ี ทั ศ น วิ สั ย ไ ม่ ดี ตลอดจนวางกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสัญญาณแสง เสียง และ เครอื่ งหมายสัญญาณรูปทรงต่าง ๆ เพื่อป้องกันการโดนกัน ของเรอื ทัง้ น้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบนั เมอื่ วนั ท่ี 6 สิงหาคม ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522)
74 • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวก ในการเดินเรอื ระหว่างประเทศ ค.ศ. 1965 (1965 Convention on the Facilitation of International Maritime Traffic: 1965 FAL) เพ่ือป้องกันความล่าช้าที่อาจเกิดขึ้นแก่เรอื ที่เข้าออกจาก ท่าเรอื สากลโดยไม่จ�ำเป็น ด้วยสาเหตุจากความยุ่งยากซับซ้อน และความแตกต่างของแบบฟอร์มสอบถามข้อมูลเก่ียวกับเรือ สนิ คา้ และลกู เรอื ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปในทา่ เรอื แตล่ ะทา่ โดยการยอมรบั แบบฟอรม์ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ รปู แบบมาตรฐานเดยี วกนั ทง้ั นี้ ประเทศไทย ได้ให้สัตยาบัน เมอ่ื วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 (พ.ศ. 2534) • อนุสัญญาระหวา่ งประเทศวา่ ด้วยแนวน้�ำบรรทกุ ค.ศ. 1966 (1966 International Convention on Load Lines: 1966 LL) เพ่ือก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการค�ำนวณความสามารถ ในการบรรทุกสูงสุดของเรอื แต่ละประเภท แต่ละล�ำ โดยค�ำนึง ถึงความสามารถในการลอยตัวของเรือเพ่ือความปลอดภัย ในการเดนิ เรอื ทง้ั นี้ ประเทศไทยไดใ้ หส้ ตั ยาบนั เมอ่ื วนั ท่ี 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1968 (พ.ศ. 2511)
75 • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยองค์การดาวเทียมทาง ทะเลระหว่างประเทศ ค.ศ 1976 (1976 Convention on the International Mobile Satellite Organization: 1976 INMARSAT) เพอื่ การบรหิ ารการสอื่ สารโทรคมนาคม โดยผา่ นดาวเทยี ม สื่อสารส�ำหรับการเดินเรือ ทั้งน้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เมอ่ื วันที่ 14 ธนั วาคม ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) • ความตกลงด้านการปฏิบัติการเก่ียวกับอนุสัญญาระหว่าง ประเทศว่าด้วยองค์การดาวเทียมทางทะเลระหว่างประเทศ ค.ศ. 1976 (1976 International Maritime Satellite Organization Operating Agreement: 1976 INMARSAT OA) เพ่ือจัดต้ังองค์การดาวเทียมช่วยการเดินเรือระหว่าง ประเทศข้ึน และเข้าท�ำการบริหารและปรับปรุงการสื่อสาร โทรคมนาคมโดยผ่านดาวเทยี มส่ือสาร สำ� หรบั การเดินเรอื ท้งั น้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เม่ือวันท่ี 14 ธันวาคม ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) • อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการวดั ขนาดตนั เรอื ค.ศ. 1969 (1969 International Convention on Tonnage Measurement of Ships: 1969 TONNAGE) เพอื่ ปรบั เปลย่ี นการวดั ขนาดเรอื จากเดมิ เปน็ Gross Tonnage (GT) และ Net Tonnage (NT) ทง้ั น้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เม่ือวนั ที่ 11 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539)
76 • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานการฝกึ อบรมการออก ประกาศนียบัตร และการเข้ายามของคนประจ�ำเรือ ค.ศ. 1978 ตามทีแ่ ก้ไข ค.ศ. 1995 (1978 International Convention on Standard of Training, 1995 Certification and Watch keeping for Seafarers as amended: 78/95 STCW) เพื่อให้มีเง่ือนไขและหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติหน้าที่ในเรอื ของ ชาวเรอื ตลอดจนคุณสมบตั ิขน้ั ต่�ำของคนประจ�ำเรอื และมาตรฐานใน การฝกึ อบรมและการออกประกาศนยี บตั รใหเ้ หมาะสมและเกดิ ความปลอดภยั แก่ชีวิตและทรัพย์สินในการเดินเรือ รวมถึงสภาพแวดล้อมในทะเล ทั้งน้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เม่ือวันที่ 28 เมษายน ค.ศ. 1984 (พ.ศ. 2527) • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการช่วยเหลือกู้ภัย ค.ศ. 1979 (1979 International Convention on Maritime Search and Rescue: 1979 SAR) เป็นกฎหมายท่ีก�ำหนดให้รฐั ภาคีมีหน้าที่จัดท�ำบรกิ ารค้นหาและ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล โดยไม่ค�ำนึงถึงสัญชาติ สถานะ หรอื สถานการณ์ท่ีพบผู้ประสบภัย ซ่ึงไทยมีการจัดตั้งหน่วยงานด้านนี้แล้ว และมกี ฎหมายภายในทเ่ี ก่ียวขอ้ งรองรบั แลว้ เชน่ พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 พระราชบญั ญตั ิการชว่ ยเหลือก้ภู ัย ทางทะเล พ.ศ. 2550 และพระราชบญั ญัติการแพทยฉ์ กุ เฉิน พ.ศ. 2550 ทัง้ น้ี ประเทศไทยจึงมสี ภาพเสมือนเป็นภาคีแล้ว
77 3.2 ดา้ นมลพษิ ทางทะเล (Marine Pollution) เป็นการก�ำหนดมาตรการควบคุมหรือป้องกันมลพิษ/ มลภาวะที่เกิดจากเรอื ควบคุมการท้ิงวัสดุจากเรอื หรอื อากาศยาน ที่เป็นภัยต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมไปถึงการป้องกันหรือยุติ การกระจายของสตั วน์ ้ำ� ทมี่ อี นั ตรายตอ่ ระบบนเิ วศนห์ รอื กอ่ ใหเ้ กดิ โรค ทต่ี ิดมากับน้�ำอับเฉาเรอื อาทิ • อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการเตรยี มการ การปฏบิ ตั กิ าร และความรว่ มมอื ในการปอ้ งกนั และขจัดมลพษิ น้�ำมนั ค.ศ. 1990 (1990 International Convention on Oil Pollution Preparedness, Response and Co-operation: 1990 OPRC) เพอื่ เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในการขจัดคราบ น้�ำมัน ทั้งน้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันท่ี 20 เมษายน ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543)
78 • อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั มลพษิ จากเรอื ค.ศ. 1973 และพิธสี าร ค.ศ. 1978 (1973 International Convention for the Prevention of Pollution from Ships as modified by the Protocol of 1978: 73/78 MARPOL) Annex I – IV เพ่ือป้องกันมลภาวะทางทะเลท่ีเกิดจากการปฏิบัติการของเรอื หรอื อุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นในทะเล โดยอนุสัญญาครอบคลุมกฎระเบียบที่มุ่ง ป้องกันและลดมลภาวะจากเรอื มีภาคผนวก 6 ด้าน คือ ปอ้ งกันมลภาวะ จากน้�ำมัน ควบคมุ มลภาวะจากสารเคมใี นถังระวางเรอื ป้องกันอันตราย จากการขนสง่ วตั ถเุ คมใี นรปู แบบหบี หอ่ ปอ้ งกนั มลภาวะจากของเสยี ในเรอื ป้องกันมลภาวะจากขยะบนเรอื และป้องกันมลภาวะทางอากาศจาก เครอื่ งยนต์เรอื ทง้ั น้ี ประเทศไทยได้เขา้ เปน็ ภาคี เมื่อวันท่ี 15 ตลุ าคม ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) โดยครอบคลมุ เฉพาะขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และ ลดมลพษิ จากเรอื ภาคผนวกท่ี 1 (Annex I) และ 2 (Annex II) • อนุสัญญาวา่ ด้วยการป้องกันมลพิษทางทะเลเนื่องจากการทง้ิ วสั ดุ เหลือใช้และวัสดุอย่างอ่ืน ค.ศ. 1972 (1972 Convention on the Marine Pollution by Dumping of Wastes and Other Matters: 1972 LDC) เพื่อควบคุมป้องกันมลภาวะอันเกิดจากการทิ้งวัสดุที่เป็นภัยต่อ ส่ิงแวดล้อมในทะเล จากเรอื อากาศยานฐานลอยน้�ำหรอื สิ่งก่อสร้าง ลอยน้�ำใด ๆ ทง้ั น้ี ประเทศไทยยังไม่ได้ให้สตั ยาบนั
79 • พิธีสารว่าด้วยการเตรยี มการปฏิบัติการและความรว่ มมือในการ ป้องกันและขจัดมลพิษจากสารพิษและสารอันตราย ค.ศ.2000 (2000 Protocol on Preparedness, Response and Co-operation to pollution Incidents by Hazardous and Noxious Substances: 2000 HNS Protocol) ก�ำหนดกรอบส�ำหรบั ความรว่ มมือในการต่อสู้กับการเกิดมลพิษ ทางทะเลที่เกิดจากสารพิษหรอื สารอันตราย โดยก�ำหนดให้เรอื มีแผน ฉุกเฉินต่อต้านมลพิษในกรณีท่ีเกิดเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับ HNS ท้ังนี้ ประเทศไทยยังไม่ได้ให้สตั ยาบัน • อนุสญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยระบบกันเพรยี งของเรอื ค.ศ.2001 (2001 International Convention on the Control of Harmful Anti-fouling Systems on Ships: 2001 AFS) การห้ามหรอื จ�ำกัดการใช้สารอันตรายที่ใช้ในสีกันเพรยี งท่ีใช้ กบั เรอื และเพอ่ื จดั ทำ� กลไกเพอ่ื ปอ้ งกนั การใชส้ ารอนั ตรายในระบบกนั เพรยี ง ของเรอื ทง้ั นี้ ประเทศไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบัน • อนุสัญญาระหวา่ งประเทศว่าด้วยการจัดการน้�ำอับเฉาและตะกอน ค.ศ.2004 (2004 International Convention for the Control and Management of Ships’ Ballast Water and Sediments) การป้องกันการลดและการยุติการกระจายของสัตว์น้�ำท่ีมี อันตรายและก่อใหเ้ กิดโรค ดว้ ยการควบคมุ และจดั การน้�ำอบั เฉาเรอื และ ตะกอนของน้�ำอับเฉา ท้งั นี้ ประเทศไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบัน
80 3.3 ดา้ นความรับผิดและการชดเชยความเสยี หาย (Liability and Compensation) เป็นการก�ำหนดมาตรการและหลักเกณฑ์ในการชดเชยค่าเสียหายให้กับ ผู้ท่ีได้รบั ความเสยี หายจากมลพิษน้�ำมนั ท่ีเกิดจากอุบตั ิเหตุทางทะเล อาทิ • อนุสญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการจัดต้งั ก อ ง ทุ น ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ ช ด ใ ช้ ค ว า ม เ สี ย ห า ย อั น เน่ื อ ง ม า จ า ก ม ล พิ ษ ข อ ง น้� ำ มั น ค.ศ. 1971 (1971 International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage: 1971 FUND) เพอ่ื ใหบ้ ุคคลผทู้ ไ่ี ด้รบั ความเสยี หายจากมลพษิ อาจใชส้ ิทธเิ รยี กรอ้ งต่อกองทุนได้ และให้กองทนุ จ่าย ค่ า สิ น ไห ม ท ด แท น จ า ก ม ล พิ ษ ใ ห้ แ ก่ บุ ค ค ล ผู้ ไ ด้ รับ ความเสียหายจากมลพิษ หากบุคคลน้ันไม่ได้รบั ค่า สนิ ไหมทดแทนทเ่ี ตม็ จำ� นวน และเพยี งพอตามกฎหมาย ว่าด้วยความรบั ผิดทางแพง่ ฯ ซึง่ ไทยได้ออกกฎหมาย รองรบั แล้ว และจะเข้าเปน็ ภาคีเพอ่ื เป็นการอนุวัติการ ให้เป็นไปตามอนุสัญญาดังกล่าว ท้งั นี้ ประเทศไทยอยู่ ระหวา่ งการด�ำเนินการเขา้ เป็นภาคี
81 • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรบั ผิดทางแพ่งส�ำหรบั ความเสยี หายอนั เกดิ จากมลพษิ ของน้ำ� มนั ค.ศ. 1969 (1969 International Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage: 1969 CLC) เพอื่ ให้มีการชดใช้ความเสยี หายจากมลพิษน้�ำมนั ไม่ว่าจะเปน็ การปล่อยทิ้งน้�ำมันลงในทะเล การรว่ั ไหลของน้�ำมัน หรอื การประสบ อุบัติภัยของเรือบรรทุกน้�ำมันโดยก�ำหนดให้เจ้าของเรือต้องรับผิด อยา่ งเครง่ ครดั และตอ้ งเอาประกนั ภยั หรอื จดั หาหลกั ประกนั ทางการเงนิ อ่ื นใดเพ่ือชดใช้ความเสียหายและประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคี อนุสัญญาดังกล่าว แมไ้ ทยก�ำลังเขา้ เป็นภาคี แต่ไทยได้ออกกฎหมาย รองรบั แล้ว ทง้ั นี้ ประเทศไทยอยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการเขา้ เป็นภาคี
82 4. กฎหมาย/ความตกลงระหว่างประเทศ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านความมนั่ คงทางทะเล (Security Law) กฎหมายและความตกลงระหว่างประเทศด้านความมั่นคง ท า ง ท ะ เ ล เป็ น ม า ต ร ก า ร เพื่ อ ป้ อ ง กั น ห รือ รับ มื อ กั บ ภั ย คุ ก ค า ม ทงั้ รปู แบบเดมิ และรปู แบบใหม่ จดั ทำ� ขนึ้ โดยหลายองคก์ ร อาทิ องคก์ าร สหประชาชาติ องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การการบนิ พลเรอื นระหวา่ งประเทศ ซง่ึ มีสภาพบงั คับเปน็ กฎหมายระหวา่ งรฐั ที่เปน็ ภาคีความตกลงฯ อาทิ
83 4.1 อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการตอ่ ตา้ นอาชญากรรมขา้ มชาติ ทจ่ี ัดตง้ั ในลกั ษณะองคก์ ร ค.ศ. 2000 (2000 United Nations Convention against Transnational Organized Crime: 2000 UNTOC) เป็นกรอบความรว่ มมือทางกฎหมายท่ีก�ำหนดมาตรฐานระดับ สากลเก่ียวกับการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่กระท�ำโดยองค์กร อาชญากรรม โดยมขี อบเขตการบงั คบั ใชใ้ นด้านการปอ้ งกัน การสบื สวน และการดำ� เนนิ คดเี กยี่ วกบั ฐานความผดิ ทก่ี ำ� หนดไวใ้ นอนสุ ญั ญาฯ 4 ฐาน ได้แก่ การมีส่วนรว่ มในกลุ่มองค์กรอาชญากรรม การฟอกทรพั ย์สิน ทไ่ี ดม้ าจากการกระทำ� ผดิ การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั และการขดั ขวางกระบวนการ ยุติธรรม รวมทง้ั ฐานความผดิ รา้ ยแรงทอี่ นุสญั ญาฯ ไดก้ �ำหนดนิยามวา่ เปน็ ความผดิ ทมี่ โี ทษจำ� คกุ อยา่ งสงู ตงั้ แต่ 4 ปขี น้ึ ไป เมอื่ ความผดิ ดงั กลา่ ว มีลักษณะข้ามชาติและเก่ียวข้องกับกลุ่มองค์กรอาชญากรรม ท้ังนี้ อนสุ ญั ญาฯ ไดร้ ะบถุ งึ การใหค้ วามรว่ มมอื ระหวา่ งรฐั ภาคี อาทิ การสง่ ผรู้ า้ ย ข้ามแดน เรอื่ งโอนตัวนักโทษ การช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางอาญา ทง้ั นี้ ประเทศไทยไดใ้ หส้ ตั ยาบนั เมอื่ วนั ท่ี 17 ตลุ าคม ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556)
84 4.2 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการ ปราบปรามการกระท�ำอันมิชอบด้วยกฎหมาย ต่อความปลอดภัยของการเดินเรอื ค.ศ. 1988 (1988 Convention for the Suppression of Unlawful Acts Against the Safety of Maritime Navigation) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กำ� หนดมาตรการลงโทษ ท่ีเหมาะสมต่อบุคคลที่กระท�ำการอันมิชอบด้วย กฎหมายแก่เรอื ซง่ึ รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ 1) การยึดเรอื โดยใชก้ �ำลังประทุษรา้ ย 2) การกระท�ำทรี่ ุนแรงต่อบุคคลทอี่ ยูบ่ นเรอื และ 3) การจัดวางหรือติดต้ังอุปกรณ์บนเรือซ่ึงอาจ ท�ำลายหรือท�ำให้เรือเกิดความเสียหาย ท้ังนี้ ประเทศไทยมแี ผนเขา้ เปน็ ภาคี 4.3 พธิ สี ารของอนุสญั ญาระหวา่ งประเทศ เพ่ือยับยั้งและลงโทษพฤติกรรมที่ อาจเป็นภัยคุกคามต่อความปลอดภัยของ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ก ร ะ ท� ำ ที่ ผิ ด แท่นท่ีติดตั้งอยู่กับท่ีบนไหล่ทวีป ท้ังน้ี ประเทศไทยเขา้ เปน็ ภาคเี มอ่ื วนั ท่ี 29 สงิ หาคม กฎหมายตอ่ ความปลอดภยั ของแทน่ ทต่ี ดิ ตัง้ ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) อยู่กับท่ีบนไหล่ทวีป ค.ศ. 1988 (1988 Protocol for the Suppression of Unlawful Acts against the Safety of Fixed Platforms located on the Continental Shelf:88 SA Protocol)
85 4.4 ประมวลข้อบงั คับวา่ ด้วยการรกั ษาความ ปลอดภัยของเรือและท่าเรือ (International Ship and Port Facility Security Code: ISPS Code) ก�ำหนดให้เรอื และท่าเรอื ระหว่างประเทศ ทอี่ ยใู่ นบงั คบั ตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาความปลอดภยั ข อ ง เรือ แ ล ะ ท่ า เรือ เพ่ื อ ป้ อ ง กั น ภั ย คุ ก ค า ม การก่อการร้ายหรือการกระท�ำอันเป็นโจรสลัด หรอื การกระทำ� อนื่ ใดอนั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความไมป่ ลอดภยั ในการขนส่งทางน้�ำ และเพ่ือให้มั่นใจว่าเรอื และ ท่าเรือมีการรักษาความปลอดภัยอย่างเพียงพอ และเหมาะสม ทงั้ น้ี มผี ลบงั คับใช้ภายใต้อนุสัญญา ระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิต ในทะเล ค.ศ. 1974 (1974 International Convention for the Safety of Life at Sea: 1974 SOLAS) เม่ือวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ.2004 (พ.ศ. 2547) 4.5 อนุสญั ญาว่าด้วยการผสมสารในวตั ถุ เพอ่ื ปอ้ งกนั และปอ้ งปรามการกระทำ� อันมิชอบด้วยกฎหมาย โดยการใช้วัตถุ ระเบิดพลาสติกเพื่อวัตถุประสงค์ในการ ระเบดิ พลาสตกิ ในการผสมสารในวตั ถรุ ะเบดิ เพอ่ื การกอ่ การรา้ ย ทงั้ นี้ ประเทศไทยเขา้ เปน็ ตรวจจับ ค.ศ. 1991 (1991 Convention on the ภาคี เม่ือวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) Marking of Plastic Explosives for the Purposes of Detection)
86 4.6 อนุสญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการต่อต้านการลกั ลอบ ค้ายาเสพติดและวัตถุออกฤทธติ์ ่อจิตประสาท ค.ศ. 1988 (1988 Guidelines for the Prevention and Suppression of Smuggling of Drugs, Psychotropic Substances and Precursor Chemicals on Ship Engaged in International Maritime Traffic) เพ่อื ขจัดปญั หา แก้ไขปัญหา และตัดทอนผลตอบแทน จากการลักลอบค้ายาเสพติด และวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาท ทง้ั น้ี ประเทศไทยเขา้ เป็นภาคี เมอ่ื วันท่ี 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2002 (พ.ศ. 2545)
87 4.7 พิธีสารว่าด้วยการป้องกัน ปราบปราม และลงโทษการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรี และเดก็ ค.ศ. 2000 (2000 Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, especially Women and Children: The Trafficking in Persons Protocol) เพื่อป้องกันและต่อต้านการค้ามนุษย์ และการคุ้มครองและช่วยเหลือผู้เสียหายจาก การค้ามนุษย์ โดยให้ความส�ำคัญกับเด็กและ สตรีเป็นพิเศษ รวมท้ังส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างรัฐภาคี ท้ังนี้ ประเทศไทยได้ลงนาม เมอ่ื วนั ท่ี 18 ธนั วาคม ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) 4.8 พิธีสารว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบขน ผู้โยกย้ายถิ่นฐานโดยทางบก ทะเล และอากาศ ค.ศ. 2000 (2000 Protocol against the Smuggling of Migrants by Land, Sea and Air: 2000 the Migrants Protocol) เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาการคา้ มนษุ ย์ และการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน และส่งเสรมิ ความร่วมมือระหว่างรัฐภาคี ท้ังนี้ ประเทศไทย ไดล้ งนาม เมอ่ื วนั ที่ 18 ธนั วาคม ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) แต่ยงั มไิ ด้ให้สตั ยาบัน รวมทั้ง ข้อมติคณะมนตรคี วามม่ันคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งมีผลผูกพันทาง กฎหมายต่อประเทศสมาชกิ สหประชาชาติเกี่ยวกับการรกั ษาความมน่ั คงทางทะเล เช่น ขอ้ มตคิ ณะมนตรคี วามมน่ั คงแหง่ สหประชาชาตเิ กยี่ วกบั การปราบปรามการกระทำ� อนั เปน็ โจรสลัดหรือการปล้นเรือโดยใช้อาวุธบริเวณน่านน้�ำนอกชายฝ่ ังโซมาเลีย ข้อมติ คณะมนตรแี ห่งสหประชาชาติเก่ียวกับมาตรการคว่�ำบาตรเกาหลีเหนือ นอกจากน้ี ยังมี ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ อาทิ
88 ความรเิ รมิ่ ด้านความมั่นคงเก่ียวกับการแพรข่ ยายอาวุธ ทม่ี อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู (Proliferation Security Initiative: PSI) เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศทรี่ เิ รม่ิ โดยสหรฐั อเมรกิ า เน้ น ม า ต ร ก า ร ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ค ว า ม ร่ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เท ศ ในการสกัดกั้นและยับย้งั การส่งผา่ น ถ่ายล�ำ และขนส่งอาวธุ ทม่ี อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู (Weapons of Mass Destruction: WMD) ระบบเครื่องส่งและวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ได้สองทาง ทงั้ ทางบก น้ำ� และอากาศ โดยเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ในการหยดุ ยงั้ การเคลอ่ื นยา้ ย ขนสง่ และการตรวจคน้ จับกมุ หรอื ยดึ สินค้า ตอ้ งสงสยั รวมทง้ั หา้ มคนชาตขิ องตนกระทำ� หรอื ใหค้ วามรว่ มมอื ในการขนสง่ หรอื เคล่ือนยา้ ยสนิ ค้าดังกลา่ ว
89 ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์โดยเฉพาะ สตรแี ละเด็ก (ASEAN Declaration against Trafficking in Persons, Particularly Women and Children) ซ่ึงเน้นการบังคับใช้กฎหมายการคัดแยกเหย่ือออกจาก ผู้กระท�ำผิด และการก�ำหนดบทลงโทษที่รุนแรงแก่ผู้กระท�ำผิดฐาน ค้ามนุษย์ เพ่อื ปอ้ งกันและต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยให้ความส�ำคัญ เป็นพเิ ศษกับสตรแี ละเด็ก ท้งั นี้ ประเทศไทยได้ให้สตั ยาบัน เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559)
90 5. กฎหมาย/ความตกลงและความร่วมมือระหว่าง ประเทศท่ีเก่ียวกับการท�ำประมง (International Fisheries Law and Regulation) แม้ตามหลักการใช้ทะเลหลวงตามอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 จะระบุ วา่ ทกุ รฐั มเี สรภี าพในการประมง (Freedom of fishing) แต่ก็มิใช่เสรภี าพอย่างสมบูรณ์ มีการก�ำหนดเง่ือนไข ขอ้ บงั คับก�ำกับไว้ด้วย ดังน้ัน ในปจั จบุ นั ประเทศต่าง ๆ มิได้มีสิทธิในการท�ำการประมงอย่างไม่จ�ำกัดอีกต่อไป แต่การท�ำประมงในทะเลหลวงจะถูกจ�ำกัดหรอื ควบคุม โดยกฎหมายหรอื ความตกลงระหวา่ งประเทศ หรอื ภายใต้ การควบคมุ กำ� กบั ดแู ลโดยองคก์ ารบรหิ ารจดั การประมง ระดับภมู ภิ าค (Regional Fisheries Management Organizations: RFMOs) ซงึ่ ความตกลงระหวา่ งประเทศ ท่ีสำ� คัญ อาทิ 5.1 ความตกลงว่าด้วยการปฏิบัติตามบทบัญญัติของอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2525 ในส่วนท่ีเก่ียวกับ การอนรุ กั ษ์และจดั การประชากรสตั วน์ ้ำ� ทอี่ าศยั อยรู่ ะหวา่ งเขตทางทะเล และประชากรสัตว์น้�ำชนิดพันธุท์ ่ีอพยพย้ายถ่ินไกล ค.ศ. 1995 (1995 UN Fish Stock Agreement: 1995 UNFSA) เป็นความตกลงระหว่างประเทศท่ีส�ำคัญต่อการรว่ มกันจัดการ ท รัพ ย า ก ร สั ต ว์ น้� ำ แ ล ะ ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า ร ท� ำ ก า ร ป ร ะ ม ง ผิ ด ก ฎ ห ม า ย โดยอาศัยความรว่ มมือระหว่างนานาประเทศและองค์กรจัดการประมง ทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค ท้ังนี้ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เม่อื วันท่ี 28 เมษายน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560)
91 5.2 ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรฐั เจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยบั ยง้ั และขจดั การทำ� การประมงทผี่ ดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไรก้ ารควบคุม (Agreement on Port State Measures to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing หรอื Port State Measures Agreement: PSMA) ถือเป็นความตกลงระหว่างประเทศท่ีส�ำคัญในการต่อต้าน การทำ� ประมงผดิ กฎหมาย เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการตรวจสอบ ควบคุมเรอื ประมงต่างประเทศ และการป้องกันการน�ำเข้าสินค้า ประมง IUU โดยจะสามารถเพิ่มความรว่ มมือในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารในการต่อต้านการท�ำการประมง IUU กับประเทศ ภาคสี มาชกิ ความตกลงไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางขนึ้ โดยมพี ระราชกำ� หนด การประมง พ.ศ. 2558 และพระราชก�ำหนดการประมง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เป็นกฎหมายหลักของไทยท่กี �ำหนดมาตรการอนุรกั ษ์ การควบคมุ การทำ� การประมง และการตอ่ ตา้ นการทำ� ประมงผดิ กฎหมาย โดยก�ำหนดกฎเกณฑ์เก่ียวกับการอนุญาตและการควบคุมเรือ ประมงทง้ั ระบบ ท้งั เรอื ที่ชักธงไทยซึง่ ท�ำการประมงในน่านน้�ำและ นอกน่านน้�ำไทย และเรือประมงต่างชาติท่ีได้รับอนุญาตเข้ามา ท�ำการประมงในเขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะหรอื น่านน้�ำไทย ตลอดจน การควบคุมการน�ำเข้าสัตว์น้�ำ ท้ังนี้ ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคี เมอื่ วันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559)
92 ความตกลงระดบั ภมู ภิ าควา่ ดว้ ยการทำ� ประมง (Regional Fisheries Agreement) ทป่ี ระเทศไทยเขา้ เป็นภาคี อาทิ คณะกรรมาธิการปลาทูน่าแห่งมหาสมุทรอินเดีย (Indian Ocean Tuna Commission: IOTC) เป็นองค์การระดับภูมิภาคด้านการจัดการ ทรพั ยากรประมงในพันธุ์สัตว์น้�ำตระกูลทูน่า จัดต้ังขึ้น ภายใต้ธรรมนูญของ FAO เมอื่ ปี 2539
93 ความตกลงการท�ำการประมงส�ำหรบั พื้นที่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรอินเดีย (Southern Indian Ocean Fisheries Agreement: SIOFA) ซึ่งเป็นความตกลงจัดต้ังองค์การระดับ ภมู ภิ าคดา้ นการจดั การทรพั ยากรประมงในพนั ธุ์ สตั วน์ ้ำ� ตระกลู อน่ื ทไ่ี มใ่ ชป่ ลาทนู า่ และขจดั การ ท� ำ ป ร ะ ม ง ผิ ด ก ฎ ห ม า ย ใ น พื้ น ที่ ท า ง ต อ น ใ ต้ ของมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งจะท�ำให้ไทยมีสิทธิ เขา้ ไปทำ� การประมงนอกนา่ นน้ำ� ในพน้ื ทที่ างตอนใต้ ข อ ง ม ห า ส มุ ท ร อิ น เ ดี ย ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ก ฎ ห ม า ย ทงั้ นี้ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เมอ่ื วันท่ี 21 เมษายน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) นอกจากนี้ ประเทศไทยยงั เขา้ รว่ มประชมุ ในฐานะผสู้ งั เกตการณ์ขององค์กรจัดการประมง ระดับภมู ภิ าคต่าง ๆ อาทิ Western and Central Pacific Fisheries Commission (WCPFC) Commission for the Conservation Antarctic Marine Living Resource (CCAMLR) และ International Commission for the Conservation Antarctic Tunas (ICCAT) ในการจัดทำ� รายงานและส่งขอ้ มลู ชนิด ปรมิ าณ และแหล่งจับปลาทูน่า
94 ในส่วนของตราสารความรว่ มมือ และแผนปฏิบตั ิการ ด้านประมงระหว่างประเทศทส่ี �ำคัญ มดี ังนี้ จรรยาบรรณในการทำ� ประมงอยา่ งรบั ผดิ ชอบ (Code of Conduct for Responsible Fisheries: CCRF) เปน็ กฎเกณฑข์ องมาตรฐานของพฤตกิ รรม และ ความประพฤตใิ นการทำ� ประมงดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ เป็นท่ียอมรบั กันระหว่างประเทศ ไม่มีผลบังคับใช้ เป็นกฎหมายระหว่างประเทศ แต่จากแรงบังคับ ทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ ท�ำให้ ประเทศต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตาม โดยจรรยาบรรณ ดังกล่าว เป็นมาตรการความรว่ มมือที่ให้ประเทศ สมาชิก FAO น�ำไปใช้เป็นแนวทางหรือเอกสาร อ้างอิงเบอ้ื งต้นในการบรหิ ารจัดการด้านการประมง ของตนตามความสมคั รใจ
95 แผนปฏบิ ตั กิ ารสากลเพอื่ การปอ้ งกนั ยบั ยง้ั และขจดั การทำ� การประมงทผี่ ดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไรก้ ารควบคมุ (International Plan of Action Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing: IPOA-IUU) จัดท�ำข้ึนเพ่ือให้ประเทศสมาชิกน�ำไปใช้เป็นแนวทางอ้างอิงในการจัดท�ำ แผนปฏิบัติการระดับชาติของตน (National Plan of Action to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated fishing: NPOA-IUU) โดยมีสาระสำ� คัญของ IPAO-IUU คือ การก�ำหนดมาตรการในการ ดำ� เนนิ การเพอ่ื ปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ นการทำ� การประมงทผี่ ดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไรก้ ารควบคุม (IUU Fishing) ของรฐั เจ้าของธง (Flag state) รฐั เจ้าของท่า (Port State) รฐั ชายฝ่ ัง (Coastal State) และมาตรการท่ีเก่ียวข้องในด้าน การคา้ ระหวา่ งประเทศ (Internationally Agreed Market – Related Measures) ทสี่ อดคล้องกบั อนุสญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 UNCLOS) ท้งั นี้ IPAO-IUU ไม่มผี ลบงั คบั ใชเ้ ปน็ กฎหมายระหวา่ งประเทศ แตเ่ ปน็ มาตรการความรว่ มมอื ทใ่ี หป้ ระเทศสมาชกิ FAO นำ� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ าร จัดการด้านการประมงของตนตามความสมคั รใจเชน่ เดียวกับ CCRF แผนปฏบิ ตั ดิ า้ นการบรหิ ารจดั การการทำ� ประมงอนื่ ๆ เชน่ แผนปฏบิ ตั กิ าร สากลเพอ่ื การอนรุ กั ษ์และการบรหิ ารจดั การปลาฉลาม (International Plan of Action for the Conservation and Management of Sharks: IPOA-Sharks) และแผนปฏบิ ตั กิ ารสากลวา่ ดว้ ยการลด การจับนกทะเลโดยบังเอิญจากการท�ำประมง เบด็ ราว (International Plan of Action for the Conservation and Management of Seabirds in longline fisheries: IPOA-Seabirds)
96 6.กฎหมายและความตกลงระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม (Environmental Law) 6.1 อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิด ของสัตวป์ า่ และพืชป่า ทีใ่ กล้สญู พนั ธุ์ ค.ศ. 1973 (1973 Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora: 1973 CITES) เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าในโลก เพ่ือประโยชน์แห่ง มวลมนุษยชาติ โดยเน้นทรพั ยากรสตั วป์ า่ และพชื ปา่ ทใ่ี กล้สญู พนั ธุ์ หรอื ทมี่ กี ารคกุ คาม ท�ำให้ปรมิ าณลดลงจนอาจจะสูญพันธุ์ไป วิธีการของการอนุรกั ษ์ที่ได้กล่าวไว้ใน อนสุ ญั ญาไซเตสนนั้ ทำ� โดยสรา้ งเครอื ขา่ ยขน้ึ ทวั่ โลก เพอื่ ควบคมุ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ทง้ั สตั วป์ า่ พชื ปา่ และผลิตภณั ฑ์ ทงั้ นี้ ประเทศไทยได้ใหส้ ตั ยาบนั เมอื่ วนั ที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526)
97 6.2 อนุสญั ญาความหลากหลายทางชวี ภาพ ค.ศ. 1992 (1992 The Convention on Biological Diversity: 1992 CBD) เปน็ ความตกลงด้านสง่ิ แวดล้อมระหวา่ งประเทศโดยการให้ความรว่ มมอื ในการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และการใช้ประโยชน์ระบบนิเวศ ชนดิ พนั ธุ์ และพนั ธกุ รรมอยา่ งยง่ั ยนื ดว้ ยการหยดุ ยงั้ การสญู เสยี ความหลากหลาย ทางชีวภาพท่ีก�ำลังเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองทั่วโลก โดยให้รัฐบาลทุกประเทศ เครง่ ครดั ต่อการรกั ษาวินัยส่ิงแวดล้อม ซ่ึงแม้มีความต้องการอย่างมากท่ีจะ พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก็ต้องไมล่ ะเลยการอนุรกั ษ์ธรรมชาติด้วย ท้งั นี้ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เม่อื วันท่ี 31 ตลุ าคม ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) 6.3 อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยพน้ื ทช่ี มุ่ น้ำ� ทม่ี คี วามสำ� คญั ในระดบั นานาชาติ โดยเฉพาะในการเป็นถ่ินท่ีอยู่ของนกน้�ำ ค.ศ. 1971 (1971 The Convention on Wetlands of International Importance, especially as Waterfowl Habitat: 1971 RAMSAR) เป็นอนุสัญญาเพ่ือการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พ้ืนท่ีชุ่มน้�ำ อยา่ งยง่ั ยนื อาทิ เพอื่ การสกดั กัน้ และยบั ยงั้ การบกุ รุกเขา้ ครอบครอง และการลดถอยของพื้นท่ีชุ่มน้�ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และ เพื่อเป็นการรับรู้และรับรองความส�ำคัญพ้ืนฐานของพื้นที่ชุ่มน้�ำ ในเชิงหน้าท่ีทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ ท้ังน้ี ประเทศไทย ได้ให้สตั ยาบนั เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541)
98 6.4 อนุสัญญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ค.ศ. 1992 (1992 United Nations Framework Convention on Climate Change: 1992 UNFCCC) เพ่ือรกั ษาความเข้มข้นของก๊าซเรอื นกระจกในช้ันบรรยากาศให้มีค่า ค ง ที่ แ ล ะ อ ยู่ ใน ร ะ ดั บ ท่ี ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ก า ร ร บ ก ว น โ ด ย ม นุ ษ ย์ ที่ จ ะ ก่ อ ให้ เ กิ ด อันตรายต่อระบบภูมิอากาศโลก โดยให้รัฐภาคีปกป้องระบบภูมิอากาศ เพ่ือประโยชน์ของคนรุน่ ปัจจุบันและอนาคตของมนุษยชาติ บนพ้ืนฐานของ ความเปน็ ธรรม (Equity) และเปน็ ไปตามความรบั ผดิ ชอบรว่ มในระดบั ทแี่ ตกตา่ ง (Common but Differentiated Responsibilities: CBDR) และเป็นไปตาม ขดี ความสามารถ (Respective Capabilities) โดยประเทศพฒั นาแล้วควรเปน็ ผู้น�ำในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากน้ี ยงั มีตราสารระหวา่ งประเทศว่าด้วย การอนุรกั ษ์และการใช้อย่างย่ังยืน ซ่ึงความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ในพน้ื ทนี่ อกเขตอำ� นาจรฐั The United Nations Convention of the Law of the Sea on the Conservation and Sustainable Use of Marine Biological Diversity of Areas beyond National Jurisdiction (BBNJ) ทอี่ ยูร่ ะหว่าง การเจรจา ซง่ึ เปน็ ตราสารระหวา่ งประเทศทอ่ี ยภู่ ายใตอ้ นสุ ญั ญาสหประชาชาติ วา่ ดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ทงั้ นี้ ประเทศไทยได้ใหส้ ตั ยาบนั เมอื่ วนั ท่ี 28 ธนั วาคม ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147