94 คอมพิวเตอร์มลั ตมิ เี ดยี ไปยงั ศูนย์การศกึ ษาอุปกรณ์ประกอบการเรยี นจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจเน้ือหาได้ดีขนึ้ เพราะจะมที ง้ั อกั ษร ภาพนง่ิ ภาพเคลอื่ นไหว และเสยี ง และการตอ่ โยงของเนื้อหาในแบบไฮเปอรม์ เี ดยี (hypermedia) ซึง่ ช่วย ให้นักเรยี นสามารถถามถงึ สงิ่ ท่ีตนสนใจ ตอ่ โยงกันไปไดเ้ ร่อื ยๆ โดยไมถ่ ูกจากดั ให้เหน็ เฉพาะสว่ นท่กี าหนดไว้ วธิ ีการเรยี นร้เู ชน่ นี้จะมีใชใ้ นทกุ ระดบั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลไปจนถงึ ระดบั อดุ มศกึ ษา รวมทง้ั ระดบั การฝกึ อบรมวชิ าชพี ต่างๆ อกี ดว้ ย นอกจากน้วี ธิ กี ารสอนเช่นนีก้ ท็ าให้สามารถรวมเนือ้ หาของวชิ าทเี่ ก่ยี วเนอื่ งกนั (content integration) ใหส้ ามารถสอนไปพรอ้ มกัน เช่น สามารถสอนเน้ือหาวชิ าคอมพิวเตอร์ วิชาการเงนิ และ วิชาจริยธรรม ในส่วนทเี่ กย่ี วข้องกันไปพร้อมกนั แทนทจ่ี ะตอ้ งสอนแยกกนั เปน็ สามวชิ าซึ่งจะทาให้เขา้ ใจยาก เชน่ การประยกุ ตใ์ ช้งานเนื้อหาส่วนท่เี ป็นเรอ่ื งของจรยิ ธรรม ในการใช้คอมพวิ เตอร์ เพื่อทางานดา้ นการเงิน เปน็ ต้น นอกจากน้ี ยังมีหลายกรณที สี่ ามารถทาการทดสอบผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรไ์ ปยงั ศนู ย์การศึกษา ซึง่ สะดวกตอ่ การวัดผลการเรียน และการกาหนดมาตรฐานคุณภาพของการศึกษาในระบบการสอบด้วยคอมพิวเตอรแ์ บบ มาตรฐาน(computer based uniform testing) นกั ศึกษาท่เี รยี นรูไ้ ด้ชา้ ก็สามารถเรียนต่อเน่อื งไปไดโ้ ดยใชเ้ วลา มากขึ้นขณะทนี่ ักเรยี นทเ่ี รยี นรไู้ ด้เรว็ ก็สามารก้าวหน้าไปไดเ้ ร็วขนึ้ แทนทีจ่ ะตอ้ งรอขึ้นชั้นใหมพ่ ร้อมกับทกุ คน การ สอบกส็ ามารถทาได้เมือ่ นักศกึ ษาพร้อมท่ีจะสอบโดยตวั ขอ้ สอบจะถกู สร้างขนึ้ ใหม่ สาหรับนักศึกษาแตล่ ะคน เปน็ การตัดปญั หาการทจุ รติ หลายอย่าง ทอี่ าจจะเกดิ ขึ้นได้ในห้องสอบ 3. เทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา (Technology in Education) หมายถึง การนาเทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ เข้ามาประยกุ ต์ใช้ เพื่อประโยชน์ในการจดั การศกึ ษา การจัดการเรยี นการสอน เพ่ือใหก้ ารศกึ ษาการสอนการเรยี นมคี ณุ ภาพ และมี ประสิทธิภาพ เทคโนโลยที ่นี ามาใชใ้ นการศกึ ษา ได้แก่เทคโนโลยีตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. เทคโนโลยสี อื่ สารโทรคมนาคม คอื เทคโนโลยที ี่เกี่ยวกับการสือ่ สารทางไกลโดยผา่ นระบบการส่ือสาร คมนาคมต่าง ๆ 2. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ซง่ึ ใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการรบั ข้อมลู ประมวลผลข้อมลู และนาเสนอขอ้ มลู ตามท่ผี ้ใู ช้ ต้องการ 3. เทคโนโลยเี ครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซ่ึงแบ่งเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ เครอื ขา่ ยเฉพาะท่ี (Local Area Network-LAN) เป็นระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรข์ นาดเล็กที่ต่อเช่ือมคอมพวิ เตอร์กับอุปกรณไ์ ม่มากนัก มกั อยู่ใน อาคารหลงั เดียว เครอื ข่ายบรเิ วณกวา้ ง (Wide Area Network-WAN) เปน็ ระบบเครอื ขา่ ยทมี่ คี อมพวิ เตอร์ กระจายอยา่ งกว้างขวางท่วั ประเทศ ช่วยให้สานักงานในจังหวัดตดิ ตอ่ สอ่ื สารและทางานรว่ มกับสานักงานใหญท่ ี่อยู่ ในเมอื งหลวงได้ 4. ระบบสานกั งานอตั โนมัติ เป็นแนวคิดท่นี าระบบเครอื ขา่ ยมาใชเ้ ช่อื มโยงคอมพวิ เตอร์กบั อุปกรณ์สานักงาน เช่น ระบบไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบประชมุ ทางไกล 5. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นการประมวลผลข้อมลู ในลกั ษณะตา่ ง ๆ เพอื่ ชว่ ยในการจัดการและ บรหิ ารงาน 6. ระบบมัลตมิ เี ดีย เป็นเทคโนโลยที ่ีผสมผสานภาพ ภาพเคลอื่ นไหว เสียง และขอ้ ความเขา้ ดว้ ยกนั โดยใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการแสดงผล นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการสอน เชน่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) กจิ กรรมเพ่ือ การศกึ ษาท่ใี ชเ้ ทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในปัจจบุ นั นไี้ ดแ้ ก่ วิทยุกระจายเสยี งเพือ่ การศกึ ษา วิทยุโรงเรยี น โทรทศั น์เพอื่
95 การศึกษา การสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ระบบประชมุ ทางไกล ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เช่น เครือข่าย อินเทอรเ์ นต็ ในบทความผู้เขียนไดก้ ล่าวถึงความสาคัญของเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาทม่ี ใี นพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา แหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 และประวตั ิการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาของไทยไว้ดว้ ย 4 การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรบั ครู ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และการแข่งขนั การ พัฒนาทางด้านซอฟต์แวร์ ในปจั จบุ ัน สง่ ผลให้ประเทศตา่ ง ๆ นาคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในดา้ นการศึกษากันมาก การใช้ คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน(Computer Assisted Instruction) มีบทบาทและมีประสิทธภิ าพยง่ิ ขน้ึ การใช้คอมพวิ เตอร์ ช่วยสอนเป็นการพฒั นาผู้เรยี นอีกทางหนง่ึ โดยอาศยั ประสบการณ์ ความรู้ ปรับประยุกต์ใชภ้ ายใต้บริบทของ โรงเรียน 1. จดั การเรยี นรู้ \"ตลอดเวลา\" (Anytime) เวลาใดกส็ ามารถเรียนรู้ได้ ระยะแรกเริ่มให้นักเรียนสามารถใช้ Computer สืบค้นหาความรูจ้ ากห้องสมุด ซง่ึ มเี คร่ืองคอมพวิ เตอร์ให้บริการระบบ Internet 2. เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ \"ทุกหนแหง่ \" (Anywhere) นกั เรียนสามารถเรยี นร้รู ว่ มกันจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่ คอมพิวเตอร์ วดี ิทัศน์ โทรทศั น์ CAI และอื่นๆ 3. การให้ทุกคน (Anyone) ไดเ้ รยี นรู้พฒั นาตนเองอยา่ งเตม็ ศักยภาพของตน ต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลเปน็ ต้นไป การใช้ ICT เพอ่ื การเรียนรู้ การเรียนรู้ในปจั จุบนั แตกต่างจากเดมิ ไปอย่างสิ้นเชิง ซ่งึ หมายความว่า ผเู้ รียนมีโอกาส มอี ิสระในการเรียนรู้ด้วย ตนเอง สรา้ งองค์ความรู้ สรา้ งทักษะด้วยตนเอง ครูเปลย่ี นบทบาทจากผู้สอนมาเปน็ ผู้ให้คาแนะนา นอกจากนี้ทั้ง ครูและศิษยส์ ามารถเรยี นรูไ้ ปพร้อมกนั ได้ การจัดการเรียนท่โี รงเรียนดาเนินการได้ในขณะน้ี 1. การสอนโดยใช้ส่อื CAI ชว่ ยสอนให้เกิดการเรียนรูต้ ามความสนใจ เชน่ วิชาคณิตศาสตร์ วชิ าภาษาไทย วิชาวทิ ยาศาสตร์ วิชาสงั คม หรอื สปช. วิชาภาษาองั กฤษ 2. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนรู้จักสืบค้นวิทยาการใหม่ ๆ จากอินเทอรเ์ นต็ จาก E-book จาก E-Library 3. ส่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละสร้างเจตคติท่ีดีในการเรียนและการค้นควา้ หาความรู้ โดยกาหนดใหผ้ เู้ รยี นได้เล่น เกมการศึกษา (Education Games ) ท่ผี ่านการวเิ คราะห์ของครูผ้รู บั ผิดชอบวา่ ไม่เปน็ พษิ ภยั ต่อผู้เล่น และเปน็ การ สร้างเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ท่ดี ใี หก้ ับเดก็ 4. ใชแ้ ผนการสอนแบบ ICT บรู ณาการเรยี นรูใ้ นสาระวิชาตา่ งๆ เชน่ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และ คอมพวิ เตอร์ 5. จัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การเรยี นรู้ 6. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดระบบและเผยแพรค่ วามรู้ 7. จัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศแหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น และภูมปิ ญั ญาชมุ ชนทอ้ งถิน่ 8.พัฒนาเครอื ข่ายการเรียนร้ใู นการจดั การเรยี นรู้ของผูส้ อน สาหรับกระบวนการการจัดการระบบสารสนเทศเพ่อื ให้ได้สารสนเทศตามตอ้ งการอยา่ งรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง แม่นยา และมคี ุณภาพ จะเร่มิ ด้วยการคัดเลือก การจัดหา การวิเคราะห์เน้ือหา และการค้นคืนสารสนเทศ ซงึ่ กระบวนการจดั การหรือจัดทาสารสนเทศเพอื่ ให้สามารถผลติ สารสนเทศสนองความต้องการของผ้ใู ช้ไดน้ ้ันจะ
96 ประกอบดว้ ยกรรมวธิ ี 3 ประการ คอื การนาเขา้ ข้อมลู การประมวลผลขอ้ มลู และการแสดงผลขอ้ มูล และ กระบวนการทั้ง 3 ขน้ั ตอนนจี้ าเปน็ ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยดี า้ นฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ทางานร่วมกัน 2.เทคโนโลยสี อ่ื สารโทรคมนาคมเทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม ใช้ในการตดิ ต่อส่ือสารรับ/สง่ ข้อมลู จาก ที่ไกล ๆ เป็นการสง่ ของขอ้ มลู ระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเคร่อื งมอื ท่ีอยหู่ ่างไกลกัน ซงึ่ จะชว่ ยใหก้ ารเผยแพร่ข้อมูล หรือสารสนเทศไปยงั ผ้ใู ชใ้ นแหลง่ ตา่ ง ๆ เปน็ ไปอยา่ งสะดวก รวดเรว็ ถูกต้อง ครบถ้วน และทนั การณ์ ซึง่ รปู แบบ ของขอ้ มลู ท่รี บั /สง่ อาจเปน็ ตัวเลข (Numeric Data) ตวั อกั ษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) ตัวอย่าง เช่น การสง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ของยานอวกาศทอี่ ยู่นอกโลกมายงั เครื่องคอมพวิ เตอรบ์ นโลก เพ่ือทาการคานวณและ ประมวลผล ทาให้ทราบปรากฏการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีที่ใช้ในการส่ือสารหรือเผยแพรส่ ารสนเทศ ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบโทรคมนาคมทัง้ ชนิดมี สายและไร้สาย เชน่ ระบบโทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วทิ ยกุ ระจายเสียง, วทิ ยุโทรทศั น์ เคเบิ้ลใยแก้วนา แสง คลน่ื ไมโครเวฟ และดาวเทยี ม เป็นตน้ สาหรบั กลไกหลักของการสือ่ สารโทรคมนาคมมอี งค์ประกอบพ้ืนฐาน 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ต้นแหล่งของขอ้ ความ (Source/Sender),สอ่ื กลางสาหรบั การรับ/สง่ ข้อความ(Medium),และสว่ นรับข้อความ (Sink/Decoder) นอกจากน้ี เทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถจาแนกตามลกั ษณะการใช้งานไดเ้ ป็น 6 รูปแบบ ดังนี้ต่อไปน้ี คือ 1เทคโนโลยีที่ใช้ในการเกบ็ ข้อมลู เช่นดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิจิทัลกล้องถ่ายวดี ีทัศน์, เครอื่ งเอกซเรย์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยที ่ีใช้ในการบนั ทึกขอ้ มูล จะเป็นสือ่ บนั ทกึ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เชน่ เทปแมเ่ หล็ก จานแม่เหล็ก, จานแสงหรอื จานเลเซอร์, บัตรเอทเี อม็ ฯลฯ 3. เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอรท์ งั้ ฮารด์ แวร์ และซอฟต์แวร์ 4. เทคโนโลยีท่ีใชใ้ นการแสดงผลขอ้ มูล เชน่ เครอื่ งพมิ พ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ
97 5. เทคโนโลยีท่ใี ช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครอ่ื งถา่ ยเอกสาร, เครอื่ งถ่ายไมโครฟิล์ม 6. เทคโนโลยสี าหรับถ่ายทอดหรือส่ือสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมตา่ ง ๆ เชน่ โทรทัศน์, วทิ ยกุ ระจายเสยี ง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ัง้ ระยะใกล้และไกล เทคโนโลยีสารสนเทศได้สร้างสง่ิ ใหมใ่ หก้ ับสังคมปจั จบุ ันท่เี รยี กวา่ เปน็ สังคม ไร้พรมแดนหรือสงั คมโลกา ภวิ ัตน์ (Globalization) ไว้มากมาย เชน่ อินเทอรเ์ น็ต (Internet), ทางดว่ นขอ้ มลู (Information Superhighway), ระบบทวี ีตามความตอ้ งการ (Video On Demand), การประชมุ ผา่ นทางจอภาพ (Video Conference), พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-commerce), ระบบการเรียนทางไกล (Tele Education), โทร เวช (Tele Medicine), ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) ไปรษณยี ภ์ าพ (Video Mail), โทรทศั น์แบบมกี าร โต้ตอบ (Interactive TV), ห้องสมดุ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-library), หอ้ งสมดุ เสมอื น (Virtual Library) เป็นต้น (รอม หริ ัญพฤกษ์ 2544: 254-256) 1.3 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศจากยคุ อนาลอกส่ยู ุคดิจิตอลน้นั มคี วามเปน็ มาท่ียาวนานมากกวา่ ท่จี ะมาเปน็ เทคโนโลยที ี่ ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบนั น้ี บางช่วงใช้เวลาในการค้นคิดนานเปน็ พันปีโดยไมม่ ีการ เปลีย่ นแปลง บางชว่ งก็เรว็ มาก หากสงั เกตจะเห็นว่าในปัจจุบันการคน้ คิดเทคโนโลยเี หลา่ นี้เปล่ียนไปอยา่ งเรว็ มาก จนผใู้ ชแ้ ทบจะตามไมท่ นั ซึง่ ความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศจะชว่ ยทาใหม้ องภาพ ในอนาคตของเทคโนโลยีเหล่านไี้ ด้ การววิ ฒั นาทางด้านเทคโนโลยแี บ่งเปน็ 2 ดา้ นท่คี วบคูก่ ันมา คือ ววิ ัฒนาการทางด้านคอมพวิ เตอรแ์ ละ วิวฒั นาการทางดา้ นการสื่อสาร ซง่ึ จะหมายรวมถึงลักษณะของข้อมลู หรือสารสนเทศที่ใชใ้ นการสอ่ื สาร รายละเอียดของวิวฒั นาการของแต่ละเทคโนโลยีสามารถศกึ ษาได้จากรปู ภาพต่อไปน้ี เม่ือมีความเขา้ ใจเกี่ยวกับววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์และการส่ือสารในยุคตา่ ง ๆ แลว้ ควรมคี วามเขา้ ใจ เกีย่ วกับลักษณะของขอ้ มลู หรือสารสนเทศทส่ี ่งผ่านระบบคอมพวิ เตอร์และการสือ่ สาร ดงั น้ี ข้อมูลหรือสารสนเทศท่ีใช้กันอยูท่ ่วั ไปในระบบสื่อสาร เชน่ ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสัญญาณ เป็นคล่ืนแบบตอ่ เน่ืองทเี่ ราเรียกว่า \"สัญญาณอนาลอก\" แตใ่ นระบบคอมพวิ เตอร์จะแตกต่างไป เพราะระบบ คอมพวิ เตอรใ์ ช้ระบบสัญญาณไฟฟา้ สงู ต่าสลบั กัน เป็นสัญญาณทไ่ี มต่ ่อเนื่อง เรียกว่า \"สญั ญาณดจิ ิตอล\" ซึ่งขอ้ มูล เหล่านนั้ จะสง่ ผ่านสายโทรศพั ท์ เมือ่ เราตอ้ งการส่งขอ้ มูลจากคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งหนึง่ ไปยงั เครือ่ งอ่ืน ๆ ผ่านระบบ โทรศัพท์ กต็ อ้ งอาศยั อุปกรณช์ ่วยแปลงสัญญาณเสมอ ซงึ่ มชี อื่ เรียกว่า \"โมเดม็ \" (Modem)
98 การวิเคราะห์ปัญหาท่เี กิดจากการใชน้ วตั กรรม ความหมายปญั หาคือประเด็นทีเ่ ปน็ อุปสรรค ความยากลาบาก ความท้าทาย หรอื เปน็ สถานการณ์ใด ๆ ทต่ี อ้ งมกี าร แก้ปัญหาซึง่ การแกป้ ัญหาจะรับรไู้ ด้จากผลลพั ธข์ องการแกป้ ญั หาหรือผลงานท่นี าไปสวู่ ัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ประเด็นปัญหาแสดงถงึ ทางออกท่ตี ้องการ ควบคู่กบั ความบกพรอ่ ง ขอ้ สงสยั หรอื ความไมส่ อดคลอ้ งท่ปี รากฏขึ้นซึ่ง ขดั ขวางมใิ ห้ผลลัพธ์ประสบผลสาเรจ็ 2. วธิ ีการหรอื กระบวนการวิเคราะห์ปัญหา กระบวนการวิเคราะหป์ ญั หากระบวนการแก้ไขปญั หามขี ั้นตอนทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 5 ประการ ดังนี้ 1. การกาหนดหรือนยิ ามปญั หา 2. การวิเคราะหส์ าเหตุ 3. การตดั สินใจ 4. การลงมือปฏิบตั ิ 5. การประเมินผล 3. เหตุผล ทค่ี รูต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับปัญหาการจดั การเรยี นรู้ทเี่ กดิ จากการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ ครตู อ้ งมีความรูค้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับปญั หาการจัดการเรยี นรูท้ เ่ี กิดจากการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศครจู ะต้องมีความเข้าใจและผลกระทบที่จะตามมาจากการใชง้ านนวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ เนือ่ งจากการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศนอกจากจะมีประโยชน์มากมายในการพัฒนาการเรียนกา
99 สอนแล้วยังมีโทษของการใชง้ านและปญั หาอนื่ ๆหากใชอ้ ยา่ งไม่เหมาะสมครูจงึ ตอ้ งตระหนกั และมีความรู้ มี คุณธรรมในการใช้งาน เพ่ือให้เกดิ ผลประสิทธภิ าพที่ดี และเพ่อื ปอ้ งกนั ปัญหาท่ีอาจจะตามมาในการจัดการเรียนรู้ 4. ปัญหา และสาเหตุ การจดั การเรยี นรูท้ เ่ี กดิ จากการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดา้ นการกระจายโครงสรา้ งพืน้ ฐานเพอื่ การศกึ ษามีคอมพวิ เตอรย์ งั ไม่มหี รอื มไี ม่เพยี งพอตอ่ ความต้องการและทีม่ อี ยู่ ก็ขาดการบารงุ รกั ษา รวมทั้งไม่อยูใ่ นสภาพทใ่ี ช้การได้ ดา้ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื พฒั นาการเรียนรคู้ รใู ช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาทกั ษะ วชิ าชีพครูน้อยมากและคอมพิวเตอรม์ ีจานวนไมเ่ พยี งพอกบั ความต้องการที่ครจู ะใช้ มีการวางแผนทไ่ี ม่ดพี อวางแผนจัดการความเสี่ยงไมด่ ีพอ ยง่ิ สถานศึกษามีขนาดใหญม่ ากขึ้นเท่าใด การจัดการกบั ความเสยี่ งย่อมจะมีความสาคัญมากขึน้ ตามลาดับ ทาให้คา่ ใชจ้ ่ายดา้ นน้เี พ่มิ สงู ขน้ึ การนาเทคโนโลยที ี่ไมเ่ หมาะสมมาใชง้ านการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในสถานศึกษาจาเปน็ ต้องพจิ ารณา ใหส้ อดคล้องและตรงกบั ลกั ษณะของแนวการสอนหรือนโยบายของสถานศกึ ษา การขาดการจดั การหรือสนบั สนนุ จากผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาระดับสงู ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เพอ่ื พฒั นาการบรหิ ารจัดการและให้บริการทางการศกึ ษา สถานศึกษายงั ขาดรปู แบบระบบสารสนเทศ และจดั ให้ผบู้ รหิ ารมคี วามรู้ความเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สารในระดบั เบื้องต้น ปัญหาการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ พบว่า ส่วนใหญ่การใชว้ ัสดุ เคร่ืองมอื หรืออปุ กรณ์ และเทคนิควธิ ีการครหู รือ บุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียนมีปัญหาดา้ นงบประมาณไมเ่ พยี งพอและมคี วามลา่ ชา้ วัสดุ เครอ่ื งมอื หรืออุปกรณ์ มไี ม่เพยี งพอกับความตอ้ งการ 5. สาเหตุ ของการเกดิ ปญั หาการจัดการเรยี นรูท้ เี่ กดิ จากการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ละดา้ น โดยใช้เคร่ืองมอื 5.1 ผบู้ ริหาร ครู และนกั เรียน บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลติ สอื่ ประกอบการจดั กิจกรรม บุคลากรขาดประสบการณใ์ นการใช้สอื่ นวตั กรรมทางการศกึ ษา 5.2 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ เคร่ืองมือ และอปุ กรณ์ ขาดงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรม อุปกรณไ์ ม่เพยี งพอกับผู้เรยี น 5.3 วัสดุ วสั ดุขาดงบประมาณในการจัดซอื้ ไมม่ ีงบประมาณและการจัดเก็บไมม่ ีประสทิ ธภิ าพ ทาให้วสั ดุเกดิ ความเสยี หาย 5.4 วิธีการการจัดกิจกรรม วิธีการ กจิ กรรม ครยู ึดวธิ ีการสอนแบบเดมิ คือบรรยายหนา้ ช้นั เรยี น แตส่ ว่ นใหญม่ ีแนวโนม้ ในการพฒั นาที่ดขี ้ึน ครู ยังไมม่ กี ารนาสอ่ื นวัตกรรมมาใช้ในการจดั การเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง 5.5 สภาพแวดล้อม
100 สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปยังไม่เหมาะสมกบั การใช้สือ่ เน่ืองจากความยงุ่ ยากและไม่คล่องตวั มีสถานที่ไม่เป็นสดั สว่ น ไม่มีห้องทใ่ี ช้เพ่อื เก็บรักษาสอ่ื 6.จากขอ้ 5. เสนอแนวทางการแกป้ ัญหาการจดั การเรียนรู้ทเี่ กิดจากการใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ละดา้ น 1. สร้างความตระหนัก ความรับผิดชอบในส่วนทย่ี ังบกพรอ่ งทางนวัตกรรมของบคุ ลากร ส่งเสริมใหเ้ ขา้ ร่วมการ อบรมสมั มนา ส่งเสรมิ ให้เกิดการศกึ ษาด้วยตนเอง เพือ่ ใหค้ วามรู้และประสบการณ์ในการใชส้ ่ือนวตั กรรมทาง การศกึ ษาทม่ี ากขึ้น 2. เพมิ่ งบประมาณให้เพยี งพอ ให้หน่วยงานทม่ี ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งจัดหางบประมาณสนับสนนุ สานกั งานเขตพ้นื ท่ตี ้อง ชว่ ยดแู ลและใหค้ วามชว่ ยเหลือจัดสรรงบประมาณได้ เพอ่ื ใช้ในการพฒั นานวัตกรรมใหม้ คี ณุ ภาพดีย่ิงข้นึ และระดม ทรพั ยากรทม่ี ใี นท้องถิ่น มาชว่ ยสนบั สนนุ 3. แนวทางการแก้ไข คอื ใช้สอื่ นวัตกรรมตามความเหมาะสมของเนื้อหาวชิ าตามความยากงา่ ยของเนอื้ หา แบ่งสอ่ื ไปตามห้องใหค้ รูรบั ผดิ ชอบ ควรจัดหาห้องเพ่อื การนี้เปน็ การเฉพาะ 4. จัดกลุ่มใหเ้ พ่อื นช่วยเพอ่ื น คอยกากับแนะนาช่วยเหลอื จัดครเู ขา้ สอนตามประสบการณ์ความถนัด ควรจดั อบรม เพอ่ื ใหค้ วามรู้ จัดทานวตั กรรมท่ีมโี อกาสเปน็ ไปได้ และสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มจากชมุ ชน สอนเพ่มิ เตมิ นอกเวลา 5.เน้นการเรยี นการสอนท่ีนกั เรียนได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ และสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองจัดแบบทดสอบท่ีหลากหลาย ท้งั แบบปรนัย และอตั นัย และประเมนิ ผลตามสภาพจริง ประเมนิ ผลงานจากแฟ้มสะสมงาน 7. วเิ คราะห์ปัญหา ในช้ันเรยี น ความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื ไอทีนัน้ มคี วามสาคัญมากกว่าเทคโนโลยอี นื่ ใดที่มนษุ ยเ์ คยคิดค้นขน้ึ แม้โดยพ้ืนฐานแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศจะไม่ทาให้เกดิ อนั ตรายรา้ ยแรงอยา่ งเทคโนโลยีนวิ เคลียร์ไม่ทาใหโ้ ลกรา่ รวยด้วยอาหาร เหมอื นเทคโนโลยกี ารเกษตรและอาหารและไม่อาจทาให้มนุษย์มชี วี ิตยนื ยาวไม่เจบ็ ป่วยเหมือนเทคโนโลยี การแพทย์แตเ่ ทคโนโลยีท้ังหลายทรี่ ะบุมานี้ล้วนแล้วแตพ่ ัฒนาก้าวหนา้ มาถึงระดบั นีไ้ ด้เพราะมเี ทคโนโลยี สารสนเทศเป็นรากฐานหากขาดซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศแล้วเทคโนโลยีต่าง ๆ จะไมม่ คี วามก้าวหน้ามากดังทเ่ี ปน็ ในปจั จบุ ัน (ครรชติ มาลัยวงศ:์ 4-5)
101 เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหก้ ารกระจายขอ้ มูลขา่ วสารเป็นไปอย่างรวดเรว็ และมีลกั ษณะการกระจาย แบบทุกทิศทาง และมรี ะบบตอบสนองอยา่ งรวดเรว็ และยังส่ือสารแบบสองทิศทาง ดว้ ยเหตุนผ้ี ลกระทบตอ่ การ เปลยี่ นแปลงทางด้านเศรษฐกิจ การเมอื ง และสงั คมจงึ แตกตา่ งจากในอดีตมาก ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากวิกฤตการณ์ ทางด้านเศรษฐกิจจากประเทศหน่งึ มีผลกระทบต่อประเทศอน่ื ๆ อยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ซง่ึ สามารถอธบิ าย ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมด้านตา่ ง ๆ ของผ้คู นไว้ หลายประการดังต่อไปนี้ (จอห์น ไนซบ์ ิตต์ อ้างถงึ ใน ยืน ภู่วรวรรณ) ประการท่หี นึ่ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสงั คมสารสนเทศ แตเ่ ดิม สภาพของสงั คมโลกเคยเปลย่ี นแปลงมาแลว้ สองครง้ั จากสังคมความเปน็ อยูแ่ บบเร่ร่อนมาเปน็ สงั คมเกษตรท่ีรจู้ ัก กบั การเพาะปลูก และสรา้ งผลิตผลทางการเกษตร ทาใหม้ กี ารสรา้ งบา้ นเรือนเปน็ หลกั แหล่ง ตอ่ มามคี วาม จาเปน็ ต้องผลิตสินค้าใหไ้ ดป้ รมิ าณมากและต้นทนุ ถูก จงึ ต้องหันมาผลติ แบบอตุ สาหกรรม ทาให้สภาพความเป็นอยู่ ของมนษุ ยเ์ ปลี่ยนแปลงมาเป็นสังคมเมือง มกี ารรวมกลมุ่ อยู่อาศัยเป็นเมือง มีอตุ สาหกรรมเปน็ ฐานการผลิต สังคม อุตสาหกรรมไดด้ าเนินการมาจนถึงปจั จบุ ัน และปจั จุบนั ย่างกา้ วเขา้ สู่สงั คมสารสนเทศ ลกั ษณะวถิ กี ารดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ของมนษุ ยอ์ าศยั เครือขา่ ยเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมมากขนึ้ เร่ือย ๆ ไมว่ า่ จะเป็นการพูดคุย การซ้ือสนิ คา้ และบรกิ าร และการทางานทท่ี าให้เกิดสภาพท่ีเสมือนจรงิ เชน่ ห้องสมุด เสมอื นจริง หอ้ งเรยี นเสมือนจริง ท่ีทางานเสมือนจริง เปน็ ตน้ ประการท่สี อง เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหร้ ะบบเศรษฐกจิ เปล่ยี นจากระบบแหง่ ชาติไปเปน็ เศรษฐกจิ โลก ทท่ี าใหร้ ะบบเศรษฐกิจของโลกผูกพนั กับทกุ ประเทศ ความเชื่อมโยงของเครอื ข่ายสารสนเทศทาให้เกิดสงั คม โลกาภวิ ัฒน์ ระบบเศรษฐกจิ ซ่งึ แต่เดิมมีขอบเขตจากดั ภายในประเทศ กก็ ระจายเปน็ เศรษฐกิจโลกท่ัวโลก มีกระแส การหมนุ เวียนแลกเปล่ยี นสินค้าและบริการอยา่ งแพรห่ ลายและรวดเรว็ เครอ่ื งมอื สาคญั ทีเ่ อ้ืออานวยใหก้ าร ดาเนนิ การดังกล่าวมีขอบเขตกว้างขวาง และเชอ่ื มโยงกนั แนบแนน่ มากขนึ้ กค็ อื เทคโนโลยีสารสนเทศ ประการทสี่ าม เทคโนโลยสี ารสนเทศทาใหอ้ งค์กรมลี กั ษณะผูกพัน หน่วยงานภายในเปน็ แบบเครอื ข่าย มากข้ึน แตเ่ ดิมการจดั องค์กรมีการวางเป็นลาดับข้ัน มีสายการบงั คับบัญชาจากบนลงล่าง แตเ่ มอื่ การสอ่ื สารแบบ สองทางและการกระจายขา่ วสารดขี ้ึน มกี ารใช้เครือข่ายคอมพิวเตอรภ์ ายในองค์กรผกู พันกนั เป็นลักษณะกลุม่ งาน มกี ารเพ่มิ คณุ ค่าขององค์กรดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้างขององค์กรจึงปรับเปล่ยี นจากเดมิ องค์กร กลายเปน็ เครือข่ายท่มี ีลักษณะการบงั คับบญั ชาแบบแนวราบมากขน้ึ หนว่ ยธรุ กจิ มขี นาดเลก็ ลง และเชอ่ื มโยงกนั กบั หน่วยธุรกจิ อ่นื เปน็ เครอื ขา่ ย สถานะภาพขององคก์ รไดป้ รบั เปลี่ยนไปตามกระแสของเทคโนโลยีสารสนเทศ การ ดาเนนิ ธรุ กิจจงึ ลดความสาคัญในเร่อื งของขนาด แตแ่ ขง่ ขันกันความเรว็ โดยอาศยั การใช้ระบบเครอื ข่าย คอมพิวเตอร์ และการสอ่ื สารโทรคมนาคมเป็นตวั สนบั สนุน เพอ่ื ให้เกิดการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว ประการทส่ี ี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเปน็ เทคโนโลยีแบบสุนทรยี สมั ผัส และสามารถตอบสนองตามความ ตอ้ งการการใชเ้ ทคโนโลยีในรูปแบบใหมท่ ่เี ลอื กได้เอง กล่าวคอื หากเราต้องการชมภาพยนตร์ หรือโทรทัศน์ เรา ตอ้ งเปิดเคร่ืองรับโทรทศั น์ และไมส่ ามารถเลือกตามความต้องการได้ ถ้าสถานีส่งสญั ญาณใดมา เราก็จะตอ้ งชม ตามน้นั หรือเมื่อต้องการฟังรายการวทิ ยุ ก็ตอ้ งเปิดวทิ ยุจะมีเสียงดังขึน้ ทนั ที หากไมพ่ อใจก็ทาได้เพียงเลอื กสถานี ใหม่ แต่ปัจจุบันจะเห็นว่าการเปลย่ี นแปลงในลักษณะ “ตามทเ่ี ราตอ้ งการ” หรือ “On Demand” มากข้นึ ๆ เรา
102 มี TV On Demand มีวิทยุแบบตามความต้องการ เม่อื ตอ้ งการชมภาพยนตร์เร่อื งใดกเ็ ลือกชม และดูได้ตง้ั แต่ต้น รายการ หากจะศกึ ษาหรือเรยี นรู้ก็มี Education On Demand คอื สามารถเลือกบทเรียนไดต้ ามอัธยาศัย ประการท่หี ้า เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหเ้ กิดสภาพทางการทางานแบบทุกสถานทีแ่ ละทุกเวลา เมือ่ การ ส่อื สารแบบสองทางกา้ วหนา้ และแพร่หลายขน้ึ การโต้ตอบผ่านเครอื ข่ายทาให้เสมอื นมปี ฏสิ มั พนั ธ์ได้จรงิ เชน่ การ ประชุมทางไกลผา่ นจอภาพ หรือวดี ีโอคอนเฟอเรนซ์ ระบบ การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม พาณชิ ย์ อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ลักษณะของการดาเนินกจิ กรรมเหลา่ นี้ทาให้การทางาน ขยายขอบเขตไปทุกหนทุกแหง่ และ สามารถดาเนินการไดต้ ลอดเวลา สาหรับตัวอยา่ งทเ่ี กดิ ข้นึ นานแล้ว เช่น ระบบเอทีเอม็ ชว่ ยให้การเบิกจ่ายสะดวก และทาไดท้ กุ เม่อื และกระจายไปใกล้ตวั ผรู้ บั บริการมากขน้ึ แต่ทวา่ ด้วยเทคโนโลยสี ารสนเทศที่ก้าวหน้ามากขึ้น การบรกิ ารจะกระจายยง่ิ ข้ึนจนถึงที่บา้ น ดังจะเหน็ ได้ว่าในขณะน้ีผูค้ นสามารถทางานบางอย่างไดจ้ ากท่บี า้ นหรือท่ี ใด ๆ กไ็ ด้ โดยไม่มีข้อจากดั ด้านเวลา กล่าวอย่างง่าย ๆ ก็คอื เทคโนโลยีสารสนเทศชว่ ยลดอุปสรรคเรือ่ งสถานที่ และเวลาในการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ ประการทีห่ ก เทคโนโลยสี ารสนเทศกอ่ ใหเ้ กิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวข้ึน อกี ทงั้ ยงั ทาใหว้ ิถกี าร ตดั สินใจ หรือเลอื กทางเลอื กได้ละเอยี ดข้นึ แต่เดมิ การตัดสินปญั หาอาจมหี นทางใหเ้ ลอื กไดน้ ้อย เช่น มีคาตอบ เดยี ว ใช่ และ ไม่ใช่ แตด่ ว้ ยขอ้ มูลข่าวสารทส่ี นบั สนุนการตดั สินใจ ทาให้วิถคี วามคดิ ในการตดั สินปัญหาเปลย่ี นไป ผู้ตดั สินใจมีทางเลอื กไดม้ ากขึน้ มคี วามละเอียดอ่อนในการตัดสินปัญหาไดด้ ขี ึ้น กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมบี ทบาทที่สาคญั ในทกุ วงการ มผี ลต่อการเปล่ียนแปลงโลก ด้านความเปน็ อยู่ สงั คม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัย และการพฒั นาต่างๆเทคโนโลยีสารสนเทศโดยตัวของเทคโนโลยเี องไม่ทาลายธรรมชาตหิ รือสร้างมลภาวะตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม และนับว่ามคี ุณสมบัติเด่นพเิ ศษที่ทาใหเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศกลายเปน็ เทคโนโลยยี ุทธศาสตร์แหง่ ยคุ ปจั จบุ นั และอนาคต เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถชว่ ยเพ่มิ ประสทิ ธิภาพและสมรรถภาพในกิจกรรมหลายอยา่ ง เน่อื งจากเทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถช่วยลดตน้ ทุนหรอื คา่ ใช้จา่ ย เพิ่มคุณภาพของงาน สรา้ งกระบวนการหรือ กรรมวธิ ใี หม่ ๆ และสร้างผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารใหม่ ๆ ข้ึนด้วย (สุเมธ วงศ์พานชิ เลิศ และนติ ย์ จนั ทรมงั คละศรี 2538) 1.5เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การใช้ชวี ติ ในสงั คมปัจจุบัน ในภาวะปจั จุบนั นน้ั สารสนเทศไดก้ ลายเป็นปจั จัยพื้นฐานปจั จัยทห่ี า้ เพิ่มจากปัจจยั สป่ี ระการที่มนุษย์เรา ขาดเสยี มิไดใ้ นการดารงชวี ิตประจาวัน ไม่ว่าจะเปน็ สารสนเทศทีจ่ าเปน็ ในการประกอบธรุ กจิ ในการค้าขาย การ ผลติ สนิ คา้ และบริการ หรอื การให้บริการสงั คม การจัดการทรพั ยากรของชาติ การบริหารและปกครอง จนถึงเรื่อง เบา ๆ เรือ่ งไร้สาระบา้ ง เช่น สภากาแฟทส่ี ามารถพบไดท้ ุกแห่งหนในสังคม เร่อื งสาระบันเทงิ ในยามพกั ผ่อน ไป จนถงึ เรือ่ งความเป็นความตาย เช่น ข่าวอทุ กภยั วาตภยั หรือการทารัฐประหารและปฏวิ ัติ เปน็ ต้น ในความคิดเหน็ ของกลมุ่ บคุ คลตา่ ง ๆ ตัง้ แตน่ กั วชิ าการ นักธรุ กจิ นกั สังคมศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ จนกระท่ังผนู้ าต่าง ๆ ในโลก ดงั เช่น ประธานาธบิ ดี Bill Clinton และรองประธานาธบิ ดี Al Gore ของ สหรัฐอเมรกิ า สารสนเทศเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญท่สี ดุ อยา่ งหนงึ่ ในปัจจุบัน และในยคุ สังคมสารสนเทศแห่งศตวรรษ ท่ี 21 สารสนเทศจะกลายเปน็ ทรัพยากรท่สี าคญั ท่สี ุดเหนือสง่ิ อ่นื ใด กล่าวกันส้ัน ๆ สารสนเทศกาลังจะกลายเป็น
103 ฐานแหง่ อานาจอนั แทจ้ ริงในอนาคต ทัง้ ในทางเศรษฐกจิ และทางการเมือง ในสมยั สังคมเกษตรนั้น ปัจจยั พ้ืนฐาน ในการผลิตทีส่ าคัญ ได้แก่ ที่ดนิ แรงงาน และทุนทรัพย์ ต่อมาในสงั คมอุตสาหกรรม การผลติ ตอ้ งพง่ึ พา ปจั จัยพืน้ ฐานเพ่มิ เติม ไดแ้ ก่ วัสดุ พลังงาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสารสนเทศ สังคมเกษตรและสังคมอตุ สาหกรรม ตอ้ งพงึ่ พาการใชท้ รัพยากรท่ีมอี ยู่อย่างจากดั อันได้แก่ ที่ดนิ พลงั งาน และวสั ดุ เปน็ อย่างมาก และผลของการใช้ ทรพั ยากรเหลา่ นัน้ อย่างฟุ่มเฟอื ยและขาดความระมัดระวัง กไ็ ด้สรา้ งปัญหาสง่ิ แวดล้อมทีร่ นุ แรงมาก ซ่งึ กาลัง คกุ คามโลกรวมท้ังประเทศไทย ต้งั แต่ปัญหาการแปรปรวนของสภาพดินฟา้ อากาศ ภัยธรรมชาติท่ีนบั วนั จะเพ่ิม ความถ่ีและรุนแรงข้ึน ปญั หาการบอ่ นทาลายความสมดลุ ทางนเิ วศวทิ ยาทั้งป่าดงดบิ ป่าชายเลน ปา่ ตน้ น้าลาธาร ความแห้งแล้ง อากาศเปน็ พษิ แมน่ ้าลาคลองทีเ่ ต็มไปด้วยสารพษิ เจอื ปน ตลอดจนถึงปญั หาวิกฤติทางจราจรและ ภยั จากควันพษิ ในมหานครทุกแหง่ ทัว่ โลก ในทางตรงกันขา้ ม ขบวนการผลิต การเก็บ และถ่ายทอดสารสนเทศ อาศยั การใชว้ ัสดุและพลังงานน้อยมาก และไมม่ ผี ลเสียต่อภาวะแวดล้อมหรอื มีเพียงเลก็ นอ้ ยมาก ยง่ิ กว่าน้ัน สารสนเทศจะสามารถชว่ ยให้กิจกรรมการผลิตและการบรกิ ารตา่ ง ๆ เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เช่น สามารถชว่ ย ให้การผลิตทางอตุ สาหกรรมใช้วัตถุดิบ และพลังงานน้อยลง มมี ลภาวะนอ้ ยลง แตส่ ินค้ามคี ุณภาพดขี ้นึ คงทนมาก ขนึ้ ปัญหาวกิ ฤตทิ างจราจรในบางดา้ นก็สามารถผ่อนปรนได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน่ ในการชว่ ย ตดิ ตอ่ สอ่ื สารทางธุรกจิ ต่างๆ โดยไมจ่ าเปน็ ต้องเดนิ ทางด้วยตนเองดังเชน่ แตก่ อ่ น จึงอาจกล่าวไดว้ า่ เทคโนโลยี สารสนเทศจะมีสว่ นอย่างมาก ในการนาสังคม สูว่ ิวัฒนาการอีกระดบั หนงึ่ ทอ่ี าจเรียกไดว้ า่ เป็นสังคมสารสนเทศ อันเปน็ สังคมที่พึงปรารถนาและยงั่ ยืนยิ่งขน้ึ น่นั จึงเปน็ เหตผุ ลทีว่ า่ สงั คมตา่ ง ๆ ในโลก ตา่ งจะต้องกา้ วสู่ สังคมสารสนเทศอย่างหลกี เลย่ี งไม่ได้ ไมเ่ ร็วก็ช้า และนนั่ หมายความว่าสังคมจะตอ้ งพึ่งพาเทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างแน่นอน ไม่วา่ เราจะยอมรับหรอื ไม่ก็ตาม มใิ ช่เพียงแตเ่ พ่อื สร้างขดี ความสามารถในเชงิ แข่งขันในสนามการค้า ระหว่างประเทศ แต่เพือ่ ความอย่รู อดของมนุษยชาติ และเพือ่ คุณภาพชวี ติ ทด่ี ีขน้ึ อกี ตา่ งหากด้วย กลา่ วกันอยา่ งส้ัน ๆ เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื เทคโนโลยีท่ีเก่ยี วข้องกับการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจดั เก็บ เรยี กใช้ หรอื แลกเปลยี่ น และเผยแพร่สารสนเทศ ดว้ ยระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ ไมว่ ่าจะอยใู่ นรปู แบบของรปู เสยี ง ตวั อกั ษร หรือภาพเคลอ่ื นไหว รวมไปถึงการนาสารสนเทศและขอ้ มลู ไปปฏิบัติตามเนือ้ หาของสารสนเทศนั้น เพอ่ื ให้บรรลุ เปา้ หมายของผู้ใช้ การจัดหา วิเคราะห์ ประมวล และจดั การกับข่าวสารขอ้ มูลจานวนมหาศาล จึงขาด เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เสยี มิได้ สว่ นการแสวงหาและแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสาร อย่างรวดเร็ว ทนั เวลา ประหยดั ค่าใช้จา่ ย และมปี ระสิทธภิ าพ ก็จาเปน็ ตอ้ งอาศยั เทคโนโลยโี ทรคมนาคม และทา้ ยสดุ สารสนเทศท่ีมี จะก่อให้เกดิ ประโยชน์จากการบริโภค อยา่ งกวา้ งขวางตามแต่จะตอ้ งการและอย่างประหยัดที่สดุ กต็ ้องอาศยั ท้ังสองเทคโนโลยี ข้างตน้ ในการจดั การและการสอ่ื หรอื ขนยา้ ยจากแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ สู่ผูบ้ รโิ ภคในท่ีสดุ ฉะนนั้ เทคโนโลยสี ารสนเทศจึงครอบคลุมถึงหลาย ๆ เทคโนโลยีหลัก อนั ไดแ้ ก่ คอมพวิ เตอร์ทง้ั ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมลู โทรคมนาคมซึ่งรวมถงึ เทคโนโลยีระบบส่อื สารมวลชน (ไดแ้ ก่ วิทยุ และโทรทศั น)์ ทง้ั ระบบแบบมีสายและไรส้ าย รวมถงึ เทคโนโลยีด้านอิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ อาทิ เทคโนโลยีโทรทัศน์ความคมชดั สูง (HDTV) ดาวเทียมคมนาคม (communications satellite) เส้นใยแก้วนาแสง (fibre optics) สารก่งึ ตัวนา (semiconductor) ปญั ญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) อุปกรณอ์ ตั โนมัติสานักงาน (office automation) อุปกรณ์อตั โนมตั ิในบา้ น (home automation) อปุ กรณ์อัตโนมตั ใิ นโรงงาน (factory automation) เหลา่ นี้ เป็น ตน้ สรปุ
104 ในปัจจุบันประเทศไทยได้ตระหนักถึงศกั ยภาพอนั มหาศาลของเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังจะเห็นได้ว่ามี การพัฒนา เครือขา่ ยและบรกิ ารโทรคมนาคมอยา่ งจริงจงั ซง่ึ เปรียบเสมือนทางหลวงสาหรับการขนถ่ายแลกเปล่ยี นสารสนเทศ อนั เป็นโครงสร้างพ้นื ฐานทีจ่ ะขาดแคลนหรือล้าสมัยมิได้ โครงการหลาย ๆ โครงการทม่ี ีมลู ค่ารวมกัน เปน็ แสนๆ ล้านบาท จึงได้รับการผลกั ดันให้เกิดข้นึ ในท่ีสดุ อาทิ โครงการขยายเครือข่ายโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมาย โครงการ ดาวเทียมสื่อสารไทยคม ดวงที่ 1 และ 2 โครงการเครอื ข่ายบริการร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) โครงการเส้นใยแก้ว นาแสงตามทางรถไฟท่วั ประเทศ โครงการเส้นใยแกว้ นาแสงใต้นา้ หลายโครงการ ทจ่ี ะเช่อื มโยงประเทศไทยกบั ประเทศอาเซียน เชื่อมโยงกบั ฮอ่ งกงผา่ นเวยี ดนาม และเชื่อมโยงกบั ประเทศยโุ รปผ่านประเทศตะวันออกกลาง เปน็ ตน้ รวมถงึ การเปิดโอกาส ใหภ้ าคเอกชนมีส่วนในการพฒั นาในบางโครงการดังกลา่ ว และการให้สมั ปทานแก่ เอกชนในการให้บริการมลู ค่าเพ่ิม (value-added services) อาทิ บรกิ ารวทิ ยุตดิ ตามตวั บรกิ ารโทรศัพทม์ อื ถือ (cellular telephones) บรกิ ารเครือขา่ ยข้อมูลคอมพวิ เตอร์ (data communications) และบริการ Cable-TV ฯลฯ อกี ทั้งกระทรวงคมนาคมยงั มแี ผนทจ่ี ะขยายเครือข่ายโทรศัพท์อีก 6 ลา้ นเลขหมาย รวมถงึ การตดิ ต้งั โทรศัพท์ สาธารณะให้ครบทว่ั ทุกหมบู่ ้านภายในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 อกี ด้วย แมว้ า่ ประเทศไทยมีเจตนารมณ์และความมุ่งมน่ั ท่จี ะพัฒนาในดา้ นน้อี ย่างชดั เจน อย่างนอ้ ยในดา้ น โครงสร้างพ้ืนฐาน และบริการโทรคมนาคม หากแตผ่ ลประโยชน์ทตี่ ามมา จะมากน้อยเพยี งไร และการก้าวสู่ สังคมสารสนเทศจะเป็นไปไดม้ ากนอ้ ยเพียงไร ยงั เปน็ ส่ิงที่ไม่คอ่ ยชัดเจนนักในปจั จุบัน ดังตัวอยา่ งทวี่ า่ ในปจั จุบนั เพยี งไมถ่ ึง 2,000 ตาบล จากทง้ั สนิ้ 5,300 กว่าตาบลเทา่ นนั้ ท่ีมีโทรศพั ท์สาธารณะใช้ ที่เหลอื อกี กวา่ 3,000 ตาบล และอีกกว่า 50,000 หมู่บา้ น จะตอ้ งทยอยรอกนั ถึงปี พ.ศ. 2544 เป็นอย่างเรว็ จงึ จะมีโทรศัพทป์ ระจาหม่บู า้ นใช้ อย่างถว้ นหนา้ หากเปรียบเทยี บเกาหลใี ตแ้ ลว้ กว่า 24,000 หมบู่ ้านท่ัวประเทศท่มี ีผ้อู าศยั กวา่ 10 ครวั เรือน ต่างมี โทรศพั ท์ใช้แลว้ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2530 เป็นตน้ มา เนื่องจากในปัจจุบนั มคี วามขาดแคลนอยา่ งมากทางเครือขา่ ยโทรคมนาคมข้ันพนื้ ฐาน (เช่น โทรศัพท์) ใน นานาประเทศท่ัวโลก ดังเช่นในประเทศไทยทม่ี ีผ้ยู ่ืนขอคูส่ าย โทรศัพท์เกอื บ 2 ลา้ นเลขหมายในนครหลวงและหวั เมืองใหญ่ ๆ ขณะท่โี ทรศพั ท์สาธารณะชุมชนยังครอบคลมุ ไดเ้ พียงเสีย้ วหนึง่ ของพื้นทท่ี ่ัวประเทศเท่าน้นั ดังน้นั แนวความคดิ ที่ว่าบรกิ ารโทรคมนาคมเปดิ เสรีมไิ ด้แตเ่ ป็นกจิ กรรมทีจ่ าเปน็ ตอ้ งใหส้ ิทธิผกู ขาดตามธรรมชาติ (natural monopoly) เช่นเดียวกับสาธารณปู โภคอืน่ ๆ อาทิ ไฟฟ้า และประปา เพื่อที่ผ้ใู ห้บริการจะสามารถ สนองความตอ้ งการของประชาชนผใู้ ช้ ได้อย่างเท่าเทยี มทัว่ ถึงและเป็นธรรม (universal services) จงึ น่าจะเปน็ ความคดิ ทไี่ ม่คอ่ ยถกู ตอ้ ง
105 กระแสการปฏริ ปู ไมว่ า่ จะเป็นการแปรสถานภาพของรัฐวิสาหกจิ โทรคมนาคมไปสู่บริษัทมหาชน การเปิด ตลาดเสรี ในบริการโทรคมนาคมบางชนิด จนถงึ การเปดิ เสรีเตม็ ที่ (market liberalization) ทรี่ วมทง้ั บริการและ เครอื ข่ายทุกชนดิ ได้เร่มิ มกี ารยอมรบั และนาไปปฏิบัตมิ ากขึน้ ในหลายประเทศ อาทเิ ช่น อาร์เจนตนิ า เม็กซโิ ก เวเนซุเอลา อังกฤษ แคนาดา ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด์ ญีป่ ุ่น และมาเลเซีย ฯลฯ กรณขี องประเทศเลก็ มากอยา่ ง นวิ ซแี ลนดท์ ม่ี คี วามสาเร็จสูงในการเปดิ ตลาดเสรอี ย่างเต็มรปู แบบท่ีสดุ เป็นกรณีศกึ ษาอย่างดี ประเทศไทยมแี นวความคิดแก้ไขปญั หาบางส่วนด้วยรูปแบบของ BTO (build-transfer-operate) โดย การให้สมั ปทานติดต้งั โทรศัพท์ 3 ลา้ นเลขหมายแกบ่ รษิ ทั เอกชน 2 ราย แตน่ นั่ เป็นเพยี งมาตรการแกป้ ัญหาการ ขาดแคลนเฉพาะหน้าเท่านั้นยงั ไมไ่ ด้มีการปรับโครงสร้างของธุรกจิ โทรคมนาคมอยา่ งแทจ้ รงิ แมว้ ่าเอกชนจะได้รับ สมั ปทานไปกจ็ รงิ แตต่ ามกฎหมายแลว้ รัฐบาลก็ยงั มอี านาจผูกขาดในธุรกจิ นอ้ี ยู่ ประเดน็ นโยบายท่ีค้างคารอการตัดสินใจของรัฐทจี่ ะยื่นมอื เขา้ มาจัดการในอนาคต จึงยังมีมากมายหลาย ประการ โดยเฉพาะในเร่อื งแนวทางการเปดิ ตลาดเสรี ของบริการโทรคมนาคม การแปรรูปรฐั วิสาหกิจทเ่ี กย่ี วข้อง ตัง้ แตอ่ งค์การโทรศพั ท์แหง่ ประเทศไทย การสื่อสารแห่งประเทศไทย จนถงึ องค์การสื่อสารมวลชน แห่งประเทศ ไทย การแยกอานาจหนา้ ท่ีการควบคุมและกากับ (regulation) ออกจากหนา้ ทีก่ ารให้บริการ (operation) อานาจ หนา้ ทีก่ ารบรหิ ารความถีว่ ิทยุ และท้ายสดุ การแก้ไขกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องใหส้ อดคล้องกับนโยบายดังกล่าวขา้ งตน้ เพอ่ื ให้ประเทศรกั ษาสถานภาพเป็นส่วนสาคัญส่วนหน่ึงในสังคมโลก เป็นประเทศเปิดที่สามารถ จะแขง่ ขันกบั ประเทศอืน่ ได้ เปน็ ศนู ยก์ ลางในหลาย ๆ ด้านตามเจตนารมณข์ องแผนพฒั นาประเทศ และหากประชาชนตอ้ งการสงั คมเปิดท่ีสามารถจะรับรูข้ า่ วสารอยา่ งทั่วหนา้ แล้ว เราคงจะปฏเิ สธทางเลอื ก ใหม่ท่ีจะเปน็ สังคมสารสนเทศมิได้ เพียงแต่วา่ เราจะเลือกเดนิ ไปใน อนาคตอย่างไร เรว็ หรือชา้ ดว้ ยราคาทีเ่ ทียบกบั ผลประโยชนแ์ บบไหน และทา้ ยสุด สังคมพร้อมท่ีจะยอมรบั ในการเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ การตอบคาถามเหล่าน้ี จึง ข้ึนกบั โจทย์ทีว่ ่า “คณุ ภาพชวี ิตจะดขี ึ้นหรอื ไม่ในสังคมสารสนเทศ” อย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้
106 ข้อสอบท้ายบทวิชาสารสนเทศและเทคโนโลยี 15 ขอ้ 1.ข้อใดเกยี่ วข้องกบั ทฤษฏกี ารเรียนรูข้ องพาฟลอฟ ตอบ ก. (Pavlov) 5.นกั เรียนสามารถนาหลกั การทาโครงงาน ก. Readiness คอมพิวเตอร์ไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ในข้อใด ข. Exercise ก. การทางานเป็นข้ันตอน ค. Effect ข. การเรียนรู้จากหนังสอื เรยี น ง. Conditioning ค. การเรียนรู้ภายในห้องเรยี น ตอบ ง. 6. ข้อใดคือขัน้ ตอนสดุ ท้ายของการจัดทาหลักสตู ร 2.ส่อื ประเภทใดท่ีเหมาะสมกับการพฒั นาจรยิ ธรรม สถานศกึ ษา คอื คุณธรรม สาหรบั เดก็ ระดับประถมศึกษา ก. การจัดทาสาระของหลกั สตู ร ก.เกมและเพลง ข. การจดั หน่วยการเรียนรู้ ข.เกมการศึกษา ค. การจัดทาแผนจดั การเรียนรู้ ค.นทิ าน ง. การกาหนดอตั ราเวลาเรยี น ง. รปู ภาพ ตอบ ค. ตอบ ค. 7. บทบาทของครูในการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร 3. บทบาทของครูในการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ผเู้ รียน เปน็ สาคัญ ตรงกับขอ้ ใด ก. ผสู้ อน ก. Supporter ข. ผู้ช้นี า ข. Helper and Advisor ค. ผู้ถ่ายทอดความรู้ ค. supporter and Encourager ง. ผู้ส่งเสรมิ ชว่ ยเหลือ ง. ถกู ทกุ ข้อ ตอบ ง. ตอบ ง. 8. Teleconference เปน็ การนาเทคโนโลยี 4.การประเมินในขอ้ ใดสาคัญที่สุด สารสนเทศและการสือ่ สารมาใช้เพอื่ การใด ก. การแก้ไขพฒั นาผเู้ รยี น ก. การบรหิ ารทางไกล ข.การพฒั นาระบบการให้ระดับคะแนน ข. การตัดสินใจ ค.การพฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตร ค. การบรหิ ารสถานศึกษา ง. การตดั สินใหผ้ ่านและไม่ผา่ น ในการสอบปลายปี ง. การจดั การเรียนรู้
9. Computer-Assisted Instruction (CAI) คอื 107 ขอ้ ใด ก. การเรยี นรูโ้ ดยใช้คอมพิวเตอร์ ง. ความม่นั คง ข. ดาวเทียมเพอ่ื การศกึ ษา ตอบ ข ค. การใช้คอมพิวเตอร์เปน็ สือ่ ในการสอน 13. PBL คอื อะไร ง. การใชค้ อมพวิ เตอร์ในการสอน ก. Project Based Learning ตอบ ง ข. Project Beta Learning 10. ทาไมต้องนานวตั กรรมการศึกษามาใช้แทน ค. Project Based Leader วธิ ีการเดมิ ง. Project Boundary Learning ก. เพื่อได้ประสทิ ธิผลสงู ข้นึ ตอบ ก ข. เพ่อื ใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้นึ 14. การเรียนรโู้ ดยใช้ Project Based Learning มี ค. เพอื่ ลดการสอนของครูจะไดไ้ ปทางานด้านอ่ืน ลกั ษณะอย่างไร ? ง. การเรียนรู้ผ่านดาวเทียม ก. รูปแบบการสอนที่เน้นผู้สอน และการถ่ายโอน ตอบ ก ความรเู้ ป็นสาคัญ 11. บทบาทของครตู อ่ นโยบายด้านเทคโนโลยี ข. รปู แบบการสอนที่เนน้ ผู้เรยี น และการศกึ ษาด้วย สารสนเทศและการสื่อสารเพอ่ื การศกึ ษา ตนเองเปน็ สาคญั เป็นสาคัญ ก. พัฒนาระบบ ค. รปู แบบการสอนทีเ่ น้นกิจกรรมเป็นสาคญั ข. พัฒนาบุคลากร ง. รปู แบบการสอนทีเ่ น้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ค. ใช้และผลติ ใหมเ่ ป็นสาคญั ง. ผูค้ ิดค้น ตอบ ง ตอบ ข 15. บทบาทสาคัญของผู้เรยี นในกระบวนการเรียน 12. การนาเทคโนโลยีมาใช้ควรคานงึ ถึงส่ิงใด การสอนแบบ Project Based Learning ? ก. ประสทิ ธภิ าพของงาน ประหยดั และประสทิ ธผิ ล ก. สามารถเรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ข. ประสทิ ธิภาพของงาน สะดวก ปลอดภยั ข. มีความเช่ียวชาญในเทคโนโลยี ค. ความก้าวหน้า ค. มภี าวะผู้นาสงู ง. มีทกั ษะท่ดี ีการสรา้ ง การออกแบบ ตอบ ก
108 บรรณานกุ รม กฤตกิ า (2554). สารสนเทศ. สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 31 มกราคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/posts/376670 กรรณิการ์ ม้าอตุ ส่าห.์ (2547). ระบบเครอื ขา่ ยในสถานศกึ ษา. สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2565. จาก https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/generality/10000- 12708.html บ้านจอมยทุ ธ. ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกบั สารสนเทศ. สบื ค้นเม่ือ วันท่ี 31 มกราคม 2565. จาก https://www.baanjomyut.com/ วทิ ยาลยั การอาขีพบ้านลาด. การรบั -สง่ ขอ้ มูลอนิ เทอร์เนต็ . สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 31 มกราคม 2565. จาก https://sites.google.com/a/bicec.ac.th/e-learning/ วสันต์ ผูพงษ์ (2557). สารสนเทศ. สืบค้นเมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/posts/380330 ดรณี ดา ปะสังตโิ ย. (2555). คอมพิวเตอร์และอนิ เทอร์เน็ต. สืบค้นเม่อื วันท่ี 2 กุมภาพนั ธ์ 2565. จาก https://www.gotoknow.org/posts/287066 นงนาท (2557). สารสนเทศ. สบื คน้ เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2565, จาก https://sites.google.com/site/xnngnath/phl-khxng-thekhnoloyi-sarsnthes-1 มหาลยั อาชัพบา้ นลาด. การรับ-สง่ ขอ้ มูลบนเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ต. สบื คน้ เมือ่ วนั ที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565. จาก https://sites.google.com/a/bicec.ac.th/e-learning/kar-rab-sng-khx-mul-bn-kherux- khay-xintexrnet-1
33
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118