Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือและแนวปฏิบัตินักเรียนนักศึกษาที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย

คู่มือและแนวปฏิบัตินักเรียนนักศึกษาที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย

Description: คู่มือและแนวปฏิบัตินักเรียนนักศึกษาที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร์หรือไม่มีสัญชาติไทย

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 แนวทางในการจัดการศึกษาแกบ่ คุ คลท่ไี มม่ หี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎร หรือไมม่ ีสัญชาติไทย แยกตามระดบั และประเภทการศกึ ษา

แนวทางในการจัดการศกึ ษาแก่บคุ คลท่ไี ม่มีหลักฐาน ทางะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย แยกตามระดับและประเภทการศึกษา เพื่อให้การด�ำเนินการจัดการศึกษาให้กับบุคคลท่ีไม่มีสถานะทาง ทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 และเพ่ือขจัดปัญหา ความไมช่ ดั เจนในทางปฏบิ ตั แิ ละใหก้ ารศกึ ษาของบคุ คลเหลา่ น้ี ด�ำเนนิ ไปได้ ราบรน่ื ตอ่ เนอ่ื งและรวดเรว็ จงึ ไดก้ �ำหนดแนวทางด�ำเนนิ การแยกตามระดบั และประเภทการศกึ ษา ดังนี้

1. การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

1.1 การจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานตามมาตรฐานสากลกับกฎหมาย และนโยบายของรฐั บาลไทย การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามมาตรฐานสากลกับกฎหมาย และนโยบายของรัฐบาลไทย รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ไดร้ บั รองเรอ่ื งสทิ ธทิ างการศกึ ษาไวใ้ นหมวดที่ 5 ดงั นี้ มาตรา 54 รัฐต้องด�ำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ ก่อนวยั เรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคับอย่างมีคณุ ภาพโดยไม่เกบ็ ค่าใช้จ่าย รัฐต้องด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ และภาคเอกชนเข้ามีสว่ นร่วมในการด�ำเนนิ การด้วย รัฐต้องด�ำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้ง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีด�ำเนินการก�ำกับ ส่งเสริม และสนับสนุน ใหก้ ารจดั การศกึ ษาดงั กลา่ วมคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล ทง้ั นี้ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ ซง่ึ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมบี ทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั การจดั ทำ� แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ และการดำ� เนนิ การและตรวจสอบ การด�ำเนนิ การให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติดว้ ย การศกึ ษาทง้ั ปวงตอ้ งมงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มวี นิ ยั ภมู ใิ จในชาติ สามารถเชย่ี วชาญไดต้ าม ความถนัดของตน และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ในการด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องด�ำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการศึกษาตามความถนัดของตน ซ่ึงบทบัญญัติท้ังสองมาตราดังกล่าวสอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic Social and Cultural Rights-ICESCR) ท่ีประเทศไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติ เม่ือวันท่ี 5 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย เมอื่ วนั ที่ 5 ธันวาคม 2542 ดงั น้ี 48

ข้อ 13 1. รัฐภาคีแห่งกติกาน้ีรับรองสิทธิของทุกคนในการศึกษา รัฐภาคีเห็นพ้องกันว่าการศึกษา จะต้องมุ่งให้เกิดการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์ และความส�ำนึกในศักด์ิศรีของตนอย่างบริบูรณ์ และจะตอ้ งเพมิ่ พนู การเคารพในสทิ ธมิ นษุ ยชนและเสรภี าพขน้ั พนื้ ฐาน รฐั ภาคเี หน็ พอ้ งกนั อกี วา่ การศกึ ษา จะต้องท�ำให้ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องส่งเสริมความเข้าใจ ความอด กล้ันและมิตรภาพระหว่างชาติ และกลุ่มเชื้อชาติ ชนกลุ่มน้อย หรือกลุ่มศาสนาท้ังปวงและสานต่อไปถึง กิจกรรมของสหประชาชาตใิ นการธ�ำรงไว้ซง่ึ สนั ตภิ าพ 2. รัฐภาคีแห่งกติกานรี้ ับรองว่าเพ่ือทจ่ี ะท�ำใหส้ ทิ ธิน้ีเป็นจรงิ โดยบริบรู ณ์ (ก) การศึกษาข้ันประถมจะตอ้ งเปน็ การศกึ ษาภาคบังคบั และจดั ใหท้ กุ คนแบบให้เปล่า (ข) จะตอ้ งจดั การศกึ ษาขน้ั มธั ยมในรปู แบบตา่ ง ๆ รวมทง้ั การศกึ ษามธั ยมทางเทคนคิ ศกึ ษา และอาชวี ศกึ ษาให้มขี ึ้นโดยทว่ั ไป และใหท้ ุกคนมีสิทธ์ิไดร้ ับโดยวธิ ีการที่เหมาะสมทุกทาง และโดยเฉพาะ อย่างยง่ิ โดยการน�ำการศกึ ษาแบบให้เปลา่ มาใชอ้ ย่างคอ่ ยเปน็ ค่อยไป (ค) ทุกคนจะต้องสามารถได้รับการศึกษาข้ันอุดมศึกษาอย่างเท่าเทียมกันบนพื้นฐานของ ความสามารถ โดยวิธีการท่ีเหมาะสมทุกทาง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยการน�ำการศึกษาแบบให้เปล่า มาใช้อยา่ งคอ่ ยเปน็ ค่อยไป (ง) การศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องได้รับการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ ส�ำหรับผทู้ ไี่ ม่ได้รบั หรอื เรยี นไมค่ รบตามชว่ งระยะเวลาทง้ั หมดของการศกึ ษาขน้ั ประถม (จ) จะตอ้ งดำ� เนนิ การพฒั นาระบบโรงเรยี นทกุ ระดบั อยา่ งแขง็ ขนั ใหม้ รี ะบบทนุ การศกึ ษา ท่ีเพียงพอและปรับปรุงสภาพของวสั ดปุ ระกอบกบั การสอนของครูอย่างต่อเน่ือง 3. รัฐภาคีทั้งหลายแห่งกติกานี้รับที่จะเคารพเสรีภาพของบิดามารดาและผู้ปกครองตาม กฎหมายในกรณีท่ีมีในการเลือกโรงเรียนส�ำหรับเด็กของตน นอกจากท่ีจัดต้ังโดยเจ้าหน้าท่ีรัฐ เช่นที่เป็น ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ ตำ�่ ทรี่ ฐั กำ� หนดไวห้ รอื ใหค้ วามเหน็ ชอบ เพอื่ ประกนั ใหก้ ารศกึ ษาทางศาสนา และศีลธรรมของเด็กเปน็ ไปโดยสอดคล้องกับความเชื่อถือของตน 4. ไม่มีส่วนใดของข้อน้ีจะแปลไปในทางก้าวก่ายเสรีภาพของปัจเจกชนและองค์กร ในการจัดตั้งและด�ำเนินการสถาบันการศึกษา ท้ังน้ี ขั้นอยู่กับการปฎิบัติตามหลักการที่ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อน้ี และข้อก�ำหนดที่ว่าการศึกษาในสถาบันเช่นว่าจะต้องสอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่ำตามที่รัฐ ได้กำ� หนดไว้ 49

นอกจากน้ี รัฐไทยก็มีหน้าท่ีด�ำเนินการให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child-CRC) ท่ีประเทศไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฉบับนี้โดยการภาคยานุวัติ เม่ือวันที่ 27 มีนาคม 2535 และมีผลใช้บังคับกับประเทศไทย เม่ือวันที่ 26 เมษายน 2535 โดยอนุสัญญา ฉบับดังกล่าวเล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการให้การคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เด็กที่อายุต่�ำกว่า 18 ปี โดยให้ เหตผุ ลว่า “เด็กโดยเหตุที่ไม่เติบโตเต็มท่ีท้ังร่างกายและจิตใจ จึงต้องการการพิทักษ์และดูแลเป็นพิเศษ รวมถึงตอ้ งการการค้มุ ครองตามกฎหมายท่เี หมาะสมท้งั ก่อนและหลังการเกิด” ซง่ึ มีสาระส�ำคญั ดงั นี้ คือ ขอ้ ท่ี 1 เพ่ือความมุ่งประสงค์แห่งอนุสัญญานี้ เด็ก หมายถึง มนุษย์ทุกคนท่ีมีอายุต�่ำกว่าสิบแปดปี เวน้ แต่จะบรรลุนิติภาวะก่อนหนา้ นั้นตามกฎหมายท่ีใชบ้ ังคบั แกเ่ ด็กนน้ั ขอ้ ที่ 2 1. รัฐภาคีจะเคารพและประกันสิทธิตามที่ก�ำหนดไว้ในอนุสัญญาน้ีแก่เด็กแต่ละคนที่อยู่ ในเขตอ�ำนาจของตน โดยปราศจากการเลือกปฎิบัติไม่ว่าชนิดใด ๆ โดยไม่ค�ำนึงถึงเชื้อชาติ สีผิว ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น ต้นก�ำเนิดทางชาติ ชาติพันธุ์ หรือสังคม ทรัพย์สิน ความทุพพลภาพ การเกดิ หรือสถานะอน่ื ๆ ของเด็ก หรือบดิ ามารดา หรือผปู้ กครองตามกฎหมาย ฯลฯ ข้อ 28 1. รัฐภาคียอมรับสิทธิของเด็กที่จะได้รับการศึกษา และเพ่ือที่จะให้สิทธินี้บังคับผลตามล�ำดับ และบนพ้นื ฐานของโอกาสที่เทา่ เทยี มกัน รฐั ภาคีจะ (ก) จัดการศึกษาระดับประถมศึกษาเป็นภาคบังคับท่ีเด็กทุกคนสามารถเรียนได้ โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย (ข) สนับสนุนการพัฒนาของการศึกษาระดับมัธยมในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการศึกษา สายสามัญและสายอาชีพ จัดการศึกษาให้แพร่หลายและเปิดกว้างแก่เด็กทุกคน และด�ำเนินมาตรการ ทเี่ หมาะสม เชน่ การนำ� มาใชซ้ ง่ึ การศกึ ษาแบบใหเ้ ปลา่ และการเสนอใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ ในกรณี ทจี่ �ำเป็น (ค) ท�ำให้การศึกษาในระดับสูงเปิดกว้างแก่เด็กทุกคนบนพ้ืนฐานของความสามารถ โดยทุกวิธีการท่เี หมาะสม (ง) ท�ำให้ข้อมูลข่าวสารและการแนะแนวทางการศึกษาและอาชีพเป็นท่ีแพร่หลาย และเปดิ กว้างแกเ่ ด็กทกุ คน (จ) ด�ำเนินมาตรการเพ่ือสนับสนุนการเข้าเรียนอย่างสม่�ำเสมอ และลดอัตราการออกจาก โรงเรียนกลางคนั 50

2. รัฐภาคีจะด�ำเนินมาตรการที่เหมาะสมท่ีจะประกันว่า ระเบียบวินัยของโรงเรียนได้ก�ำหนดข้ึน ในลกั ษณะทส่ี อดคล้องกบั ศกั ด์ิศรแี ห่งความเป็นมนุษย์ของเด็กและสอดคล้องกับอนสุ ัญญาน้ี 3. รฐั ภาคจี ะสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงเพื่อที่จะเกื้อกูลต่อการขจัดความเขลาและการไม่รู้หนังสือทั่วโลก และเอื้ออ�ำนวย ให้ได้รับความรู้ทางวิชาการและทางเทคนิค และวิธีการสอนสมัยใหม่เก่ียวกับเร่ืองนี้ ความต้องการ ของประเทศกำ� ลงั พฒั นาจะได้รับการพิจารณาเปน็ พิเศษ ขอ้ 29 1. รฐั ภาคตี กลงวา่ การศึกษาของเด็กจะมุง่ ไปสู่ (ก) การพัฒนาบุคลิกภาพ ความสามารถพิเศษ และความสามารถทางด้านร่างกาย และจิตใจของเดก็ ใหเ้ ต็มศกั ยภาพของเดก็ แต่ละคน (ข) การพัฒนาความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพข้ันพ้ืนฐาน และต่อหลักการ ท่วี างไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ (ค) การพัฒนาความเคารพต่อบิดามารดาของเด็ก เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ภาษา และค่านิยมของเด็กน้ันเอง ค่านิยมของชาติท่ีเด็กน้ันอาศัยอยู่ ค่านิยมของชาติถิ่นก�ำเนิดของเขา และต่ออารยธรรมอนื่ ๆ ท่แี ตกต่างไปจากของเขาเอง (ง) การเตรียมเด็กให้มีชีวิตที่มีความรับผิดชอบในสังคมที่เสรีด้วยจิตส�ำนึกแห่ง ความเข้าใจกัน สันติภาพ ความอดกล้ัน ความเสมอภาคทางเพศ และมิตรภาพในหมู่มวลมนุษย์ ทุกกลุ่มชาติพันธ์ุ กล่มุ คนชาติ กลุม่ ศาสนา ตลอดจนในหม่คู นพืน้ เมอื งดง้ั เดมิ (จ) การพัฒนาความเคารพต่อสง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ 2. ไม่มีความตอนใดในข้อนี้หรือในข้อ 28 ที่ได้รับการตีความให้เป็นการก้าวก่ายเสรีภาพ ของบุคคลและองค์กรในการจัดตั้งและอ�ำนวยการสถาบันทางการศึกษา แต่ท้ังนี้จะต้องเคารพหลักการ ท่ีระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อน้ีเสมอ และต่อเง่ือนไขที่ว่าการศึกษาที่ให้ในสถาบันเหล่านั้นต้องเป็นไปตาม มาตรฐานขนั้ ต�ำ่ ทร่ี ัฐได้วางไว้ 51

จากบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 และคำ� สง่ั หัวหนา้ คณะรกั ษา ความสงบแห่งชาตทิ ่ี 28/2559 เรื่อง ให้จัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 15 ปี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยประกอบกบั ขอ้ ตกลง ระหว่างประเทศท้ังสองฉบับสามารถสรุปได้ว่า เด็กท่ีอายุไม่เกิน 18 ปี ที่อยู่ในเขตอ�ำนาจของรัฐไทย ต้องได้รับ การคุ้มครองอย่างเท่าเทียมกัน โดยห้ามเลือกปฎิบัติ เพราะเหตุเชื้อชาติ สีผิว ภาษา ศาสนา ความคิดเห็น ทางการเมืองหรือทางอื่น ต้นก�ำเนิดทางชาติ ชาติพันธุ์ หรือสังคม ทรัพย์สิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรอื สถานะอนื่ ๆ ของเดก็ โดยเดก็ นน้ั ตอ้ งไดร้ บั การรบั รองสทิ ธเิ สมอกนั ในการรบั การศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ สบิ สองปี ทร่ี ฐั จะตอ้ งจดั ใหอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ณุ ภาพ โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ซงึ่ กร็ วมไปถงึ การไดร้ บั สทิ ธติ ามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคณุ ภาพตามแนวนโยบายของรัฐบาลดา้ นการศกึ ษาทีจ่ ดั ใหท้ ุกคนมโี อกาสได้รับการศกึ ษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมท้ังเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิด ความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ท้ังผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากล�ำบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญาและชนต่างวัฒนธรรม รวมทัง้ ยกระดบั การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชมุ ชน พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มีใจความส�ำคัญ ดงั น้ี มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา ข้นั พน้ื ฐานไมน่ ้อยกว่าสิบสองปีทรี่ ฐั ตอ้ งจดั ให้อยา่ งท่ัวถงึ และมคี ณุ ภาพ โดยไมเ่ ก็บคา่ ใช้จา่ ย ฯลฯ มาตรา 17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับจ�ำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซ่ึงมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียน ในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานจนอายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่สอบได้ช้ันปีท่ีเก้าของการศึกษาภาคบังคับ หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารนบั อายใุ หเ้ ปน็ ไปตามทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545 ท่ีมผี ลบังคบั ใชต้ ั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2545 “เดก็ ” หมายความวา่ เดก็ ซงึ่ มอี ายยุ า่ งเขา้ ปที เ่ี จด็ จนถงึ อายยุ า่ งเขา้ ปที ส่ี บิ หก เวน้ แตเ่ ดก็ ทส่ี อบ ไดช้ ้ันปที ่ีเกา้ ของการศกึ ษาภาคบงั คบั แล้ว “ผปู้ กครอง” หมายความวา่ บดิ ามารดา หรอื บดิ า หรอื มารดา ซง่ึ เปน็ ผใู้ ชอ้ ำ� นาจปกครองหรอื ผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และหมายความรวมถึงบุคคลที่เด็กอยู่ด้วยเป็นประจ�ำ หรอื ท่ีเด็กอยรู่ บั ใชก้ ารงาน ฯลฯ 52

มาตรา 5 ใหค้ ณะกรรมการเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา หรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แลว้ แตก่ รณี ประกาศรายละเอยี ดเกย่ี วกบั การสง่ เดก็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา และการจดั สรรโอกาสเขา้ ศกึ ษาตอ่ ระหวา่ ง สถานศึกษาท่ีอยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ โดยให้ปิดประกาศไว้ ณ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สำ� นกั งานองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และสถานศกึ ษา รวมทง้ั ตอ้ งแจง้ เปน็ หนงั สอื ใหผ้ ปู้ กครองของเดก็ ทราบก่อน เดก็ เขา้ เรียนในสถานศึกษาเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ หนึ่งปี มาตรา 6 ให้ผู้ปกครองสง่ เด็กนักเรยี นเขา้ เรียนในสถานศกึ ษา เมอ่ื ผปู้ กครองรอ้ งขอใหส้ ถานศกึ ษามอี ำ� นาจผอ่ นผนั ใหเ้ ดก็ เขา้ เรยี นกอ่ นหรอื หลงั อายตุ ามเกณฑ์ การศึกษาภาคบงั คับได้ ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทคี่ ณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานก�ำหนด ฯลฯ มาตรา 13 ผ้ปู กครองท่ีไม่ปฎบิ ตั ิตามมาตรา 6 ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินหนงึ่ พนั บาท ฯลฯ มาตรา 15 ผใู้ ดโดยปราศจากเหตุอนั สมควร กระทำ� ด้วยประการใด ๆ อนั เป็นเหตใุ ห้เดก็ มิได้ เรยี นในสถานศึกษาตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหน่ึงหมืน่ บาท จากบทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วทำ� ใหห้ นว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทจ่ี ดั การศกึ ษาในทกุ สงั กดั ทกุ ระดบั ตอ้ งดำ� เนนิ การ ให้เด็กได้รับสิทธิด้านการศึกษา 53

1.2 แนวปฎิบัติในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแก่บุคคล ท่ไี ม่มหี ลักฐานทางทะเบยี นราษฎรหรือไม่มีสญั ชาติไทย การด�ำเนนิ งานตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 และประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2546 ส�ำหรับเด็กไม่มีสถานะทางทะเบียนหรือไม่มีสัญชาติไทย จะมีการด�ำเนินการเช่นเดียวกับเด็กที่มีสัญชาติไทยทั่วไป รวมท้ังแนวปฎิบัติพิเศษ เพ่ือการจัดการศึกษาแก่ บคุ คลเหล่าน้ี ให้มีความเหมาะสม ซ่ึงจำ� แนกไดเ้ ปน็ 4 เรื่อง ดังน้ี 1.2.1 วิธกี ารรับนกั เรียนเขา้ เรียนในสถานศึกษา 1.2.2 ระหว่างนกั เรียนอยู่ในสถานศึกษา 1.2.3 การย้ายท่เี รียนระหวา่ งปี 1.2.4 เมอ่ื จบการศกึ ษา 1.2.1 วิธกี ารรับนกั เรียนเข้าเรยี นในสถานศกึ ษา ก. การวางแผนการรบั นกั เรียนและการสง่ เด็กเข้าเรยี น สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานแจ้งนโยบายและแนวปฏิบตั เิ กยี่ วกบั การรับนกั เรียน ใหส้ ำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ท่ีจัดการศึกษาภาคบังคับ สถานศึกษาในสังกัดและหน่วยงานอื่นที่จัดการศึกษาภาคบังคับทราบ แล้วแต่กรณี ประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษา และการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อระหว่าง สถานศึกษาท่ีอยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ โดยมีการปิดประกาศไว้ ณ ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส�ำนักงานองค์กรปกครองท้องถ่ินและสถานศึกษา รวมท้ังต้องแจ้งเป็นหนังสือ ใหผ้ ปู้ กครองของเดก็ ทราบกอ่ นเดก็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ หนงึ่ ปี (มาตรา 5 พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545) โดยมขี ้ันตอน ดังน้ี 1. การวางแผนการรับนกั เรียน 1) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานประกาศนโยบายและแนวปฎิบัติเกี่ยวกับ การรับนักเรียน 2) ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงาน ที่เก่ยี วข้องท่จี ัดการศึกษาภาคบังคบั แจ้งนโยบายและแนวปฎิบตั เิ กีย่ วกบั การรับนักเรยี นให้สถานศึกษาในสงั กัด และหน่วยงานอื่นทีจ่ ดั การศกึ ษาภาคบังคบั ทราบ 3) คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด จัดท�ำแผนที่การศึกษา (Education Mapping) และสถานศกึ ษาจดั ท�ำแผนทสี่ ถานศกึ ษา (School Mapping) 54

4) ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานที่เก่ียวข้องที่จัดการศึกษาภาคบังคับ จัดตั้งเครือข่ายสถานศึกษาในสังกัดทุกหมู่บ้านทุกต�ำบล ที่รับผิดชอบจัดการศึกษาทุกระดับชั้น ต้ังแต่ปฐมวัย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายโดยใชบ้ ญั ชีแสดงพืน้ ฐานท่ีเขตบริการของสถานศึกษาหรอื แบบ พฐ. 01 5) ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องที่จัดการศึกษาภาคบังคับ จัดท�ำส�ำมะโนนักเรียน โดยใช้แบบส�ำรวจข้อมูลประชากร วัยเรียนก่อนเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับหรือแบบ พฐ. 02 (ส�ำหรับเด็กท่ีไม่มีหลักฐานการเกิด (สูติบัตร) หรือหลักฐานทางทะเบียนราษฎรซ่ึงอาจเป็นการตกส�ำรวจ เด็กท่ีบิดามารดาไม่ได้แจ้งเกิด หรือเด็กที่เป็นบุตร ผู้อพยพหนีเข้าเมืองใหท้ ำ� เครอ่ื งหมาย / ในช่องไม่มหี ลกั ฐาน ท.ร. 14) 6) สถานศกึ ษาสรปุ ขอ้ มลู จากแบบ พฐ. 02 ลงในบญั ชรี ายชอ่ื เดก็ ทม่ี อี ายกุ อ่ นเกณฑภ์ าคบงั คบั เขา้ เรยี นตาม พ.ร.บ. การศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545 หรอื แบบ พฐ. 03 (กรณที เี่ ดก็ ยงั ไมม่ เี ลขประจำ� ตวั 13 หลกั ใหโ้ รงเรียนกำ� หนดรหสั G และตามด้วยเลข 12 หลกั ) 7) ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาภาคบังคับ จัดท�ำประกาศ การรับนักเรียนในระดับเขตพ้ืนท่ี โดยประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพ้ืนที่ทราบล่วงหน้า 1 ปีการศึกษา (ตาม มาตรา 5 แหง่ พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545) 8) ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารายงานผลการจัดท�ำแผนการรับนักเรียนให้ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 2. การส่งเดก็ เขา้ เรียน 2.1 การสง่ เดก็ เขา้ เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 2.1.1 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทจ่ี ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แลว้ แตก่ รณี แตง่ ตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบรายชอ่ื เดก็ ทมี่ อี ายถุ งึ เกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบงั คบั เขา้ เรยี นท่ีสถานศกึ ษาจดั ส่งตามแบบ พฐ. 03 ภายในเดอื นมีนาคม กอ่ นปกี ารศกึ ษาทเี่ ด็กจะเขา้ เรยี น 1 ปี 2.1.2 สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ท่ีจัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณี ประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษาโดยให้ ปดิ ประกาศไว้ ณ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั และสถานศกึ ษาภายในเดอื นเมษายน กอ่ นปกี ารศกึ ษาทเ่ี ดก็ จะเขา้ เรยี น 1 ปี ตามแบบประกาศเรอ่ื งใหผ้ ู้ปกครองสง่ เด็กท่ีมอี ายถุ งึ เกณฑ์บังคับเข้าเรยี นในสถานศึกษา (แบบ พฐ. 04) 2.1.3 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องที่จัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณี แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ปกครองตามแบบหนังสือแจ้งผู้ปกครอง ส่งเด็กท่ีมีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับเข้าเรียนในสถานศึกษา (แบบ พฐ. 06) ทราบภายในเดือนเมษายน ก่อนปีการศึกษาที่เด็กจะเข้าเรียน 1 ปี โดยผู้ปกครองแจ้งการส่งเด็กเข้าเรียน (แบบ พฐ. 08) ก่อนปีการศึกษา ทีเ่ ด็กจะเข้าเรียน และสถานศึกษารับแจ้งการส่งเดก็ (แบบ พฐ. 08/1) 55

2.1.4 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่ เกยี่ วขอ้ งทจ่ี ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั และสถานศกึ ษาประชาสมั พนั ธร์ ายละเอยี ดการสง่ เดก็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา ท้ังเด็กมีสัญชาติไทย เด็กไม่มีสัญชาติไทย และเด็กท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร โดยใช้สื่อประชาสัมพันธ์ อยา่ งหลากหลาย เชน่ ปา้ ยโฆษณา วทิ ยกุ ระจายเสยี ง หอกระจายขา่ ว แผน่ ผบั เอกสาร วารสาร สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การประชมุ ชีแ้ จงผู้ปกครอง กรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ผูน้ ำ� ชุมชน กำ� นัน ผ้ใู หญ่บา้ น ฯลฯ 2.1.5 ผปู้ กครองสง่ เดก็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาทก่ี ำ� หนดในวนั เปดิ ภาคตน้ ของปกี ารศกึ ษา 2.1.6 สถานศกึ ษารายงานผลการเกณฑเ์ ดก็ เขา้ เรยี น ทง้ั ในพนื้ ทเี่ ขตบรกิ ารและนอกพนื้ ท่ี เขตบรกิ ารของสถานศกึ ษา ใหส้ ำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ทจี่ ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แจง้ คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั และรายงานตน้ สงั กดั (แบบ พฐ. 09) ในวนั ทำ� การ แรกของเดือนมถิ นุ ายนของทุกปี 2.1.7 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษาแจ้งรายเชื่อเด็กนอกเขตบริการ ท่ีเข้าเรียนให้สถานศึกษาที่รับผิดชอบพ้ืนที่เขตบริการของนักเรียนทราบ (แบบ พฐ. 09/3) กรณีท่ีเป็นเด็ก มาจากส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอื่น ให้ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาที่รับนักเรียนนอกเขตบริการไว้แจ้ง ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดท่ีโรงเรียนท่ีรับผิดชอบพื้นท่ีเขตบริการของนักเรียนนั้นทราบ เพื่อด�ำเนินการแจ้ง โรงเรียนในสังกัดต่อไป ส�ำหรับกรณีสถานศึกษารับเด็กนอกเขตบริการ แต่อยู่ในเขตพ้ืนที่การศึกษาเดียวกัน ใหส้ ถานศกึ ษาทรี่ บั เดก็ นอกเขตบรกิ ารมาเขา้ เรยี นแจง้ สถานศกึ ษาทร่ี บั ผดิ ชอบพนื้ ทเ่ี ขตบรกิ ารของนกั เรยี นทราบ 2.1.8 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ท่ีจดั การศึกษาภาคบงั คับ แลว้ แต่กรณี ประสานสถานศึกษาด�ำเนนิ การติดตามเด็กเข้าเรียน (แบบ พฐ. 11) 2.1.9 สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา สรปุ ผลการเกณฑเ์ ดก็ เขา้ เรยี น รายงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (แบบ พฐ. 09/5) 2.2 การจดั สรรโอกาสเขา้ เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 2.2.1 สถานศึกษาท่ีจัดการเรียนการสอนถึงชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 ส่งรายชื่อ นักเรียนที่คาดว่าจะจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้สถานศึกษาท่ีรับผิดชอบพื้นที่เขตบริการการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทจ่ี ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แลว้ แตก่ รณี ภายในเดอื นมกราคมกอ่ นปกี ารศกึ ษาทน่ี กั เรยี นจบชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 (แบบ พฐ. 10) 2.2.2 สำ� นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ และหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ท่ีจัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณี ประกาศรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อระหว่าง สถานศึกษาที่อยู่ในเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ โดยให้ปิดประกาศไว้ ณ ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องที่จัดการศึกษาภาคบังคับและสถานศึกษาภายในเดือนเมษายน กอ่ นปกี ารศกึ ษาทเ่ี ดก็ จะเข้าเรียน 1 ปี (แบบ พฐ. 05) 56

2.2.3 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องที่จัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณี แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ปกครองนักเรียนที่คาดว่าจะจบการศึกษา ตามข้อ 1 ในสถานศึกษาท่ีมิได้เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทราบภายในเดือนเมษายน ก่อนปีการศึกษา ทเ่ี ดก็ จะเขา้ เรยี น (แบบ พฐ. 07 ) และผปู้ กครองแจง้ การสง่ เดก็ เขา้ เรยี น (แบบ พฐ. 08) ทงั้ นี้ สำ� นกั งานเขตพน้ื ท่ี การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องท่ีจัดการศึกษาภาคบังคับแล้วแต่กรณี อาจมอบใหส้ ถานศกึ ษาทีร่ ับผิดชอบพื้นทเ่ี ขตบริการดำ� เนินการแทนได้ 2.2.4 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทจี่ ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั และสถานทป่ี ระชาสมั พนั ธร์ ายละเอยี ดการจดั สรรโอกาสเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาทงั้ เดก็ มีสัญชาติไทย เด็กไม่มีสัญชาติไทย และเด็กไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร โดยใช้ส่ือประชาสัมพันธ์อย่างหลากหลาย เชน่ ปา้ ยโฆษณา วทิ ยกุ ระจายเสยี ง หอกระจายขา่ ว แผน่ ผบั เอกสารวารสาร สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การประชมุ ชแี้ จง ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ผนู้ ำ� ชมุ ชน กำ� นันผู้ใหญบ่ ้าน ฯลฯ 2.2.5 ผปู้ กครองสง่ เดก็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาทก่ี ำ� หนดในวนั เปดิ ภาคตน้ ของปกี ารศกึ ษา 2.2.6 สถานศกึ ษารายงานผลการเกณฑเ์ ดก็ เขา้ เรยี น ทงั้ ในพน้ื ทเี่ ขตบรกิ ารและนอกพน้ื ท่ี เขตบรกิ ารของสถานศึกษา สำ� นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง ทจ่ี ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แลว้ แตก่ รณที ราบ (แบบ พฐ. 09) และใหอ้ งคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ สรปุ ผลการรบั นกั เรยี น (แบบ พฐ. 09/6) แจ้งส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและรายงานหน่วยงานต้นสังกัดในวันท�ำการแรกของเดือน มิถนุ ายนของทุกป(ี แบบ พฐ. 09/6) 2.2.7 ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาแจ้งรายชื่อเด็กนอกเขตบริการ ทเ่ี ขา้ เรยี นใหส้ ถานศกึ ษาทรี่ บั ผิดชอบพน้ื ทเี่ ขตบรกิ ารของนกั เรยี นทราบ (แบบ พฐ. 09/3) กรณที เี่ ปน็ เดก็ มาจาก สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาอนื่ ใหส้ ำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาทรี่ บั นกั เรยี นนอกเขตบรกิ ารไวแ้ จง้ สำ� นกั งานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาท่ีโรงเรียนท่ีรับผิดชอบพ้ืนท่ีเขตบริการของนักเรียนน้ันทราบ เพื่อด�ำเนินการแจ้งโรงเรียน ในสังกัดต่อไป ส�ำหรับกรณีสถานศึกษารับเด็กนอกบริการ แต่อยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกันให้สถานศึกษา ทร่ี ับเด็กนอกเขตบริการมาเขา้ เรียน แจง้ สถานศึกษาทรี่ บั ผิดชอบพ้ืนที่เขตบริการของนกั เรียนทราบ 2.2.8 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสรุปการรับเด็กเข้าเรียน รายงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (แบบ พฐ. 09/6) ข. หนา้ ทแี่ ละแนวปฎิบตั ขิ องสถานศึกษา 1. กรณนี ักเรยี นไม่เคยเข้าเรียนในสถานศกึ ษาใดมาก่อน 1. ศึกษากฎหมายและกฎระเบยี บท่ีเกย่ี วขอ้ ง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, พ.ร.บ. การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 , ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเขา้ เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 เปน็ ต้น 57

2. ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานเรื่องการรับนกั เรียน 2.1 จดั ทำ� แผนการรบั นักเรยี น ดำ� เนนิ การตามนโยบายของสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องทจี่ ดั การศึกษาภาคบงั คับ แล้วแต่กรณี 2.2 ประกาศการรับนกั เรยี น ประชาสมั พนั ธ์รายละเอยี ดการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศกึ ษา 2.3 แต่งตั้งคณะกรรมการการรบั นักเรียน วธิ ดี �ำเนินการใหเ้ ป็นไปตามแนวปฎิบตั ขิ องแต่ละสถานศกึ ษา 2.4 ส�ำรวจเด็กในเกณฑ์การศกึ ษาภาคบังคบั ท่ไี มม่ ชี อื่ ใน ท.ร. 14 ท.ร. 13 (ทะเบยี นราษฎร) ของนกั เรยี นทอ่ี ยูใ่ นชุมชนและในเขตพน้ื ทบี่ ริการสถานศกึ ษาสรุปขอ้ มูลจากแบบ พฐ. 02 ลงในบญั ชีรายชอ่ื เด็ก ท่ีมอี ายกุ ่อนเกณฑภ์ าคบังคับเขา้ เรยี นตาม พ.ร.บ. การศึกษาภาคบงั คับ พ.ศ. 2545 (แบบ พฐ. 03) 2.5 ด�ำเนินการรับนักเรียน การนบั อายเุ ดก็ เพอ่ื เขา้ รบั การศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาในสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ให้นับต้ังแต่วันท่ีเด็กเกิดไปจนถึงวันแรกของการเปิดภาคเรียนท่ี 1 โดยรับเด็กท่ีมีอายุไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ (ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีนบั อายุเดก็ เพอ่ื เข้ารับการศกึ ษา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) และการนับอายุเด็กเพ่ือเข้ารับ การศึกษาภาคบังคับในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้นับตามปีปฏิทินหากเด็กอายุครบเจ็ดปีบริบูรณ์ในปีใดให้นับว่า เด็กมีอายุย่างเข้าปีท่ีเจ็ดในปีน้ัน (กฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการนับอายุเด็กเพื่อเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545) 2.6 ตรวจสอบหลักฐานต่าง ๆ ด�ำเนินการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นกั ศึกษา เขา้ เรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2545 ขอ้ 6 ดงั น้ี (1) สตู บิ ัตร (2) กรณีไม่มีหลักฐานตาม (1) ให้เรียกหนังสือรับรองการเกิด บัตรประจ�ำตัว ประชาชน สำ� เนาบตั รทะเบยี นบา้ นฉบับเจา้ บ้าน หรอื หลักฐานทีท่ างราชการจดั ท�ำขนึ้ ในลักษณะเดียวกัน (3) ในกรณที ไ่ี มห่ ลกั ฐานตามขอ้ (1) หรอื (2) ใหเ้ รยี กหลกั ฐานทที่ างราชการออกให้ หรอื เอกสารตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำ� หนดให้ใช้ได้ (4) ในกรณไี มม่ หี ลกั ฐานตาม (1) (2) และ (3) ใหบ้ ดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื องคก์ ร เอกชน ท�ำบนั ทกึ แจง้ ประวตั บิ ุคคลตามแนบทา้ ยระเบยี บนี้ เปน็ หลกั ฐานทจี่ ะนำ� มาลงหลักฐานทางการศกึ ษา (5) ในกรณีที่ไม่มีบุคคลหรือองค์กรเอกชนตาม (4) ให้ซักถามประวัติบุคคลผู้มาสมัคร เรียนหรือผู้ที่เก่ียวข้อง เพื่อน�ำลงรายงานบันทึกแจ้งประวัติบุคคลตามแบบแนบท้ายระเบียบนี้เป็นหลักฐานที่จะ น�ำมาลงหลักฐานทางการศึกษา 58

2.7 การลงทะเบียนนักเรยี น ใหป้ ฎบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เข้าเรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ขอ้ 9 (1) และ (2) ดังนี้ (1) ในกรณที เ่ี ปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล เชน่ สมดุ ประจำ� ตวั นกั เรยี น นกั ศึกษา ใบส่งตัว ประกาศนียบัตร เปน็ ต้น ไมต่ ้องบนั ทกึ หมายเหตใุ ด ๆ (2) ในกรณีที่เป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นหลักฐานรวมท่ีใช้บันทึกข้อมูลของนักเรียน นกั ศกึ ษาทงั้ ชนั้ เรยี นหรอื จำ� นวนมากกวา่ หนงึ่ คน เชน่ ทะเบยี นนกั เรยี น นกั ศกึ ษา สมดุ ประจำ� ชน้ั บญั ชเี รยี กชอ่ื เปน็ ตน้ ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายบันทึกไว้เฉพาะในสมุดทะเบียนนักเรียน นักศึกษา โดยบันทึก ลงในช่องหมายเหตุพร้อมลงนามก�ำกับข้อความวา่ “ไม่มีหลกั ฐานตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบยี นราษฎร” 3. รายงานการรบั นกั เรียน สถานศึกษารายงานผลการเกณฑ์เด็กเข้าเรียน ทั้งในพื้นท่ีเขตบริการและนอกพื้นที่ เขตบรกิ ารของสถานศกึ ษา ใหส้ ำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทจี่ ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แจง้ สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา และรายงานตน้ สงั กดั (แบบ พฐ. 09) ในวนั ทำ� การแรก ของเดือนมถิ นุ ายนของทุกปี 2. กรณที นี่ กั เรยี นไมม่ หี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย เคยเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา อื่นมากอ่ น โดยทหี่ ลักฐานทางทะเบียนหรอื หลกั ฐานทางการศึกษาไม่สมบรู ณ์หรอื ไม่สามารถหาได้ 1. ศึกษาและตรวจเอกสารอนื่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง ดำ� เนนิ การตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑใ์ นการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เข้าเรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ขอ้ 6 ดงั น้ี (1) สูตบิ ตั ร (2) กรณีไม่มีหลักฐานตาม (1) ให้เรียกหนังสือรับรองการเกิด บัตรประจ�ำตัวประชาชน สำ� เนาบตั รทะเบยี นบา้ นฉบบั เจา้ บา้ น หรอื หลกั ฐานทท่ี างราชการจดั ทำ� ขนึ้ ในลกั ษณะเดยี วกนั (ซง่ึ รวมถงึ ท.ร. 14, ท.ร. 13 เป็นตน้ ) (3) ในกรณที ไ่ี มห่ ลกั ฐานตามขอ้ (1) หรอื (2) ใหเ้ รยี กหลกั ฐานทท่ี างราชการออกใหห้ รอื เอกสาร ตามทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำ� หนดใหใ้ ชไ้ ด้ เชน่ ท.ร. 38/1 (ทะเบยี นประวตั ขิ องผตู้ ดิ ตาม ท.ร. 1/1 (หนงั สอื รบั รองการเกดิ ) แบบ 88/1 (ใบตอบรับการส�ำรวจเพือ่ จดั ท�ำทะเบยี นส�ำหรบั บคุ คลทไ่ี มม่ ีสถานะทางทะเบยี น เปน็ ตน้ ) (4) ในกรณไี มม่ หี ลกั ฐานตาม (1) (2) และ (3) ใหบ้ ดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื องคก์ รเอกชน ทำ� บนั ทึกแจ้งประวัตบิ ุคคลตามแนบทา้ ยระเบยี บนี้ เปน็ หลักฐานท่ีจะน�ำมาลงหลกั ฐานทางการศกึ ษา (5) ในกรณที ไี่ มม่ บี คุ คลหรอื องคก์ รเอกชนตาม (4) ใหซ้ กั ถามประวตั บิ คุ คลผมู้ าสมคั รเรยี น หรอื ผ้ทู ่เี ก่ยี วข้อง เพื่อนำ� ลงรายงานบันทกึ แจ้งประวตั บิ คุ คลตามแบบแนบทา้ ยระเบยี บน้เี ป็นหลกั ฐานทจี่ ะนำ� มา ลงหลักฐานทางการศกึ ษา 59

2. การลงทะเบียนนกั เรียน ให้ปฎิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษา เขา้ เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ขอ้ 9 (1) และ (2) ดงั น้ี (1) ในกรณีที่เป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศกึ ษา ใบสง่ ตัว ประกาศนียบัตร เปน็ ต้น ไมต่ ้องบันทึกหมายเหตุใด ๆ (2) ในกรณีท่ีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นหลักฐานรวมที่ใช้บันทึกข้อมูลของนักเรียน นักศกึ ษาท้งั ชนั้ เรยี นหรือจ�ำนวนมากกวา่ หน่งึ คน เชน่ ทะเบียนนกั เรียน นักศึกษา สมดุ ประจ�ำชน้ั บัญชีเรียกชือ่ เปน็ ตน้ ใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาหรอื ผไู้ ดร้ บั มอบหมายบนั ทกึ ไวเ้ ฉพาะในสมดุ ทะเบยี นนกั เรยี น นกั ศกึ ษา โดยบนั ทกึ ลงในช่องหมายเหตุพรอ้ มลงนามก�ำกับข้อความว่า “ไม่มหี ลกั ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร” 3. การสอบและประเมนิ เทียบความรู้ขัน้ ตอนการเทียบโอนความรู้ 3.1 การเทียบโอนความรู้กรณีนักเรียน นักศึกษาไม่มีหลักฐานทางการศึกษาใด ๆ ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการสถานศึกษาเก่ียวกับการเทียบโอนความรู้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการเทียบความรู้ตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ หากผา่ นให้ผ้บู รหิ ารอนมุ ัติเขา้ เรียนได้และด�ำเนินการรายงานตน้ สังกัด (**ทง้ั นี้ ในระหวา่ งดำ� เนินการเทยี บความรู้ให้จดั นักเรียนเข้าชนั้ เรียนไดก้ อ่ นตามความเหมาะสม**) 3.2 กรณีเทียบโอนผลการเรียนกรณีมีหลักฐานทางการศึกษา ด�ำเนินการตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซง่ึ มสี าระสำ� คัญ ดังนี้ ก. ใชส้ ำ� หรบั กรณกี ารยา้ ยสถานศกึ ษา การเปลย่ี นรปู แบบการศกึ ษา การยา้ ยหลกั สตู ร การออกกลางคนั และขอกลบั เขา้ รบั การศกึ ษาตอ่ การศกึ ษาจากตา่ งประเทศ และขอกลบั เขา้ ศกึ ษาตอ่ ในประเทศ ซึ่งนอกจากนี้ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ สถาบนั การศึกษาในครอบครัว ข. การเทียบโอนผลการเรียนควรด�ำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนหรือต้นภาคเรียน ที่สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งน้ี ผู้เรียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรียน ต้องศึกษาต่อเน่ือง ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอน อย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนควรก�ำหนดรายวิชา/ จำ� นวนหนว่ ยกิต ที่รบั เทียบโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถด�ำเนินการได้ ดังนี้ 1. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษาและเอกสารอนื่ ๆ ทใ่ี หข้ อ้ มลู แสดงความรคู้ วามสามารถของผเู้ รยี น 2. พิจารณาจากความรู้และความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ท้ังภาค ความรู้และภาคปฎบิ ตั ิ 3. พิจารณาจากความสามารถและปฎบิ ัตจิ ากสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศหรือแนวปฎิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ ส�ำหรับการเทียบโอนเข้าสู่สถานศึกษาในระบบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้ด�ำเนินการตามแนวปฎิบัติเก่ียวกับ การเทียบโอนผลการเรียนรู้เข้าสกู่ ารศึกษาในระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 60

ค. การผ่อนผนั ใหเ้ ด็กเข้าเรยี นก่อนหรือหลังอายตุ ามเกณฑ์การศกึ ษาภาคบงั คบั ตามประกาศคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการผ่อนผันให้เด็กเข้าเรียน ก่อนหรอื หลังอายุตามเกณฑ์การศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2546 1. ประเภทการผอ่ นผนั การผ่อนผันให้เดก็ เขา้ เรียนตามเกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบงั คบั มี 2 ประเภท คอื 1.1 การขอผ่อนผันใหเ้ ด็กเขา้ เรียนกอ่ นอายยุ า่ งเขา้ ปที ีเ่ จ็ด 1.2 การขอผ่อนผนั ให้เด็กเข้าเรียนหลังจากท่เี ด็กมอี ายุครบเจด็ ปีบรบิ ูรณ์ 2. ลกั ษณะทส่ี ามารถผอ่ นผนั 2.1 การขอผ่อนผันให้เด็กเขา้ เรียนก่อนอายุตามเกณฑก์ ารศึกษาภาคบงั คบั ไดต้ ่อเมอ่ื 2.1.1 เด็กเรียนจบการศึกษาระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 2.1.2 ในกรณีที่เด็กไม่จบการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาหรือเทียบเท่าแต่ผู้ปกครอง รอ้ งขอและผ่านการประเมินความพร้อมทางดา้ นสตปิ ัญญา รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คม ตามประกาศของ คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั 2.2 ขอผอ่ นผนั ให้เด็กเขา้ เรยี นหลักอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับไดต้ ่อเมอื่ 2.2.1 เด็กป่วยด้วยโรคติดต่อร้ายแรงและเป็นอุปสรรคในการเรียน หรืออยู่ระหว่าง ต้องพักรักษาตัวไม่สามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาเป็นเวลานาน ซึ่งผ่อนผันได้จนกว่าเด็กจะสามารถมาเรียน ตามปกติ 2.2.2 กรณีมีเหตุจ�ำเป็นหรือเหตุสุดวิสัยอื่นใด ท่ีเด็กไม่สามารถเข้าเรียนได้ตามปกติได้ ทั้งนี้ การผ่อนผันตามข้อน้ีต้องไม่ท�ำให้เด็กที่มีอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับเสียสิทธิในการเข้าเรียน ในสถานศึกษานน้ั ซง่ึ ต้องผ่อนผนั ได้ตามความจ�ำเปน็ และหากตอ้ งผ่อนผนั เป็นเวลานานเกินไปจนเกดิ เปน็ ผลเสยี แก่เด็ก ให้สถานศึกษาจัดการศึกษาในรูปแบบและวิธีท่ีเหมาะสม เพ่ือประกันโอกาสและความเสมอภาค ในการไดร้ บั การศึกษาภาคบงั คบั 3. การขอผ่อนผัน ให้ผู้ปกครองย่ืนค�ำร้องขอผ่อนผันตามแบบ พฐ. 16 ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ทีร่ ับผดิ ชอบพืน้ ทีเ่ ขตบริการ ก่อนวันเปดิ ภาคเรยี นแรกของปกี ารศกึ ษาที่ตอ้ งเขา้ เรียน 4. การพจิ ารณาขอผอ่ นผนั ใหส้ ถานศกึ ษาตงั้ คณะกรรมการขนึ้ คณะหนง่ึ ประกอบดว้ ย ผบู้ รหิ าร สถานศึกษาเป็นประธาน ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หนึ่งคน และผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐานสองคน โดยให้มีกรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ปกครองในคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยหนึ่งคน เปน็ กรรมการ รองผู้บริหารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ชู ่วยผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ใหผ้ ้บู ริหารสถานศึกษาแตง่ ต้ังครคู นหนงึ่ ท�ำหนา้ ท่ีกรรมการและเลขานกุ าร การวินิจฉยั ของคณะกรรมการให้ถอื เสยี งขา้ งมาก 5. การแจ้งการผ่อนผัน ให้สถานศึกษาแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ปกครองทราบและรายงาน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (แบบ พฐ. 17 และ พฐ. 18) 61

ง. การตดิ ตามเด็กเข้าเรียน กรณที ่ผี ปู้ กครองไม่สง่ เด็กเขา้ เรยี น เมอื่ สถานศกึ ษาตรวจสอบพบวา่ ผปู้ กครองไมส่ ง่ เดก็ ทมี่ อี ายถุ งึ เกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบงั คบั เขา้ เรยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 หรือไม่ส่งเด็กท่ีเรียนจบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จากสถานศึกษาที่มิได้เปิดสอนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นเจ้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ตามท่ีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด หรือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษาภาคบังคับก�ำหนด ในวันเปิดภาคเรียนภาคต้น มีแนวทางด�ำเนินการ ตดิ ตามเด็กเข้าเรยี น ดังน้ี 1. ให้สถานศึกษาท่ีรับผิดชอบพ้ืนท่ีเขตบริการของเด็กตรวจสอบ ติดตามให้ผู้ปกครองส่งเด็ก เข้าเรียน 2. ภายในเจด็ วนั นบั แตว่ นั เปดิ ภาคเรยี นภาคตน้ ถา้ ผปู้ กครองยงั ไมส่ ง่ เดก็ เขา้ เรยี น ใหส้ ถานศกึ ษา แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ปกครองทราบ เพื่อน�ำเด็กมาเข้าเรียนโดยส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับ หรือ ใหผ้ ปู้ กครองลงชอ่ื รบั หนงั สอื โดยตรง (แบบ พฐ. 11) ถา้ ผปู้ กครองไมส่ ง่ นกั เรยี นเขา้ เรยี นใหร้ ายงานสำ� นกั งานเขต พ้ืนท่ีการศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณีทราบ (แบบ พฐ. 12) 3. ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบังคับ แล้วแต่กรณี แจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ เตือนให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียน โดยพลนั (แบบ พฐ. 11) 4. ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษา ภาคบงั คบั แล้วแตก่ รณี ประสานกับพนกั งานเจ้าหนา้ ท่เี พือ่ ตดิ ตามผลการสง่ เดก็ เขา้ เรยี น (แบบ พฐ. 13) 5. ภายหลังจากผู้ปกครองได้รับหนังสือแจ้งเตือนให้ส่งเด็กเข้าเรียนของส�ำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษาภาคบังคับแล้ว ผู้ปกครองยัง ไม่ส่งเด็กเข้าเรียนให้พนักงานเจ้าหน้าที่ด�ำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แต่งต้ังพนักงาน เจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 ลงวันท่ี 20 พฤศจิกายน 2546 ด�ำเนินการ ตรวจสอบคนเข้าเรียน พิจารณาตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 มาตรา 7 (แบบ พฐ. 30 และแบบ พฐ. 31) 6. ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบังคับรับทราบ และพิจารณาด�ำเนินการตามาตรา 13 - 16 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 62

1.2.2 ระหว่างนักเรยี นอยใู่ นสถานศกึ ษา ระหวา่ งทนี่ กั เรยี นผทู้ ไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยอยใู่ นสถานศกึ ษาใหส้ ถานศกึ ษา ปฏิบตั ิดงั นี้ ก. ลงหลกั ฐานทางการศกึ ษาของนกั เรียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ข้อ 9 (1) และ (2) ดงั น้ี (1) ในกรณีท่ีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น แบบรายงานประจ�ำตัวนักเรียน นกั ศกึ ษา ใบสง่ ตวั ประกาศนยี บตั ร เปน็ ตน้ ไม่ต้องบนั ทึกหมายเหตใุ ด ๆ (2) ในกรณที เี่ ปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาเปน็ หลกั ฐานรวมทใี่ ชบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู ของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ท้ังชั้นเรียนหรือจ�ำนวนมากกว่าหนึ่งคน เช่น ทะเบียนนักเรียน นักศึกษา สมุดประจ�ำช้ัน บัญชีเรียกช่ือ เป็นต้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายบันทึกไว้เฉพาะในสมุดทะเบียนนักเรียน นักศึกษา โดยบันทึก ลงในช่องหมายเหตพุ ร้อมลงนามกำ� กบั ขอ้ ความว่า “ไม่มีหลักฐานตามกฎหมายว่าดว้ ยการทะเบยี นราษฎร” ข. ด�ำเนินการเพ่ิมเติมหรอื แกไ้ ขวัน เดือน ปีเกิด กรณที ีม่ ีเอกสารหลักฐานใหม่มาแสดง ตามข้อ 5 แห่งระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยการแก้ วนั เดือน ปเี กิดนกั เรยี น พ.ศ. 2547 มแี นวปฏบิ ัติ ดังน้ี กรณแี กว้ นั เดอื น ปีเกิดของนักเรยี นผดิ พลาดไมต่ รงกบั ความเปน็ จรงิ ดว้ ยเหตทุ ี่ 1. เจา้ หนา้ ทข่ี องสถานศกึ ษาเขยี นผดิ พลาดหรอื เขยี นตก ใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาเปน็ ผแู้ กใ้ หถ้ กู ตอ้ ง ตามความเปน็ จรงิ ในหลกั ฐาน และการแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ใหข้ ดี ฆา่ ดว้ ยหมกึ สแี ดงโดยประณตี แลว้ เขยี นเตมิ ลงใหมด่ ว้ ย เส้นหมกึ สแี ดง โดยลงนามผ้แู กแ้ ละวนั เดอื น ปยี ่อก�ำกับไว้ด้วยทุกแหง่ 2. ในกรณวี นั เดอื น ปเี กดิ ของนกั เรยี น นกั ศกึ ษาผดิ พลาดและมผี รู้ อ้ งขอใหแ้ ก้ ผรู้ อ้ งขอจะตอ้ งสง่ ค�ำร้องตามแบบท้ายระเบียบน้ี และเอกสารหลักฐานมาแสดงต่อสถานศึกษาเพ่ือประกอบการพิจารณาวินิจฉัย วนั เดอื น ปีเกดิ ตามล�ำดับความส�ำคญั ดงั นี้ คือ (ก) สตู ิบัตรหรอื ทะเบียนคนเกดิ (ข) ถา้ หากเอกสารหลกั ฐานตามขอ้ (ก) สญู หายหรอื ถกู ทำ� ลายกใ็ หส้ ง่ เอกสารอนื่ ๆ ทหี่ นว่ ยราชการ ออกให้ เช่น สำ� เนาทะเบยี นบา้ น ทะเบยี นทหาร ทะเบยี นคนต่างด้าว บัตรประจ�ำตัวประชาชน (ค) ในกรณีท่ีปรากฏว่าเอกสารหลักฐานตามข้อ (ข) ท่ีหน่วยราชการออกให้น้ัน วัน เดือน ปีเกิด ไมต่ รงกนั ใหพ้ จิ ารณาข้อเท็จจรงิ เปน็ ราย ๆ ไป 3. เมอ่ื ทางสถานศกึ ษาไดพ้ จิ ารณาวนิ จิ ฉยั เอกสารตามขอ้ 2 (ก) หรอื 2 (ข) หรอื ไดท้ ำ� การสอบสวน ตามข้อ 2 (ค) แล้วปรากฏชัดแจ้งว่า วัน เดือน ปีเกิดผิดพลาด ไม่ตรงกับหลักฐานความเป็นจริงให้ท�ำรายงาน ส่งค�ำร้องขอแก้วัน เดือน ปีเกิด พร้อมด้วยเอกสารดังกล่าวข้างต้น และส�ำเนาการสอบสวน (ถ้ามี) ไปตาม ระเบยี บราชการเพ่ือใหผ้ บู้ ังคับบัญชาเหนอื ขน้ึ ไปชน้ั หนง่ึ เปน็ ผู้พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแก้ไขเปน็ ราย ๆ ไป (หมายเหตุ : กรณีเพ่ิมเตมิ วนั เดือน ปเี กดิ ของนกั เรยี น ให้นำ� เอาการด�ำเนนิ การตามขอ้ 2 มาใช้โดยอนโุ ลม) 63

ค. ตรวจสอบเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมของนักเรียน นักศึกษา ท่ีได้รับจากผู้ปกครองหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องการจัดท�ำทะเบียนประวัติและเพ่ิมเติมแก้ไขทะเบียนประวัติของนักเรียน นักศึกษา สมุดประจ�ำชั้น สมดุ ประจำ� ตวั กรณมี กี ารเปลย่ี นแปลงหลกั ฐานเอกสารขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั นกั เรยี นใหบ้ นั ทกึ ลงในสมดุ หมายเหตุ รายวันตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยสมุดหมายเหตุประจ�ำวัน พ.ศ. 2549 โดยด�ำเนินการ ดงั ต่อไปนี้ 1. เร่ืองท่ีจะลงสมุดหมายเหตุรายวันตามข้อ 13 แห่งระเบียบว่าด้วยสมุดหมายเหตุประจ�ำวันฯ ได้แก่ ประวัติ ระเบียบ หรือข้อบังคับ การเปล่ียนแปลง การระดมทรัพยากร ผลการเรียน การแก้ไขหลักฐาน ทางทะเบยี น การมาปฏบิ ตั งิ านและบำ� เหนจ็ ความชอบของบคุ ลากร การลงโทษนกั เรยี นและเหตภุ ยนั ตรายอน่ื ๆ 2. เฉพาะบุคคลดังตอ่ ไปน้ีมีอำ� นาจลงชอื่ ก�ำกบั 2.1 สถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใหผ้ อู้ ำ� นวยการสำ� นกั งาน เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาหรอื ผ้ไู ดร้ บั มอบหมายลงชือ่ ก�ำกับ 2.2 สถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนต�ำบล หรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร นายกเมืองพัทยา นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล หรือผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เรียกชอ่ื อยา่ งอ่ืน หรือผทู้ ี่ไดร้ บั มอบหมายลงช่ือกำ� กบั 2.3 สถานศึกษา นอกจาก 2.1 และ 2.2 ให้หัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัด หรือผู้ก�ำกับดูแล หรอื ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมายลงชอื่ ก�ำกบั ง. การออกบตั รประจ�ำตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ เรยี นใหม่ สถานศกึ ษาทกุ สถานศกึ ษา สามารถออกบัตรนักเรียน นักศึกษาได้โดยด�ำเนินการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การท�ำบัตรประจ�ำตัวนกั เรียน และนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2534 จ. ประเมินความรูเ้ พอื่ เล่ือนช้ันเรียนระหวา่ งปี ด�ำเนินการเช่นเดียวกับนักเรียนไทยโดยด�ำเนินการตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ฉ. ด�ำเนินการช่วยเหลือและให้ความสะดวกในกรณีที่บุคคลดังกล่าวต้องขออนุญาต ออกนอกเขตพน้ื ที่ 1. เพอื่ ไปศกึ ษาต่อตามหลักสูตร ยดึ แนวปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื ที่ มท 0308.4/ว 795 ลงวนั ที่ 7 มนี าคม 2550 เรอ่ื งการดำ� เนนิ การ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 5 กรกฎาคม 2548 เกี่ยวกับการอนุญาตให้นักเรียน นักศึกษาท่ีเป็นบุคคล ไมม่ ีสัญชาติไทยเดนิ ทางออกนอกเขตควบคุมเป็นการชั่วคราว เพ่ือรบั การศึกษาในสถานศกึ ษา 2. เพอ่ื รว่ มกจิ กรรมตามหลกั สตู รเปน็ การชว่ั คราว ใหน้ ำ� แนวปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื ที่ มท 0308.4/ว 795 ลงวันที่ 7 มนี าคม 2550 มาใช้โดยอนุโลม 64

ช. ตดิ ตามเดก็ เข้าเรยี น กรณีนักเรียนขาดเรียน 1. เมอื่ นกั เรยี นหยดุ เรยี นตดิ ตอ่ กนั เกนิ 5 วนั หรอื หยดุ เรยี นเกนิ 7 วนั ในหนงึ่ เดอื นใหส้ ถานศกึ ษา แจง้ เปน็ หนงั สอื เตอื นใหผ้ ปู้ กครองนำ� เดก็ มาเขา้ เรยี นโดยพลนั โดยสง่ ไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรบั หรอื ใหผ้ ปู้ กครอง ลงช่ือรับหนงั สอื โดยตรง โดยแจ้งเตอื น 2 คร้ัง (แบบ พฐ. 14) 2. ถ้าผู้ปกครองไม่ส่งเด็กเข้าเรียนภายหลังจากได้รับแจ้งเป็นหนังสือตามข้อ 1 แล้วสถานศึกษา รายงานใหค้ ณะกรรมการเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื หนว่ ยงานทจี่ ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แล้วแตก่ รณีรบั ทราบ (แบบ พฐ. 15) 3. ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษา ภาคบังคับ แล้วแต่กรณี ด�ำเนินการตรวจสอบติดตามเพ่ือให้เด็กได้เข้าเรียนหรือด�ำเนินการตามมาตรา 15 แหง่ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545 1.2.3 การยา้ ยทเ่ี รยี นระหว่างปี “กรณีท่ีเด็กย้ายที่อยู่ใหม่ สถานศึกษาต้องอ�ำนวยความสะดวก และติดตามให้เด็กได้เข้าเรียน ในสถานศกึ ษาทใ่ี กลท้ อี่ ยใู่ หม”่ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี น ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ข้อ 5 วรรคสอง สถานศึกษาตอ้ งไปปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ในกรณีท่ีมกี ารย้ายทเี่ รยี นระหว่างปี ก. ผู้ปกครองยน่ื คำ� ร้องขอย้ายต่อสถานศกึ ษา (แบบ พฐ. 19) ข. สถานศึกษาท�ำหนังสือส่งนักเรียนขอย้ายไปเข้าเรียนในสถานศึกษาท่ีขอย้ายเข้า (แบบ พฐ. 20) พรอ้ มทง้ั สง่ เอกสารดังตอ่ ไปนี้ 1. ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ. 1) 2. ระเบียนสะสม 3. แบบรายงานประจำ� ตัวนักเรยี น 4. ฯลฯ ค. สถานศึกษาที่นักเรียนขอย้ายออก ขออนุญาตจ�ำหน่ายนักเรียนต่อส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หรอื หน่วยงานตน้ สังกดั แลว้ แตก่ รณี (แบบ พฐ. 21) ง. สถานศกึ ษาทน่ี กั เรยี นขอยา้ ยเขา้ รบั เอกสารหลกั ฐานของนกั เรยี นทย่ี า้ ยมาเขา้ เรยี นจดั ใหน้ กั เรยี นเขา้ เรยี น และแจง้ การรบั ยา้ ยนกั เรยี นไปใหส้ ถานศกึ ษาเดมิ ทราบ (แบบ พฐ. 23) พรอ้ มทงั้ รายงานตอ่ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั หรอื องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น หรอื หนว่ ยงานท่จี ดั การศึกษาภาคบังคบั ทส่ี ังกัด (แบบ พฐ. 22) จ. ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาภาคบังคับ แจ้งการรับนักเรียนไปยังส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบงั คับท่ีนักเรียนย้ายออกทราบ (แบบ พฐ. 24) เพอ่ื อนุญาตจ�ำหนา่ ยนักเรียนออกจากทะเบียนนักเรยี น ฉ. สถานศกึ ษาทนี่ กั เรยี นขอยา้ ยเขา้ เรยี นรายงานสำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา หรอื หนว่ ยงานตน้ สงั กดั แลว้ แตก่ รณี และแจง้ การรับนกั เรยี นให้สถานศึกษาทนี่ กั เรยี นขอยา้ ยออกทราบ (แบบ พฐ. 22 และ 23) 65

ช. กรณีที่ผู้ปกครองขอย้ายเด็กไปเข้าเรียนในสถานศึกษาท่ีอยู่ต่างสังกัดส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด หรือสังกัดอ่ืน ให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหน่วยงานที่นักเรียนย้ายออกทราบ (แบบ พฐ. 22 และ 23) ซ. กรณีผู้ปกครองไม่พานักเรียนไปเข้าเรียนในสถานศึกษาที่ขอย้ายไปเข้าเรียน ให้สถานศึกษา และส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทุกแห่งติดตามให้ผู้ปกครองส่งเด็กเข้าเรียน และประสานแจง้ ผลการติดตามให้ทราบซ่ึงกนั และกนั (แบบ พฐ. 25 และ พฐ. 26) ฌ. จ�ำหน่ายนักเรียนออกจากทะเบียนนักเรียนหากมีสาเหตุดังต่อไปน้ี การจ�ำหน่ายนักเรียน หมายถึง การดำ� เนนิ การให้นกั เรียนพ้นสภาพการเป็นนักเรียนจากสถานศึกษาทเ่ี รียนอยู่ สาเหตทุ ่ีจะจำ� หน่ายนกั เรยี นออกจากทะเบยี นนักเรียนได้ มอี ยู่ 5 สาเหตุ คือ 1. นกั เรยี นย้ายสถานศกึ ษา 2. นักเรียนถงึ แกก่ รรม 3. นักเรียนหยุดเรยี นติดกนั เปน็ เวลานาน ไมม่ ตี วั ตนผู้ปกครอง และนกั เรยี นอย่ใู นพน้ื ท่ีแลว้ ไม่แจง้ ย้ายทอ่ี ยู่ 4. นักเรยี นอายุพ้นเกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบงั คบั 5. นกั เรียนจบการศกึ ษากรณีใดกรณีหนงึ่ ต่อไปน้ี (รายละเอยี ดน�ำไปไวใ้ นหมวด 4 กรณีจบการศกึ ษา) 5.1 กรณีนักเรียนเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ส�ำหรับสถานศึกษาท่ีไม่ได้รับอนุญาตให้เปิดสอน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 5.2 กรณนี ักเรียนเรียนจบชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 การจ�ำหน่ายนักเรียนมสี าเหตุและแนวปฏิบัติ ดังน้ี (ไม่รวมกรณีจบการศกึ ษา) 1. นักเรียนย้ายสถานศกึ ษา 1.1 สถานศกึ ษาขออนญุ าตจำ� หนา่ ยนกั เรยี นทขี่ อยา้ ยไปเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาอนื่ ตอ่ สำ� นกั งานเขต พื้นที่การศกึ ษา หรือองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น หรอื หน่วยงานทจ่ี ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั (แบบ พฐ.21) 1.2 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบงั คบั ทก่ี ำ� กบั ดแู ลสถานศกึ ษาทน่ี กั เรยี นยา้ ยออก แจง้ ผลการพจิ ารณาอนญุ าตจำ� หนา่ ยนกั เรยี นใหส้ ถานศกึ ษาทราบ (แบบ พฐ.28) อนุญาต กรณีได้รับรายงานจากสถานศึกษาที่นักเรียนย้ายเข้า (กรณีย้ายภายในเขตพื้นท่ี การศกึ ษาหรอื ภายในสงั กดั เดยี วกนั ) หรอื ไดร้ บั แจง้ จากสำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หรอื หน่วยงานทจี่ ดั การศกึ ษาภาคบังคบั (กรณียา้ ยตา่ งเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาหรือตา่ งสงั กดั ) วา่ นักเรยี นทข่ี อย้ายได้ เขา้ เรยี นแล้ว ไม่อนุญาต กรณีได้รับรายงานจากสถานศึกษาท่ีนักเรียนย้ายเข้า (กรณีย้ายภายในเขตพื้นที่ การศกึ ษาหรอื ภายในสงั กดั เดยี วกนั ) หรอื ไดร้ บั แจง้ จากสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษาภาคบังคับ (กรณีย้ายต่างเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือต่างสังกัด) ว่านักเรียนที่ขอย้าย ไม่ไดเ้ ข้าเรยี นแลว้ 66

สถานศกึ ษาจ�ำหน่ายนกั เรยี นออกจากทะเบยี นกรณีไดร้ บั อนุญาต สถานศกึ ษาที่นักเรยี นย้ายออกตดิ ตาม เด็กเขา้ เรียน ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบังคับไม่อนุญาตจ�ำหน่ายนักเรียนเน่ืองจากไม่ไปเข้าเรียนตามที่ขอย้ายเข้า หากไม่สามารถติดตามนักเรียน มาเข้าเรียนได้ให้ด�ำเนินการขอนุญาตจ�ำหน่ายนักเรียนออกจากทะเบียนนักเรียน ด้วยเหตุนักเรียนไม่มีตัวตน อยใู่ นพน้ื ท่ี 2. นักเรยี นถงึ แกก่ รรม 2.1 สถานศึกษาขอส�ำเนาใบมรณบัตรของนักเรียนที่ถึงแก่กรรมจากผู้ปกครองโดยตรวจสอบกับ ส�ำเนาเอกสารฉบับจริงก่อนด�ำเนนิ การ 2.2 สถานศกึ ษาขออนญุ าตจำ� หนา่ ยนกั เรยี นทถ่ี งึ แกก่ รรมตอ่ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั หรอื องคก์ ร ปกครองสว่ นท้องถิ่น หรือหนว่ ยงานท่ีจดั การศึกษาภาคบังคบั แลว้ แตก่ รณี (แบบ พฐ. 21) 2.3 สถานศกึ ษาขออนญุ าตจำ� หนา่ ยนกั เรยี นทถ่ี งึ แกก่ รรมตอ่ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั หรอื องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณี พิจารณาอนุญาตจ�ำหน่ายนักเรียน และแจง้ ผลการพจิ ารณาใหส้ ถานศึกษาทราบ (แบบ พฐ. 28) 2.4 สถานศกึ ษาจำ� หนา่ ยนกั เรยี นทถ่ี งึ แกก่ รรมออกจากทะเบยี นนกั เรยี นของผปู้ กครองและนกั เรยี น 3. นักเรียนหยุดเรียนติดต่อกันเป็นเวลานาน ไม่มีตัวผู้ปกครอง และนักเรียนอยู่ในพ้ืนท่ีแล้วไม่แจ้ง ยา้ ยทอ่ี ยู่ 3.1 สถานศึกษาขอหนังสือรับรองการไม่มีตัวตนของผู้ปกครองและนักเรียนจากผู้ใหญ่บ้านหรือ จากนายอ�ำเภอ/ก่ิงอ�ำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่จัดการศึกษาภาคบังคับ แล้วแต่กรณี (แบบ พฐ. 27 ) 3.2 สถานศึกษาขออนุญาตจ�ำหน่ายนักเรียนท่ีหยุดเรียนเป็นเวลานาน ผู้ปกครอง และนักเรียน ไม่มีตัวตนในพ้ืนที่ต่อส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบังคับ แลว้ แตก่ รณี (แบบ พฐ. 21) 3.3 ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานท่ีจัดการศึกษา ภาคบังคับ แล้วแต่กรณี พิจารณาอนุญาตจ�ำหน่ายนักเรียน และแจ้งผลการพิจารณาให้สถานศึกษาทราบ (แบบ พฐ. 28) 3.4 สถานศกึ ษาจำ� หน่ายนักเรียนออกจากทะเบียนนักเรยี น 4. นักเรียนอายพุ น้ เกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบงั คับ 4.1 เมอื่ นกั เรยี นมอี ายพุ น้ เกณฑภ์ าคบงั คบั และผปู้ กครองไมป่ ระสงคจ์ ะใหน้ กั เรยี นอยใู่ นสถานศกึ ษา ตอ่ ไป ใหส้ ถานศกึ ษาพจิ ารณาจำ� หนา่ ยนกั เรยี นออกจากทะเบยี นนกั เรยี น แลว้ รายงานสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ หรือหนว่ ยงานทจี่ ดั การศกึ ษาภาคบงั คบั แล้วแตก่ รณีทราบ (แบบ พฐ. 29) 4.2 เด็กพ้นเกณฑ์ท่ีไม่ประสงค์จะเรียนในสถานศึกษาภาคบังคับสามารถเข้าศึกษาต่อในการศึกษา นอกระบบ (กศน.) 67

1.2.4 เมอื่ จบการศึกษา ก. ออกหลักฐานการจบหลักสูตรให้กับนักเรียน โดยกรณีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) แบบรายงานประจ�ำตัวนักเรียน ประกาศนียบัตร เป็นตน้ ไม่ตอ้ งบันทกึ หมายเหตุใด ๆ ตามข้อ 9 (1) แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าเรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 โดยแตง่ ตงั้ คณะกรรมการเพอื่ แกไ้ ขตรวจสอบขอ้ มลู นกั เรยี นใหถ้ กู ตอ้ ง โดยยดึ ตามทะเบยี นนกั เรยี น ดงั นี้ - ชอ่ื สกลุ - เลขประจำ� ตัวนักเรียน - วนั เดือน ปี เกิด - ช่อื บิดามารดา หรือผู้ปกครอง โดยการด�ำเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บและคำ� ส่ัง ดังตอ่ ไปน้ี (1) ค�ำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 616/2552 เรื่อง การจัดท�ำระเบียนแสดงผลการเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (ปพ.1) (2) ค�ำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. 617/2552 เร่ือง การจัดท�ำประกาศนียบัตรหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (ปพ.2) (3) ค�ำสง่ั กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สพฐ. 618/2552 เรือ่ ง การจดั ทำ� แบบรายงานผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (ปพ.3) (4) แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ข. จ�ำหน่ายนักเรียน แบง่ เป็น 2 กรณี คือ 1. กรณนี กั เรยี นทเ่ี รยี นจบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ในสถานศกึ ษาทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ปดิ สอนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น เม่ือสถานศึกษาได้อนุมัติตัดสินผลการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แล้วให้แจ้งรายชื่อนักเรียนดังกล่าวไปยังสถานศึกษาท่ีเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ในเขตพื้นท่ีบริการ เพ่อื เรียนตอ่ แลว้ จึงด�ำเนนิ การ คือ 1.1 จ�ำหน่ายนักเรียนออกจากทะเบยี นนักเรยี น 1.2 รายงานส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่ จดั การศึกษาภาคบังคบั แล้วแตก่ รณีทราบ (แบบ พฐ.29) 2. กรณีนักเรียนเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 เมื่อสถานศึกษาได้รับอนุมัติตัดสินผลการเรียนที่ เรยี นจบชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ค. รายงานให้ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือต้นสังกัดทราบพร้อมจัดส่ง แบบรายงานผู้ส�ำเร็จ การศึกษา (ปพ.3) 68

2. การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

ความเป็นมา : พ.ร.บ. ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 >> ความเป็นมา การประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ มีหลักการ จัดการศึกษาให้เป็นการศึกษาตลอดชีวิตส�ำหรับประชาชน และให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา และมาตรา 5 เพอ่ื ประโยชนใ์ นการสง่ เสริมและสนบั สนุนการศกึ ษา ให้บคุ คลไดร้ บั การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ซึ่งมาตรา 14 ให้มีส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยข้ึนในส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเรียกโดยย่อว่า “ส�ำนักงาน กศน.” โดยมเี ลขาธกิ าร กศน. ซ่ึงมฐี านะเป็นอธบิ ดีเป็นผบู้ ังคบั บัญชาส�ำนกั งานมีอำ� นาจหนา้ ท่ี ดงั นี้ (1) เปน็ หนว่ ยงานกลางในการดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานงานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั และรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ (2) จัดทำ� ขอ้ เสนอแนะ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัยตอ่ คณะกรรมการ (3) ส่งเสริม สนับสนุน และด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การพัฒนาหลักสูตรและ นวตั กรรมทางการศกึ ษา บคุ ลากร และระบบขอ้ มลู สารสนเทศทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั (4) ส่งเสริม สนับสนุน และด�ำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ รวมถึงการเทยี บระดับการศกึ ษา (5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถ่นิ องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอืน่ รวมตวั กันเป็นภาคี เครือขา่ ย เพื่อเสริมสร้างความเขม็ แข็งในการด�ำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (6) จัดท�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสถานี วิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน และแหลง่ การเรยี นรอู้ น่ื เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งของ ประชาชน (7) ด�ำเนินการเก่ียวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการด�ำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั (8) ปฏบิ ตั งิ านอนื่ ใดพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายอนื่ ทบ่ี ญั ญตั ใิ หเ้ ปน็ อำ� นาจหนา้ ทขี่ องสำ� นกั งาน กศน. หรอื ตามท่ีรัฐมนตรมี อบหมาย 70

และมาตรา 7 การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การศึกษานอกระบบ ใหด้ �ำเนนิ การเพื่อเปา้ หมาย ในเร่อื งดังต่อไปนี้ (1) ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาศักยภาพก�ำลังคนและสังคมท่ีใช้ความรู้ และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนา ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง และคุณภาพชีวิต ทั้งน้ี ตามแนวทางการพฒั นาประเทศ (2) ภาคีเครือขา่ ยเกดิ แรงจูงใจและมคี วามพร้อมในการมสี ว่ นรว่ มเพื่อจัดกิจกรรมการศึกษา พันธกิจ ของส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ส�ำนักงาน กศน.) ดังนี้ 1. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทีม่ ีคณุ ภาพ เพือ่ ยกระดับการศกึ ษา พฒั นาทกั ษะการเรยี นรขู้ องประชาชนทกุ กลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทกุ ชว่ งวยั และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงบรบิ ท ทางสังคม และสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 2. ส่งเสริม สนับสนุนและประสานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน รวมท้ังการด�ำเนินกิจกรรม ของศนู ย์การเรียนรแู้ ละแหล่งเรยี นรู้ในรูปแบบต่าง ๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการน�ำเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใช้ ให้เกิดประสิทธภิ าพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งท่วั ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยี ส่ือและนวัตกรรมการวัดและประเมินผล ในทุกรปู แบบให้สอดคลอ้ งกบั บริบทในปจั จบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพเพื่อมุ่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและการมสี ว่ นร่วม >> นิยามศพั ท์ การศกึ ษานอกระบบ หมายความวา่ กจิ กรรมการศกึ ษาทมี่ กี ลมุ่ เปา้ หมายผรู้ บั บรกิ ารและมวี ตั ถปุ ระสงค์ ของการเรยี นรทู้ ชี่ ดั เจน มรี ปู แบบ หลกั สตู ร วธิ กี ารจดั และระยะเวลาเรยี นหรอื การฝกึ อบรมทยี่ ดื หยนุ่ หลากหลาย ตามสภาพความต้องการ และศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย และมีวิธีการวัดประเมินผลการเรียนรู้ ที่มมี าตรฐาน เพอื่ รบั รองวฒุ ิทางการศกึ ษาหรอื เพ่ือจดั ระดบั ผลการเรียน การศึกษาตามอัธยาศัย หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจ�ำวันของบุคคล ซึ่งสามารถ เลือกท่ีจะเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพ ในการเรยี นร้ขู องแต่ละบุคคล การเทียบโอนผลการเรียน หมายความว่า การน�ำเอาผลการเรียนซ่ึงเปน็ ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของผเู้ รยี นทเ่ี กดิ จากการศกึ ษาทงั้ 3 รปู แบบมาประเมนิ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของผลการเรยี นตามหลกั สตู รใดหลกั สตู รหนง่ึ สถานศึกษา หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในส�ำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 71

ภาคีเครือข่าย หมายความว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืน รวมท้ังสถานศึกษาอื่นท่ีมิได้ สังกัดส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีส่วนร่วมหรือวัตถุประสงค์ ในการดำ� เนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หมายความว่า ผู้ท่ีไม่มีเอกสารหลักฐานที่แสดงถึงสัญชาติ วนั เดือน ปีเกดิ ถนิ่ ท่ีอยู่ ที่ทางราชการออกให้ บุคคลไม่มีสัญชาติไทย หมายความว่า ผู้ที่ไม่มีสูติบัตร และทะเบียนบ้านของบุคคลที่มีสัญชาติไทย (ท.ร.14) หรือทะเบียนประวัติของชนกลุ่มน้อย/ทะเบียนส�ำรวจบัญชีบุคคลในบ้าน/มีบัตรประจ�ำตัวชนกลุ่มน้อย (บัตรส)ี และมีหนังสอื รบั รองการเกดิ ทท่ี างราชการออกให้และเอกสารอนื่ ๆ ซง่ึ ไม่มีสญั ชาตไิ ทย กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั การด�ำเนินงานตามพันธกิจของส�ำนักงาน กศน. จัดในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั มกี ิจกรรม ดงั น้ี กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ มี 3 ประเภท คือ 1) การศึกษานอกระบบขั้นพ้ืนฐาน เป็นการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มี 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2) การศกึ ษาตามหลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช 2557 เปน็ การจดั การศกึ ษาใหก้ บั ผไู้ มร่ หู้ นงั สอื หรอื ประชาชนทีล่ มื หนงั สอื 3) การศกึ ษานอกระบบประเภทการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง เปน็ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สรา้ งอาชพี การพฒั นา คุณภาพชีวติ และการพฒั นาสังคมและชุมชน โดยจัดรูปแบบชนั้ เรยี นวิชาชีพ กลุม่ สนใจและการฝกึ อบรม กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ไดแ้ ก่ 1. ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัด หอ้ งสมดุ ประชาชนอำ� เภอ 2. บ้านหนังสอื ชมุ ชน เป็นที่อ่านหนังสอื ทีต่ งั้ อยใู่ นระดบั หมูบ่ ้าน ตามพืน้ ท่ที ีป่ ระชาชนต้องการ 3. นิทรรศการทางวิทยาศาสตร์ ฐานการเรียนรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ 4. การจดั คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ 5. การจดั รายการวิทยุศึกษา 6. การจัดรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการเรียนท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน เชน่ รายการ Tutor 7. การจัดส่อื Online ทัง้ ตามหลักสตู รและสือ่ ความร้ทู ั่ว ๆ ไป กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มบุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ได้แก่ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มชาวไทยภูเขา กลุ่มคนไร้สัญชาติ กลุ่มคนท่ไี ม่มสี ญั ชาตไิ ทย เป็นต้น 72

>> แนวปฏิบัติในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานบุคคลที่ไม่มีหลักฐาน ทะเบียนราษฎรหรอื ไม่มสี ญั ชาตไิ ทย การจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานสำ� หรบั บคุ คลทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย สำ� นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (สำ� นกั งาน กศน.) ดำ� เนนิ การ โดยแยกตามกล่มุ อายุผ้เู รยี น ดังน้ี 1. กลุ่มผใู้ หญ่ทไ่ี มม่ หี ลักฐานทะเบยี นราษฎรหรือไมม่ ีสัญชาตไิ ทย (แรงงานตา่ งดา้ ว) อายุ 16 ปีข้ึนไป 1.1 ผู้สมัครเรียนต้องผ่านการศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย 200 ช่ัวโมง ได้รับวฒุ บิ ัตร และสามารถนำ� วุฒบิ ัตรมาสมคั รเรยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หรือ 1.2 ผู้สมัครเรียนต้องมีทักษะความรู้พ้ืนฐาน การฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย ผ่านเกณฑ์ การประเมินดว้ ยเคร่อื งมือการประเมินตามทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนด 2. กลมุ่ เดก็ ทไี่ มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย (ลกู หลานแรงงานตา่ งดา้ ว) อายุ 8 - 15 ปี 2.1 ผา่ นการศกึ ษาตามแนวทางการจดั การเรยี นรภู้ าษาไทย เนน้ พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา ผู้เรียนต้องผ่านการประเมินทักษะความรู้พ้ืนฐาน การฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย ผ่านเกณฑ์ การประเมินด้วยเครอื่ งมอื ทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนดสามารถสมคั รเรียนการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานได้ 2.2 ผู้เรียนที่มีความประสงค์เข้าเรียนในสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาและเขตพนื้ ที่ การศึกษามธั ยมศึกษา 2.3 วธิ ีจดั การเรียนรู้ ใชว้ ิธีการรูแ้ บบชน้ั เรยี น สัปดาห์ละไม่น้อยกว่า 4 วัน วนั ละไม่เกิน 6 ชั่วโมง 2.4 ใช้ระยะเวลาเรียน ไม่เกิน 5 ปี แต่ท้ังนี้ต้องไม่จบการศึกษาเร็วกว่าการเรียนในภาคปกติ (อายุครบ 12 ปีบรบิ รู ณ์) ส�ำหรบั ระดับประถมศึกษา จึงจะสามารถจบหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐานได้ แนวปฏิบตั ิในการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 1. การเขา้ เรียนในสถานศกึ ษา 1.1 การประชาสัมพันธ์ สถานศึกษาจัดให้มีการประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูลให้ สาธารณชนไดร้ ับทราบอย่างตอ่ เน่อื งสมำ่� เสมอ โดยใชส้ ่ือตามความเหมาะสม ท้งั ส่ือเอกสาร สอ่ื บุคคลและอน่ื ๆ การประชาสมั พนั ธส์ ามารถด�ำเนนิ การไดต้ ลอดปี 1.2 แนะแนวการศึกษา สถานศึกษาจัดให้มีการแนะแนว เพ่ือเป็นการแนะน�ำ การชี้ช่องทาง ให้ผู้ไม่รู้ ไม่แน่ใจ ได้รับรู้ เข้าใจและม่ันใจที่จะด�ำเนินการแนะแนวการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน และการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเจ้าหน้าที่แนะแนวต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ที่ท�ำหน้าที่ จดั การศกึ ษานอกระบบทกุ คน ไดแ้ ก่ ครู กศน. ตำ� บล ครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน ครปู ระจำ� กลมุ่ ครอู าสาสมคั ร กศน. โดยมขี ้นั ตอนการแนะแนวทถ่ี กู ตอ้ งเป็นระบบ 73

1.3 การขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา ผู้ท่ีประสงค์จะสมัครเป็นผู้เรียนต้องข้ึนทะเบียนเป็นผู้เรียน โดยสถานศึกษามีหน้าท่ีเปิดรับข้ึนทะเบียนเป็นผู้เรียนทุกภาคเรียน ซึ่งหลักฐานการสมัครเรียน (ตามระเบียบ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 และหนงั สอื ที่ ศธ 0210.03/6217 เรอ่ื ง การรบั สมคั รและออกหลกั ฐานการศกึ ษาของผไู้ มม่ สี ญั ชาตไิ ทย ลงวนั ท่ี 6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2549) ประกอบดว้ ย 1.3.1 ใบสมัคร 1.3.2 รปู ถ่าย 1 น้ิว 2 รูป หนา้ ตรง ไม่สวมแวน่ ตาด�ำ ไม่สวมหมวก และสวมเสอื้ สขี าวมปี ก 1.3.3 ทะเบยี นบ้าน พรอ้ มตวั จริง (ถา้ มี) 1.3.4 สำ� เนาหนงั สอื แสดงวฒุ ิ พรอ้ มฉบบั จรงิ หรอื หลกั ฐานอนื่ ทก่ี ำ� หนดไวใ้ นระเบยี บกระทรวง ศึกษาธกิ าร ว่าดว้ ยการรบั นักเรียน นักศกึ ษาเขา้ เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ.2548 ขอ้ 6 ได้แก่ 1. สตู ิบตั ร 2. กรณที ่ีไม่มีหลักฐานตามขอ้ 1 ให้เรยี กหนงั สือรบั รองการเกดิ บัตรประจ�ำตวั ประชาชน ส�ำเนาทะเบยี นบ้านฉบบั เจ้าบ้าน หรือหลกั ฐานทท่ี างราชการจดั ทำ� ข้ึนในลักษณะเดยี วกัน 3. กรณีที่ไม่มีหลักฐานตามข้อ 1 และ 2 ให้เรียกหลักฐานท่ีทางราชการออกให้ หรือเอกสารตามท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารก�ำหนดใหใ้ ช้ได้ 4. กรณที ไี่ มม่ หี ลกั ฐานตามขอ้ 1, 2 และ 3 ใหบ้ ดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื องคก์ รเอกชน ท�ำบนั ทกึ แจง้ ประวัติบุคคลเป็นหลกั ฐานท่ีจะน�ำมาลงหลักฐานทางการศึกษา 5. กรณีที่ไม่มีบุคคลหรือองค์กรเอกชนตามข้อ 4 ให้ซักถามประวัติบุคคลผู้มาสมัคร เรยี น หรอื ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ นำ� มาลงรายการบนั ทกึ แจง้ ประวตั บิ คุ คลเปน็ หลกั ฐานทจ่ี ะมาลงหลกั ฐานทางการศกึ ษา 1.4 การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียนควรให้ผู้เรียนมาลงทะเบียนด้วยตนเอง เพื่อไม่ให้ ผิดพลาดในการลงทะเบียนเรียน จะส่งผลต่อการจบหลักสูตรของผู้เรียนในโอกาสต่อไป ซึ่งจ�ำนวนรายวิชา ทล่ี งทะเบียนในแตล่ ะระดับ ดงั นี้ 1.4.1 ระดับประถมศึกษา ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 14 หน่วยกิต รวมทั้งการลงทะเบียนรายวชิ าท่ีได้ผลการเรยี นเปน็ 0 แตไ่ ม่นบั รายวิชาที่นำ� มาเทียบโอนผลการเรียน 1.4.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 17 หนว่ ยกิต รวมท้ังการลงทะเบียนรายวชิ าท่ีได้ผลการเรียนเปน็ 0 แต่ไม่นับรายวิชาที่น�ำมาเทียบโอนผลการเรียน 1.4.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ภาคเรียนละไม่เกิน 23 หน่วยกิต รวมท้ังการลงทะเบียนรายวิชาที่ได้ผลการเรียนเป็น 0 แต่ไม่นับรายวิชาที่น�ำมาเทียบโอน ผลการเรียน 1.5 การทำ� กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งทะเบยี นกจิ กรรมพฒั นา คุณภาพชีวิต จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมง โดยเขียนโครงการ/กิจกรรมเสนอสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และอนมุ ัติโครงการเพ่ือดำ� เนินการตอ่ ไป 74

1.6 การลงทะเบียนเทียบโอนการศึกษา (การเทียบโอนผลการเรียน) พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ก�ำหนดรูปแบบการศึกษาไว้ 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซึ่งผูเ้ รียนสามารถนำ� ผลการเรยี นมาเทียบโอนรปู แบบใดรปู แบบหน่ึงได้ 1.6.1 ขอบขา่ ยการเทยี บโอนผลการเรยี น 1. การเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ 2. การเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศึกษานอกระบบทจี่ ัดเปน็ หลกั สตู รเฉพาะ 3. การเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักสูตรตา่ งประเทศ 4. การเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ เชน่ ทหารกองประจำ� การ อาสาสมัครสาธารณสขุ ผนู้ �ำทอ้ งถน่ิ เปน็ ต้น 5. การเทียบโอนผลการเรียนจากการเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาอาชีพ 1.6.2 วิธีการเทียบโอนผลการเรยี น 1. การเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศึกษาในระบบและนอกระบบ 2. การเทียบความรู้และประสบการณ์ ทั้งนี้ ให้ด�ำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ตามแนวทางทสี่ ำ� นักงาน กศน. กำ� หนด 1.7 การลงทะเบียนรักษาสถานภาพ กรณีที่ผู้เรียนไม่สามารถลงทะเบียนในภาคเรียนใดจะต้อง ลงทะเบยี นรกั ษาสถานภาพการเปน็ นกั ศกึ ษาในภาคเรยี นนน้ั หากไมส่ ามารถลงทะเบยี นรกั ษาสถานภาพการเปน็ นักศึกษาในภาคเรียนใดได้ จะต้องลงทะเบียนรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษาย้อนหลังทุกภาคเรียนติดต่อกัน ไดไ้ มเ่ กิน 6 ภาคเรยี น 2. ระหวา่ งนกั ศกึ ษาอย่ใู นสถานศึกษา ยึดหลักความเสมอภาค ค�ำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคล เพ่ือเอ้ือประโยชน์ต่อผู้เรียน จัดให้มีระบบดูแล ช่วยเหลือผูเ้ รยี นให้ครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน อาท ิ 1. ใหบ้ ริการคำ� ปรกึ ษา ค�ำแนะนำ� 2. จัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการสอดคล้องกบั สภาพและวิถชี ีวิตของผเู้ รียน 3. จดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นส�ำคัญทั้งด้านวชิ าการและด้านทักษะชวี ติ 4. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของผู้เรียน 5. จดั กิจกรรมร่วมกับสถานศกึ ษา เครอื ขา่ ย หรือหน่วยงานอืน่ ๆ 6. จดั กิจกรรมโดยนักศึกษาเอง ทั้งแบบรายบุคคลและแบบกลมุ่ 7. มกี ารฝึกอบรมวชิ าชพี (หลกั สตู รระยะส้ัน) 8. อ่นื ๆ 75

3. การย้ายสถานศึกษาของนักศกึ ษา การย้ายสถานศกึ ษาสามารถท�ำได้ 2 ลักษณะ คอื 1. การยา้ ยสถานศกึ ษาโดยการลาออก ปฏิบัตดิ ังนี้ 1.1 ผู้เรียนยื่นใบค�ำร้องขอลาออกจากสถานศึกษา พร้อมรูปถ่ายขนาด 4 x 5 ซม. 2 รูป ตดิ ต่อสถานศกึ ษาดว้ ยตนเอง กรณมี าดว้ ยตนเองไมไ่ ด้ทำ� หนังสือมอบอำ� นาจใหผ้ อู้ ืน่ ดำ� เนนิ การแทนได้ 1.2 สถานศึกษาตรวจเอกสาร หลักฐานผลการเรียนให้ถูกต้อง และออกหลักฐานผลการเรียน ใหผ้ ้เู รียน 1.3 ให้สถานศกึ ษาระบุเหตุผลที่ลาออกในหลกั ฐานการศึกษา “ลาออกเพอื่ ไปศกึ ษาตอ่ ท่ีอ่ืน” 2. การย้ายสถานศกึ ษาระหว่างภาคเรียน ผู้เรยี นมคี วามจำ� เป็นสามารถด�ำเนินการย้ายสถานศกึ ษา ทเ่ี รยี นจากท่เี ดิมระหว่างภาคเรยี นและยังคงสถานภาพการเป็นผู้เรียนของสถานศกึ ษาเดมิ ปฏบิ ตั ิดงั นี้ 2.1 ผู้เรียนย่ืนใบค�ำรอ้ งต่อสถานศึกษาเดมิ เพื่อขอยา้ ยสถานท่เี รียน 2.2 สถานศกึ ษาเดมิ พจิ ารณาแลว้ เหน็ สมควรใหย้ า้ ยได้ โดยทำ� หนงั สอื สง่ ตวั ผเู้ รยี นพรอ้ มเอกสาร สรุปผลการประเมินระหว่างภาคเรียน และกิจกรรม กพช. รวมทั้งผลการเรียนอื่นๆ ในภาคเรียนน้ันไปยัง สถานศกึ ษาแห่งใหมต่ ามแบบทสี่ ำ� นักงาน กศน. ก�ำหนด 2.3 สถานศกึ ษาแหง่ ใหม่รบั ตวั ผเู้ รียนไว้ และแจ้งผลการรบั ผเู้ รยี นให้สถานศกึ ษาเดมิ ทราบ 2.4 สถานศึกษาแหง่ ใหมจ่ ัดให้ผู้เรยี นได้รบั การศึกษาตอ่ เนอ่ื งจากสถานศึกษาเดิม 2.5 ส่งผลการเรียนกลับมาที่สถานศึกษาเดมิ เมือ่ ส้นิ สุดภาคเรียนนนั้ 2.6 สถานศึกษาเดิมได้รับผลการเรียนแล้วจัดเก็บเอกสารหลักฐานและบันทึกผลการเรียน ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน อน่ึง ในกรณีที่มีความจ�ำเป็นเร่งด่วน เช่น ย้ายไปปฏิบัติงาน กลับภูมิล�ำเนา สามารถขอย้าย สถานท่ีเรียนช่ัวคราวได้ 1 ภาคเรียน หากเกิน 1 ภาคเรียนสถานศึกษาควรแนะน�ำให้ผู้เรียนใช้วิธีการลาออก จากสถานศกึ ษาเดิมไปเปน็ ผ้เู รียนของสถานศึกษาแหง่ ใหม่และศกึ ษาต่อเนอ่ื งจนจบหลกั สูตร 4. การบนั ทกึ หลกั ฐานทางการศึกษาของนักศกึ ษา ปฏิบัติดังน้ี 4.1 การบันทึกหลักฐานทางการศึกษาของผู้เรียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยหลกั ฐานในการรับนกั เรยี น นักศึกษาเขา้ เรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ข้อ 9 (1) และ (2) ดังนี้ (1) ในกรณีที่เป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นกั ศกึ ษา ใบสง่ ตัว ประกาศนียบัตร เป็นตน้ ไม่ต้องบันทกึ หมายเหตุใด ๆ (2) ในกรณีท่ีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นหลักฐานรวมท่ีใช้บันทึกข้อมูลของนักเรียน นักศึกษาทัง้ ช้นั เรยี นหรือจ�ำนวนมากกว่าหนง่ึ คน เช่น ทะเบยี นนักเรียน นักศกึ ษา สมุดประจำ� ช้นั บญั ชเี รยี กช่อื เป็นต้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับหมายบันทึกไว้เฉพาะในสมุดทะเบียนนักเรียนนักศึกษา โดยบันทึก ลงในชอ่ งหมายเหตพุ รอ้ มลงนามกำ� กับขอ้ ความว่า “ไมม่ หี ลกั ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร” 76

4.2 ด�ำเนินการเพิม่ เติมหรือแก้วนั เดอื น ปเี กดิ กรณีที่มีเอกสารหลักฐานใหม่มาแสดงตามข้อ 5 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การแก้วนั เดอื น ปีเกิดนักเรียน พ.ศ. 2547 มแี นวปฏิบตั ิ ดงั นี้ กรณีแกว้ ัน เดือน ปเี กดิ ของนักเรยี นผิดพลาด ไม่ตรงกับความเปน็ จรงิ ด้วยเหตุที่ 1. เจ้าหน้าท่ีของสถานศึกษาเขียนผิดพลาดหรือเขียนตกให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้แก้ ให้ถูกต้องตามความเป็นจริงในหลักฐาน และการแก้ไขตกเติมให้ขีดฆ่าด้วยเส้นหมึกสีแดงโดยประณีตแล้วเขียน เตมิ ลงใหม่ดว้ ยเสน้ หมึกสีแดง โดยลงนามผูแ้ ก้และวัน เดือน ปี ยอ่ กำ� กบั ไวด้ ว้ ยทกุ แหง่ 2. ในกรณีท่ีวัน เดือน ปีเกิดของนักเรียนและนักศึกษาผิดพลาดและมีผู้ร้องขอให้แก้ ผู้ร้องขอจะต้องส่งค�ำร้องตามแบบท้ายระเบียบ ฯ และเอกสารหลักฐานมาแสดงต่อสถานศึกษาเพื่อประกอบ การพิจารณาวินจิ ฉัย วัน เดอื น ปีเกดิ ตามลำ� ดบั ความส�ำคญั ดงั นี้ คอื (ก) สตู ิบัตรหรือทะเบยี นคนเกดิ (ข) ถ้าหากเอกสารหลักฐานตามข้อ (ก) สูญหายหรือถูกท�ำลายก็ให้ส่งเอกสารอ่ืน ๆ ที่หน่วยราชการออกให้ เช่น ส�ำเนาทะเบยี นบา้ น ทะเบยี นทหาร ทะเบียนคนต่างดา้ ว บตั รประจ�ำตัวประชาชน (ค) ในกรณีที่ปรากฏว่าเอกสารหลักฐานตามข้อ (ข) ท่ีหน่วยราชการออกให้นั้น วัน เดือน ปีเกิด ไม่ตรงกัน ให้ยึดเอกสารของกรมการปกครองเป็นหลักและให้พิจารณาข้อเท็จจริงเป็น ราย ๆ ไป 3. เมื่อทางสถานศึกษาได้พิจารณาวินิจฉัยเอกสารตามข้อ 5 (2) (ก) หรือข้อ 5 (2) (ข) หรือได้ท�ำการสอบสวนตามข้อ 5 (2) (ค) แล้ว ถ้าปรากฏชัดแจ้งว่า วัน เดือน ปีเกิดผิดพลาด ไม่ตรงกับ หลักฐานความเป็นจริง ให้ท�ำรายงานส่งค�ำร้องขอแก้วัน เดือน ปีเกิด พร้อมด้วยเอกสารดังกล่าวข้างต้น และส�ำเนาการสอบสวน (ถ้ามี) ไปตามระเบียบราชการเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหน่ึงเป็นผู้พิจารณา ให้ความเหน็ ชอบแกไ้ ขเป็นราย ๆ ไป (หมายเหตุ : กรณเี พม่ิ เตมิ วนั เดอื น ปเี กดิ ของนกั เรยี น ใหน้ �ำเอาการด�ำเนนิ การตามขอ้ 2 มาใชโ้ ดยอนโุ ลม) 5. การรายงานข้อมูลผู้เรยี น สถานศึกษาตอ้ งรายงานขอ้ มลู ผู้เรยี นใหต้ ้นสงั กัดทราบตามลำ� ดบั ดงั นี้ 5.1 รายงานผลู้ งทะเบยี นเรยี นแตล่ ะภาคเรยี น ไปยงั สำ� นกั งาน กศน. เพอื่ ขอรบั เงนิ อดุ หนนุ รายหวั ภายในระยะเวลาที่ส�ำนักงาน กศน.กำ� หนด 5.2 รายงานผู้จบหลักสูตรในแต่ละภาคเรียนให้ด�ำเนินการหลังจากการอนุมัติผลการจบหลักสูตร ภายใน 30 วัน และควรจัดท�ำส�ำเนาไฟล์ข้อมูลส่งให้ส�ำนักงาน กศน. จังหวัด/กทม.เพ่ือเก็บไว้เป็นข้อมูล อีกทางหนง่ึ 5.3 รายงานขอ้ มูลสารสนเทศที่เก่ยี วขอ้ งกับการจดั การศึกษา 77

6. เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 6.1 เกณฑก์ ารจบหลกั สตู รแตล่ ะระดับการศึกษา มดี ังน้ี 6.1.1 ผ่านเกณฑ์การประเมินการเรียนรู้รายวิชาในแต่ละระดับการศึกษา ตามโครงสร้าง หลักสูตร คอื 1) ระดับประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 36 หน่วยกิต และวิชาเลือกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 40 หน่วยกติ และวชิ าเลอื กไม่น้อยกวา่ 16 หน่วยกติ 3) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคับ 44 หน่วยกิต และวิชาเลือกไมน่ ้อยกว่า 32 หนว่ ยกิต 6.1.2 ผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมง 6.1.3 ผ่านการประเมนิ คุณธรรม ในระดับพอใช้ขึน้ ไป 6.1.4 เขา้ รับการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ 7. หลักฐานการขอจบหลักสตู ร 7.1 เมอ่ื ผเู้ รยี นผา่ นระดบั การศกึ ษาและจบหลกั สตู รแตล่ ะระดบั แลว้ ตอ้ งยนื่ คำ� รอ้ งขอจบการศกึ ษา พรอ้ มหลักฐาน ดงั น้ี 7.1.1 ใบค�ำรอ้ งขอจบหลักสูตร 7.1.2 รูปถ่าย 4 x 5 เซนติเมตร จ�ำนวน 2 รูป สวมเส้ือเชิ้ตสีขาว ไม่สวมหมวก ไม่สวม แวน่ ตาดำ� ถ่ายไวไ้ ม่เกิน 6 เดือน ไมเ่ ปน็ รปู ประเภทโพลาลอยด์ 7.1.3 ส�ำเนาทะเบียนบ้าน (ถ้าม)ี 7.1.4 สำ� เนาหนงั สอื สำ� คัญแสดงวุฒิเดิมก่อนเขา้ เรยี น 7.1.5 ส�ำเนาเอกสารที่เก่ียวข้อง เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ - เปล่ียนสกุล ใบทะเบียนสมรส อ่ืน ๆ (ถา้ ม)ี 7.2 เอกสารหลักฐานการศึกษาทนี่ กั ศึกษาจะได้รับ 7.2.1 ระเบยี นแสดงผลการเรียน (กศน. 1) 7.2.2 หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตร (กรณเี ปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล เชน่ สมดุ ประจำ� ตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ใบสง่ ตวั ประกาศนยี บตั ร เป็นต้น ไม่ต้องบันทึกหมายเหตุใดๆ ตามข้อ 9 (1) แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยหลักฐาน ในการรบั นักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548) 78

3. การอาชวี ศกึ ษา

ให้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติในการรับนักศึกษาตามระเบียบและข้อบังคับของสถาบันอาชีวศึกษาน้ัน ๆ ในการจัดการการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย และให้ปฏิบัติตาม ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยหลักฐานในการรบั นกั เรียน นกั ศกึ ษาเข้าเรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 สถาบันการอาชีวศึกษาเป็นสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาโดยมีหลักสูตรตามมาตรา 9 แห่ง พระราชบญั ญตั กิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551 ดงั น้ี คอื (1) ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (2) ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (3) ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร โดยคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาอาจกำ� หนดหลกั สตู รทจี่ ดั ขนึ้ เพื่อความรู้หรือทักษะในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ ซึ่งจัดขึ้นเป็นโครงการหรือส�ำหรับกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะได้ พระราชบญั ญัตกิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551 “การอาชีวศึกษา” หมายความว่า กระบวนการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนาก�ำลังคนในด้านวิชาชีพ ระดบั ฝมี ือ ระดับเทคนิค และระดบั เทคโนโลยี ฯลฯ มาตรา 8 การจัดการอาชีวศกึ ษาและการอบรมวชิ าชพี ใหจ้ ดั ได้ โดยรูปแบบ ดังตอ่ ไปน้ี (1) การศึกษาในระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเน้นการศึกษาในสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรอื สถาบนั เปน็ หลกั โดยมกี ารกำ� หนดจดุ มงุ่ หมาย วธิ กี ารศกึ ษา หลกั สตู ร ระยะเวลา การวดั และการประเมนิ ผล ทเ่ี ป็นเงือ่ นไขของการสำ� เร็จการศึกษาท่ีแนน่ อน (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีมีความยืดหยุ่นในการก�ำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลที่เป็นเงื่อนไขของการส�ำเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล แต่ละกล่มุ (3) การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องการจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผูเ้ รยี นใช้เวลาสว่ นหนงึ่ ในสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรอื สถาบนั และเรยี นภาคปฏบิ ัตใิ นสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกิจหรือหนว่ ยงานของรฐั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการผลติ และพฒั นากำ� ลงั คน สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบนั สามารถจดั การศกึ ษา ตามวรรคหนึ่งในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันนั้น ต้องมุ่งเน้นการจัดการ ศกึ ษาระบบทวภิ าคีเปน็ สำ� คญั แนวทางปฏิบัติในการจัดการการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย แบ่งเปน็ 4 ข้ันตอน คือ 3.1 วิธีการรบั นกั ศกึ ษาเข้าเรยี นในสถานศกึ ษา 3.2 ระหวา่ งนกั ศึกษาเรียนอยู่ในสถานศกึ ษา การย้ายทีเ่ รียนระหว่างปี เม่ือจบการศกึ ษา 3.3 ตรวจสอบหลักฐานตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการว่าด้วยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น 3.4 นกั ศกึ ษาเข้าเรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 80

3.1 วิธีการรับนักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา ตรวจสอบหลักฐานตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษา เขา้ เรียนสถานศึกษา พ.ศ. 2548 1. สูตบิ ัตร 2. กรณไี มม่ หี ลกั ฐานตามขอ้ 1 ใหเ้ รยี กหนงั สอื รบั รองการเกดิ บตั รประจำ� ตวั ประชาชน สำ� เนาทะเบยี น บ้านฉบับเจ้าบา้ น หรอื หลักฐานทท่ี างราชการจดั ทำ� ข้ึนในลกั ษณะเดียวกัน 3. กรณีที่ไม่มีหลักฐานตามข้อ 1 และ 2 ให้เรียกหลักฐานท่ีทางราชการออกให้ หรือเอกสาร ตามทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการก�ำหนดใหใ้ ช้ได้ 4. กรณที ไี่ มม่ หี ลกั ฐานตามขอ้ 1, 2 และ 3 ใหบ้ ดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื องคก์ รเอกชน ทำ� บนั ทกึ แจง้ ประวัติบคุ คลเป็นหลักฐานทีจ่ ะน�ำมาลงหลักฐานทางการศกึ ษา 5. กรณที ไี่ มม่ บี คุ คลหรอื องคก์ รเอกชนตามขอ้ 4 ใหซ้ กั ถามประวตั บิ คุ คลผมู้ าสมคั รเรยี นหรอื ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ น�ำมาลงรายการบันทึกแจ้งประวัติบคุ คลเปน็ หลกั ฐานทีจ่ ะนำ� มาลงหลกั ฐานทางการศึกษา หมายเหตุ : กรณที นี่ กั ศกึ ษายงั ศกึ ษาอยใู่ นสถานศกึ ษา และปรากฏวา่ มหี ลกั ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร มาแสดงภายหลงั ใหส้ ถานศกึ ษาแกไ้ ขหลกั ฐานทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ฐานดงั กลา่ ว โดยถอื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ กระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการนน้ั โดยให้น�ำเอาแนวปฏิบตั ขิ องการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมาใชโ้ ดยอนโุ ลม 81

3.2 ระหว่างนักศึกษาเรียนอยู่ในสถานศึกษา ระหว่างที่นกั ศกึ ษาผูท้ ีไ่ มม่ หี ลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไมม่ ีสัญชาตไิ ทยศกึ ษาอยู่ให้สถานศกึ ษาปฏิบัติ ดงั น้ี ก. ลงหลักฐานทางการศึกษาของนกั ศึกษา ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ขอ้ 9 (1) และ (2) ดังนี้ (1) ในกรณีท่ีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศึกษา ใบส่งตวั ประกาศนียบตั ร เป็นตน้ ไม่ต้องบนั ทึกหมายเหตุใด ๆ (2) ในกรณีท่ีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นหลักฐานรวมท่ีใช้บันทึกข้อมูลของนักเรียน นักศึกษา ทั้งชั้นเรียนหรือจ�ำนวนมากกว่าหน่ึงคน เช่น ทะเบียนนักเรียน นักศึกษา สมุดประจ�ำชั้น บัญชีเรียกชื่อ เป็นต้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายบันทึกไว้เฉพาะในสมุดทะเบียนนักเรียน นักศึกษาโดยบันทึก ลงในช่องหมายเหตุพร้อมลงนามก�ำกับข้อความวา่ “ไม่มหี ลกั ฐานตามกฎหมายว่าดว้ ยการทะเบียนราษฎร” ข. ด�ำเนินการเพมิ่ เตมิ หรอื แก้วัน เดอื น ปีเกิด กรณีท่ีมีเอกสารหลักฐานใหม่มาแสดงตามข้อ 5 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการแก้ วัน เดอื น ปีเกดิ นกั เรยี น พ.ศ. 2547 มแี นวปฏิบตั ิ ดงั นี้ กรณีแกว้ นั เดือน ปีเกิดของนักเรียนผิดพลาด ไมต่ รงกบั ความเปน็ จริงดว้ ยเหตุที่ 1. เจา้ หนา้ ทขี่ องสถานศกึ ษาเขยี นผดิ พลาดหรอื เขยี นตกใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาเปน็ ผแู้ กใ้ หถ้ กู ตอ้ ง ตามความเปน็ จรงิ ในหลกั ฐาน และการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ใหข้ ดี ฆา่ ดว้ ยเสน้ หมกึ สแี ดงโดยประณตี แลว้ เขยี นเตมิ ลงใหม่ ดว้ ยเส้นหมึกสีแดง โดยลงนามผู้แก้และวัน เดือน ปยี อ่ ก�ำกับไว้ด้วยทกุ แหง่ 2. ในกรณีท่ีวัน เดือน ปีเกิดของนักเรียนและนักศึกษาผิดพลาดและมีผู้ร้องขอให้แก้ ผู้ร้องขอ จะตอ้ งสง่ คำ� รอ้ งตามแบบทา้ ยระเบยี บน้ี และเอกสารหลกั ฐานมาแสดงตอ่ สถานศกึ ษา เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา วนิ ิจฉยั วนั เดอื น ปเี กิดตามลำ� ดบั ความส�ำคญั ดังน้ี คอื (ก) สตู ิบัตรหรือทะเบียนคนเกิด (ข) ถา้ หากเอกสารหลกั ฐานตามขอ้ (ก) สญู หายหรอื ถกู ทำ� ลายกใ็ หส้ ง่ เอกสารอนื่ ๆ ทหี่ นว่ ยราชการ ออกให้ เช่น สำ� เนาทะเบยี นบา้ น ทะเบียนทหาร ทะเบยี นคนต่างด้าว บัตรประจ�ำตัวประชาชน (ค) ในกรณีท่ีปรากฏว่าเอกสารหลักฐานตามข้อ (ข) ท่ีหน่วยราชการออกให้น้ัน วัน เดือน ปี เกดิ ไม่ตรงกนั ให้พจิ ารณาข้อเท็จจรงิ เป็นราย ๆ ไป 3. เมอื่ ทางสถานศกึ ษาไดพ้ จิ ารณาวนิ จิ ฉยั เอกสารตามขอ้ 2 (ก) หรอื 2 (ข) หรอื ไดท้ ำ� การสอบสวน ตามขอ้ (ค) แลว้ ถา้ ปรากฏชดั แจง้ ว่า วัน เดือน ปีเกดิ ผดิ พลาด ไม่ตรงกับหลักฐานความเป็นจรงิ ให้ท�ำรายงาน สง่ คำ� รอ้ งขอแกว้ นั เดอื น ปเี กดิ พรอ้ มดว้ ยเอกสารดงั กลา่ วขา้ งตน้ และสำ� เนาการสอบสวน (ถา้ ม)ี ไปตามระเบยี บ ราชการเพอื่ ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึน้ ไปช้ันหน่ึงเป็นผูพ้ ิจารณาให้ความเห็นชอบแกไ้ ข เปน็ ราย ๆ ไป (หมายเหต:ุ กรณเี พมิ่ เตมิ วนั เดอื น ปเี กิดของนักเรียน ใหน้ �ำเอาการด�ำเนินการตามข้อ 2 มาใช้โดยอนุโลม) 82

3.3 การย้ายท่ีเรียนระหว่างปี ก. สถานศกึ ษาจะตอ้ งอ�ำนวยความสะดวกใหก้ บั นกั ศกึ ษาทมี่ คี วามประสงคข์ อยา้ ยทเ่ี รยี น มขี นั้ ตอน การปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. นักศึกษาที่มีความประสงค์ขอย้ายท่ีเรียน จะต้องติดต่องานทะเบียนของสถานศึกษาขอรับ ผลการเรียนเพอื่ นำ� ไปตดิ ตอ่ ขอเขา้ รบั กับสถานศกึ ษาแห่งใหม่ 2. สถานศกึ ษาแหง่ ใหมต่ อบรบั การเขา้ เรยี นใหน้ กั ศกึ ษายน่ื คำ� รอ้ งขอลาออก พรอ้ มทง้ั ขอใบรบั รอง ผลการเรยี นของสถานศึกษา (กรณเี ปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล เชน่ สมดุ ประจำ� ตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ใบสง่ ตวั ประกาศนยี บตั ร เปน็ ต้น ไม่ตอ้ งบันทึกหมายเหตใุ ด ๆ ตามข้อ 9 (1) แหง่ ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ย หลักฐานในการรับ นักเรียน นกั ศึกษาเข้าเรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548) 83

3.4 เม่อื จบการศกึ ษา ด�ำเนินการออกหลักฐานทางการศึกษาให้นักศึกษาท่ีจบการศึกษาตามหลักสูตรเช่นเดียวกับนักศึกษา ผู้มีสัญชาติไทยตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยใบสุทธิของสถานศึกษาและหนังสือรับรองความรู้ของ สถานศึกษา พ.ศ. 2547 และระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยการออกประกาศนยี บตั ร พ.ศ. 2539 กรณีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศึกษาใบส่งตัว ประกาศนียบัตร เป็นต้น ไม่ต้องบันทึกหมายเหตุใด ๆ ตามข้อ 9 (1) แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย หลกั ฐานในการรับนักเรยี น นกั ศกึ ษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 84

4. การอุดมศกึ ษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แบ่งการศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต�่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา ซ่ึงแนวทางปฏิบัติในการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีสถานะ ทางทะเบียนราษฎรหรอื ไม่มสี ัญชาตไิ ทยในระดับอดุ มศกึ ษาแบ่งเป็น 4 ขน้ั ตอน คือ 3.1 วธิ กี ารรับนกั ศกึ ษา เขา้ เรียนในสถานศกึ ษา 3.2 ระหวา่ งนักศกึ ษาเรียนอยใู่ นสถานศึกษา 3.3 การยา้ ยทเ่ี รยี นระหว่างปี 3.4 เมือ่ จบการศึกษา 4.1 วิธกี ารรับนกั ศึกษา เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา ด�ำเนินการรับนักศึกษาตามระเบียบและข้อบังคับของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งทั้งการจัดการศึกษา ระดับอนุปรญิ ญาและปริญญาตรีเท่าท่ไี มข่ ัดกบั แนวปฏบิ ัติ ดงั ตอ่ ไปน้ี ก. คุณสมบัติของนักศกึ ษาแรกเข้าในระบบกลาง 1. ด�ำเนินการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าเรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ซึง่ หลักฐานต่าง ๆ ใหด้ �ำเนินการตามข้อ 6 แหง่ ระเบยี บ ฯ ดงั น้ี 1.1 สูตบิ ัตร 1.2 กรณีท่ีไม่มีหลักฐานตามข้อ 1.1 ให้เรียกหนังสือรับรองการเกิด บัตรประจ�ำตัวประชาชน ส�ำเนาทะเบียนบ้านฉบบั เจา้ บา้ น หรอื หลกั ฐานท่ีทางราชการจดั ท�ำข้นึ ในลักษณะเดยี วกนั 1.3 กรณที ไี่ มม่ หี ลกั ฐานตามขอ้ 1.1 และ 1.2 ใหเ้ รยี กหลกั ฐานทที่ างราชการออกให้ หรอื เอกสาร ตามทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการก�ำหนดใหใ้ ชไ้ ด้ 1.4 กรณที ไ่ี มม่ หี ลกั ฐานตามขอ้ 1.1, 1.2 และ 1.3 ใหบ้ ดิ ามารดา ผปู้ กครอง หรอื องคก์ รเอกชน ทำ� บนั ทกึ แจ้งประวตั บิ ุคคลเปน็ หลักฐานทีจ่ ะน�ำมาลงหลกั ฐานทางการศึกษา 1.5 กรณีที่ไม่มีบุคคลหรือองค์กรเอกชนตามข้อ 1.4 ให้ซักถามประวัติบุคคลผู้มาสมัครเรียน หรอื ผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนำ� มาลงรายการบนั ทกึ แจง้ ประวัตบิ คุ คลเปน็ หลักฐานทจ่ี ะน�ำมาลงหลกั ฐานทางการศึกษา หมายเหตุ : กรณีท่ีนักศึกษายังศึกษาอยู่ในสถานศึกษา และปรากฏว่ามีหลักฐานตามกฎหมายว่าด้วย การทะเบียนราษฎรมาแสดงภายหลังให้สถานศึกษาแก้ไขหลักฐานทางการศึกษาให้เป็นไปตามหลักฐานดังกล่าว โดยถอื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการว่าดว้ ยการนน้ั โดยให้นำ� เอาแนวปฏิบตั ขิ องการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มาใช้โดยอนโุ ลม 86

2. สำ� เรจ็ ขนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ ซึ่งกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรบั รอง หรอื 3. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญา หรอื เทยี บเทา่ หรอื ระดบั ปรญิ ญาตรี หรอื เทยี บเทา่ จากสถาบนั การศึกษาท่ีสภามหาวิทยาลยั รับรอง 4. เป็นผู้ท่มี รี ่างกายแข็งแรงและไม่เปน็ โรคตดิ ต่อรา้ ยแรงท่สี งั คมรังเกยี จ อันเปน็ อุปสรรคตอ่ การศึกษา 5. ไม่เปน็ คนวิกลจรติ คนไรค้ วามสามารถ หรือคนเสมือนไรค้ วามสามารถ 6. ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี ปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามและเคารพ กฎหมาย 7. มีคุณสมบตั ใิ นด้านความรู้ ความสามารถตามข้อกำ� หนดเฉพาะของแต่ละสาขาวิชา ข. การเขา้ เป็นนกั ศึกษา การสอบคัดเลือกหรือคัดเลือกผู้ส�ำเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าเข้าเป็น นักศึกษาน้ันให้ด�ำเนินการตามประกาศของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งและส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาเท่าที่ไม่ขัดกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ค. การขึ้นทะเบียนเปน็ นกั ศึกษา ให้ด�ำเนินการตามประกาศของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งและส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 87

4.2 ระหวา่ งนกั ศกึ ษาเรยี นอยใู่ นสถานศกึ ษา ระหวา่ งทนี่ กั ศกึ ษาผทู้ ไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยศกึ ษาอยใู่ หส้ ถานศกึ ษาปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ก. ลงหลักฐานทางการศกึ ษาของนกั ศึกษา ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี น ใน สถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ขอ้ 9 (1) และ (2) ดงั นี้ (1) ในกรณีที่เป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศึกษา ใบส่งตัว ประกาศนียบตั ร เปน็ ตน้ ไม่ตอ้ งบันทึกหมายเหตุใด ๆ (2) ในกรณที เี่ ป็นหลกั ฐานทางการศึกษาเปน็ หลกั ฐานรวมที่ใช้บนั ทกึ ขอ้ มูลของนักเรียน นักศึกษา ท้ังชั้นเรียนหรือจ�ำนวนมากกว่าหนึ่งคน เช่น ทะเบียนนักเรียน นักศึกษา สมุดประจ�ำช้ัน บัญชีเรียกช่ือ เป็นต้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายบันทึกไว้เฉพาะในสมุดทะเบียนนักเรียน นักศึกษาโดยบันทึก ลงในชอ่ งหมายเหตุพร้อมลงนามกำ� กับข้อความว่า “ไมม่ หี ลักฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร” ข. ด�ำเนนิ การเพ่ิมเติมหรือแก้วนั เดอื น ปเี กดิ กรณีท่ีมีเอกสารหลักฐานใหม่มาแสดงตามข้อ 5 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการแก้ วนั เดือน ปเี กิดนักเรียน พ.ศ. 2547 มแี นวปฏบิ ัติ ดังนี้ กรณีแก้ไขวนั เดือน ปเี กิดของนกั เรียนผดิ พลาด ไม่ตรงกับความเป็นจริงด้วยเหตทุ ่ี 1. เจ้าหน้าที่ของสถานศึกษาเขียนผิดพลาดหรือเขียนตกให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้แก้ให้ถูกต้อง ตามความเป็นจริงในหลักฐาน และการแก้ไขตกเติมให้ขีดฆ่าด้วยเส้นหมึกสีแดงโดยประณีตแล้วเขียนเติมลงใหม่ ดว้ ยเสน้ หมกึ สีแดง โดยลงนามผู้แกแ้ ละวัน เดอื น ปีย่อกำ� กบั ไว้ดว้ ยทกุ แหง่ 2. ในกรณที ว่ี นั เดอื น ปเี กดิ ของนกั เรยี นและนกั ศกึ ษาผดิ พลาดและมผี รู้ อ้ งขอใหแ้ ก้ ผรู้ อ้ งขอจะตอ้ ง ส่งค�ำร้องตามแบบท้ายระเบียบน้ี และเอกสารหลักฐานมาแสดงต่อสถานศึกษาเพื่อประกอบการพิจารณา วนิ ิจฉยั วัน เดอื น ปเี กดิ ตามลำ� ดับความส�ำคัญ ดงั น้ี คอื (ก) สตู ิบตั รหรอื ทะเบยี นคนเกดิ (ข) ถ้าหากเอกสารหลักฐานตามขอ้ (ก) สูญหายหรือถกู ท�ำลายกใ็ หส้ ่งเอกสารอ่นื ๆ ทีห่ นว่ ยราชการ ออกให้ เชน่ ส�ำเนาทะเบียนบา้ น ทะเบียนทหาร ทะเบยี นคนตา่ งด้าว บัตรประจำ� ตวั ประชาชน (ค) ในกรณที ปี่ รากฏวา่ เอกสารหลกั ฐานตามขอ้ (ข) ทหี่ นว่ ยราชการออกใหน้ น้ั วนั เดอื น ปเี กดิ ไม่ตรงกนั ใหพ้ ิจารณาขอ้ เท็จจริง เป็นราย ๆ ไป 3. เมอื่ ทางสถานศกึ ษาไดพ้ จิ ารณาวนิ จิ ฉยั เอกสารตามขอ้ 2 (ก) หรอื 2 (ข) หรอื ไดท้ ำ� การสอบสวน ตามขอ้ 2 (ค) แลว้ ถา้ ปรากฏชดั แจง้ วา่ วนั เดอื น ปเี กดิ ผิดพลาด ไมต่ รงกบั หลกั ฐานความเป็นจรงิ ใหท้ �ำรายงาน สง่ คำ� รอ้ งขอแกว้ นั เดอื น ปเี กดิ พรอ้ มดว้ ยเอกสารดงั กลา่ วขา้ งตน้ และสำ� เนาการสอบสวน (ถา้ ม)ี ไปตามระเบยี บ ราชการเพอื่ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาเหนอื ขึน้ ไปช้นั หน่ึงเปน็ ผูพ้ จิ ารณาให้ความเห็นชอบแกไ้ ขเปน็ รายๆ ไป (หมายเหตุ : กรณเี พ่มิ เติมวนั เดอื น ปเี กดิ ของนกั เรยี น ให้น�ำเอาการด�ำเนนิ การตามขอ้ 2 มาใชโ้ ดยอนโุ ลม) 88

4.3 การยา้ ยที่เรียนระหวา่ งปี ก. สถานศกึ ษาจะต้องอ�ำนวยความสะดวกใหก้ บั นักศึกษาที่มีความประสงคข์ อย้ายท่ีเรยี น มขี นั้ ตอนการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. นักศึกษาท่ีมีความประสงค์ขอย้ายท่ีเรียน จะต้องติดต่องานทะเบียนของสถานศึกษา ขอรับ ผลการเรยี นเพอื่ นำ� ไปตดิ ต่อขอเขา้ รบั กบั สถานศกึ ษาแหง่ ใหม่ 2. สถานศกึ ษาแหง่ ใหมต่ อบรบั การเขา้ เรยี นใหน้ กั ศกึ ษายน่ื คำ� รอ้ งขอลาออก พรอ้ มทง้ั ขอใบรบั รอง ผลการเรยี นของสถานศึกษา (กรณีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศึกษา ใบส่งตัว ประกาศนียบัตร เป็นต้น ไม่ต้องบันทึกหมายเหตุใด ๆ ตามข้อ 9 (1) แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย หลักฐานในการรบั นักเรียน นักศกึ ษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548) 4.4 เม่ือจบการศกึ ษา ปฏิบัติตามข้อบังคับ ว่าด้วย การศึกษา ระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาของแต่ละ สถาบันอุดมศึกษา กรณีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น ประกาศนียบัตร หรือหลักฐาน การจบหลักสูตรใบแสดงผลการเรียน เป็นต้น ไม่ต้องบันทึกหมายเหตุใด ๆ ตามข้อ 9 (1) แห่งระเบียบ กระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าด้วยหลกั ฐานในการรับนกั เรียน นักศึกษาเขา้ เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 89

5. สถานศึกษาอ่นื ๆ

กรณีสถานศึกษาอ่ืน นอกเหนือจาก 4 ประเภทข้างต้น หากเป็นสถานศึกษาในความหมายของ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ฯลฯ มาตรา 4 “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชนท่ีมีอ�ำนาจหน้าท่ี หรือมีวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศกึ ษา ฯลฯ มาตรา 21 กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษาเฉพาะทาง ตามความต้องการและความช�ำนาญของหน่วยงานนั้นได้ โดยค�ำนึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ของชาติ ทง้ั น้ี ตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง ฯลฯ จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี น ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ซ่ึงวิธีการปฏิบัติในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษาให้เป็นไปตาม ขอ้ บงั คบั ของสถานศึกษานัน้ และใหน้ ำ� แนวปฏิบตั ิในการจัดการศึกษาทัง้ 4 ประเภทขา้ งต้นมาใช้โดยอนุโลม 91



กภาคผนวก สถานะและสทิ ธทิ างกฎหมาย ของบคุ คลที่ไมม่ หี ลักฐาน ทางทะเบยี นราษฏรหรือ ไมม่ ีสัญชาตไิ ทย

1. สถานะของบคุ คลตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ฯลฯ มาตรา 4 ศักดิศ์ รคี วามเป็นมนษุ ย์ สทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอ่ มไดร้ ับความคมุ้ ครอง มาตรา 27 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายมีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน... การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถ่ินก�ำเนิดเช้ือชาติ... สถานะของบคุ คล...จะกระท�ำมไิ ด้ ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนษุ ยชน (Universal Declaration of Human Rights) ค.ศ. 1948 ฯลฯ ขอ้ 6 “บุคคลทุกคนมีสทิ ธทิ จ่ี ะได้รบั การยอมรบั นับถอื วา่ เป็นบคุ คลตามกฎหมายในทุกสถานท่ี” ฯลฯ ประเทศไทยยอมรับปฏิญญาน้ี ต้ังแต่ในวันท่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) กติการะหว่างประเทศวา่ ดว้ ยสทิ ธิพลเมืองและสทิ ธทิ างการเมือง ค.ศ. 1966 (ICCPR) ฯลฯ ข้อ 24 1. เดก็ ทกุ คนยอ่ มมสี ทิ ธใิ นมาตรการตา่ ง ๆ เพอ่ื การคมุ้ ครองเทา่ ทจี่ ำ� เปน็ แกส่ ถานะแหง่ ผเู้ ยาว์ ในสว่ นของ ครอบครัวของตน สังคม และรัฐ โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติอันเนื่องจากเช้ือชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา เผ่าพันธุแ์ ห่งชาตหิ รือสังคม ทรัพย์สิน หรือก�ำเนดิ 2. เดก็ ทกุ คนยอ่ มมหี ลักฐานทางทะเบยี นทันทที ถ่ี อื กำ� เนดิ และยอ่ มไดร้ บั การต้ังช่ือ 3. เดก็ ทกุ คนมสี ิทธทิ ่ีจะไดร้ บั สัญชาติ 94