Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ppt เด็กไร้สญชาติ

ppt เด็กไร้สญชาติ

Description: การจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน นักศึกษาที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ

Search

Read the Text Version

การจดั การศึกษาใหแ้ กน่ กั เรียน นกั ศึกษาทีไ่ มม่ ี หลกั ฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสญั ชาติไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ

รายละเอยี ด 01 ความเปน็ มา 02 การดาเนนิ การของกระทรวงศึกษาธกิ าร 03 การนานโยบายสู่การปฏิบัติ

ความเปน็ มา วันท่ี 18 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2544 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงมพี ระราชดารสั ต่อ คณะรฐั มนตรี ทเี่ ข้าเฝา้ ถวายสัตย์ปฏิญาณ ดังนี้ คอื “… ประชาชนท่ีอยู่ในประเทศเขามมี านานแล้ว แต่ก็ไม่เป็นคนไทย คือ เขาไม่ถอื ว่าเป็น คนไทยแท้จริงเขาอยู่ แCoลntะenเtกAิด- 4ใ0น%เมืองไทย แต่ก็ไม่ได้รับประโยชน์ของความเป็นไทย ส่ิงนี้เป็นสิ่งท่ีจะต้องปฏCิบonัตtenิเtหBม-ือ70น% กัน เพราะว่า ถ้าหากว่ามีคนท่ีอยู่ในเมืองไทย และ กม็ ีความน้อยใจมากไมม่ CoีใnคteรntเอCา- 3ใ0จ%ใส่ กจ็ ะทาให้ความมัน่ คงของ ประเทศด้อยไป...” Content D - 90%

มติคณะรัฐมนตรี เมอ่ื วันท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 1. การขยายโอกาสทางการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาติไทยที่เดิม เคยจากัดไว้ให้บางกลุ่ม บางระดับการศึกษา เป็นการเปิดกว้างให้ทุก คนท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทยสามารถเข้าเรียนได้โดยไม่จากัดระดับ ประเภท หรือพื้นที่ การศึกษา ท้ังการรับเข้าเรียน ลงทะเบียนนักเรียน นักศึกษา และการออกหลักฐาน ทางการศกึ ษา เมอื่ สาเรจ็ การศึกษาแต่ละระดับตามรา่ งระเบยี บ ฯ และแนวปฏบิ ตั ิ

มตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 (ต่อ) 2. การจัดสรรงบประมาณอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายรายหัวให้แก่สถานศึกษาที่จัดการศึกษา ให้แก่กลุ่มบุคคล ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ตั้งแต่ระดับก่อน ประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอัตราเดียวกันกับค่าใช้จ่ายรายหัว ท่จี ดั สรรใหแ้ ก่เด็กไทย

มตคิ ณะรัฐมนตรี เมือ่ วันท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 (ต่อ) 3. ใหก้ ระทรวงมหาดไทยจัดทาฐานข้อมูล (เลขประจาตวั 13 หลกั ) เก่ียวกับบุคคลที่ไมม่ ีหลักฐานทะเบียน ราษฎรหรอื ไม่มีสัญชาติไทย เพื่อประโยชน์ต่อการจาแนกสถานะ รวมทั้งอนุญาตและอานวยความสะดวก ให้เด็กและเยาวชนท่ีมีข้อกาหนดระเบียบปฏิบัติ หรือมีกฎหมายควบคุมเฉพาะให้จากัดพื้นท่ีอยู่อาศัย สามารถ เดนิ ทางไปศกึ ษาไดเ้ ปน็ ระยะเวลาตามหลักสตู รการศกึ ษาระดับนั้น โดยไมต่ ้องขออนุญาตเป็นครั้ง คราว ยกเว้น ผู้หนภี ยั จากการส้รู บและบคุ คลในความหว่ งใย (POC) 4. ให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในรูปแบบที่เหมาะสมแก่เด็กและเยาวชนท่ีหนีภัยจากการสู้รบ เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และการอยู่ร่วมกันอยา่ งสมานฉนั ท์

สาระสาคัญของระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยหลักฐานในการรบั นกั เรยี น นักศกึ ษา เขา้ เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 สาระสาคญั ของระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรับนกั เรียน นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี น ในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ตามมติคณะรฐั มนตรี 5 กรกฎาคม 2548 - เพื่อเปิดโอกาสแกท่ กุ คนให้ได้รับการศกึ ษาอย่างท่วั ถึง • ทุกคนตอ้ งได้เรียน • เรียนได้ถงึ ระดบั อุดมศกึ ษา • เรียนแลว้ ต้องไดห้ ลกั ฐานทางการศึกษา • สถานศึกษาได้ค่าใชจ้ า่ ยรายหวั • ขอออกนอกเขตกาหนดคร้งั เดียวเรียนได้ตลอดหลกั สตู ร - ขยายโอกาสทางการศกึ ษาของบุคคลทีไ่ มม่ หี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ ีสัญชาตไิ ทย ขยายโอกาสทางการศกึ ษาแกบ่ ุคคลท่ไี มม่ ีหลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎรหรือไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย ซึ่งเดมิ เคยจากัดไว้ให้เฉพาะ บางกลมุ่ บางระดบั การศกึ ษา เป็นเปดิ กว้างใหท้ ุกคนที่อาศัยในประเทศสามารถ เข้าเรียนได้ โดยไม่จากัดระดบั ประเภท หรอื พนื้ ที่ การศึกษา (ยกเว้นกลุ่มทีห่ ลบหนภี ยั จากการสู้รบ จัดให้เรยี นได้ ในพ้นื ที่พักพิง)

สาระสาคญั ของระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยหลกั ฐานในการรบั นักเรยี น นกั ศกึ ษา เข้าเรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 (ต่อ) หลักฐานการรบั เขา้ เรียนในสถานศึกษา การรบั นกั เรยี น นักศึกษาในกรณีทไี่ มเ่ คยเข้าเรยี นในสถานศึกษามากอ่ น ให้ สถานศึกษา เรยี กหลกั ฐานอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ตามลาดับเพอ่ื นามาลงหลักฐานทางการ ศึกษา ดังตอ่ ไปนี้ (1) สูติบัตร (2) กรณที ่ไี มม่ ีหลกั ฐานตาม (1) ให้เรียกหนงั สอื รับรองการเกดิ บัตรประจาตวั ประชาชน สาเนาทะเบยี นบา้ นฉบับเจ้าบ้าน หรอื หลักฐานท่ที างราชการจดั ทาข้ึนในลกั ษณะเดียวกัน (3) ในกรณีท่ีไม่มหี ลกั ฐานตาม (1) หรอื (2) ให้เรียกหลกั ฐานที่ทางราชการออกให้ หรอื เอกสารตามท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนดให้ใช้ได้ (4) ในกรณีท่ีไมม่ หี ลักฐานตาม (1) (2) และ (3) ใหบ้ ดิ ามารดา ผูป้ กครอง หรือองคก์ ร เอกชนทาบนั ทกึ แจ้งประวตั บิ คุ คลตามแบบแนบท้ายระเบยี บนี้เป็นหลักฐานที่จะนามาลงหลกั ฐาน ทางการศึกษา (5) ในกรณที ไ่ี มม่ ีบคุ คล หรอื องค์กรเอกชนตาม (4) ใหซ้ กั ถามประวัตบิ คุ คลผู้มาสมัคร เรียนหรอื ผู้ที่เกีย่ วข้อง เพ่อื นาลงรายการบันทกึ แจง้ ประวตั บิ คุ คลตามแบบแนบท้ายระเบยี บนี้เป็น หลกั ฐานทจ่ี ะนามาลงหลักฐานทางการศึกษา

สาระสาคญั ของระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยหลักฐานในการรบั นักเรยี น นักศึกษา เข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 (ต่อ) - สถานศึกษาที่อยู่ในบังคบั ของระเบยี บ ฯ สถานศึกษาที่อยู่ในบังคับของระเบียบ ฯ คือ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียนวิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนว่ ยงานการศกึ ษาหรอื หน่วยงานอ่ืนของรฐั หรือเอกชนที่มอี านาจหนา้ ทห่ี รือมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดการศึกษา - หนา้ ทข่ี องสถานศกึ ษา ให้สถานศึกษาถือเป็นหน้าที่ในการที่จะรับเด็กท่ีอยู่ในวัยการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับเข้า เรียน ในสถานศกึ ษา - หลกั ฐานทางการศกึ ษา ได้แก่ เอกสารอันเป็นหลักฐานทางการศึกษาของนักเรียน นักศึกษา ได้แก่ ทะเบียนนักเรียน นักศึกษา สมุดประจาตัว นักเรียน นักศกึ ษา สมุดประจาชนั้ บัญชเี รียกช่ือ ใบส่งตัวนักเรียน นักศึกษา หลักฐานแสดง ผลการเรียน ประกาศนียบัตร หรือ เอกสารอนื่ ใดในลักษณะเดยี วกัน หรอื เอกสารที่กระทรวงศึกษาธกิ าร กาหนด ใหเ้ ปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาตามระเบียบนี้

สาระสาคญั ของระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยหลักฐานในการรับนกั เรยี น นกั ศึกษา เข้าเรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 (ตอ่ ) - การบันทกึ หลักฐานทางการศกึ ษา การบนั ทึกในหลกั ฐานทางการศกึ ษา ใหส้ ถานศกึ ษาปฏิบตั ิ ดงั น้ี (1) ในกรณที เ่ี ป็นหลักฐานทางการศึกษาเปน็ รายบุคคล เชน่ สมุดประจาตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาใบส่งตวั ประกาศนยี บตั ร เปน็ ตน้ ไม่ต้องบันทกึ หมายเหตใุ ด ๆ (2) ในกรณีที่เปน็ หลกั ฐานทางการศึกษาเปน็ หลกั ฐานรวมท่ใี ชบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู ของนักเรยี นนกั ศกึ ษาท้งั ช้นั เรียนหรอื จานวน มากกวา่ หน่ึงคน เช่น ทะเบยี นนักเรยี น นกั ศึกษา สมุดประจาชั้น บญั ชเี รยี กชื่อ เป็นตน้ ให้หวั หนา้ สถานศึกษาหรือผู้ไดร้ บั มอบหมายบันทึกไวเ้ ฉพาะในสมดุ ทะเบยี นนกั เรยี น นักศกึ ษาโดยบนั ทึก ลงในช่องหมายเหตุพร้อมกับลงนามกากบั ข้อความว่า “ไม่ มหี ลกั ฐานตามกฎหมายว่าดว้ ยการทะเบยี นราษฎร” - การแกไ้ ขหลกั ฐานตามทะเบียนราษฎร ในขณะทน่ี ักเรยี น นักศึกษายงั ศึกษาอยู่ในสถานศึกษา เม่อื ปรากฏว่ามหี ลกั ฐานตามกฎหมายว่าดว้ ยการทะเบียนราษฎรมา แสดงภายหลงั ให้สถานศกึ ษาแกไ้ ขหลักฐานทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ฐานดงั กลา่ ว โดยถอื ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการนน้ั

สาระสาคญั ของระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลักฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศึกษา เขา้ เรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 - การขออนญุ าตออกนอกเขตพน้ื ท่ี กรณีมกี ฎหมายควบคมุ เฉพาะใหจ้ ากดั พนื้ ทอ่ี ย่อู าศยั สามารถเดินทางไปศกึ ษาไดเ้ ปน็ ระยะเวลาตามหลกั สตู ร การศึกษาระดับนั้น โดยไมต่ ้องขออนญุ าตเปน็ ครั้งคราว - หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง ให้หน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งกับการจดั การศึกษาดาเนนิ การออกระเบยี บใหส้ อดคลอ้ งกบั ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยหลักฐานในการรับนกั เรยี น นกั ศกึ ษาเข้าเรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 - หน่วยงานฝกึ อาชีพ ให้หนว่ ยงานฝกึ อาชพี ทุกสว่ นราชการยอมรับหลกั ฐานทางการศกึ ษาทอ่ี อกใหแ้ กเ่ ดก็ ตามระเบยี บ ฯ

กระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินการจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน นักศึกษา ท่ีไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติ ไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียน ราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย สามารถ เข้าเรียนได้โดยไม่จากัด ระดบั ประเภท หรือพนื้ ท่ีการศึกษา โดยในปีการศึกษา พ.ศ. 2561 มี นักเรียน นักศึกษา ที่ไม่มี หลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย จานวนท้ังสิ้น 79,558 คน แบง่ เปน็ - สงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร จานวน 76,358 คน - สังกดั อนื่ จานวน 3,200 คน

จานวนนักเรยี น นกั ศกึ ษา ท่ีไมม่ ีหลักฐานทางทะเบยี นราษฎร หรือไม่มสี ญั ชาตไิ ทย แยกตามหน่วยงาน สานกั งานคณะกรรมการ สพฐ. สช. สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน การศึกษาเอกชน จานวน 74,334 คน 76,358 จานวน 1,082 คน คน สานักงานสานกั งานคณะกรรมการ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอก การอาชวี ศกึ ษา กอศ. กศน ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จานวน 347 คน จานวน 595 คน

จานวนนักเรียน นักศกึ ษา ทไี่ ม่มีหลักฐานทางทะเบยี นราษฎร หรือไม่มีสัญชาตไิ ทย แยกตามหน่วยงาน กรมส่งเสรมิ กองบัญชาการตารวจตระเวน การปกครองทอ้ งถิ่น ชายแดน จานวน 6 คน จานวน 810 คน 3,200 คน สานกั การศกึ ษาเมอื งพทั ยา กระทรวงการอดุ มศกึ ษา จานวน 3 คน วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม จานวน 2,381 คน

การดาเนินการของกระทรวงศึกษาธิการ (การจดั การศกึ ษาแก่บคุ คลทไ่ี ม่มีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไม่มสี ญั ชาตไิ ทย) จัดทาคู่มือและแนวปฏิบัติสาหรับการจัด 02 ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียน เรอื่ ง “การรบั นกั เรียน นกั ศกึ ษาทไี่ มม่ ีหลกั ฐาน ทะเบียนราษฎรหรอื ไม่มสี ัญชาตไิ ทย” 01ราษฎรหรอื ไมม่ ีสัญชาตไิ ทย พฒั นา “ระบบกาหนดรหสั ประจาตัวผ้เู รียน 04 จัดสรรงบประมาณอุดหนนุ เป็นคา่ ใชจ้ า่ ย รายหวั ให้แกส่ ถานศึกษาในสงั กัด 03เพอื่ เขา้ รับบริการการศกึ ษาสาหรับผไู้ มม่ ี หลกั ฐานทางทะเบยี น (ระบบ G)” การสง่ ข้อมูลเด็กนกั เรียนทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบียน 05ราษฎรหรอื ไมม่ สี ัญชาติไทย ให้กบั กระทรวงมหาดไทย เพอ่ื จดั ทาฐานขอ้ มูล (เลขประจาตัว 13 หลัก)

1. คมู่ อื และแนวปฏบิ ตั สิ าหรบั การจัดการศึกษาแกบ่ คุ คลที่ไม่มีหลกั ฐานทะเบียนราษฎร หรือไมม่ สี ัญชาตไิ ทย กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาคู่มือและแนวปฏิบัติสาหรับการจัดการศึกษาแก่ บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย (ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2560) เพ่ือแนวทางให้แก่ผู้บริหาร ครู และเจา้ หน้าที่ผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้อง สามารถดาเนินการจดั การศึกษาใหแ้ ก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มี สัญชาตไิ ทยได้อยา่ งเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ

1. คมู่ ือและแนวปฏิบัติสาหรับการจดั การศึกษาแก่บุคคลท่ไี ม่มหี ลักฐานทะเบยี นราษฎร หรือไมม่ ีสัญชาติไทย (ต่อ) สาหรับคู่มือและแนวปฏิบัติสาหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไม่มสี ญั ชาตไิ ทย (ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ พ.ศ. 2560) ได้กาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาแก่ บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย โดยแยกตามระดับและประเภท การศึกษา คือ 1) แนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎร หรอื ไม่มีสญั ชาติไทย สาหรับเด็กไม่มีสถานะทางทะเบียนหรือไม่มีสัญชาติไทย จะมีการดาเนินการ เชน่ เดียวกับเดก็ ท่ีมีสญั ชาตไิ ทยทั่วไป ซ่ึงจาแนกไดเ้ ป็น 4 เร่อื ง ดังนี้ - วธิ ีการรบั นกั เรยี นเขา้ เรียนในสถานศกึ ษา - ระหวา่ งนักเรียนอยู่ในสถานศึกษา - การยา้ ยท่ีเรยี นระหวา่ งปี - การจบการศึกษา

1. ค่มู ือและแนวปฏิบตั สิ าหรับการจดั การศกึ ษาแกบ่ คุ คลท่ไี ม่มีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎร หรอื ไมม่ ีสัญชาติไทย (ต่อ) 2) แนวปฏิบัติในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานบุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาติไทย 1. กล่มุ ผู้ใหญ่ทไี่ ม่มีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ ีสัญชาติไทย (แรงงานต่างดา้ ว) อายุ 16 ปขี นึ้ ไป 1.1 ผู้สมัครเรียนต้องผ่านการศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย 200 ชั่วโมง ได้รับ วฒุ บิ ตั ร และสามารถนาวุฒิบัตรมาสมคั รเรียนการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน หรอื 1.2 ผู้สมัครเรียนต้องมีทักษะความรู้พื้นฐาน การฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย ผ่านเกณฑ์ การ ประเมินดว้ ยเครื่องมือการประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด

1. ค่มู อื และแนวปฏบิ ัตสิ าหรับการจดั การศกึ ษาแกบ่ ุคคลท่ไี ม่มีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎร หรอื ไมม่ สี ญั ชาติไทย (ตอ่ ) 2) แนวปฏิบัติในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานบุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาติไทย 2. กลมุ่ เดก็ ทไ่ี ม่มีหลักฐานทะเบยี นราษฎรหรือไมม่ ีสญั ชาติไทย (ลูกหลานแรงงานต่างดา้ ว) อายุ 8 - 15 ปี 2.1 ผ่านการศึกษาตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย เน้นพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผเู้ รยี นต้องผ่านการประเมนิ ทักษะความรพู้ ้ืนฐาน การฟงั พูด อา่ น เขียนภาษาไทย ผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ด้วย เคร่อื งมือที่สถานศกึ ษากาหนดสามารถสมคั รเรยี นการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานได้ 2.2 ผู้เรียนท่ีมีความประสงค์เข้าเรียนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย ต้องได้รับความเห็นชอบจากสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่ การศึกษา มธั ยมศึกษา 2.3 วิธีจดั การเรียนรู้ ใชว้ ธิ กี ารรแู้ บบชนั้ เรยี น สัปดาห์ละไม่น้อยกวา่ 4 วนั วนั ละไม่เกนิ 6 ช่วั โมง 2.4 ใช้ระยะเวลาเรียน ไม่เกิน 5 ปี แต่ท้ังน้ีต้องไม่จบการศึกษาเร็วกว่าการเรียนในภาคปกติ (อายุครบ 12 ปีบริบรู ณ์) สาหรับระดับประถมศกึ ษา จงึ จะสามารถจบหลักสตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐานได้

1. คู่มอื และแนวปฏิบตั ิสาหรบั การจดั การศึกษาแกบ่ คุ คลที่ไม่มีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎร หรอื ไมม่ สี ัญชาติไทย (ต่อ) 2) แนวปฏิบัติในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานบุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สญั ชาติไทย แนวปฏิบตั ิในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน - การเข้าเรียนในสถานศกึ ษา - ระหว่างนักศึกษาอยใู่ นสถานศกึ ษา - การย้ายสถานศึกษาของนักศกึ ษา - การบันทกึ หลกั ฐานทางการศึกษาของนกั ศึกษา - การรายงานขอ้ มลู ผเู้ รยี น - เกณฑ์การจบหลกั สูตร - หลักฐานการขอจบหลกั สตู ร

1. คมู่ ือและแนวปฏิบตั ิสาหรับการจัดการศกึ ษาแกบ่ ุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎร หรอื ไมม่ ีสัญชาติไทย (ต่อ) 3) แนวปฏิบัตใิ นการจัดการศึกษาของอาชวี ศึกษา แนวทางปฏิบตั ใิ นการจดั การการศึกษาแกบ่ ุคคลท่ีไมม่ ีสถานะทางทะเบียนราษฎรหรือไมม่ สี ญั ชาติไทย แบง่ เป็น 4 ข้ันตอน คือ - วธิ กี ารรบั นกั ศกึ ษาเขา้ เรียนในสถานศึกษา - ระหวา่ งนกั ศึกษาเรยี นอยใู่ นสถานศึกษา การย้ายทเี่ รียนระหวา่ งปี เมื่อจบการศึกษา - ตรวจสอบหลักฐานตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ยหลกั ฐานในการรับนักเรยี น - นักศกึ ษาเข้าเรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548

1. คู่มือและแนวปฏิบัตสิ าหรบั การจดั การศึกษาแกบ่ ุคคลทไ่ี ม่มหี ลักฐานทะเบยี นราษฎร หรือไมม่ ีสัญชาติไทย (ต่อ) 4) แนวปฏิบตั ิในการจัดการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาอ่ืน ๆ จะต้องปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้า เรียน ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ซึ่งวิธีการปฏิบัติในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษาให้ เปน็ ไปตาม ข้อบงั คบั ของสถานศึกษานน้ั และให้นาแนวปฏบิ ัตใิ นการจัดการศึกษาขา้ งตน้ มาใช้โดยอนโุ ลม

1. ค่มู อื และแนวปฏบิ ัตสิ าหรบั การจัดการศกึ ษาแก่บุคคลท่ไี ม่มหี ลักฐานทะเบียนราษฎร หรือไมม่ สี ญั ชาติไทย (ตอ่ ) สาหรับคูม่ อื และแนวปฏิบัติสาหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ได้มี การรวบรวมสถานะและสทิ ธิทางกฎหมายของบุคคลทไี่ มม่ หี ลักฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไม่มีสญั ชาตไิ ทย ไดแ้ ก่ 1. สถานะของบคุ คลตามกฎหมายรฐั ธรรมนญู และกฎหมายระหว่างประเทศ - รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 - ปฏญิ ญาสากลว่าดว้ ยสิทธมิ นุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ค.ศ. 1948 - กตกิ าระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยสิทธพิ ลเมืองและสิทธทิ างการเมอื ง ค.ศ. 1966 (ICCPR) - อนุสญั ญาว่าด้วยสทิ ธเิ ดก็ ค.ศ. 1989 2. สถานะและสทิ ธขิ องบคุ คลตาม พ.ร.บ. การทะเบยี นราษฎร พ.ศ. 2534 และฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2551 3. แนวทางการเข้าถงึ สถานะและสิทธขิ องบุคคล 4. การไดส้ ญั ชาตไิ ทยตาม พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. 2535

1. ค่มู อื และแนวปฏิบตั สิ าหรบั การจดั การศึกษาแกบ่ ุคคลทไ่ี ม่มีหลกั ฐานทะเบียนราษฎร หรือไมม่ สี ญั ชาติไทย (ต่อ) การปรบั ปรุงคมู่ ือและแนวปฏบิ ตั สิ าหรบั การจัดการศึกษาแก่บุคคลทไี่ ม่มีหลักฐานทะเบยี นราษฎร หรือไม่มสี ญั ชาตไิ ทย คูม่ อื ฯ ปี 2560 คมู่ อื ฉบับปรับปรุงใหม่ สาหรับคู่มือและแนวปฏิบัติสาหรับการจัด สาหรับคู่มือและแนวปฏิบัติฉบับปรับปรุงใหม่ กาหนดให้ การศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียน ทุกหน่วยกาหนดรหัสเป็นรูปแบบเดียวกันคือ ขึ้นต้น ราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ปี 2560 ด้วยอักษร G และสร้างแนวปฏิบัติในรับเด็กนักเรียน ได้กาหนดรหัสประจาตัวนักเรียนเป็นตาม การกาหนดรหัสประจาตัว และการส่งต่อมูลให้เป็น หนว่ ยงานท่กี าหนด ซึ่งจะมีการกาหนดรหัสไม่ รปู แบบเดยี วกนั เหมอื นกัน เชน่ กาหนดเปน็ G, P, V, และ 0

2. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง “การรับนกั เรยี น นักศึกษาทีไ่ มม่ หี ลักฐานทะเบียนราษฎรหรอื ไมม่ ีสญั ชาตไิ ทย” ฉบับ วนั ที่ 19 ม.ค. 2561 ฉฉบบับับแแกก้ไไ้ ขขปปี ี22556622

2. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง “การรับนักเรียน นักศึกษาทไ่ี มม่ ีหลกั ฐานทะเบียนราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย” ฉบับ วนั ท่ี 19 ม.ค. 2561 ใจความสาคญั ของการปรบั แก้ประกาศ รายละเอียดดังนี้ ฉบับแก้ไข ปี 2562 1. การเพิ่มเน้ือหาของกฎหมาย เพื่อครอบคลุมทุกหน่วยงานที่จัดการศึกษาสามารถ นาไปใชไ้ ด้ รายละเอยี ดดงั น้ี - อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ประกอบกับมาตรา 5 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2545 - ประกาศนี้ ให้ใช้บังคับกับสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 2. การรบั เดก็ นักเรียนท่ีไม่มหี ลักฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไม่มีสัญชาติไทย สถานศึกษา จะต้องกาหนดรหัสประจาตัวผู้เรียน (รหัส G) ในระบบกาหนดรหัสประจาตัวผู้เรียนเพื่อ เ ข้ า รั บ บ ริ ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ส า หรั บ ผู้ ไ ม่ มี หลั ก ฐา น ท า ง ท ะ เ บี ย น ร า ษ ฎ ร ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด

3. ระบบกาหนดรหสั ประจาตวั ผ้เู รยี นเพ่อื เขา้ รบั บริการการศึกษาสาหรบั ผไู้ ม่มหี ลักฐานทางทะเบยี น (ระบบ G) กระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนา “ระบบกาหนด รหัสประจาตัวผู้เรยี นเพื่อเข้ารับบริการการศึกษา สาหรับผู้ไม่มีหลักฐานทางทะเบียน (ระบบ G)” เพ่อื ใช้ในการออกรหัสประจาตัวนักเรียน/นักศึกษา (รหัส G) ให้แก่นักเรียนท่ีไม่สถานทางทะเบียน ราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย เพ่ือช่วยแก้ไขปัญหา ความซ้าของนักเรียน นักศึกษาท่ีไม่มีหลักฐานทาง ทะเบยี นราษฎรหรือไม่มสี ญั ชาติไทย

จดั สรรงบประมาณอดุ หนุนเปน็ ค่าใชจ้ า่ ยรายหัวให้แกส่ ถานศกึ ษาในสังกัด =งบประมาณอุดหนุน 452,283,687 บาท คา่ ใช้จ่ายรายหวั ในปี 2561 ประมาณ =งบประมาณอดุ หนนุ 338,673,365 บาท ค่าใช้จ่ายรายหวั ในปี 2562 ประมาณ

การส่งขอ้ มูลเด็กนักเรยี นที่ไมม่ ีหลักฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไม่มสี ัญชาติไทย กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ร่วมกันจัดทาแนวทางการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคลให้แก่นักเรียน นักศึกษาท่ีไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย เพื่อส่งข้อมูลเด็กนักเรียนที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาตไิ ทย ใหก้ ับกระทรวงมหาดไทย สาหรับจัดทาฐานขอ้ มูล (เลขประจาตัว 13 หลกั ) และช่วยแก้ไขความซา้ ซอ้ นของเดก็ นกั เรยี นฯ สามารถเลอื กการรบั รองเดก็ ได้ 2 วิธี 1. ใช้ 3 วชิ าชีพรับรอง ไดแ้ ก่ ครู, กานัน/ผู้ใหญ่ และเจา้ หน้าท่สี าธารณสุข 2. ใช้คณะกรรมการสถานศกึ ษารับรอง การรับรองเดก็ จะตอ้ งรบั รอง รปู แบบเดมิ รูปแบบใหม่ ปรับปรุงแบบฟอรม์ ให้งา่ ยตอ่ กรอก จาก 3 วิชาชพี ไดแ้ ก่ครู, ขอ้ มลู กานัน/ผู้ใหญ่ และเจา้ หนา้ ที่ สาธารณสุข ครูสง่ ข้อมลู ท่ีผ่านการรับแล้วให้กับสานัก ทะเบยี นอาเภอ/เขต /ทอ้ งถิ่น โดยไมต่ ้องนา ครูตอ้ งนานักเรียน ไปติดต่อ นกั เรยี นไปตดิ ตอ่ สานักทะเบียนอาเภอ/เขต / สานกั ทะเบียนอาเภอ/เขต/ ท้องถ่ิน ท้องถิน่

สรปุ การดาเนนิ การของกระทรวงศึกษาธกิ าร สถานศึก ษา ก รอ ก ข้อมูล ตามแบ บ สานกั ทะเบียนอาเภอ/เขต/ทอ้ งถ่ิน ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลนักเรียน/นักศึกษาท่ีมี เพ่ือจัดทาฐานข้อมลู (เลขประจาตวั 13 หลกั ) เลขประจาตัวข้ึนต้นด้วยตัวอักษร G 3 สถานศึกษากาหนดรหัสประจาตัวผู้เรียน 2 5 ( ร หั ส G) ผ่ า น ร ะ บ บ ก า ห น ด ร หั ส 6 ป ร ะ จ า ตั ว ผู้ เ รี ย น เ พ่ื อ เ ข้ า รั บ บ ริ ก า ร สถานศึกษาส่งข้อมูลเด็กนักเรียนท่ีมีเลข 4 การศึกษาสาหรับผู้ไม่มีหลักฐานทาง ประจาตัวขึ้นต้นด้วยตัวอักษร G ให้กับ ทะเบยี น ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานักทะเบียนอาเภอ/เขต/ท้องถน่ิ สถานศึกษารับนักเรยี น ทไี่ ม่มีหลกั ฐานทาง 1 สถานศึกษาแก้ไขรหัส G เป็นเลข 13 หลัก ทะเบียนราษฎรหรือไมม่ ีสัญชาตไิ ทย เข้ารับ ตามที่สานักทะเบียนอาเภอ/เขต/ท้องถ่ิน การศกึ ษา ออกให้

การนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ การจัดการศกึ ษาแก่บคุ คลทไี่ ม่ ศึกษาธิการจังหวัด เป็นผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ และ มหี ลักฐานทะเบียนราษฎร เป็นหน่วยประสานงาน ในการจัดการศึกษาแก่บุคคล หรือไมม่ ีสญั ชาติไทย ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ในระดบั พืน้ ที่ ศึกษาธิการภาค, ศึกษาธกิ ารจังหวัด, เขตพื้นที่การศึกษา, กศน.จังหวัด และอาชีวศึกษาจังหวัด เป็นหน่วยงานที่ ขับเคลื่อนและให้คาแนะนาสถานศึกษาเกี่ยวกับการรับ เด็กนักเรียนท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สญั ชาตไิ ทย สถานศึกษา เป็นผู้รับนักเรียนท่ีไม่มีหลักฐานทาง ทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย เข้ารับการศึกษา และกาหนดรหัสประจาตัวผู้เรียน (รหัส G) พร้อมทั้งส่ง ข้อมูลเด็กนักเรียนฯ ให้กับสานักทะเบียนอาเภอ/เขต/ ท้องถ่ิน

Thank You