Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานุ7

รายงานุ7

Published by meaw2424, 2022-03-04 13:20:52

Description: รายงานุ7

Search

Read the Text Version

44 ผลผลิตได้ จนถึงปัจจุบันได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการประมวลผลข้อมูล ก็ทาให้ระบบสารสนเทศน้ี พัฒนาไปได้มากขึ้น ช่วยให้การดารงชีวิตของมนุษย์ดีข้ึนในโลกของเราได้มีการนาเสนอเคร่ืองมือมา ช่วยในการ ดารงชวี ิตมากมาย จนปัจจุบนั น้ันถือได้ว่าเป็นยคุ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ หากแบ่งวิวัฒนาการของยุคสารสนเทศ จะแบง่ ไดด้ งั นี้ -โลกยคุ กสิกรรม (Agriculture Age) ยุคน้ีนับตั้งแต่ก่อนปี ค.ศ. 1800 ถือว่าเป็นยุคที่การดาเนินชีวิตของ มนุษย์ข้ึนอยู่กับการทานา ทาสวน ทาไร่ โลกในยุคน้ียังมีการซื้อขายสินค้าระหว่างกัน แต่ก็ถือว่าเป็นสินค้า เกษตรกรเปน็ หลัก มกี ารนาเครอื่ งมือเคร่อื งทุ่นแรงมาใช้ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ดขี น้ึ ในระบบหน่งึ ๆ จะมีผรู้ ว่ มงานเป็นชาวนา ชาวไร่เปน็ หลกั - ยุคอุตสาหกรรม (Industrial Age) ยุคน้ีนับต้ังแต่ปี ค.ศ. 1800 เป็นต้นมา โดยในประเทศอังกฤษได้นา เคร่ืองจักรกลมาช่วยงานทางดา้ นการเกษตร ทาให้มีผลผลิตมากขึ้นและมีผู้ร่วมงานในระบบมากข้ึน เริ่มมีโรงงาน อุตสาหกรรม เร่ิมมีคนงานในโรงงาน ต่อมาการนาเคร่ืองจักรมาใช้งานน้ีได้ขยายไปสู่ประเทศต่างๆ และได้มีการ แปรรูปผลิตผลทางด้านการเกษตรออกมามากข้ึน และเครือ่ งจกั รกลกเ็ ปน็ เครือ่ งมอื ที่ทางานร่วมกับมนุษย์ และเริ่ม มีโรงงานอตุ สาหกรรมมากขน้ึ ซึง่ ทาให้โลกของเรามีทง้ั ภาคอตุ สาหกรรม และภาคเกษตรกรรมควบคกู่ นั ไป -ยคุ สารสนเทศ (Information Ago) ยุคนีน้ ับตั้งแตป่ ระมาณปี ค.ศ.1957 จากที่การทางานของมนุษย์มีท้ัง ด้านการเกษตรและด้านอุตสาหกรรมรม ทาให้คนงานต้องมีการสื่อสารกันมากขึ้น ต้องมีความรู้ในการใช้ เครอื่ งจกั รกล ตอ้ งมกี ารจดั การขอ้ มลู เอกสาร ข้อมูลสานักงาน งานด้านบัญชี จึงทาให้มีคนงานส่วนหนึ่งมาทางาน ในสานักงาน คนงานเหลา่ นถี้ อื ว่าเป็นผทู้ มี่ ีความรู้และต้องทาหนา้ ทปี่ ระสานงานระหว่าง ฝ่ายผลิตและลูกค้า ทาให้ มีการพัฒนาเครื่องมือต่างๆ มาช่วยในการประมวลผล จัดการให้ระบบงานมีประสิทธิภาพดีข้ึน ทาให้เกิดการใช้ เครอ่ื งมอื ทางสารสนเทศข้นึ มา ซึ่งถอื วา่ เปน็ จดุ เริม่ ตน้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ เมือ่ เข้าสยู่ ุคสารสนเทศ องคก์ รตา่ งๆ ที่นาเทคโนโลยีสอื่ สารมาใชใ้ นการจัดการงานประจาวัน จะทางานได้ สาเร็จเร็วขึ้น การผลิตทาได้เร็วข้ึน เน่ืองจากผู้ผลิตสามารถประมวลผลข้อมูลต่างๆได้รวดเร็วขึ้น มีการนาระบบ อัตโนมัติด้านการผลติ มาใช้ มรี ะบบบญั ชี และมีโปรแกรมทีท่ างานเฉพาะด้านมากข้ึน พ้ืนฐานเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เป็นอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ย่างหน่ึงท่ีใช้สาหรับช่วยในการประมวลผลข้อมูล โดยจะ ทางานตามคาส่ังทีเ่ ก็บเอาไวห้ น่วยความจา เพ่ือประมวลผลข้อมูล ส่ือสารและเคลอื่ นย้ายข้อมลู ไปยังส่วนต่างๆ ใน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศน้นั จะมีการป้อนขอ้ มลู ตา่ งๆ ให้กับคอมพิวเตอร์ประมวลผล เพ่ือให้เอาพุตออกมาเป็น ขอ้ มลู ขา่ วสารที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน ตัวอย่างเช่น ในการประมวลผลการสอบของนักเรียน ข้อมูลที่เข้าไป ทางอนิ พตุ อาจเป็นคะแนนสอบต่างๆ คะแนนการบ้าน คะแนนเวลาเรียนจากน้ันให้ระบบสารสนเทศประมวลผล

45 ตามกฎเกณฑ์ทีต่ ัง้ เอาไว้ และให้เอาต์พตุ ออกมาเป็นเกรดและคะแนนรวมเปน็ ตน้ ขบวนการ ทางานของระบบสารสนเทศนั้นจะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) ประมวลผล (Processing) และให้ข้อมูลผลลัพธ์ออกมาทางเอาต์พุต (Output) โดยในระหว่างการประมวลผลของระบบ สารสนเทศนั้นอาจมีการรับส่งข้อมูลระหว่างอิน พุตเอาต์พุตอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ทางเอาต์พุตอาจมี การนากลับไปปรับปรุงข้อมูลท่ีเข้ามา ทางอินพุต เรียกว่าวงจรการประมวลผลสารสนเทศ ( information processing cycle) ซ่ึงขั้นตอนการทางานต่างๆ จะถูกโปรแกรมอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์จะเรียกฮาร์ดแวร์ (Hard ware)โดยมีส่วนประกอบท่ีสาคัญคือ อุปกรณ์ อินพตุ อุปกรณเ์ อาตพ์ ุต ระบบประมวลผล หน่วยเกบ็ ขอ้ มูล และอปุ กรณ์สอ่ื สารตา่ ง อุปกรณ์อินพุต อปุ กรณ์อินพุตเป็นสว่ นท่ใี ช้รบั ขอ้ มูลและคาสง่ั จากภายนอกเข้าสเู่ คร่อื ง คอมพวิ เตอร์เพอ่ื นาไปประมวลผล ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ สแกนเนอร์ อุปกรณ์อินพุตน่ีจะเปล่ียนข้อมูลท่ีมนุษยืเข้าใจไปเป็นรหัสข้อมูลท่ีเครื่อง คอมพิวเตอรเ์ ข้าใจ อุปกรณ์เอาตพ์ ตุ เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลลัพธ์จาการประมวลผลออกมาในรูปแบบต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการ ได้แก่ จอภาพ ลาโพง และเครือ่ งพิมพโ์ ดยอุปกรณเ์ อาตพ์ ุตนจ้ี ะทาหนา้ ท่เี ปลย่ี นรหัสข้อมลู ที่ คอมพวิ เตอร์เขา้ ใจออกมาเป็นข้อมูล ทีม่ นุษย์เขา้ ใจ หน่วยประมวลผล เมื่อเขา้ สรู่ ะบบแลว้ หนว่ ยประมวลผลจะทาหน้าท่ีประมวลผลตามคาส่ัง หรือโปรแกรมที่กาหนดไว้ โดย โปรแกรมท่ีกาหนดไว้ โดยโปรแกรมและข้อมูลต่างๆ จะถูกเก็บเอาไว้ในหน่วยความจา เม่ือหน่วยประมวลผล ทางานเสรจ็ แลว้ กจ็ ะเกบ็ ขอ้ มลู ลงหนว่ ยเก็บขอ้ มูลหรือส่ง ผลลัพธท์ ี่ไดอ้ อกมาทางเอาต์พตุ อปุ กรณ์เกบ็ ข้อมูล อุปกรณ์ เก็บข้อมูลเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลหรือคาสั่งต่างๆท่ีจะต้องใช้ ในอนาคต ตัวอย่างของหน่วยเก็บข้อมูลได้แก่ การ์ดความจา แผ่นซีดี หรอื ดวี ีดี หน่วยความจาแบบ USB Flash Drive อปุ กรณส์ ื่อสาร อปุ กรณส์ อ่ื สารประเภทน้ีมไี ว้ให้คอมพิวเตอร์สามารถรับหรือส่งข้อมูลให้ คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ได้โดย การส่ือสารนอ้ี าจสง่ ผา่ นทางสายเคเบิล ตัวอยา่ งอุปกรณส์ ื่อสารได้แก่ โมเด็ม ประเภทของคอมพวิ เตอร์ เ ค รื่ อ ง คอมพิวเตอร์นั้นสามารถจาแนกไดห้ ลายประเภท ข้ึนกบั ขนาด ประสิทธภิ าพ และลกั ษณะการใช้งาน โดยท่ัวไป

46 คอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล หรอื ซพี ี (Personal Computer) เป็นเครื่องคอมพวิ เตอร์ทม่ี ีใชง้ านกันท่ัว เป็นแบบตั้งโต๊ะท่ีเหมาะสาหรับใช้งานในบ้าน ในสานักงานราคา ไม่แพง ท่ีนิยมใช้กันมีอยู่สองตระกูลคือ PC-Compatible ท่ีมีต้นแบบเป็นคอมพิวเตอร์ของบริษัท IBM และ คอมพวิ เตอร์ตระกูล Apple คอมพิวเตอรแ์ บบ Apple คอมพิวเตอรแ์ บบ PC มกี ารผลิตออกมาหลายรุ่นหลายแบบ โดยส่วนใหญ่และวจะใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติการ Windows ส่วนคอมพิวเตอร์ Apple จะใช้โปรแกรม ระบบปฏิบัตกิ ารของ Macintosh ที่เรยี กว่า Mac OS คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook Computer) เป็นคอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คลขนาดเลก็ ท่ีมีน้าหนักเบา สะดวกกบั การเคล่ือนย้ายไปยังท่ีต่างๆ คอมพิวเตอร์ แบบน้ีอาจเรียกไดว้ า่ เปน็ Mobile computer สามารถใชพ้ ลังงานไฟฟ้าทั่วไปเหมือนพลังงานจากแบตเตอรี่ได้ ใน ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ประเภทน้ีอาจมีประสิทธิภาพสูงไม่แพ้แบบคอมพิวเตอร์แบบ พีซี แต่หากเปรียบกับพีซีที่มี ประสทิ ธภิ าพเท่ากนั แล้ว คอมพวิ เตอรแ์ บบโน้ตบุกจะมรี าคาสงู กว่า คอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (Handheld Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เหมาะสาหรับพกพาไปท่ีต่างๆ เน่ืองจากเครื่องมีขนาดเล็กจึงไม่เหมาะท่ีจะ ออกแบบคีย์บอร์ดไว้บนตัวเคร่ือง แต่ใช้ปากกาท่ีเรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์สาหรับป้อนข้อมูล คอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถใช้งานพื้นฐานทั่วไปได้ รับส่ง email และใช้ในการส่ือสารได้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ประเภทนี้จะรวมถึงคอมพิวเตอร์แบบ PDA (Personal Digital Assistant) หรือ พีดีเอ ที่ใช้กันท่ัวไป ปัจจุบัน คอมพิวเตอรป์ ระเภทนีย้ ังมีกล้องถา่ ยภาพตดิ มาบนตัวเครื่องด้วย ระบบสารสนเทศในปจั จบุ ันและอนาคต การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบ สารสนเทศน้ัน ผู้ใช้งานจะต้องทราบว่าต้องการประมวลผลข้อมูลอะไร และเลอื กใชโ้ ปรแกรมหรือซอร์ฟแวร์ที่เหมาะสมในการประมวลผลงานนั้นๆ โดยผู้ใช้งานต้องป้อนข้อมูลเข้าไปใน เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ หลงั จากประมวลผลก็จะได้ผลลพั ธ์ออกมาทางเอาต์พตุ ใน ปจั จุบันคอมพิวเตอร์ความเร็วสูงขึ้น ทาให้มีการพัฒนาโปรแกรมต่างๆ ออกมาท่ีมีประสิทธิภาพสูงกว่าในอนาคต ประมวลผลข้อมลู ไดด้ กี ว่า และใช้งานได้ดขี นึ้ เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ่ใี ชม้ าหลายปีแล้วอาจไม่เหมาะสาหรับโปรแกรม บางตัวใน ปัจจุบัน แต่ถ้าหากเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานมานานก็ยังสามารถทางาน ได้ดี สาหรับโปรแกรมนัน้ ๆ ในปัจจุบันหน่วยความจา มีราคาถูกลง มีความจุและทางานได้เร็วข้ึน ในอดีตผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะใช้แผ่นดิสก์เก็บข้อมูล แต่ปัจจุบัน หน่วยความจาแบบ Flash drive ที่ต่อทางพอร์ต USB มีราคาถูกลงทาให้ผู้คนเลิกใช้หน่วยความจาแบบดิสก์แล้ว หันมาใชห้ น่วยความจา แบบน้แี ทน ในอนาคตคอมพิวเตอร์จะมีราคา ถูกลงเมอื่ เทียบกบั ประสิทธิภาพสงู ข้นึ ทาให้ผู้คนสามารถหาคอมพวิ เตอรช์ นิดตา่ งๆ มาใชไ้ ดไ้ ม่ยาก ระบบทางธุรกิจ

47 ทน่ี าคอมพวิ เตอรม์ าใช้กจ็ ะเปน็ การเพม่ิ ภาพลักษณ์ เพิ่มความสนใจในการแข่งขัน และทาให้ธุรกิจน้ันดาเนินไปได้ รวดเรว็ มากข้ึน บริษัทใหญ่ท่ีมบี รษิ ทั ลกู หลายๆ ท่ีสามารถใช้ระบบบัญชีระบบเดียวกันได้ ใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ โดยอาศัยการสอื่ สารข้อมลู ผ่านทางเครือข่าย กท็ าให้ธรุ กจิ ดาเนินไปไดส้ ะดวกขึน้ ร้านอาหารนาระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายแบบไรส้ ายมาใช้ โดยใหพ้ นกั งานตอ้ นรบั ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพีดีเอ ในการรับรายการอาหารที่ ลกู ค้าสัง่ และในหอ้ งครวั ก็ดีคอมพวิ เตอรอ์ ยู่ด้วย กท็ าให้การสง่ั อาหารทาไดเ้ ร็วข้ึน ทาให้รา้ นอาหารมีรายได้มากขึ้น ตามไปดว้ ย วิวฒั นาการของสารสนเทศ อดตี มนุษยย์ งั ไม่มีภาษาที่ใช้สาหรับการส่ือสาร เมื่อเกิดมีเหตุการณ์ (Event) อะไร เกิด ขึ้น ก็ไม่สามารถ ถา่ ยทอด หรือเผยแพร่แก่บุคคลอน่ื หรือสังคมอ่ืนได้ อย่างถูกต้องตรงกัน ระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสาร จึงมีการคิด ใชส้ ญั ลักษณ์ (Symbol) หรอื เครอื่ งหมาย ทาหน้าท่สี อ่ื ความหมายแทนเหตกุ ารณด์ งั กลา่ ว จึงมกี ารใช้กฎ และสูตร (Rule & Formulation) มาใชเ้ พ่อื อธบิ ายเหตุการณด์ ังกลา่ วว่าเกิดมาจากสาเหตุใด หรือเกิดมาจากสารใดผสมกับ สารใด เปน็ ตน้ จากนั้นเมอื่ มนษุ ย์มีภาษา สาหรบั การสอื่ สารแล้ว กเ็ กดิ มีข้อมลู (Data) เก่ียวกับเหตุการณ์ดังกล่าว เกิดขึ้นมามากมาย ท้ังจากภายในสังคมเดียวกัน หรือจากสังคมอื่นๆ เพ่ือให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง ทาให้ต้องมีการ วิเคราะห์ หรือประมวลผล ข้อมูลให้มีสถานภาพเป็นสารสนเทศ (Information) ท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ หรือ ผู้บริโภค เม่ือผู้บริโภคมีการสะสม เพ่ิมพูน สารสนเทศมากๆเข้าและมีการเรียนรู้ (Learning) จนเกิดความเข้าใจ (Understanding) ก็จะเป็นการพฒั นา สารสนเทศทีม่ อี ยู่ในตนเองเป็นองค์ความรู้ (Knowledge) เน่ืองจากมนุษย์ เป็นผูท้ มี่ สี ติ (สมั ปชญั ญะ) (Intellect) รู้จกั ใช้ เหตแุ ละผล (Reasonable) กบั ความรู้ท่ีตนเองมีอยู่ก็จะมีการพัฒนา ความรูเ้ ป็นปญั ญา (Wisdom) ในท่ีสดุ ดงั แสดงได้ ตาม ภาพขา้ งลา่ งนี้

48 สาเหตทุ ที่ าใหเ้ กดิ สารสนเทศ 1. เม่ือมีวิทยาการความรู้ หรือสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ พร้อมกันน้ัน ก็จะเกิด สารสนเทศมา พร้อมๆ กันด้วย จากน้ันก็จะมีการเผยแพร่ หรือกระจายสารสนเทศ เก่ียวกับ วิทยาการความรู้ หรือส่ิงประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ ชนิดนั้นๆไปยัง แหลง่ ต่างๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง 2. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เปน็ เครื่องมือสาคัญในการผลิตสารสนเทศ เน่ืองจากมี ความสะดวกในการป้อน ข้อมูล การปรับปรุง แก้ไข การทาซา้ การเพม่ิ เตมิ ฯลฯ ทาให้มีความ สะดวกและงา่ ยต่อการผลติ สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีสื่อสารยุคใหม่มีความเร็วใน การส่ือสารสูงขึ้น สามารถเผยแพร่สารสนเทศ จากแหล่งหน่ึง ไปยัง สถานท่ีต่างๆ ทั่วโลกในเวลาเดียวกันกับ เหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขึ้นจริง อีกทงั้ สามารถสง่ ผา่ นขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย รูปแบบ พรอ้ มๆ กันในเวลาเดยี วกัน 4. เทคโนโลยีการพิมพ์ที่มีความสามารถในการผลิต สารสนเทศสูงขึน้ สามารถผลิตสารสนเทศได้คร้ังละจานวน มากๆ ในเวลาสั้นๆ มีสีสันเหมือนจริง ทาให้มีปริมาณ สารสนเทศใหมๆ่ เกิดขึน้ อยตู่ ลอดเวลา 5. ผู้ใชม้ ีความจาเป็นต้องใชส้ ารสนเทศเพือ่ การศกึ ษา เพ่ือการ คน้ ควา้ วิจยั เพื่อการ พฒั นาคุณภาพชวี ิต เพอ่ื การ ตัดสนิ ใจ เพอื่ การแกไ้ ขปญั หา เพื่อการปฏิบัติงาน หรือปรับปรุง ประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ าน, การบริหารงาน ฯลฯ 6. ผู้ใช้มีความต้องการใชส้ ารสนเทศ เพือ่ ตอบสนองความสนใจ ตอ้ งการทราบแหล่งท่ีอยู่ ของสารสนเทศ ต้องการเข้าถึงสารสนเทศ ต้องการสารสนเทศท่ีมาจากต่างประเทศ ต้องการสารสนเทศอย่าง หลากหลาย หรือต้องการ สารสนเทศอยา่ งรวดเร็ว เปน็ ต้น ความหมายของคาวา่ ขอ้ มูล จากการศกึ ษาพบว่ามีผใู้ ห้คานยิ ามของคาวา่ ขอ้ มูลไว้ หลากหลาย เชน่ ข้ อ มู ล คือ ข้อเท็จจริง ภาพ (Images) หรือเสียง (Sounds) ท่ีอาจจะ(หรือไม่) แก้ไขปัญหา (Pertinent) หรือเป็น ประโยชน์ต่อการปฏบิ ัติงาน (Alter 1996 : 28) ข้อมูล คือ ตัวแทนของ ขอ้ เทจ็ จรงิ ตวั เลข ขอ้ ความ ภาพ รูปภาพ หรอื เสยี ง (Nickerson 1998 : 10-11) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่แทนเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นภายในองค์การ หรือส่ิงแวดล้อมทางกายภาพก่อนที่จะมีการจัด ระบบให้เป็นรูปแบบที่คนสามารถเข้าใจ และนาไปใชไ้ ด้ (Laudon and Laudon 1999 :8) ข้ อ มู ล คื อ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ห รื อ ก า ร อ ภิ ป ร า ย ปรากฏการณ์อยา่ งใดอย่างหน่ึง (Haag, Cummings and Dawkins 2000 : 31) ข้อมูล คือ ส่ิงประกอบไปด้วยข้อเท็จจริง และสัญลักษณ์ (Figures) ที่มคี วามสัมพนั ธ์ (ไมม่ คี วามหมาย หรือมี ความหมายน้อย) กับผู้ใช้ (McLeod, Jr. and Schell 2001 : 12) ขอ้ มูล คือ คาอธบิ ายพนื้ ฐานเก่ียวกับส่ิงของ เหตุการณ์ กิจกรรม หรือธุรกรรม ซ่ึงไดร้ บั การบันทึก จาแนก และ เก็บรักษาไว้ โดยทีย่ ังไม่ได้เก็บให้เป็นระบบ เพ่ือท่ีจะให้ความหมายอย่างใดอย่าง หนึง่ ที่แน่ชัด (Turban, McLean and Wetherbe 2001 : 17) ข้อมูล ประกอบไปด้วยข้อเท็จจริง (Raw Facts) เช่น ชื่อลูกค้า ตัวเลขเก่ียวกับจานวนช่ัวโมงท่ีทางานใน แตล่ ะ สปั ดาห์ ตวั เลขเกี่ยวกบั สนิ ค้าคงคลงั หรือรายการส่งั ของ (Stair and Reynolds 2001 : 4) ข้ อ มู ล คอื ขอ้ เทจ็ จริง ทใ่ี ช้แทนเหตุการณท์ ่ีเกดิ ขน้ึ และได้รับการรวบรวม หรือป้อนเข้าระบบ (เลาว์ดอน และ เลาว์ดอน

49 2545 : 6) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริง หรือส่ิงทก่ี อ่ หรือยอมรบั วา่ เปน็ ขอ้ เทจ็ จริง (ข้อเท็จจริง หมายถึง ข้อความ หรือเหตุการณ์ที่ เป็นมา หรือท่ีเป็นอยู่ จรงิ (ราชบัณฑิตยสถาน 2539 : 134) สาหรบั ใช้เปน็ หลกั อนุมานหาความจรงิ หรือการคานวณ (หน้าเดยี วกนั ) ขอ้ มูล คือ ข้อความจริงเกี่ยวกบั เรอ่ื งใดเร่ือง หนง่ึ โดยอาจเปน็ ตัวเลข หรอื ขอ้ ความทที่ าให้ผอู้ ่านทราบความเป็น ไป หรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน (สุชาดา กีระนันท์ 2542 : 4) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงท่ีมีอยู่ในชีวิตประจาวัน เก่ียวกับบุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ (จิตติมา เทยี มบญุ ประเสริฐ 2544 : 3) ขอ้ มลู คือ ข้อมูลดบิ (Raw Data) ที่ยงั ไมม่ ีความหมายในการ นาไปใช้งาน และถูกรวบรวมจากแหล่งตา่ งๆ ทั้งภาย ใน และภายนอกองคก์ าร (ณฏั ฐพนั ธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรตโิ กมล 2545 : 40) ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบท่ียังไม่ผ่านการ ประมวลผล ยังไมม่ ีความหมายในการ นาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือ ภาพเคล่ือนไหว (ทิพวรรณ หล่อสวุ รรณรตั น์ 2545 : 9) ขอ้ มลู คอื ตัวอกั ษร ตัวเลข หรือสญั ลกั ษณใ์ ดๆ (นภิ าภรณ์ คาเจรญิ 2545 : 14) ชนดิ ของขอ้ มลู (Types of Data) เราสามารถแบ่งขอ้ มลู ออกเป็น 4 ชนิด ดงั น้ี (Alter 1996 : 151-152, Stair and Reynolds 2001 : 5) 1.ข้อมูล ที่เป็นอักขระ (Alphanumeric Data) ได้แก่ ตัวเลข (Numbers) ตัวอักษร (Letters) เคร่ืองหมาย (Sign) และ สญั ลกั ษณ์ (Symbol) 2.ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ภ า พ (Image Data) ได้แก่ ภาพกราฟกิ (Graphic Images) และรูปภาพ (Pictures) 3.ข้อมูลท่ีเป็นเสียง (Audio Data) ได้แก่ เสียง (Sounds) เสียงรบกวน/เสยี งแทรก (Noise) และเสียงท่ีมีระดับ (Tones) ต่างๆ เช่น เสียงสูง เสียงต่า เปน็ ต้น 4.ข้อมูลท่ีเป็นภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ภาพยนตร์ (Moving Images or Pictures)และ วีดิทศั น์ (Video)นอกจากนั้นยังพบว่ามีข้อมูลในลักษณะของกล่ิน (Scent) และข้อมลู ในลกั ษณะทมี่ กี ารประสมประสานกัน เช่น มีการนาเอาข้อมูลทั้ง 4 ชนิดมารวมกันเรียกว่า สื่อ ประสม (Multimedia) แตถ่ า้ มีการประสมขอ้ มูลที่เป็นกลิ่นเข้าไปดว้ ย เราเรียกวา่ Multi-scented กรรมวธิ ีการจัดการขอ้ มูล (Datamanipulation) (ให้มีคุณค่าเป็นสารสนเทศ) การจัดการข้อมูลให้มีคุณค่าเป็นสารสนเทศ กระทาได้โดยการเปล่ียนแปลงสถานภาพของข้อมูล ซ่ึงมี วธิ กี าร หรือ กรรมวธิ ีดงั ตอ่ ไปน้ี (Kroenke and Hatch1994 : 18-20) 1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing/gathering/collecting Data) ท่ีต้องการจากแหล่งต่างๆ โดยการ เคร่ืองมือ ช่วยค้นท่ีเป็นบัตรรายการ หรือ OPAC แล้วนาตัวเล่มมาพิจารณาว่ามีรายการใดที่สามารถนามาใช้ ประโยชนไ์ ด้ 2. การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเน้ือหาของข้อมูลที่หามาได้ ใน ประเดน็ ของ ความถกู ต้องและความแม่นยาของเน้อื หา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ หรือแผนท่ี กับ เนือ้ หา 3. การ

50 จัดแยกประเภท/จัดหมวดหมู่ข้อมูล (Classifying Data) เม่ือผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง สอดคล้องกัน ของ เนอื้ หาแล้ว นาข้อมลู ต่างๆ เหลา่ น้นั มาแยกออกเปน็ กอง หรือกลุม่ ๆ ตามเร่ืองราวท่ีปรากฏในเน้อื หา 4. จากนั้นก็นาแต่ละกอง หรือกลุ่ม มาทาการเรียงลาดับ/เรียบเรียงข้อมูล (Arranging/sorting Data) ให้เป็นไป ตามความเหมาะสมของ เนื้อหาว่าจะเร่ิมจากหัวข้อใด จากนนั้ ควรเปน็ หัวข้ออะไร 5. หากมีข้อมูลเก่ียวกับตัวเลข จะต้องนาตัวเลขนั้นมาทาการวิเคราะห์หาค่าทางสถิติท่ีเกี่ยวข้อง หรือทาการ คานวณข้อมูล (Calculating Data) ให้ได้ผลลพั ธ์ออกเสยี กอ่ น 6. หลงั จากนั้นจึงทาการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เน้ือหาในแตล่ ะหัวข้อ 7. เสร็จแลว้ ทาการจัดเก็บ หรือบันทึกข้อมูล (Storing Data) ลงในสื่อประเภทต่างๆ เช่น ทาเป็นรายงาน หนังสือ บทความตีพิมพ์ในวารสาร หนังสือพมิ พ์ หรอื ลงในฐานขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ (แผ่นดสิ ก์ ซดี ี-รอม ฯลฯ) 8. จัดทาระบบการค้นคืน เพ่ือความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Retrieving Data) จะได้ จัดเก็บ และค้นคืนสารสนเทศอย่างถกู ต้อง แม่นยา รวดเร็ว และตรงกับความต้อง 9. ในการประมวลผลเพ่ือให้ได้มาซ่ึงสารสนเทศ จักต้องมีการสาเนาข้อมูล (Reproducing Data) เพ่ือป้องกัน ความเสียหายท่ีอาจเกิดขน้ึ กับข้อมูล ทัง้ จากสาเหตทุ างกายภาพ และระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มลู 10. จากนั้นจึงทาการการเผยแพร่ หรือสื่อสาร หรือกระจายข้อมูล(Communicating/disseminating Data) เพอื่ ใหผ้ ลลัพธท์ ่ีได้ถงึ ยงั ผ้รู ับ หรอื ผ้ทู ีเ่ กีย่ วข้อง การจัดการข้อมูลให้มีสถานภาพเป็นสารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเป็นจริงแล้วไม่ จาเป็นท่ี จะต้องทาครบ ทั้ง 10 วิธีการ การที่จะทาก่ีข้ันตอนน้ันข้ึนอยู่กับ ข้อมูลที่นาเข้ามาในระบบการ ประมวลผล หากข้อมูลผ่าน ข้ันตอน ท่ี 1 หรือ 2 มาแล้ว พอมาถึงเรา เราก็ทาขั้นตอนที่ 3 ต่อไปได้ทันที แต่ อย่างไรก็ตามการใหไ้ ด้มาซง่ึ ผลลัพธท์ ี่มี คุณคา่ จักต้องทาตามลาดับดังกล่าวข้างต้น ไม่ควรทาข้ามขั้นตอน ยกเว้น ข้นั ตอนท่ี 5 และข้นั ตอนท่ี 6 กรณที ่เี ปน็ ข้อมูล เก่ียวกับตัวเลขก็ทาขั้นตอนท่ี 5 หากข้อมูลไม่ใช่ตัวเลขอาจจะข้าม ข้ันตอนท่ี 5 ไปทาข้ันตอนที่ 6 ได้เลย เป็นต้น ผลลัพธ์ หรือผลผลิตที่ได้จากการประมวลผล หรือกรรมวิธีจัดการ ขอ้ มูล ปรากฏแกส่ ังคมในรปู ของสอื่ ประเภทต่างๆ เชน่ เป็น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ ซีดี-รอม สไลด์ แผ่นใส แผนที่ เทปคลาสเซท ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่า ผลผลิต หรือผลลัพธ์น้ันจะมีสถานภาพเป็น สารสนเทศเสมอไป ความหมายของสารสนเทศ ( Information ) ซาเรซวคิ และวูด (Saracevic and Wood 1981 : 10) ได้ให้คานยิ ามสารสนเทศไว้ 4 นิยามดงั น้ี 1. Information is a selection from a set of available message, a selection which reduces uncertainty. สารสนเทศ คือ การเลอื กสรรจากชุดของข่าวสารที่มอี ยู่ เปน็ การเลือกทีช่ ่วยลดความไม่แน่นอน หรือ กล่าวได้ว่า สารสนเทศ คอื ขอ้ มูลที่ได้มีเลือกสรรมาแล้ว (เป็นข้อมูลท่ีมีความแน่นอนแล้ว) จากกลุ่มของข้อมูลที่มี อยู่ 2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of conventions used in their presentation. สารสนเทศ คือ ความหมายท่ีมนุษย์ (สั่ง) ให้แก่ ข้อมูล ด้วยวิธีการนาเสนอที่เป็นระเบียบ แบบแผน

51 3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the image- structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully structured by a sender with the intention of changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คือ โครงสร้างของข้อความใดๆ ทส่ี ามารถเปลย่ี นแปลงโครงสร้าง ทาง จินตภาพ (ภาพลักษณ์) ของผู้รับ (ข้อความ หมายถึง ท่ีรวมของสัญลักษณ์ ต่างๆ มีโครงสร้างทีม่ ี จุดมุง่ หมาย โดยผสู้ ง่ มเี ป้าหมายท่ีจะ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง จินตภาพ (+ความรู้สึกนึก คิด) ของผรู้ บั (สาร) 4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลท่มี คี ่าในการตัดสินใจ นอกจากนัน้ ยงั มีความหมายท่นี า่ สนใจดังน้ี สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีการปรับเปลี่ยน (Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting) การกลั่นกรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing) ให้เป็นผลลัพธ์ท่ีมี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรือวีดิทัศน์) และเนอื้ หาท่ตี รงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนาไปใช้ (Alter 1996 : 29, 65, 714) สารสนเทศ คือ ตวั แทนของข้อมูลทผ่ี ่านการประมวลผล (Process) การจัดการ (Organized) และการผสมผสาน (Integrated) ให้ เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ (Post 1997 : 7)สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีความหมาย (Meaningful) หรือเป็น ประโยชน์ (Useful) สาหรบั บางคนที่จะใชช้ ่วยในการ ปฏบิ ัตงิ านและการจัดการ องค์การ (Nickerson 1998 : 11) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีความหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39) สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีมีความหมายเฉพาะภายใต้บริบท (Context) ที่เก่ียวข้อง (Haag, Cummings and Dawkins 2000 : 20) สารสนเทศ คือ ข้อมลู ที่ผ่านการปรบั เปลย่ี น (Converted) มาเป็นสิ่งที่มีความ หมาย (meaningful) และ เป็น ประโยชน์ (Useful) กับเฉพาะบคุ คล (O’Brien 2001 : 15) สารสนเทศ คือ ข้อมลู ที่ผ่านการประมวลผล หรือข้อมูลท่ีมีความหมาย (McLeod, Jr. and Schell 2001 : 12) สารสนเทศ คอื ข้อมูลทไ่ี ด้รับการจัดระบบเพื่อให้มีความหมายและมีคุณค่าสาหรับ ผู้ใช้ (Turban, McLean and Wetherbe 2001 : 7)สารสนเทศ คือ ท่ีรวม (ชุด) ข้อเท็จจริงท่ีได้มีการจัดการแล้ว ในกรณีเช่น ข้อเท็จจริง เหลา่ นน้ั ไดม้ กี ารเพ่ิมคุณค่า ภายใตค้ ุณค่าของข้อเท็จจรงิ นนั้ เอง (Stair and Reynolds 2001 : 4) สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้รับการประมวลผล หรือปรุงแต่ง เพ่ือให้มีความหมาย และเป็น ประโยชนต์ ่อผู้ใช้ (เลาว์ดอน และเลาว์ดอน 2545 : 6) สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายต่อผู้รับ และมีคุณค่าอัน แทจ้ รงิ หรอื คาดการณว์ ่าจะมคี ่าสาหรบั การดาเนินงาน หรือการตัดสินใจใน ปัจจุบัน หรืออนาคต (ครรชิต มาลัย วงศ์ 2535 : 12) สารสนเทศ คือ เร่ืองราว ความรู้ต่างๆ ที่ได้จากการนาข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีการอย่างใด อย่างหน่ึง และมี การผสมผสานความรู้ หรือหลักวิชาท่ีเกี่ยวข้อง หรือความคิดเห็น ลงไปด้วย (กัลยา อุดมวิทิต 2537 :3) สารสนเทศ คือ ข้อความรู้ท่ีประมวลได้จากข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในเรื่องน้ันจนได้ ข้อสรุป เป็น ขอ้ ความรู้ท่ี สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเน้นทีก่ ารเกิดประโยชน์ คือความรู้ที่เกิดขึ้นเพ่ิมข้ึนกับผู้ใช้(สุชาดา กี ระนันท์ 2542 : 5)สารสนเทศ คอื ขา่ วสาร หรอื การชี้แจงข่าวสาร (ปทีป เมธาคณุ วฒุ ิ 2544 : 1) สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผล ผ่านการวิเคราะห์ หรือสรุปให้อยู่ในรูปท่ีมีความหมายท่ี

52 สามารถนาไป ใช้ประโยชนไ์ ดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ (จติ ติมา เทยี มบุญประเสรฐิ 2544 : 4) สารสนเทศ คอื ผลลพั ธท์ ่เี กดิ จากการประมวลผลข้อมูลดิบท่ีถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ ท่ีสามารถนาไป ประกอบการทางาน หรือสนับสนนุ การตัดสินใจของผบู้ ริหาร ทาให้ผู้บริหารสามารถแก้ไขปัญหา หรือทางเลือกใน การ ดาเนนิ งานอย่างมีประสิทธิภาพ (ณัฏฐพนั ธ์ เขจรนันทน์ และไพบลู ย์ เกยี รตโิ กมล 2545 : 40) สารสนเทศ คอื ขอ้ มลู ที่ได้ผา่ นการประมวลผล หรือจัดระบบแล้ว เพ่ือให้มีความหมายและ คุณค่าสาหรับ ผ้ใู ช้ (ทิพวรรณ หล่อสวุ รรณรตั น์ 2545 : 9) สารสนเทศ คือ ผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผลของข้อมูลดิบ (Raw Data) ประกอบไปด้วย ข้อมูลต่างๆ ท่ีเป็น ตัวอักษร ตัวเลข เสียง และภาพ ที่นาไปใช้สนับสนุนการ บรหิ ารและการตัดสนิ ใจของผบู้ รหิ าร (นภิ าภรณ์ คาเจริญ 2545 : 14) หลกั เกณฑ์การประเมนิ ผลลัพธ์ หรือผลผลติ (Criterias to Evaluated Outputs) ข้อมูลของบางคนอาจเป็นสารสนเทศสาหรับอีกคนหนึ่ง (Nickerson 1998 : 11) การท่ีจะบ่งบอกว่า ผลผลิต หรือ ผลลัพธ์มีคุณค่า หรือสถานภาพเป็นสารสนเทศ หรือไม่นั้น เราใช้หลักเกณฑ์ต่อไปน้ีประกอบการ พจิ ารณา 1. ความถกู ต้อง (Accuracy) ของผลผลติ หรือผลลัพธ์ 2. ตรงกับความต้องการ (Relevance/pertinent) 3. ทนั กับความต้องการ (Timeliness) การพิจารณาความถูกต้องดูท่ีเนื้อหา (Content) ของผลผลิต โดยพิจารณาจากข้ันตอนของการ ประมวลผล (Process; verifying, calculating) ข้อมลู สาหรบั การตรงกบั ความตอ้ งการ หรือทันกับความต้องการ มีผู้ใช้ผลผลิตเป็น เกณฑ์ในการพิจารณา หากผู้ใช้เห็นว่าผลผลิตตรงกับความต้องการ หรือผลผลิตสามารถตอบ ปญั หา หรือแกไ้ ขปัญหา ของผใู้ ชไ้ ด้ และสามารถเรยี กมาใช้ไดใ้ นเวลาที่เขาตอ้ งการ (ทนั ต่อความต้องการใช้) เราจึง จะสรุปไดว้ า่ ผลผลติ หรือ ผลลพั ธน์ น้ั มีสถานภาพ เปน็ สารสนเทศ คุ ณ ภ า พ ห รื อ คณุ ค่าของสารสนเทศ ขึ้นอยกู่ บั ขอ้ มลู (Data) ทน่ี าเขา้ มา (Input) หากข้อมูลท่ีนาเข้ามาประมวลผล เป็นข้อมูลท่ีดี ผลลพั ธ์ท่ีได้กจ็ ะมคี ุณภาพดี หรือมคี ณุ คา่ ผใู้ ช้ หรอื ผู้บรโิ ภคสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ แต่หากข้อมูลท่ี นาเข้ามา ประมวลผลไม่ดี ผลผลิต หรือผลลัพธ์ก็จะมีคุณภาพไม่ดี หรือไม่มีคุณค่า สมด่ังกับวลีที่ว่า GIGO (Garbage In Garbage Out) หมายความวา่ ถา้ นาขยะเข้ามา ผลผลติ (ส่ิงที่ได้ออกไป) กค็ อื ขยะนั่นเอง คณุ ลกั ษณะของสารสนเทศทีด่ ี (Characteristics of Information) สารสนเทศท่ีดีควรมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ (Alter 1996 : 170-175, Stair and Reynolds 2001 : 6-7, จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ 2544 : 12-15, ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล 2545 : 41-42 และ ทิพวรรณ หล่อสวุ รรณรตั น์ 2545 : 12-15) - สารสนเทศท่ดี ีตอ้ งมคี วามความถูกตอ้ ง (Accurate) และไม่มคี วามผดิ พลาด- ผทู้ ม่ี สี ทิ ธใิ ช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้งา่ ย ในรปู แบบ และเวลาทเี่ หมาะสม ตาม ความต้องการของผใู้ ช้ -สารสนเทศตอ้ งมีความชดั เจน (Clarity) ไมค่ ลมุ เครือ - สารสนเทศท่ีดีต้องมีความสมบรู ณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเทจ็ จรงิ ท่ีมีสาคญั ครบถ้วน - สารสนเทศต้องมคี วามกะทดั รดั (Conciseness) หรือรดั กมุ เหมาะสมกบั ผใู้ ช้

53 - กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ท่ีมีหน้าท่ีตัดสินใจมักจะต้องสร้าง ดุลยภาพ ระหวา่ งคุณคา่ ของสารสนเทศกับราคาท่ใี ช้ในการผลิต - ตอ้ งมคี วามยึดหยุน่ (Flexible) สามารถในไปใชใ้ นหลาย ๆ เปา้ หมาย หรอื วัตถุประสงค์ - สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนาเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เก่ียวข้อง - สารสนเทศทีด่ ีต้องตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevant/Precision) ของผู้ทท่ี าการตัดสนิ ใจ - สารสนเทศท่ีดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศท่ีได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่า เช่ือ ถือ หรอื แหลง่ (Source) ท่นี า่ เชื่อถอื เป็นตน้ -สารสนเทศทีด่ คี วรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเขา้ ถงึ ของผไู้ มม่ ีสิทธิใช้สารสนเทศ -สารสนเทศท่ีดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดท่ีเหมาะสม (ไม่มากเกินความจาเป็น) - สารสนเทศทดี่ ตี ้องมคี วามแตกต่าง หรอื ประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอืน่ ๆ - สารสนเทศท่ีดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือ สามารถสง่ ถงึ ผู้รบั ได้ในเวลาทีผ่ ู้ใชต้ ้องการ - สารสนเทศท่ีดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อ การ เปล่ียนแปลงทด่ี าเนนิ ไปอย่างรวดเร็ว - สารสนเทศท่ีดตี ้องสามารถพสิ ูจนไ์ ด้ (Verifiable) หรอื ตรวจสอบจากหลาย ๆ แหลง่ ไดว้ ่ามคี วามถูกตอ้ ง นอกจากนั้นสารสนเทศมีคุณสมบัติท่ีแตกต่างไปจากสินค้าประเภทอื่น ๆ 4 ประการคือ ใช้ไม่หมด ไม่ สามารถ ถ่ายโอนได้ แบ่งแยกไม่ได้ และสะสมเพ่ิมพูนได้ (ประภาวดี สืบสนธ์ 2543 : 12-13) หรืออาจสรุปได้ว่า สารสนเทศ ท่ีดีต้องมีคุณลักษณะครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านเวลา (ทันเวลา และทันสมัย) ด้านเน้ือหา (ถูกต้อง สมบรู ณ์ ยึดหยุน่ น่าเช่ือถอื ตรงกับ ความตอ้ งการ และตรวจสอบได้) ด้านรูปแบบ (ชัดเจน กะทัดรัด ง่าย รูปแบบ การนาเสนอ ประหยดั แปลก) และดา้ น กระบวนการ (เข้าถึงได้ และปลอดภัย) คุณลักษณะของสารสนเทศท่ดี ี (Characteristics of Information) สารสนเทศท่ีดีควรมีคุณลักษณะดังต่อไปน้ี (Alter 1996 : 170-175, Stair and Reynolds 2001 : 6-7, จิตตมิ า เทยี มบุญประเสริฐ 2544 : 12-15, ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบลู ย์ เกียรติโกมล 2545 : 41-42 และ ทิพวรรณ หล่อสวุ รรณรัตน์ 2545 : 12-15) 1. สารสนเทศทดี่ ีต้องมคี วามความถกู ตอ้ ง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด 2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม ความต้องการของผใู้ ช้ 3. สารสนเทศตอ้ งมคี วามชัดเจน (Clarity) ไมค่ ลุมเครือ 4. สารสนเทศทดี่ ตี ้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปดว้ ยขอ้ เท็จจรงิ ที่มีสาคัญครบถว้ น 5. สารสนเทศตอ้ งมีความกะทัดรดั (Conciseness) หรอื รัดกุม เหมาะสมกบั ผู้ใช้ 6. กระบวนการผลติ สารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ท่มี ีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลย ภาพ ระหวา่ งคุณค่าของสารสนเทศกบั ราคาทีใ่ ชใ้ นการผลิต 7. ตอ้ งมคี วามยึดหยุน่ (Flexible) สามารถในไปใชใ้ นหลาย ๆ เป้าหมาย หรอื วัตถุประสงค์

54 8. สารสนเทศที่ดตี ้องมีรปู แบบการนาเสนอ (Presentation) ท่ีเหมาะสมกบั ผใู้ ช้ หรือผู้ทเี่ กย่ี วข้อง 9. สารสนเทศทด่ี ตี ้องตรงกับความตอ้ งการ (Relevant/Precision) ของผูท้ ท่ี าการตดั สินใจ 10. สารสนเทศทด่ี ีตอ้ งมคี วามนา่ เชื่อถอื (Reliable) เชน่ เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหลง่ (Source) ทน่ี ่าเชื่อถอื เป็นตน้ 11. สารสนเทศท่ดี คี วรมคี วามปลอดภยั (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มสี ทิ ธใิ ช้สารสนเทศ 12. สารสนเทศทด่ี ีควรง่าย (Simple) ไมส่ ลบั ซับซ้อน มรี ายละเอยี ดทเ่ี หมาะสม (ไม่มากเกนิ ความจาเปน็ ) 13. สารสนเทศที่ดีต้องมคี วามแตกต่าง หรอื ประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอนื่ ๆ 14. สารสนเทศท่ีดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือ สามารถส่ง ถงึ ผู้รับไดใ้ นเวลาท่ีผูใ้ ช้ตอ้ งการ 15. สารสนเทศที่ดตี ้องเปน็ ปัจจบุ นั (Up to Date) หรือมคี วามทันสมยั ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ เปลย่ี นแปลงที่ดาเนินไปอยา่ งรวดเรว็ 16. สารสนเทศทด่ี ตี ้องสามารถพิสจู น์ได้ (Verifiable) หรอื ตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามคี วามถูกตอ้ ง นอกจากนนั้ สารสนเทศมคี ณุ สมบัติทีแ่ ตกตา่ งไปจากสินค้าประเภทอ่นื ๆ 4 ประการคือ ใช้ไม่หมด ไม่สามารถ ถ่าย โอนได้ แบง่ แยกไม่ได้ และสะสมเพิม่ พูนได้ (ประภาวดี สืบสนธ์ 2543 : 12-13) หรืออาจสรุปได้ว่าสารสนเทศ ท่ีดี ต้องมีคุณลักษณะครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านเวลา (ทันเวลา และทันสมัย) ด้านเนื้อหา (ถูกต้อง สมบูรณ์ ยึดหยุ่น น่าเชื่อถือ ตรงกับ ความต้องการ และตรวจสอบได้) ด้านรูปแบบ (ชัดเจน กะทัดรัด ง่าย รูปแบบการนาเสนอ ประหยัด แปลก) และด้าน กระบวนการ (เขา้ ถงึ ได้ และปลอดภัย) คณุ ภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality) คุณภาพของสารสนเทศ จะมีคณุ ภาพสงู มาก หรือนอ้ ย พิจารณาท่ี 3 ประเด็น ดังน้ี (Bentley 1998 : 58- 59) 1. ตรงกับความต้องการ (Relevant) หรือไม่ โดยดูว่าสารสนเทศนั้นผใู้ ชส้ ามารถนาไปใช้เพิ่มประสิทธิภาพ ได้ มากกว่าไม่ใช้สารสนเทศ หรอื ไม่ คุณภาพของสารสนเทศ อาจจะดูท่มี นั มีผลกระทบต่อกิจกรรมของผู้ใช้ หรือไม่ อย่างไร 2. น่าเช่ือถือ (Reliable) เพียงใด ความน่าเช่ือถือมีหัวข้อที่จะใช้พิจารณา เช่น ความทันเวลา (Timely) กับผู้ใช้ เม่ือ ผู้ใช้จาเป็นต้องใช้มี สารสนเทศน้นั หรอื ไม่ สารสนเทศทีน่ ามาใชต้ อ้ งมคี วามถกู ตอ้ ง (Accurate) สามารถพิสูจน์ (Verifiable) ได้ว่าเป็น ความจริง ด้วยการวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เปน็ ตน้ 3. สารสนเทศนั้นเข้มแข็ง (Robust) เพียงใด พิจารณาจากการที่สารสนเทศสามารถเคล่ือนตัวเองไปพร้อมกับกาลเวลาท่ีเปลี่ยนไป ( Rigorous of Time) หรือพิจารณาจากความอ่อนแอของมนุษย์ (Human Frailty) เพราะมนุษย์ อาจทาความผิดพลาดในการ ป้อนข้อมูล หรือการประมวลผลข้อมูล เพราะฉะนั้นจะต้องมีการควบคุม หรือตรวจสอบ ไม่ให้มีความผิดพลาด เกิดข้ึน หรือพิจารณาจากความผิดพลาด หรือล้มเหลวของระบบ (System Failure) ที่จะส่งผล เสียหายต่อ สารสนเทศได้ ดงั นนั้ จึงต้องมกี ารป้องกันความผดิ พลาด (ที่เนื้อหา และไม่ทันเวลา) ท่ีอาจเกิดขึ้นได้ หรือ พิจารณา จากการเปล่ียนแปลง การจัดการ (ข้อมูล) (Organizational Changes) ท่ีอาจจะส่งผลกระทบ (สร้างความ เสยี หาย) ตอ่ สารสนเทศ เชน่ โครงสรา้ ง แฟม้ ข้อมูล วิธีการเข้าถึงข้อมูล การรายงาน จักต้องมีการป้องกัน หากมี

55 การ เปลีย่ นแปลงในเรอ่ื งดงั กลา่ ว นอกจากน้นั ซวาสส์ (Zwass 1998 : 42) กลา่ วถึง คุณภาพของสารสนเทศจะมี มากน้อยเพยี งใดข้ึนอยู่กบั การ ทันเวลา ความสมบูรณ์ ความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการ ความถูกต้อง ความ เที่ยงตรง (Precision) และรูปแบบที่เหมาะสม ในเรื่องเดียวกัน โอไบร์อัน (O’Brien 2001 : 16-17) กล่าวว่า คุณภาพของสารสนเทศ พจิ ารณาใน 3 มิติ ดังนี้ 1. มติ ิดา้ นเวลา (Time Dimension) - สารสนเทศควรจะมีการเตรียมไว้ใหท้ ันเวลา (Timeliness) กบั ความตอ้ งการของผู้ใช้ - สารสนเทศควรจะตอ้ งมีความทันสมัย หรอื เป็นปัจจบุ ัน (Currency) - สารสนเทศควรจะต้องมีความถี่ (Frequency) หรือบอ่ ย เทา่ ท่ผี ู้ใช้ต้องการ - สารสนเทศควรมีเรือ่ งเกย่ี วกับชว่ งเวลา (Time Period) ตงั้ แตอ่ ดีต ปจั จุบัน และอนาคต 2. มติ ดิ ้านเนือ้ หา (Content Dimension) - ความถกู ตอ้ ง ปราศจากข้อผิดพลาด - ตรงกบั ความต้องการใช้สารสนเทศ - สมบรู ณ์ สิง่ ทจ่ี าเปน็ จะต้องมีในสารสนเทศ - กะทดั รดั เฉพาะทจี่ าเป็นเทา่ นน้ั -ครอบคลุม (Scope) ทงั้ ด้านกว้างและด้านแคบ (ดา้ นลกึ ) หรือมีจุดเนน้ ทั้งภายในและภายนอก - มีความสามารถ/ศักยภาพ (Performance) ท่ีแสดงใหเ้ ห็นได้จากการวัดค่าได้ การบ่งบอกถึงการพัฒนา หรอื สามารถเพม่ิ พนู ทรัพยากร 3. มติ ิด้านรปู แบบ (Form Dimension) - ชัดเจน ง่ายต่อการทาความเข้าใจ - มที งั้ แบบรายละเอยี ด (Detail) และแบบสรปุ ยอ่ (Summary) - มีการเรยี บเรียง ตามลาดับ (Order) - การนาเสนอ (Presentation) ท่ีหลากหลาย เช่น พรรณนา/บรรยาย ตัวเลข กราฟกิ และอืน่ ๆ - รูปแบบของสอ่ื (Media) ประเภทตา่ ง ๆ เช่น กระดาษ วดี ทิ ศั น์ ฯลฯ ส่วนสแตรแ์ ละเรยโ์ นลด์ (Stair and Reynolds 2001 : 7) กล่าวถงึ คณุ ค่าของสารสนเทศขึ้นอยู่กับการท่ี สารสนเทศนั้น สามารถช่วยใหผ้ ้ทู ่ีมหี นา้ ท่ีตัดสินใจทาให้เป้าหมายขององค์การสัมฤทธ์ิผลได้มากน้อยเพียงใด หาก สารสนเทศ สามารถทาให้บรรลเุ ปา้ หมายขององค์การได้ สารสนเทศน้ันกจ็ ะมีคุณคา่ สูงตามไปดว้ ย ความสาคัญของสารสนเทศ สารสนเทศแท้จริงแลว้ ยอ่ มมีความสาคัญต่อทุกส่ิงทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ ดา้ นการเมอื ง การปกครอง ดา้ นการศกึ ษา ด้าน เศรษฐกิจ ด้านสงั คม ฯลฯ ในลักษณะดังตอ่ ไปน้ี

56 1. ทาให้ผู้บรโิ ภคสารสนเทศเกดิ ความรู้ (Knowledge) และความเข้าใจ (Understanding) ในเรื่องดงั กลา่ ว ขา้ งต้น 2. เม่อื เรารู้และเข้าใจในเรื่องท่เี กี่ยวขอ้ งแล้ว สารสนเทศจะชว่ ยให้เราสามารถตดั สินใจ (Decision Making) ใน เร่ืองตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม 3. นอกจากนั้นสารสนเทศ ยงั สามารถทาใหเ้ ราสามารถแก้ไขปญั หา (Solving Problem) ทเี่ กิดขึน้ ไดอ้ ย่าง ถูกต้อง แมน่ ยา และรวดเรว็ ทันเวลากับสถานการณต์ า่ งๆ ที่เกิดข้ึ บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information) การนาสารสนเทศไปใช้ 3 ดา้ น ดงั น้ี (จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ 2544 : 5) ดา้ นการวางแผน ด้านการ ตดั สนิ ใจ และ ด้านการดาเนนิ งาน นอกจากนั้น สารสนเทศยงั มบี ทบาท ในเชิงเศรษฐกจิ ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์ 2543 : 7-8) 1. ช่วยลดความเส่ียงในการตัดสินใจ (Decision) หรอื ช่วยชแ้ี นวทางในการแก้ไขปญั หา (Problem Solving) 2. ชว่ ย หรอื สนับสนุนการจัดการ (Management) หรือการดาเนินงานขององคก์ าร ให้มีประสทิ ธิภาพและ เกิด ประสิทธิผลมากข้นึ 3. ใช้ทดแทนทรพั ยากร (Resources) ทางกายภาพ เชน่ กรณกี ารเรียนทางไกล ผ้เู รียนทเ่ี รียนนอกหอ้ งเรยี น จรงิ สามารถเรยี นรเู้ ร่ืองตา่ งๆ เชน่ เดียวกบั ห้องเรียนจริง โดยไมต่ ้องเดินทางไปเรยี นที่หอ้ งเรียนนนั้ 4. ใช้ในการกากบั ติดตาม (Monitoring) การปฏบิ ตั ิงานและการตัดสินใจ เพ่อื ดูความกา้ วหนา้ ของงาน 5. สารสนเทศเปน็ ชอ่ งทางโนม้ นา้ ว หรือชักจูงใจ (Motivation) ในกรณีของการโฆษณาทที่ าใหผ้ ู้ชม, ผฟู้ งั ตดั สนิ ใจ เลือกสินคา้ หรือบรกิ ารน้นั 6. สารสนเทศเปน็ องค์ประกอบสาคัญของการศกึ ษา (Education) สาหรับการเรียนรู้ ผ่านสอ่ื ประเภทต่างๆ 7. สารสนเทศเปน็ องคป์ ระกอบสาคญั ท่ีสง่ เสรมิ วฒั นธรรม และสนั ทนาการ (Culture & Recreation) ใน ด้าน ของการเผยแพร่ในรปู แบบต่างๆ เช่น วดี ทิ ัศน์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เปน็ ตน้ 8. สารสนเทศเป็นสนิ ค้าและบริการ (Goods & Services) ทสี่ ามารถซ้ือขายได้ 9. สารสนเทศเป็นทรพั ยากรทตี่ ้องลงทนุ (Investment) จึงจะไดผ้ ลผลิตและบริการ เพ่ือเปน็ รากฐานของ การ จัดการ และการดาเนนิ งาน องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบ คอื กลุม่ ขององคก์ ารตา่ งๆ ทที่ างานรว่ มกันเพื่อจุดประสงค์อันเดียวกัน ระบบอาจจะประกอบด้วย บคุ คลากร เครอ่ื งมือ เครื่องใช้ พัสดุ วิธีการ ซ่ึงท้ังหมดน้ีจะต้องมีระบบจัดการอันหน่ึงเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์อัน เดียวกนั สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอ้ มลู ที่ผ่านการวิเคราะห์หรือประมวลผลแล้ว พร้อมจะใช้งานได้ ทันที โดยไม่ต้องแปล หรือตีความใด ๆ อีกเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการ ประมวลผล เพ่อื ให้ได้สารสนเทศ ตามท่ตี อ้ งการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศน้ันอาจกล่าวได้ว่าประกอบข้ึนจากเทคโนโลยีสองสาขาหลักคือ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ื่อสารโทรคมนาคม สาหรบั รายละเอยี ดพอสงั เขปของแต่ละเทคโนโลยมี ดี ังต่อไปน้คี อื

57 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจาข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติตามคาสั่งที่บอก เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทางานอย่างใดอย่างหน่ึงให้ คอมพิวเตอร์น้ันประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้จะต้องทางานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกันว่า ซอฟตแ์ วร์ (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2546: 4) ฮารด์ แวร์ ประกอบด้วย 5 สว่ น คือ อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แผงแป้นอักขระ (Keyboard), เมาส์, เคร่ืองตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครื่องอ่านบัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Strip Reader), และเคร่ืองอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output) เช่น จอภาพ (Monitor), เครือ่ งพิมพ์ (Printer), และเทอร์มนิ ลั หน่วยประมวลผลกลาง จะทางานร่วมกับหน่วยความจาหลักในขณะคานวณ หรือประมวลผล โดยปฏิบัติหน้าที่ตามคาส่ังของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการดึงข้อมูลและคาส่ังที่เก็บไว้ไว้ใน หนว่ ยความจาหลักมาประมวลผล หน่วยความจาหลัก มีหน้าท่ีเก็บข้อมูลท่ีมาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณ และผลลัพธ์ของ การคานวณกอ่ นที่จะส่งไปยงั อุปกรณ์ส่งข้อมลู รวมทงั้ การเกบ็ คาสงั่ ขณะกาลังประมวลผล หนว่ ยความจาสารอง ทาหนา้ ทีจ่ ัดเก็บข้อมลู และโปรแกรมขณะยงั ไม่ได้ใชง้ าน เพื่อการใช้ในอนาคต ซอฟต์แวร์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญและจาเป็นมากในการควบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าท่ีควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับ คอมพวิ เตอร์หรือฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบสามารถแบง่ เป็น 3 ชนิดใหญ่ คือ - โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ใช้ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อกับเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ตัวอยา่ งโปรแกรมที่นิยมใชก้ ันในปจั จุบนั เชน่ UNIX, DOS, Microsoft Windows - โปรแกรมอรรถประโยชน์ ใช้ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่างการ ประมวลผลขอ้ มูลหรอื ในระหวา่ งท่ใี ชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมท่ีนิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น โปรแกรม เอดิเตอร์ (Editor) - โปรแกรมแปลภาษา ใช้ในการแปลความหมายของคาส่ังที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ให้อยู่ในรูปแบบท่ีเครื่อง คอมพวิ เตอร์เข้าใจและทางานตามทีผ่ ้ใู ช้ต้องการ ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ เป็นโปรแกรมทเ่ี ขยี นขึ้นเพื่อทางานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์นี้ สามารถแบง่ เปน็ 3 ชนดิ คอื ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์เพื่องานท่ัวไป เป็นซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพ่ือใช้งานท่ัวไปไม่เจาะจงประเภทของธุรกิจ ตัวอย่าง เช่น Word Processing, Spreadsheet, Database Management เป็นต้นซอฟต์แวร์ประยุกต์ เฉพาะงาน เปน็ ซอฟต์แวรท์ ส่ี รา้ งขึน้ เพ่ือใชใ้ นธุรกจิ เฉพาะ ตามแต่วัตถุประสงคข์ องการนาไปใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์

58 อ่ืน ๆ เป็นซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพ่ือความบันเทิง และอ่ืน ๆ นอกเหนือจากซอฟต์แวร์ประยุกต์สองชนิดข้างต้น ตัวอย่าง เช่น Hypertext, Personal Information Management และซอฟต์แวร์เกมตา่ ง ๆ เปน็ ต้น สาหรบั กระบวนการการจัดการระบบสารสนเทศ เพ่ือให้ได้สารสนเทศตามต้องการอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยา และมคี ณุ ภาพ ดังแผนภาพตอ่ ไปนีค้ ือ แผนภาพแสดงกระบวนการจดั การระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อส่ือสารรับ/ส่งข้อมูลจากท่ีไกล ๆ เป็นการส่งของข้อมูล ระหว่างคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือที่อยู่ห่างไกลกัน ซึ่งจะช่วยให้การเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้ใน แหลง่ ตา่ ง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซ่ึงรูปแบบของข้อมูลที่รับ/ส่งอาจเป็น ตัวเลข (Numeric Data) ตัวอกั ษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เทคโนโลยีที่ใช้ใน การสื่อสารหรือเผยแพรส่ ารสนเทศ ไดแ้ ก่ เทคโนโลยที ่ใี ชใ้ นระบบโทรคมนาคมทัง้ ชนิดมีสายและไร้สาย เช่น ระบบ โทรศัพท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง, วิทยุโทรทัศน์ เคเบ้ิลใยแก้วนาแสง คล่ืนไมโครเวฟ และ ดาวเทียม เปน็ ตน้ สาหรับกลไกหลักของการส่ือสาร โทรคมนาคมมอี งค์ประกอบพน้ื ฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ต้นแหล่งของข้อความ (Source/Sender), สื่อกลางสาหรับการ รับ/สง่ ขอ้ ความ (Medium), และส่วนรับข้อความ (Sink/Decoder) ดงั แผนภาพตอ่ ไปนี้ คือ แผนภาพแสดงกลไกหลักของการส่อื สารโทรคมนาคม นอกจากนี้ เทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถจาแนกตามลกั ษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบ ดังนีต้ ่อไปน้ี คอื - เทคโนโลยีท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องดิจิทัล, กล้องถ่ายวีดีทัศน์, เครื่องเอกซเรย์ ฯลฯ - เทคโนโลยีทใี่ ชใ้ นการบันทึกข้อมูล จะเป็นส่ือบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก, จาน แสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทเี อ็ม ฯลฯ -เทคโนโลยีท่ีใช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ - เทคโนโลยีท่ใี ช้ในการแสดงผลขอ้ มลู เช่น เครอ่ื งพิมพ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ - เทคโนโลยีทีใ่ ชใ้ นการจดั ทาสาเนาเอกสาร เช่น เครื่องถา่ ยเอกสาร, เครือ่ งถ่ายไมโครฟิลม์

59 - เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ , วทิ ยกุ ระจายเสยี ง, โทรเลข, เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทั้งระยะใกล้และไกล ลักษณะของข้อมลู หรือสารสนเทศที่ส่งผา่ นระบบคอมพิวเตอรแ์ ละการสือ่ สาร ดงั น้ี ขอ้ มลู หรือสารสนเทศทใ่ี ชก้ ันอยู่ทวั่ ไปในระบบส่อื สาร เช่น ระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของสัญญาณเป็น คลื่นแบบต่อเนื่องท่ีเราเรียกว่า \"สัญญาณอนาลอก\" แต่ในระบบคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป เพราะระบบ คอมพวิ เตอรใ์ ชร้ ะบบสญั ญาณไฟฟา้ สูงต่าสลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเน่ือง เรียกว่า \"สัญญาณดิจิตอล\" ซ่ึงข้อมูล เหลา่ นัน้ จะส่งผ่านสายโทรศัพท์ เมอื่ เราตอ้ งการส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงไปยังเคร่ืองอื่น ๆ ผ่านระบบ โทรศัพท์ กต็ ้องอาศยั อปุ กรณ์ชว่ ยแปลงสญั ญาณเสมอ ซ่งึ มีชือ่ เรียกวา่ \"โมเด็ม\" (Modem) ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถอธบิ ายความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้ (จอห์น ไนซ์บิตต์ อ้างถึงใน ยืน ภู่วรวรรณ)ประการท่ีหน่ึง เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาใหส้ งั คมเปลีย่ นจากสงั คมอุตสาหกรรมมาเปน็ สังคมสารสนเทศ ประการที่สอง เทคโนโลยี สารสนเทศทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลก ผกู พนั กับทกุ ประเทศ ความเชอ่ื มโยงของเครอื ขา่ ยสารสนเทศทาให้เกิดสังคมโลกาภวิ ฒั น์ประการที่สาม เทคโนโลยี สารสนเทศทาให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากข้ึน หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และ เช่ือมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดาเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และการสอ่ื สารโทรคมนาคมเปน็ ตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูลได้ง่าย และรวดเรว็ ประการท่สี ่ี เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความ ต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ทเี่ ลอื กได้เอง ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการ ทางานแบบทกุ สถานทแี่ ละทกุ เวลา ประการท่ีหก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะ ยาวขน้ึ อกี ทงั้ ยงั ทาให้วถิ ีการตัดสนิ ใจ หรอื เลือกทางเลือกไดล้ ะเอยี ดขนึ้ กล่าวโดยสรุปแลว้ เทคโนโลยีสารสนเทศมบี ทบาทท่ีสาคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปล่ียนแปลง โลกดา้ นความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการ วจิ ยั และการพฒั นาต่าง ๆ

60 ปัจจัยทีท่ าใหเ้ กดิ ความล้มเหลวในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ จากงานวจิ ยั ของ Whittaker (1999: 23) พบวา่ ปจั จยั ของความล้มเหลวหรือความผดิ พลาดที่เกิดจากการ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์การ มสี าเหตุหลัก 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1. การขาดการวางแผนท่ีดีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนจัดการความเส่ียงไม่ดีพอ ยิ่งองค์การมีขนาด ใหญ่มากข้นึ เท่าใด การจดั การความเสยี่ งย่อมจะมีความสาคัญมากขนึ้ เป็นเงาตามตวั ทาให้ค่าใช้จ่ายด้านนี้ เพ่ิมสูงขนึ้ 2. การนาเทคโนโลยีท่ีไม่เหมาะสมมาใช้งาน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์การจาเป็นต้อง พิจารณาใหส้ อดคล้องกับลกั ษณะของธุรกิจหรืองานที่องค์การดาเนินอยู่ หากเลือกใช้เทคโนโลยีท่ีไม่สอด รบั กับความตอ้ งการขององค์การแล้วจะทาให้เกิดปัญหาตา่ ง ๆ ตามมา และเป็นการส้ินเปลืองงบประมาณ โดยใชเ่ หตุ 3. การขาดการจัดการหรอื สนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การท่ีจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้งานใน องค์กร หากขาดซ่ึงความสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงแล้วก็ถือว่าล้มเหลวตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มต้น การ ได้รับความม่ันใจจากผู้บริหารระดับสูงเป็นก้าวย่างที่สาคัญและจาเป็นที่จะทาให้การนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในองค์การประสบความสาเรจ็ สาหรับสาเหตุของความล้มเหลวอื่น ๆ ที่พบจากการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เช่น ใช้เวลาในการ ดาเนนิ การมากเกนิ ไป (Schedule overruns), นาเทคโนโลยที ลี่ า้ สมัยหรือยังไม่ผ่านการพิสูจน์มาใช้งาน (New or unproven technology), ประเมินแผนความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไม่ถูกต้อง, ผู้จัดจาหน่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ (Vendor) ที่องค์การซ้ือมาใช้งานไม่มีประสิทธิภาพและขาดความรับผิดชอบ และระยะเวลาของการ พั ฒ น า ห รื อ น า เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ม า ใ ช้ จ น เ ส ร็ จ ส ม บู ร ณ์ ใ ช้ เ ว ล า น้ อ ย ก ว่ า ห น่ึ ง ปี นอกจากน้ี ปัจจัยอ่ืน ๆ ทีท่ าใหก้ ารนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชไ้ มป่ ระสบความสาเรจ็ ในดา้ นผู้ใชง้ านนั้น อาจสรุป ได้ดงั น้ี คอื 1. ความกลัวการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ผู้คนกลัวที่จะเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งกลัวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศจะเข้ามาลดบทบาทและความสาคัญในหน้าท่ีการงานท่ีรับผิดชอบของตนให้ลด น้อยลง จนทาให้ตอ่ ต้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การไม่ติดตามข่าวสารความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ เปล่ยี นแปลงรวดเร็วมาก หากไม่ม่ันติดตามอย่างสม่าเสมอแล้วจะทาให้กลายเป็นคนล้าหลังและตกขอบ จนเกิดสภาวะชะงกั งนั ในการเรยี นรแู้ ละใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 3. โครงสรา้ งพนื้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ท่วั ถึง ทาให้ขาดความเสมอภาคในการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือเกดิ การใชก้ ระจุกตัวเพยี งบางพื้นท่ี ทาให้เป็นอุปสรรคในการใช้งานด้านต่าง ๆ ตามมา เชน่ ระบบโทรศัพท์ อินเทอร์เนต็ ความเร็วสงู ฯลฯ

61 ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ การกาเนิดของคอมพิวเตอรเ์ มอ่ื ประมาณหา้ สบิ กว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสาคัญที่นาไปสู่ยุคสารสนเทศ ในช่วง แรกมีการนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเคร่ืองคานวณ แต่ต่อมาได้มีความพยายามพัฒนาให้คอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์สาคัญสาหรับการจัดการข้อมูล เมื่อเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากข้ึน ทาให้สามารถสร้าง คอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงข้ึน สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ผลของ เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชวี ติ ความเปน็ อยู่และสังคมจงึ มีมาก มกี ารเรียนรู้และใช้สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกล่าวได้ดังนี้  การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น สภาพความเป็นอยู่ของสังคมเมือง มีการพัฒนาใช้ระบบส่ือสาร โทรคมนาคม เพือ่ ตดิ ตอ่ สอื่ สารให้สะดวกข้นึ มกี ารประยกุ ตม์ าใชก้ บั เคร่อื งอานวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ใชค้ วบคุมเครอ่ื งปรับอากาศ ใชค้ วมคมุ ระบบไฟฟา้ ภายในบา้ น เป็นต้น  เสรมิ สรา้ งความเทา่ เทยี มในสงั คมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดการกระจายไป ท่วั ทุกหนแห่ง แม้แต่ถิน่ ทุรกนั ดาร ทาให้มีการกระจายโอการการเรียนรู้ มีการใช้ระบบการเรียนการสอน ทางไกล การกระจายการเรียนรู้ไปยังถ่ินห่างไกล นอกจากน้ีในปัจจุบันมีความพยายามท่ีใช้ระบบการ รกั ษาพยาบาลผา่ นเครอื ขา่ ยสอื่ สาร  สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนาคอมพิวเตอร์และ เครอ่ื งมอื ประกอบชว่ ยในการเรียนรู้ เช่น วีดทิ ศั น์ เครอ่ื งฉายภาพ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน คอมพิวเตอร์ช่วย จัดการศึกษา จัดตารางสอน คานวณระดับคะแนน จัดชั้นเรียน ทารายงานเพ่ือให้ผู้บริหารได้ทราบถึง ปัญหาและการแก้ปัญหาในโรงเรยี น ปจั จุบนั มกี ารเรียนการสอนทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน มากขึ้น  เทคโนโลยีสารสนเทศกบั ส่งิ แวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จาเป็นต้องใช้ข้อมูล มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพอากาศ การพยากรณ์อากาศ การจาลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพ่ือปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวมข้อมูล คุณภาพน้าในแม่น้าต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่ เรียกว่าโทรมาตร เป็นตน้  เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธ ยุทโธปกรณ์สมัยใหม่ล้วนแต่เก่ยี วขอ้ งกบั คอมพิวเตอร์และระบบควบคุม มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบ เฝา้ ระวงั ท่มี ีคอมพวิ เตอร์ควบคมุ การทางาน  การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม จาเปน็ ตอ้ งหาวิธีการในการผลติ ให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ ข้อมูลข่าวสารเพ่ือการบริหารและการจัดการ การดาเนินการและยังรวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพือ่ ให้ซอ้ื สินคา้ ได้สะดวกขึน้

62 เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การใชช้ วี ติ ในสงั คมปจั จบุ นั ในภาวะปจั จุบนั นนั้ สารสนเทศได้กลายเป็นปัจจัยพื้นฐานปัจจัยที่ห้า เพ่ิมจากปัจจัยสี่ประการท่ีมนุษย์เรา ขาดเสยี มไิ ด้ในการดารงชวี ติ ประจาวัน ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่จาเป็น ในการประกอบธุรกิจ ในการค้าขาย การ ผลิตสินคา้ และบรกิ าร หรอื การใหบ้ ริการสงั คม การจัดการทรพั ยากรของชาติ การบริหารและปกครอง จนถึงเรื่อง เบา ๆ เร่ืองไร้สาระบ้าง เช่น สภากาแฟท่ีสามารถพบได้ทุกแห่งหนในสังคม เรื่องสาระบันเทิงในยามพักผ่อน ไป จนถงึ เรือ่ งความเป็นความตาย เช่น ข่าวอทุ กภยั วาตภยั หรอื การทารัฐประหารและปฏิวัติ เปน็ ต้น ในความ คดิ เห็นของกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่นักวิชาการ นักธุรกิจ นักสังคมศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ จนกระทั่งผู้นาต่าง ๆ ในโลก ดังเช่น ประธานาธิบดี Bill Clinton และรองประธานาธิบดี Al Gore ของสหรัฐอเมริกา สารสนเทศเป็น ทรัพยากรทสี่ าคญั ทส่ี ดุ อยา่ งหนึง่ ในปัจจบุ นั และในยคุ สังคมสารสนเทศแหง่ ศตวรรษท่ี 21 สารสนเทศจะกลายเป็น ทรัพยากรที่สาคัญที่สุดเหนือสิ่งอื่นใด กล่าวกันสั้น ๆ สารสนเทศกาลังจะกลายเป็นฐานแห่งอานาจอันแท้จริงใน อนาคต ทง้ั ในทางเศรษฐกจิ และทางการเมือง ใ น ส มั ย สั ง ค ม เ ก ษ ต ร นั้ น ปัจจัยพ้ืนฐานในการผลิตที่สาคัญ ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน และทุนทรัพย์ ต่อมาในสังคมอุตสาหกรรม การผลิตต้อง พ่ึงพาปัจจัยพ้ืนฐานเพิ่มเติม ได้แก่ วัสดุ พลังงาน และโดยเฉพาะอย่างย่ิงสารสนเทศ สังคมเกษตรและสังคม อตุ สาหกรรมตอ้ งพึ่งพาการใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยูอ่ ยา่ งจากดั อันไดแ้ ก่ ทดี่ ิน พลงั งาน และวสั ดุ เป็นอย่างมาก และผล ของการใชท้ รพั ยากรเหลา่ น้นั อยา่ งฟ่มุ เฟอื ยและขาดความระมัดระวัง กไ็ ด้สร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมท่ีรุนแรงมาก ซ่ึง กาลังคุกคามโลกรวมทั้งประเทศไทย ต้ังแต่ปัญหาการแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ ภัยธรรมชาติท่ีนับวันจะ เพมิ่ ความถ่แี ละรุนแรงขึ้น ปัญหาการบ่อนทาลายความสมดุลทางนิเวศวิทยาทั้งป่าดงดิบ ป่าชายเลน ป่าต้นน้าลา ธาร ความแหง้ แล้ง อากาศเป็นพิษ แมน่ ้าลาคลองทเ่ี ตม็ ไปด้วยสารพิษ เจือปน ตลอดจนถึงปัญหาวิกฤติทางจราจร และภัยจากควันพิษในมหานครทุกแหง่ ทว่ั โลก ในทางตรงกันข้าม ขบวนการผลิต การเก็บ และถ่ายทอด สารสนเทศ อาศัยการใช้วัสดุและพลังงานน้อยมาก และไม่มีผลเสียต่อภาวะแวดล้อมหรือมีเพียงเล็กน้อยมา ก ยิ่งกว่าน้ันสารสนเทศจะสามารถช่วยให้กิจกรรมการผลิตและการบริการต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น สามารถช่วยใหก้ ารผลติ ทางอุตสาหกรรมใชว้ ัตถุดบิ และพลังงานน้อยลง มีมลภาวะนอ้ ยลง แต่สนิ ค้ามีคุณภาพดีขึ้น คงทนมากขึ้น ปัญหาวกิ ฤตทิ างจราจรในบางด้านก็สามารถผ่อนปรนได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ในการช่วย ติดต่อส่ือสารทางธุรกิจต่างๆ โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางด้วยตนเองดังเช่นแต่ก่อน จึงอาจกล่าวได้ว่า เทคโนโลยี สารสนเทศจะมีส่วนอย่างมาก ในการนาสังคม สู่วิวัฒนาการอีกระดับหนึ่ง ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นสังคมสารสนเทศ อันเป็นสงั คมทีพ่ ึงปรารถนาและย่งั ยืนยิ่งข้ึน นัน่ จงึ เปน็ เหตุผลทีว่ ่าสงั คมต่าง ๆ ในโลก ต่างจะต้องก้าวสู่สังคมสารสนเทศอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ไม่เร็วก็ ชา้ และนนั่ หมายความว่าสงั คมจะตอ้ งพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างแน่นอน ไม่ว่าเราจะยอมรับหรือไม่ก็ตาม มิใช่เพียงแต่เพื่อสร้างขีดความสามารถในเชิงแข่งขันในสนามการค้าระหว่างประเทศ แต่เพ่ือความอยู่รอดของ มนุษยชาติ และเพอื่ คุณภาพชีวติ ที่ดขี นึ้ อกี ตา่ งหากดว้ ย

63 เทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ เทคโนโลยคี โู่ ลกในตน้ ศตวรรษที่ 21 และเปน็ แรงกระตุ้นและเป็นปัจจัยรองรับ ขบวนการโลกาภวิ ตั น์ ทกี่ าลงั ผนวกสงั คมเศรษฐกจิ ไทยเขา้ เป็นอนั หน่ึงเดยี วกนั กับสงั คมโลก อันท่จี ริง เทคโนโลยีสารสนเทศมีใช้ในประเทศไทยเป็นเวลาช้านานมาแล้ว เป็นต้นว่า เรามีการใช้โทรศัพท์ต้ังแต่รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือปี พ.ศ. 2414 เพียงแต่ว่าการใช้เทคโนโลยีนี้ยังไม่แพร่กระจายทั่ว ประเทศและยังไมอ่ ยใู่ นระดบั สูงเม่อื เทียบกบั อกี หลาย ๆ ประเทศในโลก กล่าวกันอย่างส้ัน ๆ เทคโนโลยี สารสนเทศ คอื เทคโนโลยีทเี่ กยี่ วข้องกบั การจัดหา วเิ คราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ เรียกใช้หรือแลกเปล่ียน และเผยแพร่สารสนเทศ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือ ภาพเคล่ือนไหว รวมไปถึงการนาสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเน้ือหาของสารสนเทศน้ัน เพ่ือให้บรรลุ เป้าหมายของผู้ใช้ การจัดหา วิเคราะห์ ประมวล และจัดการกับข่าวสารข้อมูลจานวนมหาศาล จึงขาดเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เสียมิได้ ส่วนการแสวงหาและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร อย่างรวดเร็ว ทันเวลา ประหยัดค่าใช้จ่าย และมีประสทิ ธิภาพ ก็จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีโทรคมนาคม และท้ายสุดสารสนเทศท่ีมี จะก่อให้เกิดประโยชน์ จากการบริโภค อยา่ งกวา้ งขวางตามแตจ่ ะตอ้ งการและอย่างประหยัดท่ีสุด ก็ต้องอาศัยท้ังสองเทคโนโลยีข้างต้นใน การจัดการและการส่ือหรอื ขนยา้ ยจากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ สผู่ บู้ ริโภคในทสี่ ุด ฉะน้ัน เทคโนโลยีสารสนเทศจึงครอบคลุมถึงหลาย ๆ เทคโนโลยหี ลัก อนั ได้แก่ คอมพวิ เตอร์ท้ังฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล โทรคมนาคมซ่ึงรวมถึง เทคโนโลยี ระบบสื่อสารมวลชน (ได้แก่ วิทยุ และโทรทัศน์) ท้ังระบบแบบมีสายและไร้สาย รวมถึงเทคโนโลยีด้าน อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ อาทิ เทคโนโลยีโทรทัศน์ความคมชัดสูง (HDTV) ดาวเทียมคมนาคม (communications satellite) เส้นใยแก้วนาแสง (fibre optics) สารก่ึงตัวนา (semiconductor) ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) อปุ กรณอ์ ตั โนมตั ิสานักงาน (office automation) อุปกรณ์อัตโนมัติในบ้าน (home automation) อปุ กรณอ์ ตั โนมัตใิ นโรงงาน (factory automation) เหล่านี้ เป็นตน้ นอกจากการเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ทาลายธรรมชาติหรอื สร้างมลภาวะ (ในตวั ของมันเอง) ต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว คุณสมบัติโดดเด่นอ่ืน ๆ ที่ทาให้มันกลายเป็นเทคโนโลยี ยุทธศาสตร์สาคัญแห่งยุคปัจจุบันและในอนาคตก็คือ ความสามารถในการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพและสมรรถภาพในเกือบทุก ๆ กิจกรรม อาทิโดย 1. การลดตน้ ทุนหรือค่าใชจ้ ่าย2. การเพ่มิ คุณภาพของงาน 3. การสรา้ งกระบวนการหรือกรรมวิธใี หม่ ๆ 4. การสร้างผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารใหม่ ๆ ขน้ึ ฉะนนั้ โอกาสและขอบเขตการนา เทคโนโลยนี ้ีมาใช้ จึงมีหลากหลายในเกือบทุก ๆ กิจกรรมก็ว่าได้ ไม่ว่า จะเปน็ การปกครอง การให้บรกิ ารสงั คม การผลติ ทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ รวมถึงการค้าท้ังภายใน และระหว่างประเทศอีกดว้ ย โดยพอสรุปไดด้ ังต่อไปนี้

64 ภาคสังคม การบริหารและปกครอง การให้บริการพื้นฐานของรัฐ การบริการสาธารณสุข การบริการ การศึกษา การให้บริการข้อมูลและสาระบันเทิง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การ บรรเทาสาธารณภยั การพยากรณอ์ ากาศและอุตนุ ิยม ฯลฯ ภาคเศรษฐกิจ การเกษตร การป่าไม้ การประมง การสารวจและขุดเจาะน้ามันและ ก๊าซธรรมชาติ การ สารวจแร่และทรัพยากรธรรมชาตทิ ้ังบนและใตผ้ ิวโลก การกอ่ สรา้ ง การคมนาคมทั้งทางบก นา้ และอากาศ การค้า ภายในและระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมบริการ อาทิ ธุรกิจการท่องเท่ียว การเงิน การ ธนาคาร การขนสง่ และ การประกันภัย ฯลฯผลประโยชน์ต่างๆ จากการประยุกต์ใช้ของเทคโนโลยีดังกล่าว ล้วน เกดิ จากคุณสมบัตพิ เิ ศษหลาย ๆ ประการของเทคโนโลยกี ล่มุ น้ี อนั สืบเนอ่ื งจากการพัฒนาของ เทคโนโลยีท่ีมีอัตรา สงู และอย่างต่อเนอ่ื งตลอดหลายทศวรรษทีผ่ า่ นมา วิวฒั นาการทางเทคโนโลยีนีส้ ง่ ผลให้ ราคาของฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ รวมท้ังค่าบริการ สาหรับการเก็บ การประมวล และการ แลกเปล่ียนเผยแพร่สารสนเทศมีการลดลงอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว ทาให้สามารถนาพาอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้ง คอมพิวเตอร์และ โทรคมนาคมติดตามตัวได้ เนื่องจากได้มีพัฒนาการการย่อส่วนของช้ินส่วน (miniaturization) และพฒั นาการการสือ่ สารระบบไรส้ าย ประการท้าย ที่จัดว่าสาคัญท่ีสุดก็ว่าได้คือ ทาให้เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการ สอื่ สารมุ่งเข้าสจู่ ดุ ทใ่ี กล้เคียงกัน (converge) ประเทศอุตสาหกรรมในโลกได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยียุทธศาสตร์กลุ่มน้ี จึงให้ความสาคัญต่อ เทคโนโลยีน้ีมากกว่าเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ที่จัดเป็นเทคโนโลยียุทธศาสตร์สาคัญอีกหลายกลุ่ม ดังเช่นกลุ่มประเทศ OECD (Organization for Economic Co-operation and Development) ได้ศึกษาเปรียบเทยี บ ศักยภาพของ เทคโนโลยไี ฮเทค 5 กลุ่มสาคัญในปจั จุบัน คือ เทคโนโลยชี ีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุใหม่ เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยี นวิ เคลียร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในประเดน็ ผลกระทบสาคญั 5 ประเดน็ ได้แก่ (1) การสร้างผลิตภัณฑแ์ ละบรกิ ารใหม่ ๆ (2) การปรบั ปรุงกระบวนการผลติ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร (3) การยอมรบั จากสงั คม (4) การนาไปใชป้ ระยุกตใ์ นภาค/สาขาอ่ืน ๆ (5) การสรา้ งงานในทศวรรษปี 1990 ปรากฏว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการยอมรับในศักยภาพสูงสุด ในทุก ๆ ประเด็น

65 ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ ประสิทธิภาพ (Efficiency)  ระบบสารสนเทศทาให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็วมากขึน้ โดยใชก้ ระบวนการประมวลผลข้อมูลซ่ึงจะทา ให้สามารถเก็บรวบรวม ประมวลผลและปรบั ปรุงข้อมลู ให้ทันสมัยไดอ้ ย่างรวดเร็วระบบสารสนเทศชว่ ยใน การจัดเกบ็ ข้อมูลทมี่ ขี นาดใหญ่ หรือมีปรมิ าณมากและชว่ ยทาให้การเข้าถึงขอ้ มูล (access) เหล่านัน้ มี ความรวดเร็วด้วย  ชว่ ยลดต้นทนุ การที่ระบบสารสนเทศช่วยทาใหก้ ารปฏิบตั ิงานทเี่ ก่ียวข้องกบั ข้อมูล ซึ่งมปี ริมาณมากมี ความสลับซบั ซ้อนใหด้ าเนนิ การได้โดยเร็ว หรอื การช่วยใหเ้ กิดการติดตอ่ สอ่ื สารไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทาใหเ้ กดิ การประหยัดตน้ ทนุ การดาเนินการอยา่ งมาก  ช่วยใหก้ ารตดิ ตอ่ สื่อสารเปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ การใชเ้ ครอื ขา่ ยทางคอมพิวเตอร์ทาให้มีการตดิ ตอ่ ได้ท่ัวโลก ภายในเวลาทีร่ วดเร็ว ไมว่ ่าจะเป็นการติดตอ่ ระหวา่ งเครือ่ งคอมพวิ เตอร์กบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ดว้ ยกนั (machine to machine) หรอื คนกบั คน (human to human) หรอื คนกับเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ (human to machine) และการติดตอ่ สอ่ื สารดงั กลา่ วจะทาใหข้ ้อมลู ท่ีเปน็ ทัง้ ข้อความ เสยี ง ภาพนง่ิ และ ภาพเคล่อื นไหวสามารถสง่ ไดท้ นั ที  ระบบสารสนเทศชว่ ยทาใหก้ ารประสานงานระหวา่ งฝา่ ยตา่ ง ๆ เป็นไปไดด้ ้วยดโี ดยเฉพาะหากระบบ สารสนเทศนน้ั ออกแบบ เพอ่ื เออ้ื อานวยให้หนว่ ยงานทงั้ ภายในและภายนอกทีอ่ ยู่ในระบบของซัพพลาย ทั้งหมด จะทาให้ผู้ท่ีมสี ่วนเกีย่ วข้องทัง้ หมดสามารถใชข้ อ้ มูลร่วมกันได้ และทาให้การประสานงาน หรอื การทาความเข้าใจเปน็ ไปได้ด้วยดียิง่ ขนึ้ ประสิทธผิ ล (Effectiveness)  ระบบสารสนเทศชว่ ยในการตัดสนิ ใจ ระบบสารสนเทศทอี่ อกแบบสาหรับผบู้ ริหาร เช่น ระบบสารสนเทศ ทชี่ ว่ ยในการสนบั สนุนการตดั สินใจ (Decision support systems) หรอื ระบบสารสนเทศสาหรบั ผู้บริหาร (Executive support systems) จะเออื้ อานวยให้ผบู้ รหิ ารมีข้อมูลในการประกอบการตดั สินใจได้ดีข้ึน อันจะสง่ ผลให้การดาเนินงานสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ไว้ได้  ระบบสารสนเทศชว่ ยในการเลือกผลติ สินค้า/บริการทเ่ี หมาะสมระบบสารสนเทศจะช่วยทาให้องค์การ ทราบถึงข้อมูลท่เี กยี่ วข้องกับต้นทุน ราคาในตลาดรูปแบบของสนิ ค้า/บริการทีม่ ีอยู่ หรือช่วยทาให้ หนว่ ยงานสามารถเลือกผลติ สินค้า/บรกิ ารทีม่ ีความเหมาะสมกับความเชย่ี วชาญ หรอื ทรพั ยากรทมี่ อี ยู่  ระบบสารสนเทศช่วยปรบั ปรุงคุณภาพของสนิ คา้ /บริการให้ดีขึ้นระบบสารสนเทศทาใหก้ ารติดต่อระหว่าง หนว่ ยงานและลกู คา้ สามารถทาได้โดยถูกต้องและรวดเร็วขึน้ ดังนน้ั จงึ ชว่ ยใหห้ นว่ ยงานสามารถปรับปรุง คุณภาพของสนิ ค้า/บรกิ ารให้ตรงกับความต้องการของลกู คา้ ไดด้ ขี ึ้นและรวดเร็วขึน้ ดว้ ย  ความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั (Competitive Advantage)  คณุ ภาพชีวิตการทางาน (Quality o f Working Life

66 เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การใชช้ วี ิตในสงั คมปจั จบุ นั  ในภาวะปัจจุบันนน้ั สารสนเทศได้กลายเป็นปัจจัยพ้ืนฐานปัจจัยที่ห้า เพ่ิมจากปัจจัยสี่ประการท่ีมนุษย์เรา ขาดเสียมิได้ในการดารงชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศท่ีจาเป็น ในการประกอบธุรกิจ ในการ ค้าขาย การผลิตสินค้า และบริการ หรือการให้บริการสังคม การจัดการทรัพยากรของชาติ การบริหาร และปกครอง จนถึงเรือ่ งเบา ๆ เรือ่ งไร้สาระบา้ ง เช่น สภากาแฟท่ีสามารถพบได้ทุกแห่งหนในสังคม เร่ือง สาระบันเทิงในยามพักผ่อน ไปจนถึงเร่ืองความเป็นความตาย เช่น ข่าวอุทกภัย วาตภัย หรือการทา รัฐประหารและปฏิวัติ เป็นต้น  ในความคิดเห็นของกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่นักวิชาการ นักธุรกิจ นักสังคมศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ จนกระทั่งผู้นาต่าง ๆ ในโลก ดังเช่น ประธานาธิบดี Bill Clinton และรองประธานาธิบดี Al Gore ของ สหรัฐอเมรกิ า สารสนเทศเปน็ ทรพั ยากรท่ีสาคญั ท่ีสดุ อย่างหนง่ึ ในปัจจุบนั และในยุคสังคมสารสนเทศแห่ง ศตวรรษที่ 21 สารสนเทศจะกลายเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญที่สุดเหนือสิ่งอ่ืนใด กล่าวกันส้ัน ๆ สารสนเทศ กาลังจะกลายเป็นฐานแห่งอานาจอนั แท้จรงิ ในอนาคต ทง้ั ในทางเศรษฐกจิ และทางการเมอื ง  ในสมัยสังคมเกษตรนั้น ปัจจัยพื้นฐานในการผลิตท่ีสาคัญ ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน และทุนทรัพย์ ต่อมาใน สงั คมอตุ สาหกรรม การผลติ ตอ้ งพงึ่ พาปจั จยั พ้นื ฐานเพิม่ เตมิ ไดแ้ ก่ วัสดุ พลังงาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สารสนเทศ สังคมเกษตรและสังคมอุตสาหกรรมต้องพ่ึงพาการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด อันได้แก่ ท่ดี นิ พลังงาน และวัสดุ เป็นอย่างมาก และผลของการใช้ทรัพยากรเหล่าน้ันอย่างฟุ่มเฟือยและขาดความ ระมัดระวัง กไ็ ด้สร้างปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มทรี่ ุนแรงมาก ซ่งึ กาลงั คกุ คามโลกรวมท้ังประเทศไทย ตั้งแต่ปัญหา การแปรปรวนของสภาพดินฟา้ อากาศ ภัยธรรมชาติท่นี บั วันจะเพิ่มความถ่ีและรุนแรงขึ้น ปัญหาการบ่อน ทาลายความสมดุลทางนิเวศวิทยาท้งั ป่าดงดบิ ปา่ ชายเลน ป่าต้นน้าลาธาร ความแห้งแล้ง อากาศเป็นพิษ แมน่ า้ ลาคลองทีเ่ ตม็ ไปด้วยสารพิษ เจอื ปน ตลอดจนถึงปัญหาวิกฤตทิ างจราจรและภัยจากควันพิษในมหา นครทกุ แหง่ ท่วั โลก  ในทางตรงกันข้าม ขบวนการผลิต การเก็บ และถ่ายทอดสารสนเทศ อาศัยการใช้วัสดุและพลังงานน้อย มาก และไม่มีผลเสียต่อภาวะแวดล้อมหรือมีเพียงเล็กน้อยมาก ยิ่งกว่าน้ันสารสนเทศจะสามารถช่วยใ ห้ กิจกรรมการผลิตและการบริการต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น สามารถช่วยให้การผลิตทาง อุตสาหกรรมใช้วัตถุดิบ และพลังงานน้อยลง มีมลภาวะน้อยลง แต่สินค้ามีคุณภาพดีขึ้นคงทนมากข้ึน ปัญหาวิกฤติทางจราจรในบางด้านก็สามารถผ่อนปรนได้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ในการช่ วย ติดต่อส่ือสารทางธุรกิจต่างๆ โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางด้วยตนเองดังเช่นแต่ก่อน จึงอาจกล่าวได้ว่า เทคโนโลยสี ารสนเทศจะมสี ่วนอย่างมาก ในการนาสังคม ส่วู ิวัฒนาการอีกระดับหนึ่ง ที่อาจเรียกได้ว่าเป็น สงั คมสารสนเทศ อนั เปน็ สังคมท่ีพึงปรารถนาและยงั่ ยืนย่ิงข้นึ  น่ันจงึ เป็นเหตุผลที่วา่ สงั คมต่าง ๆ ในโลก ต่างจะต้องก้าวสู่สังคมสารสนเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่เร็วก็ ช้า และนั่นหมายความว่าสังคมจะต้องพึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างแน่นอน ไม่ว่าเราจะยอมรับ

67 หรือไมก่ ต็ าม มใิ ช่เพยี งแต่เพ่ือสร้างขีดความสามารถในเชงิ แข่งขันในสนามการค้าระหว่างประเทศ แต่เพ่ือ ความอยู่รอดของมนุษยชาติ และเพื่อคุณภาพชวี ิตท่ดี ขี ึน้ อกี ตา่ งหากด้วย  เทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ เทคโนโลยีค่โู ลกในต้นศตวรรษที่ 21 และเป็นแรงกระตุ้นและเป็นปัจจัยรองรับ ขบวนการโลกาภิวตั น์ ที่กาลงั ผนวกสังคมเศรษฐกิจไทยเขา้ เป็นอันหนง่ึ เดยี วกนั กับสังคมโลก  อนั ท่ีจรงิ เทคโนโลยสี ารสนเทศมใี ช้ในประเทศไทยเป็นเวลาช้านานมาแล้ว เป็นต้นว่า เรามีการใช้โทรศัพท์ ตั้งแตร่ ชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือปี พ.ศ. 2414 เพียงแต่ว่าการใช้เทคโนโลยีน้ี ยังไม่แพร่กระจายท่ัวประเทศและยังไม่อยู่ในระดับสูงเม่ือเทียบกับอีกหลาย ๆ ประเทศในโลก กล่าวกัน อย่างส้ัน ๆ เทคโนโลยสี ารสนเทศ คือ เทคโนโลยีทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและ จดั เกบ็ เรียกใชห้ รอื แลกเปลยี่ น และเผยแพร่สารสนเทศ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบ ของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคล่ือนไหว รวมไปถึงการนาสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเน้ือหา ของสารสนเทศน้นั เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้ การจัดหา วิเคราะห์ ประมวล และจัดการกับข่าวสาร ข้อมูลจานวนมหาศาล จึงขาดเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เสียมิได้ ส่วนการแสวงหาและแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร อย่างรวดเร็ว ทันเวลา ประหยัดค่าใช้จ่าย และมีประสิทธิภาพ ก็จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยี โทรคมนาคม และท้ายสุดสารสนเทศทีม่ ี จะกอ่ ให้เกิดประโยชนจ์ ากการบรโิ ภค อย่างกว้างขวางตามแต่จะ ตอ้ งการและอยา่ งประหยัดท่สี ุด ก็ต้องอาศยั ท้งั สองเทคโนโลยขี า้ งตน้ ในการจัดการและการส่ือหรือขนย้าย จากแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ส่ผู ู้บรโิ ภคในทส่ี ุด  ฉะนนั้ เทคโนโลยสี ารสนเทศจึงครอบคลุมถงึ หลาย ๆ เทคโนโลยีหลัก อันได้แก่ คอมพิวเตอร์ท้ังฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล โทรคมนาคมซ่ึงรวมถึง เทคโนโลยีระบบสื่อสารมวลชน (ได้แก่ วิทยุ และ โทรทัศน์) ทั้งระบบแบบมีสายและไร้สาย รวมถึงเทคโนโลยีด้านอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ อาทิ เทคโนโลยี โทรทัศน์ความคมชัดสูง (HDTV) ดาวเทียมคมนาคม (communications satellite) เส้นใยแก้วนาแสง (fibre optics) สารกึ่งตัวนา (semiconductor) ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) อุปกรณ์ อัตโนมัติสานักงาน (office automation) อุปกรณ์อัตโนมัติในบ้าน (home automation) อุปกรณ์ อัตโนมัติในโรงงาน (factory automation) เหล่าน้ี เป็นตน้  นอกจากการเปน็ เทคโนโลยที ไ่ี ม่ทาลายธรรมชาติหรือสรา้ งมลภาวะ (ในตวั ของมนั เอง) ต่อส่ิงแวดล้อมแล้ว คณุ สมบัติโดดเดน่ อ่นื ๆ ทีท่ าให้มนั กลายเปน็ เทคโนโลยี ยทุ ธศาสตร์สาคัญแห่งยุคปัจจุบันและในอนาคตก็ คอื ความสามารถในการเพม่ิ ประสิทธิภาพและสมรรถภาพในเกอื บทกุ ๆ กจิ กรรม อาทิโดย  1. การลดตน้ ทนุ หรอื คา่ ใชจ้ ่าย  2. การเพ่มิ คุณภาพของงาน  3. การสรา้ งกระบวนการหรือกรรมวธิ ีใหม่ ๆ  4. การสรา้ งผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการใหม่ ๆ ข้ึน

68  ฉะนั้น โอกาสและขอบเขตการนา เทคโนโลยนี ี้มาใช้ จึงมีหลากหลายในเกือบทุก ๆ กิจกรรมก็ว่าได้ ไม่ว่า จะเปน็ การปกครอง การให้บรกิ ารสังคม การผลิตทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ รวมถึงการค้า ท้ังภายในและระหวา่ งประเทศอีกด้วย โดยพอสรุปได้ดังตอ่ ไปนี้  ภาคสังคม การบริหารและปกครอง การให้บริการพ้ืนฐานของรัฐ การบริการสาธารณสุข การบริการ การศึกษา การใหบ้ ริการข้อมูลและสาระบันเทิง การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การบรรเทาสาธารณภยั การพยากรณ์อากาศและอตุ นุ ิยม ฯลฯ  ภาคเศรษฐกิจ การเกษตร การป่าไม้ การประมง การสารวจและขุดเจาะน้ามันและ ก๊าซธรรมชาติ การ สารวจแร่และทรัพยากรธรรมชาติทั้งบนและใต้ผิวโลก การก่อสร้าง การคมนาคมท้ังทางบก น้า และ อากาศ การค้าภายในและระหว่างประเทศ อุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมบริการ อาทิ ธุรกิจการ ทอ่ งเทีย่ ว การเงิน การธนาคาร การขนส่ง และ การประกนั ภัย ฯลฯ  ผลประโยชน์ต่างๆ จากการประยุกต์ใช้ของเทคโนโลยีดังกล่าว ล้วนเกิดจากคุณสมบัติพิเศษหลาย ๆ ประการของเทคโนโลยีกลุ่มน้ี อันสืบเน่ืองจากการพัฒนาของ เทคโนโลยีที่มีอัตราสูงและอย่างต่อเน่ือง ตลอดหลายทศวรรษท่ผี า่ นมา ววิ ัฒนาการทางเทคโนโลยีน้สี ่งผลให้  ราคาของฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ รวมท้ังค่าบริการ สาหรับการเก็บ การประมวล และการแลกเปลี่ยน เผยแพรส่ ารสนเทศมกี ารลดลงอย่างต่อเนือ่ งและรวดเรว็  ทาให้สามารถนาพาอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งคอมพิวเตอร์และ โทรคมนาคมติดตามตัวได้ เนื่องจากได้มี พฒั นาการการยอ่ สว่ นของชนิ้ สว่ น (miniaturization) และพฒั นาการการสือ่ สารระบบไร้สาย  ประการท้าย ที่จัดว่าสาคัญท่ีสุดก็ว่าได้คือ ทาให้เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการ สือ่ สารม่งุ เขา้ สู่จุดทใี่ กล้เคยี งกนั (converge)  ประเทศอตุ สาหกรรมในโลกได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยียุทธศาสตร์กลุ่มน้ี จึงให้ความสาคัญต่อ เทคโนโลยีนี้มากกว่าเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ท่ีจัดเป็นเทคโนโลยียุทธศาสตร์สาคัญอีกหลายกลุ่ม ดังเช่นกลุ่ม ประเทศ OECD (Organization for Economic Co-operation and Development) ได้ศึกษา เปรียบเทียบ ศักยภาพของเทคโนโลยีไฮเทค 5 กลุ่มสาคัญในปัจจุบัน คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยี วสั ดใุ หม่ เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยนี ิวเคลยี ร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในประเด็นผลกระทบสาคัญ 5 ประเดน็ ได้แก่  (1) การสรา้ งผลิตภณั ฑ์และบรกิ ารใหม่ ๆ  (2) การปรับปรุงกระบวนการผลิตผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ าร  (3) การยอมรบั จากสังคม  (4) การนาไปใชป้ ระยุกตใ์ นภาค/สาขาอน่ื ๆ  (5) การสร้างงานในทศวรรษปี 1990 ปรากฏว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการยอมรับในศักยภาพสูงสุด ในทกุ ๆ ประเด็น

69 บทท่ี 3 คอมพวิ เตอร์และอนิ -เทอร์เนต็ กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในภาวะปจั จุบนั ทท่ี ่วั ทุกมุมโลกมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประเทศด้อย พัฒนาทางเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรมหรือประเทศทพี่ ฒั นาแล้วกต็ าม ต่างอยใู่ นภาวะที่ตอ้ งมีการปรบั ตัวกันอยา่ ง มาก ประเทศไทยก็เชน่ เดยี วกันฉะน้ันจึงถอื ได้วา่ เราทุกคนน้นั ตา่ งดาเนินชวี ติ อยใู่ นชว่ งเวลาของการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะรปู แบบทางสงั คมที่เกิดขึน้ ต่างมคี วามต้องการทจี่ ะรับทราบข้อมูลขา่ วสาร และพ่ึงพาอาศัยข้อมูล สารสนเทศในการดารงชีวิตประจาวันมากขึ้นทุกวัน ซ่งึ ก็เป็นผลสืบเนือ่ งมาจากแรงผลักดันของเทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology) หรือทีเ่ รียกกนั วา่ IT นอกจากนี้ ถือได้วา่ ระบบคอมพวิ เตอร์และระบบสอ่ื สารโทรคมนาคมที่ทันสมัยจะกอ่ ใหเ้ กดิ การปฏิวตั ิทาง เทคโนโลยแี ลว้ ยงั ส่งผลกระทบในวงกวา้ งตอ่ ระบบเศรษฐกิจ การเมอื ง วฒั นธรรม และกิจกรรมระหวา่ งประเทศ เปรียบเสมอื นในชว่ งที่มกี ารเปลีย่ นแปลงใช้เครอ่ื งจักร ไอน้าในงานอุตสาหกรรม และถอื ได้ว่าเป็นยุคท่ีสามท่ี พัฒนาต่อเนอื่ งมาจาก ยุคเกษตรกรรม และ ยุคอุตสาหกรรม ปจั จบุ นั เทคโนโลยสี ารสนเทศไดส้ ร้างการเปลย่ี นแปลงในทุกระดับ ตง้ั แต่ระบบสงั คม องค์การธรุ กจิ และ ปจั เจกชน โดยเทคโนโลยสี ารสนเทศกระตุน้ ให้เกิดการปรบั รูปแบบ ความสมั พันธ์ภายในสงั คม การแขง่ ขนั และ ความรว่ มมอื ทางธุรกจิ ตลอดจนกิจกรรมการดารงชีวิตของบคุ คลให้แตกต่างจากอดตี ดงั นนั้ บคุ คลทกุ คนในฐานะ สมาชิกของสงั คมสารสนเทศ (Information Society) จงึ จาเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ทักษะ และความเข้าใจถึงศกั ยภาพ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ ให้สามารถดารงชีวิตและประกอบธรุ กิจอย่างมปี ระสทิ ธิภาพในอนาคต 1.2ความหมายและองคป์ ระกอบเทคโนโลยสี ารสนเทศ จากการท่ีเทคโนโลยีสารสนเทศมอี ิทธพิ ลตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์ในสงั คมปจั จบุ ัน ดังนน้ั การเรียนรู้ และทาความเขา้ ใจถงึ เทคโนโลยีสารสนเทศถอื เป็นส่งิ ทีม่ ีความจาเปน็ เพ่อื ที่จะสามารถนาไปปรับใช้ในการ ดารงชวี ติ ทงั้ ในด้านการศกึ ษาเลา่ เรยี นและการทางานกอ่ นอน่ื ควรทาความเขา้ ถึงความหมายและองคป์ ระกอบของ เทคโนโลยีสารสนเทศดังนี้ 1.2.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี (Technology) หมายถงึ ทกุ สง่ิ ทุกอย่างที่เก่ยี วกบั การผลติ การสร้าง การใช้สง่ิ ของกระบวนการหรอื วธิ กี ารดาเนนิ งานรวมไปถึงอปุ กรณท์ ไ่ี ม่มีในธรรมชาติ สารสนเทศ หรือสารนเิ ทศ เป็นศพั ท์บัญญัตขิ องคาวา่ “Information” ราชบัณฑติ สถานกาหนดใหใ้ ชไ้ ด้ ท้งั สองคา ในวงการคอมพวิ เตอร์ การส่ือสาร และธรุ กจิ นยิ มใชค้ าว่า “สารสนเทศ” สว่ นในวงการ บรรณารักษศาสตร์ สารนเิ ทศศาสตร์ ใชว้ า่ “สารนิเทศ” ความหมายกว้าง ๆ หมายถึง ข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ ต่าง ๆ ทม่ี ีการบันทึกอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ เพ่อื นามาเผยแพร่ และใช้ในงานตา่ ง ๆ ทกุ สาขาไม่วา่ จะเป็น เรองของการค้า การผลิต การบริการ การบรหิ าร การแพทย์ การสาธารณสุข การศกึ ษา การคมนาคม การทหาร และอืน่ ๆ

70 เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology) หมายถงึ เทคโนโลยที ุกด้านที่เข้ามาร่วมกนั ใน กระบวนการจดั เก็บ สร้าง และสื่อสารสารสนเทศ ดงั นน้ั จึงครอบคลุมเทคโนโลยี ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นกระบวนการ ขา้ งตน้ เช่น คอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์จัดเกบ็ ขอ้ มลู บันทึกและคนื ค้น เครือขา่ ยสื่อสารข้อมูล อปุ กรณ์สื่อสารและ โทรคมนาคม เปน็ ตน้ รวมทงั้ ระบบท่คี วบคุมการทางานของอุปกรณเ์ หล่าน้ี เช่น ระบบปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์และ ระบบสื่อสาร เป็นตน้ นอกจากนก้ี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในขณะนี้เป็นไปอยา่ งแพรห่ ลายมากมายนบั ไมถ่ ว้ นในทุกกจิ การ จนแทบ จะกล่าวไดว้ ่ายคุ น้ไี มม่ ีใครไมเ่ คยไม่ได้ยินคาว่าเทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื ท่ีนิยมเรยี กกนั ยอ่ ๆ ว่า ไอที (IT) กนั แล้ว ดงั จะเห็นวา่ ในหมู่ผรู้ ู้และนกั วชิ าการหลายทา่ นไดอ้ ธิบายถงึ ความหมายของคาว่าเทคโนโลยสี ารสนเทศไวม้ ากมาย และคลา้ ยคลึงกนั อาทเิ ชน่ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกุมารี (2538: 4) ทรงอรรถาธบิ ายว่า คาว่า เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ Information Technology ทีม่ กั เรียกว่า ไอที (IT) น้นั จะเนน้ ทก่ี ารจดั การกระบวนการ ดาเนนิ งานสารสนเทศหรอื สารนเิ ทศ ในขน้ั ตอนต่างๆ ตงั้ แต่การเสาะแสวงหา การวเิ คราะห์ การจดั เกบ็ การจดั การ และการเผยแพร่เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพ ความถกู ตอ้ ง ความแม่นยา และความรวดเร็วทันต่อการนาไปใช้ ประโยชน์ ไพรชั ธชั ยพงษ์ ผู้อานวยการสานกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ กล่าววา่ เทคโนโลยี สารสนเทศเปน็ เทคโนโลยที ่ีเก่ยี วกับการติดตอ่ เชื่อมโยง การจดั หา จดั เกบ็ จัดการและเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสาร หรอื ทเี่ รยี กวา่ สารสนเทศให้เกิดประโยชน์ในรูปของส่ือตา่ ง ๆ ดว้ ยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซ่ึงเทคโนโลยสี ารสนเทศจะ ประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสอ่ื สารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การนาข้อมูล ข่าวสารมาใช้ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2538: 24) อธบิ ายวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดว้ ยเทคโนโลยีสาคญั สอง สาขา ไดแ้ ก่ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ื่อสารโทรคมนาคม กลา่ วคือ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรจ์ ะชว่ ย ทางานด้านการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผลข้อมลู ให้รวดเรว็ และถูกต้อง สว่ นเทคโนโลยีสือ่ สารโทรคมนาคมจะ ชว่ ยส่งผลลพั ธข์ องการใชง้ านคอมพวิ เตอร์ไปยงั ผู้ใชท้ อี่ ย่หู ่างไกลไดอ้ ย่างรวดเร็วและสะดวก อย่างไรกต็ าม ถ้าเปน็ สมยั กอ่ น ๆ ยคุ คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศจะหมายถึง เทคโนโลยีการพมิ พ์ กล้องถ่ายรูป เคร่ือง พิมพด์ ดี โทรเลขและโทรศัพท์ ปัจจุบนั ได้มีนักวชิ าการบางท่านได้เปลีย่ นชอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศใหมเ่ ปน็ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร (Information and Communication Technology: ICT) ขณะเดียวกันทางองค์การศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ หรอื ยูเนสโก (UNESCO) กลบั เรียกเทคโนโลยเี หลา่ น้วี า่ \"Informatics\" หรือสนเทศศาสตร์ ซ่งึ หมายถึง วชิ าทศ่ี กึ ษาเก่ียวกบั สารสนเทศ และการคานวณเพอื่ คาดการณ์ เหตกุ ารณใ์ นอนาคต (ทักษิณา สวนานนท์ และ ฐานศิ รา เกยี รติบารมี 2546: 348) สุเมธ วงศพ์ านชิ เลิศ และนติ ย์ จันทรมงั คละศรี อธิบายวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถงึ เทคโนโลยีที่ เก่ยี วข้องกับการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจดั เกบ็ เรยี กใชห้ รอื แลกเปลย่ี น และเผยแพร่สารสนเทศ ดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรปู แบบของภาพ ภาพเคลือ่ นไหว เสียง ข้อความ หรือตัวอกั ษร รวมไปถึง การนาสารสนเทศและขอ้ มูลไปปฏิบตั ติ ามเนื้อหาของสารสนเทศนน้ั เพ่อื ให้บรรลุเป้าหมายของผใู้ ช้ Moll (1983 อ้างถงึ ใน Jimba 1999: 80) ให้นิยามความหมายของคาวา่ “เทคโนโลยีสารสนเทศ” ว่าเปน็ เทคโนโลยตี ่าง ๆ ทใ่ี ช้

71 ในการสรา้ งสรรค์ (Creation), จดั หา (Acquisition), จัดเก็บ (Storage), เผยแพร่ (Dissemination), ค้นคืน (Retrieval), จัดการ (Manipulation), และ ถ่ายทอด (Transmission) ขอ้ มลู หรือสารสนเทศ อาจกลา่ วสรปุ อย่างง่าย ๆ ได้วา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology: IT) หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technologies: ICTs) กค็ อื เทคโนโลยีสองดา้ นหลัก ๆ ท่ีประกอบด้วยเทคโนโลยรี ะบบคอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยสี ่อื สารโทรคมนาคมท่ี ผนวกเขา้ ด้วยกัน เพอ่ื ใช้ในกระบวนการจดั หา จัดเกบ็ สร้าง และเผยแพรส่ ารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ขอ้ ความหรือตัวอักษร และตัวเลข เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธภิ าพ ความถกู ต้อง ความแมน่ ยา และ ความรวดเร็วให้ทันตอ่ การนาไปใช้ประโยชน์ Souter (1999: 408) ให้ทรรศนะวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร หรอื ICTs จะช่วยอานวยความ สะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1. การลงทุนภายในประเทศของธรุ กิจระหว่างประเทศ บริษัทธุรกิจระหว่างประเทศจะเลือกตัดสนิ ใจเขา้ มาลงทุนในประเทศทพ่ี รอ้ มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเปน็ ลาดับแรก โดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารเป็นตวั เช่ือมโยงหน่วยธรุ กจิ ในจดุ ต่าง ๆ ทว่ั โลก 2. การพฒั นาธุรกิจของกจิ การภายในประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารจะสนับสนนุ การ ดาเนนิ ธรุ กิจของเจ้าของธรุ กิจภายในประเทศ รวมถงึ เจ้าของธรุ กจิ สง่ ออก ในดา้ นการตลาดขา้ มพรมแดน ระหว่างภูมิภาค (Regional cross-border markets) และการจา้ งงาน 3. การรวมกลมุ่ กนั ทางสังคมและวัฒนธรรม การแลกเปลีย่ นทรัพยากรสารสนเทศระหว่างบุคคลและ ชมุ ชน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารทาใหบ้ คุ คล และชมุ ชนสามารถเขา้ ถงึ สารสนเทศอย่างไร้ขอบเขต สามารถใชส้ ารสนเทศตามความต้องการอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลสามารถเข้าไปเกี่ยวข้องในเรือ่ งนโยบายการวางแผน และการพัฒนาตลอดจนสามารถร่วมมือกบั ผูอ้ ่ืนในการดาเนนิ การในเรื่องทเ่ี ห็นตรงกนั หรอื มีจุดประสงค์รว่ มกัน ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมี 5 ประการ (Souter 1999: 409) ไดแ้ ก่ ประการแรก การสือ่ สารถือเปน็ สิง่ จาเปน็ ในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ส่งิ สาคัญท่ีมสี ่วนในการ พฒั นากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษยป์ ระกอบด้วย Communications media, การสือ่ สารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ตวั อย่าง เช่น การสรา้ งภูมกิ นั โรคให้กับพลเมืองจะมปี ระสิทธภิ าพ ยง่ิ ขึน้ หากมีการบนั ทกึ ข้อมลู ประวัติผ้ปู ว่ ยหรอื ข้อมลู อ่ืน ๆ ไว้ในฐานข้อมลู คอมพิวเตอร์ ประการท่ีสอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารประกอบดว้ ยผลติ ภณั ฑ์หลกั ท่ีมากไปกวา่ โทรศพั ท์ และคอมพวิ เตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอรเ์ นต็ , อีเมล์ ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในทีต่ ่าง ๆ ได้ สะดวก และสง่ิ เหล่านถ้ี อื เปน็ บริการสาคญั ของการสอื่ สารโทรคมนาคม ท่ีทาให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สารมีมากย่ิงขึ้น ประการท่ีสาม เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารมผี ลให้การใช้งานด้านตา่ ง ๆ มีราคาถูกลง เช่น การ ใชแ้ ฟกซแ์ ละอเี มล์จะถกู กวา่ นา่ เช่ือถอื กว่า และรวดเรว็ กวา่ การใชบ้ รกิ ารไปรษณีย์แบบเดิม (Post and courier) ทงั้ น้ีหนว่ ยงานภาคธุรกจิ รัฐบาล และบุคคลทัว่ ไปตา่ งนิยมใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมากขน้ึ เพราะ ช่วยประหยดั เวลาและเงนิ รวมท้งั ทาให้มผี ลิตผล (Productivity) เพมิ่ ข้นึ

72 ประการทสี่ ่ี เครือขา่ ยส่อื สาร (Communication networks) ได้รบั ประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนือ่ งจากจานวนการใช้เครือขา่ ย จานวนผเู้ ช่ือมต่อ และจานวนผ้ทู ่มี ีศกั ยภาพในการเข้าเชอื่ มต่อกบั เครือข่ายนับวนั จะเพ่ิมสงู ข้นึ ประการสดุ ท้าย เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารทาใหฮ้ าร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทนุ การใช้ ICT มี ราคาถกู ลงมาก แมว้ ่าการเปน็ เจ้าของคู่สายโทรศพั ทห์ รือคอมพิวเตอรย์ งั เป็นสง่ิ ฟมุ่ เฟอื ยสาหรบั คนในสังคมส่วน ใหญ่ แตป่ ระชาชนจานวนมากก็เริม่ มกี าลงั หามาใช้ได้เองแลว้ เช่น เจ้าของธรุ กจิ ขนาดเลก็ องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ พน้ื ฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศสืบเนื่องมาจากการพฒั นาแบบกา้ วกระโดด ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสต์ ่าง ๆ ไม่วา่ จะเปน็ คอมพวิ เตอร์ ใยแก้วนาแสง ดาวเทยี มส่อื สาร ระบบเครอื ข่าย ซอฟต์แวร์ และมลั ติมีเดีย กอปรกบั ราคาของอปุ กรณ์ฮารด์ แวรท์ ถี่ กู ลง แต่มขี ดี ความสามารถในการทางานท่เี พ่มิ มากข้ึนเรื่อย ๆ ทาให้แนวโน้มการ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใ์ ชง้ าน ต่าง ๆ นน้ั มีมากข้นึ เปน็ ลาดบั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศนั้นอาจ กล่าวไดว้ า่ ประกอบขน้ึ จากเทคโนโลยีสอง สาขาหลกั คือ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีส่อื สาร โทรคมนาคม สาหรับรายละเอียด พอสังเขปของแต่ละเทคโนโลยีมีดงั ตอ่ ไปนคี้ อื หลักการออกแบบสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู้ หลกั การออกแบบสือ่ เพื่อการเรยี นร้ปู ระกอบด้วย 9 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. เรา้ ความสนใจ (Gain Attention) ส่อื การเรยี นรู้ ตอ้ งมลี ักษณะทเ่ี รา้ ความสนใจและดึงดูดความสนใจของผู้เรยี น เพอ่ื เปน็ การกระตุ้นและ เกิดแรงจงู ใจใหผ้ ู้เรียนมคี วามตอ้ งการทจ่ี ะเรยี น ผอู้ อกแบบจงึ ตอ้ งกาหนดส่งิ ทจ่ี ะดงึ ดดู ความสนใจ เพ่อื ให้เกิด พฤตกิ รรมและเป้าหมายตามท่ีต้องการ สว่ นใหญจ่ ะเร่ิมด้วยหน้านาเรือ่ ง ซ่งึ ควรมีรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหวหรอื สสี ัน ต่าง ๆ เพื่อใหน้ า่ สนใจ ซึง่ ก็ตอ้ งเก่ียวข้องกบั บทเรียนดว้ ย คอื การแสดงช่อื ของบทเรียน ชอื่ ผู้สรา้ งบทเรียน การ แนะนาเรอื่ งหรือการแนะนาเนอ้ื หาของบทเรียน สิ่งที่ต้องพจิ ารณาเพอ่ื เร้าความสนใจของผู้เรยี น 2. บอกวตั ถปุ ระสงค์ (Specify Objectives) การบอกวัตถุประสงคแ์ กผ่ เู้ รียน เพอื่ เป็นการใหผ้ ู้เรยี นได้ทราบถึงเป้าหมายในการเรยี นหรือสิง่ ทผ่ี ูเ้ รยี นสามารถ ทาได้หลังจากที่เรียนจบบทเรยี น ซ่ึงสว่ นใหญ่จะเปน็ จุดประสงค์กวา้ ง ๆ จนถึงจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม การบอก จุดประสงค์จะทาให้ผู้เรียนทาความเขา้ ใจเนอ้ื หาไดด้ ีขึ้น ส่งิ ทตี่ ้องพิจารณาในการบอกวตั ถปุ ระสงค์ มดี งั น้ี 1.ใช้คาส้ัน ๆ และเข้าใจได้งา่ ย 2.หลกี เลีย่ งคาท่ยี ังไมเ่ ป็นที่รจู้ กั และเปน็ ท่เี ข้าใจ โดยทว่ั ไป 3.ไม่ควรกาหนดวัตถุประสงค์หลายข้อเกินไปในเน้ือหาแตล่ ะส่วน 4.ผูเ้ รียนควรมีโอกาสทจ่ี ะทราบว่าหลงั จบบทเรียนเขาสามารถนาไปใช้ทาอะไรไดบ้ า้ ง 5.หากบทเรยี นนน้ั ยงั มีบทเรยี นยอ่ ย ๆ ควรบอกจดุ ประสงค์กวา้ ง ๆ และบอกจดุ ประสงค์เฉพาะสว่ นของบทเรียน ย่อย 3. ทวนความร้เู ดมิ (Activate Prior Knowledge)

73 ลกั ษณะของการทวนความรู้เดมิ ของผูเ้ รียน เป็นการทบทวนหรอื การเชอื่ มโยงระหวา่ งความรูเ้ ดมิ เพ่อื เชือ่ ม กับความร้ใู หม่ ซ่ึงผู้เรียนจะมีพืน้ ฐานความรูท้ ่แี ตกตา่ งกันออกไป การรับรูส้ ิ่งใหม่ ก็ควรจะมกี ารประเมินความรู้เดมิ คือการทดสอบกอ่ นการเรียน และเพือ่ เป็นการกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การระลกึ ความรู้เดิมเพื่อเตรยี มพรอ้ มในการ เช่อื มโยงกับความรใู้ หม่ ซง่ึ การทดสอบจะทาให้ผู้เรยี นได้รตู้ วั เองและกลบั ไปทบทวนในสง่ิ ท่ีเก่ียวข้อง สาหรบั คนท่รี ู้ ในเนอ้ื หาบทเรียนดแี ลว้ อาจข้ามบทเรียนไปยงั เนือ้ หาอื่นๆตอ่ ไป การจะทาแบบทดสอบก่อนเรียนหรอื ไม่ก็ขึ้นอยกู่ ับ การพจิ ารณาของบทเรียนเพือ่ ให้เกิดความเหมาะสม ส่ิงทีจ่ ะต้องพิจารณาในการทบทวนความรเู้ ดิม มดี งั นี้ 1. ไม่ควรคาดเดาเอาว่าผเู้ รยี นมีความรพู้ น้ื ฐานก่อนแลว้ จงึ มาศกึ ษาเน้ือหาใหม่ ควรมกี ารทดสอบหรอื ใหค้ วามรู้ เพอื่ เปน็ การทบทวนใหพ้ ร้อมทีจ่ ะรับความรูใ้ หม่ 2. การทดสอบหรอื ทบทวนควรให้กระชับและตรงตามวัตถปุ ระสงค์ 3. ควรเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นออกจากแบบทดสอบหรอื เนอ้ื หาใหมเ่ พอื่ ไปทบทวนไดต้ ลอดเวลา 4.หากไม่มีการทดสอบควรมกี ารกระตุ้นให้ผ้เู รยี นกลับไปทบทวนหรือศกึ ษาในส่งิ ท่ีเกี่ยวข้อง 4. การเสนอเน้ือหา (Present New Information) การเสนอเนื้อหาใหม่เป็นการนาเสนอเนอื้ หาโดยใช้ตัวกระตนุ้ ทเี่ หมาะสม เป็นสิง่ สาคญั สาหรบั การเรยี นการ สอนเพ่ือใหก้ ารเรยี นรูเ้ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ รูปแบบการนาเสนอมหี ลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การใชข้ ้อความ ภาพนิง่ กราฟ ตารางข้อมูล กราฟกิ ตลอดจนภาพเคลือ่ นไหว ซึ่งเปน็ การใชส้ อื่ หลายรูปแบบที่เรียกวา่ สอื่ ประสม เป็นการเรา้ ความสนใจของผู้เรียน สิ่งท่จี ะต้องพจิ ารณาในการนาเสนอเนอ้ื หาใหม่ มดี ังน้ี 1. ใชภ้ าพนิ่งประกอบการเสนอเน้ือหา โดยเฉพาะส่วนเน้ือหาที่สาคัญ 2. พยายามใชภ้ าพเคลือ่ นไหวในเนอื้ หาท่ียาก และทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงตามลาดับใช้แผนภมู ิ แผนภาพ แผนสถติ ิ สัญลกั ษณห์ รือภาพเปรียบเทยี บประกอบเน้ือหา 3. ในเนอื้ หาทีย่ ากและซบั ซ้อนใหเ้ นน้ ขอ้ ความเปน็ สาคัญ ซง่ึ อาจเป็นการตกี รอบ ขีดเส้นใต้ การกระพรบิ การทาสี ให้เด่น 4. ไมค่ วรใชก้ ราฟกิ ที่เข้าใจยากหรือไมเ่ ก่ยี วกบั เนอ้ื หา 5. จดั รปู แบบของคา ขอ้ ความให้น่าอา่ น เนอ้ื หาที่ยาวให้จัดกลุ่ม แบง่ ตอน 5. ช้แี นวทางการเรยี นรู้ (Guide Learning) การช้ีแนวทางการเรยี นรู้ เปน็ การใชใ้ นชน้ั เรยี นตามปกติ ซงึ่ ผู้สอนจะยกตวั อยา่ งหรอื ต้งั คาถามชแ้ี นะแบบกวา้ ง ๆ ให้แคบลง เพือ่ ให้ผเู้ รยี นวเิ คราะห์เพอ่ื คน้ หาคาตอบ สาหรับบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนควรตอ้ งใช้การ สร้างสรรคเ์ ทคนคิ เพื่อกระต้นุ ให้ผู้เรยี นค้นหาคาตอบด้วยตนเอง การจดั กจิ กรรมที่เหมาะสม เพอื่ เปน็ ตัวช้แี นวทาง สงิ่ ทจ่ี ะต้องพจิ ารณาในการชแ้ี นวทางการเรียนรู้ มีดังน้ี 1. แสดงให้ผูเ้ รยี นได้เห็นถงึ ความสัมพันธ์ของเน้อื หาและช่วยให้เห็นส่ิงย่อยนนั้ มคี วามสัมพนั ธก์ บั ส่ิงใหม่ อยา่ งไร 2. แสดงให้เหน็ ถงึ ความสมั พันธข์ องสงิ่ ใหมก่ บั สงิ่ ทผ่ี ู้เรียนมคี วามรู้หรือประสบการณ์มาแลว้ 3. พยายามใหต้ ัวอย่างท่ีแตกตา่ งกันออกไป เพื่อชว่ ยอธบิ ายความคิดใหมใ่ ห้ชดั เจนขน้ึ

74 4. การเสนอเนอื้ หาทย่ี าก ควรให้เห็นตวั อย่างทีเ่ ป็นรูปธรรมไปสนู่ ามธรรม ถ้าเน้ือหาไมย่ าก ให้เสนอตวั อยา่ ง จากนามธรรมไปสู่รูปธรรม 5. กระตุ้นให้ผูเ้ รยี นคดิ ถงึ ความรแู้ ละประสบการณ์เดิม 6. กระตุ้นการตอบสนอง (Elicit Responses) การกระต้นุ ใหเ้ กดิ การตอบสนองจากผเู้ รยี น เมือ่ ผูเ้ รยี นได้รบั การช้แี นวทางการเรยี นรู้แลว้ ต้องมกี ารกระตนุ้ ให้ เกิดการตอบสนองโดยกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทท่ี าให้ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมในการคดิ และ ปฏิบตั ิเชิงโต้ตอบ เพ่ือใหบ้ รรลุถงึ วัตถุประสงคใ์ นการเรียน การกระตุ้นตอ้ งจัดกจิ กรรมให้เหมาะสม ส่งิ ทต่ี ้องพจิ ารณาในการกระตุน้ การตอบสนอง มี ดงั นี้ 1. พยายามใหผ้ ู้เรียนได้ตอบสนองด้วยวธิ ีใดวธิ ีหนึง่ ตลอดการเรียน 2. ควรให้ผู้เรยี นได้มีโอกาสพมิ พค์ าตอบหรอื ขอ้ ความเพื่อเรา้ ความสนใจ แตก่ ไ็ มค่ วรจะยาวเกินไป 3. ถามคาถามเป็นช่วง ๆ ตามความเหมาะสมของเน้ือหา เพ่ือเรา้ ความคดิ และจนิ ตนาการของผเู้ รียน 4. หลกี เลย่ี งการตอบสนองซ้า ๆ หลายคร้ังเมื่อทาผิด ควรมกี ารเปลย่ี นกิจกรรมอย่างอน่ื ตอ่ ไป 5. ควรแสดงการตอบสนองของผู้เรยี นบนเฟรมเดยี วกนั กับคาถาม รวมทง้ั การแสดงคาตอบ 7. ให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ (Provide Feedback) หลังจากที่ผเู้ รยี นได้รับการทดสอบความเขา้ ใจของตนในเนือ้ หารวมทงั้ การกระตนุ้ การตอบสนองแลว้ จาเปน็ อย่างยง่ิ ท่จี ะตอ้ งใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั หรอื การให้ผลกลบั ไปยังผู้เรียนเกยี่ วกบั ความถูกตอ้ ง การให้ผลย้อนกลบั ถอื เปน็ การเสริมแรงอยา่ งหน่ึง การให้ขอ้ มูลย้อนกลับสามารถแบง่ ขนั้ ตอนไดเ้ ป็น 4 ประเภทตามลักษณะท่ีปรากฏได้ดงั น้ี 1. แบบไมเ่ คลอื่ นไหว หมายถงึ การเสริมแรงดว้ ยการแสดงคา หรือข้อความ บอกความ ถูก หรอื ผิด และรวมถึง การเฉลย 2. แบบเคล่อื นไหว หมายถึงการเสรมิ แรงด้วยการแสดงกราฟิก เชน่ ภาพหนา้ ยิ้ม หน้าเสียใจ หรือมีข้อความ ประกอบใหช้ ดั เจน 3. แบบโตต้ อบ หมายถึง การเสริมแรงด้วยการใหผ้ เู้ รยี นได้มกี ิจกรรมเชิงโตต้ อบกับบทเรยี น เปน็ กจิ กรรมทจี่ ัด เสรมิ หรือเพ่อื เกิดการกระตุ้นแก่ผู้เรยี น เช่น เกมส์ 4. แบบทาเครอ่ื งหมาย หมายถงึ การทาเครื่องหมายบนคาตอบของผูเ้ รียนเม่อื มีการตอบคาถาม ซงึ่ อยู่ในรปู ของวงกลม ขดี เส้นใต้ หรือใช้สีทแ่ี ตกต่าง 8. ทดสอบความรู้ (Access Performance) การทดสอบความรหู้ ลังเรยี น เพื่อเป็นการประเมนิ ผลว่าผู้เรยี นไดเ้ กดิ การเรียนรู้ไดต้ ามเป้าหมายหรือไม่ อยา่ งไร การทดสอบอาจทาหลงั จากผู้เรยี นได้เรยี นจบวตั ถุประสงค์หนึ่ง หรือหลงั จากเรียนจบทัง้ บทเรียนก็ได้ กาหนดเกณฑใ์ นการผ่านให้ผเู้ รียนไดท้ ราบ ผลจากการทดสอบจะทาให้ทราบวา่ ผเู้ รียน ควรจะเรียนเนือ้ หาบทเรียน ใหมห่ รอื ว่าควรต้องกลบั ไปทบทวน สง่ิ ทต่ี อ้ งพจิ ารณาในการออกแบบทดสอบหลงั บทเรยี น มีดงั น้ี 1. ต้องแนใ่ จว่าสิ่งท่ีตอ้ งการวัดน้ันตรงกบั วัตถปุ ระสงค์ 2. ข้อทดสอบ คาตอบและ Feedback อยใู่ นเฟรมเดียวกนั 3. หลกี เล่ยี งการใหพ้ มิ พ์คาตอบที่ยาวเกินไป 4. ใหผ้ ูเ้ รยี นตอบคร้งั เดยี วในแต่ละคาถาม

75 5. อธิบายใหผ้ ู้เรียนทราบว่าควรจะตอบดว้ ยวธิ ีใด 6. ควรมรี ูปภาพประกอบด้วย นอกจากข้อความ 7. คานึงถงึ ความแม่นยาและความน่าเชอ่ื ถือของแบบทดสอบด้วย 9. การจาและนาไปใช้ (Promote Retention and Transfer) สิ่งสดุ ท้ายสาหรับการสอน การจาและนาไปใช้ สิ่งสาคญั ที่จะชว่ ยให้ผ้เู รียนมคี วามคงทนในการจาข้อมลู ความรู้ ต้องทาใหผ้ ู้เรียนตระหนกั วา่ ข้อมูลความรใู้ หม่ทีไ่ ด้เรยี นร้ไู ปนน้ั มีความสมั พนั ธ์กับความรู้เดิม หรือประสบการณเ์ ดมิ โดยการจัดกจิ กรรมท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นได้ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ เพอ่ื การเชอ่ื มโยงขอ้ มูลความรู้เดิมกับความรใู้ หม่ รวมทง้ั การนาไปใช้กับสถานการณ์ ส่งิ ทีค่ วรพิจารณาในการจาและนาไปใช้ มดี ังน้ี 1. ทบทวนแนวคิดท่สี าคัญและเน้ือหาท่เี ป็นการสรปุ 2. สรุปให้ผ้เู รียนได้ทราบว่าความร้ใู หม่มคี วามสมั พนั ธก์ ับความร้เู ดิมหรือประสบการณ์ที่ผ่านมาอยา่ งไร 3. เสนอแนะเน้อื หาท่ีเปน็ ความรใู้ หม่ซงึ่ จะนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 4. บอกแหลง่ ขอ้ มูลทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นการศึกษาใหก้ บั ผู้เรียน ความหมายแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ หมายถงึ แหลง่ ขอ้ มูลข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ที่สนับสนุนส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นใฝ่เรยี น ใฝ่รู้ แสวงหาความรูแ้ ละเรียนรูด้ ว้ ยตนเองตามอัธยาศยั อยา่ งกวา้ งขวางและต่อเนอ่ื ง เพ่ือเสริมสร้างใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กระบวนการเรียนรู้ และเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ แหล่งเรยี นรทู้ ีส่ าคญั 1. แหลง่ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. แหล่งการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 3. แหล่งปลูกฝงั นิสยั รักการอา่ น การศกึ ษาค้นควา้ แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง 4. แหลง่ สร้างเสรมิ ประสบการณ์ภาคปฏบิ ตั ิ 5. แหลง่ สร้างเสริมความรู้ ความคดิ วิทยาการและประสบการณ์ ความหมายเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ (Learning Network) หมายถงึ การแลกเปลยี่ นความรู้ ความคดิ ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ และการเรียนรู้ระหวา่ งบคุ คล กลมุ่ บคุ คล องคก์ าร และแหล่งความรทู้ ่มี สี ว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นรูอ้ ย่าง ต่อเน่อื ง จนเปน็ ระบบท่ีเชื่อมโยงกนั สง่ ผลใหเ้ กิดการเผยแพรแ่ ละการประยุกต์ความร้ใู หมๆ่ เพ่อื วตั ถปุ ระสงคท์ าง วชิ าชีพหรือทางสงั คม ความหมาย เครือข่ายการเรยี นรู้สว่ นบคุ คล PLN (Personal Learning Network) เครอื ขา่ ยการเรยี นรู้สว่ นบุคคล การเรียนร้สู ว่ นบุคคลเปน็ หน่ึงในรากฐานของสถาบันการศกึ ษาและการเปลยี่ นแปลงองค์กรทีป่ ระสบความสาเร็จ เครอื ขา่ ยการเรยี นรสู้ ว่ นบุคคล (PLN) ไมเ่ พียงแต่สนบั สนนุ การพัฒนาวชิ าชีพของตวั เอง แตย่ งั สามารถเป็นวิธที ่มี ี ประสิทธิภาพในการกระจายนวตั กรรมภายในสถาบนั การศึกษาของพวกเขา เรยี นรู้ท่จี ะเชื่อมต่อกับชมุ ชนของมือ อาชพี ใจเหมอื นให้มสี ่วนร่วมมกี ารสนทนาและทาให้การร้องขอในชว่ งเวลาของความจาเปน็ เครือ่ งมอื ฟรที ม่ี ี

76 ประสทิ ธิภาพและสอ่ื สงั คมเชน่ Google +, Twitter, และ Facebook ใหเ้ ปน็ ไปได้สาหรับคุณและเพอ่ื นรว่ มงาน ของคณุ หากมองในองคร์ วมแลว้ นน้ั เครอื ข่ายการเรยี นรสู้ ่วนบคุ คล กค็ อื การนาเอาเนือ้ หา สาระ ขอ้ มูล จากสว่ นตา่ ง ๆ ใน ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทเ่ี ราใช้กนั อยู่ทกุ วันมาใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นระบบการศึกษา ซึ่งมีทง้ั ส่อื สังคมออนไลน์ (Social Network และ Social Media) เครื่องมือค้นควา้ ข้อมูล (Search Engines) บันทกึ สว่ นตวั (Blog) หรือ แมก้ ระทั่งสังคมการเรียนรู้ (Community Learning) ประเภทแหล่งเรียนรูแ้ ละเครือขา่ ยการเรียนรู้ ประเภทของแหล่งเรยี นรู้ ประเภทของแหล่งเรียนรูส้ ามารถแบง่ ได้หลากหลาย ตามลักษณะการแบ่งของแต่ละบคุ คล ซึง่ มรี ายละเอียดของ ผู้ใหค้ วามหมายของประเภทแหลง่ เรยี นรดู้ งั ตอ่ ไปน้ี สานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ (2546 : 8- 9) ได้จาแนกประเภทของแหลง่ การเรยี นรไู้ ว้ 2 แบบ 1. จัดตามลกั ษณะของแหล่งการเรียนรู้ 1.1 แหลง่ การเรียนรู้ตามธรรมชาติ เป็นแหลง่ การเรียนรู้ท่ผี เู้ รยี นจะหาความรไู้ ดจ้ ากส่ิงท่มี อี ยแู่ ล้วตามธรรมชาติ เช่น แมน่ า้ ภูเขา ป่าไม้ ลาธาร กรวด หนิ ทราย ชายทะเล เปน็ ต้น 1.2 แหล่งการเรียนรทู้ ่มี นษุ ย์สรา้ งข้ึน เพ่อื สบื ทอดศิลปวฒั นธรรม ตลอดจนเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีอานวยความ สะดวกแก่มนษุ ย์เช่น โบราณสถาน พพิ ิธภัณฑ์ ห้องสมุดประชาชน สถาบันการศกึ ษา สวนสาธารณะ ตลาด บา้ นเรอื น ที่อย่อู าศัย สถานประกอบการ เป็นตน้ 1.3 บคุ คล เป็นแหลง่ การเรยี นรทู้ ถ่ี ่ายทอดความรูค้ วามสามารถ คุณธรรม จรยิ ธรรม การสบื สานวฒั นธรรม และ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ทั้งดา้ นประกอบอาชีพ ตลอดจนนักคิด นักประดิษฐ์ และผมู้ ีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

77 จดั ตามแหลง่ ทต่ี ้งั ของแหล่งการเรียนรู้ 2.1 แหลง่ การเรยี นรใู้ นโรงเรียนเดมิ มีแหลง่ การเรยี นรู้หลัก คือ ครู อาจารย์ ต่อมามีการพัฒนาเป็นห้องปฏบิ ตั กิ าร ตา่ ง ๆ เช่น ห้องปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ หอ้ งโสตทัศนศึกษา หอ้ งจรยิ ธรรม ห้องศิลปะ ตลอดจนอาคารสถานท่ีและสงิ่ แวดล้อมในโรงเรียน เชน่ หอ้ งอาหาร สนาม ห้องน้า สวน ดอกไม้ สวนสมนุ ไพร แหลง่ น้าในโรงเรียน เปน็ ตน้ 2.2 แหลง่ การเรียนรูใ้ นท้องถ่ินครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นสถานท่ีและบคุ คลซึง่ อาจอยใู่ นทอ้ งถิ่นใกล้เคยี งโรงเรียน ทอ้ งถนิ่ ท่ี โรงเรียนพาผูเ้ รียนไปเรียนรู้ เชน่ แมน่ ้า ภูเขา ชายทะเล สวนสาธารณะ สวนสตั ว์ ทงุ่ นา สวนผกั สวนผลไม้ วดั ตลาด รา้ นอาหาร ห้องสมุดประชาชน สถานีตารวจ สถานอี นามยั ดนตรีพ้นื บา้ น การละเลน่ พื้นเมอื ง แหลง่ ทอผ้า เทคโนโลยีชาวบ้าน เทคโนโลยีในชวี ิตประจาวัน แหล่งข้อมลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ ประเภท เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ 1. แบง่ ตามจุดมงุ่ หมายของการเรยี นรู้ ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะภายใต้โครงสรา้ งของเครือข่ายการเรยี นรู้ 1.1 เครือข่ายการเรียนรทู้ ม่ี งุ่ เน้นเอกัตบุคคลเปน็ หลกั มีลกั ษณะของการประสานสมั พันธก์ ารดาเนนิ งานของ หน่วยงานตา่ งๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง เพื่อขยายการให้บรกิ ารทางการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น นอกระบบโรงเรียน และ การศึกษาตามอัธยาศยั ไปยงั ผ้ทู ่ีต้องการ อยา่ งกวา้ งขวาง และสนองตอบปญั หาความต้องการของแต่ละบุคคล ตลอดจนจิตใต้สานกึ ในการมสี ว่ นร่วมพฒั นา 1.2 เครือข่ายการเรยี นรู้ท่ีม่งุ เน้นชมุ ชนเปน็ หลัก เปน็ การกระตนุ้ ใหส้ มาชกิ ใช้ศกั ยภาพของตนเองเพอ่ื แก้ไขปญั หา ชุมชน เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในการพ่ึงพาตนเอง บนพื้นฐานของการเข้าใจสภาพปัญหา เงื่อนไข ข้อจากัด และความตอ้ งการของตน

78 2. แบ่งตามโครงสร้างเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ ซง่ึ พิจารณาถงึ โครงสร้างเครือขา่ ยการเรียนรอู้ าศยั ความร่วมมือระหว่าง บคุ คลองค์กรและเทคโนโลยกี ารส่ือสารเช่ือมโยงกนั เปน็ เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ สามารถจาแนกออกได้เปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี 2.1 เครือข่ายการเรียนร้โู ครงสร้างกระจายศูนย์ มศี นู ยก์ ลางทาหน้าท่ีประสานงาน แต่ภารกจิ ในการเรยี นการสอน จะกระจายความรบั ผิดชอบให้สมาชิกเครอื ข่ายซง่ึ ต่างกม็ ีความสมั พันธเ์ ท่าเทียมกนั รูปแบบนอ้ี าจเรียกว่าการ กระจายความรับผิดชอบ (Distributed Network) ซึ่งพบได้ในเครอื ข่ายการพฒั นาชนบท และการเรียนรูจ้ ากแหลง่ วิทยาการชุมชน โดยอาศัยส่ือบคุ คลเปน็ หลัก 2.2 เครอื ข่ายการเรยี นรโู้ ครงสร้างรวมศูนย์ มอี งคก์ รกลางเปน็ ท้ังศนู ยป์ ระสานงาน และเปน็ แมข่ า่ ยรวบรวมอานาจ การจดั การความร้ไู ว้ในศนู ย์กลาง การลงทุนด้านเทคโนโลยแี ละกาลงั คนอยูท่ แี่ ม่ข่าย ส่วนลูกข่ายหรอื สมาชิกเป็น เพยี งผ้รู ่วมใช้บรกิ ารจากศูนย์กลาง 2.3 เครือข่ายการเรยี นรูโ้ ครงสร้างลาดับข้ัน (Hierarchical Network) มลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั แผนภูมอิ งคก์ ร การ ติดต่อส่ือสารข้อมูลตอ้ งผ่านตามลาดับขนั้ ตอนมาก นยิ มใชก้ ารบรหิ าร จัดการองค์กรตา่ งๆ ซึ่งเหมาะแก่การควบคุม ดูแลระบบงาน 2.4 เครือขา่ ยการเรียนร้โู ครงสรา้ งแบบผสม คอื มีท้งั แบบรวมศูนยแ์ ละกระจายศนู ย์ ซ่ึงพบมากในการจัดการศึกษา นอกระบบโรงเรียน เน่ืองจากการเรียนรู้มไิ ดอ้ าศัยสอื่ ใดสอื่ หนง่ึ เปน็ หลัก หากแตม่ กี ารผสมผสานส่อื บุคคล และ เทคโนโลยจี ึงจาเปน็ ตอ้ งจดั ระบบเครอื ขา่ ยแบบผสม เพ่อื สนองความตอ้ งการได้อย่างกวา้ งขวางและตรง 3. แบง่ ตามหนว่ ยสงั คม ไดแ้ บ่งการเครือขา่ ยการเรยี นรู้ออกเป็น 4 ระดับ คอื เครอื ขา่ ยการเรียนรรู้ ะดบั บคุ คล เครอื ข่ายการเรยี นร้รู ะดบั กลมุ่ เครอื ข่ายการเรยี นร้รู ะดบั ชุมชน และเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ระดบั สถาบัน 4. แบ่งตามระดับการปกครองและลกั ษณะของงาน ซึ่ง ประเวศ วะสี (2538) ไดแ้ บ่งประเภทของเครอื ข่ายการ เรียนรอู้ อกเปน็ 13 ประเภท คือ เครือขา่ ยชุมชนเครือขา่ ยนักพัฒนา เครือข่ายระดบั จงั หวัด เครอื ข่ายภาครัฐ เครือขา่ ยวชิ าชีพ เครอื ขา่ ยธรุ กจิ เครอื ข่ายส่อื สารมวลชน เครอื ขา่ ยนกั ฝึกอบรม เครือขา่ ยการประมวลและ สงั เคราะห์องคค์ วามรรู้ ะดบั ชาติ เครือข่ายภาคสาธารณะ เครือขา่ ยวิชาการ เครอื ข่ายนโยบายองค์กรของรัฐ และ เครอื ข่ายผู้ทรงคุณวุฒิ 5.6 ตัวอย่างเครอื ข่ายการเรยี นรู้ 1. เครอื ข่ายไทยสาร เป็นเครือข่ายเชอื่ มโยงสถาบันการศกึ ษาตา่ ง ๆ ระดับมหาวิทยาลยั เข้าดว้ ยกันกว่า 50 สถาบนั เรม่ิ จัดสร้างในปพี .ศ.2535 2. เครือข่ายยูนเิ น็ต (UNINET) เปน็ เครอื ขา่ ยเพอ่ื การเรยี นการสอนท่ีสาคัญในยุคโลกาภวิ ฒั น์ จดั ทาโดยทบวง มหาวิทยาลยั ในปี พ.ศ. 2540 3. สคูลเน็ต (SchoolNet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไดร้ ับการดแู ลและสนบั สนนุ โดยศูนย์ เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ เครอื ข่ายน้ีเชือ่ มโยงโรงเรยี นในประเทศไทยไวก้ ว่า 100 แห่ง และเปดิ โอกาสให้โรงเรียนอื่น ๆ และบุคคลท่ีสนใจเรยี กเข้าเครือข่ายได้ 4. เครือข่ายนนทรี เป็นเครอื ข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับเปน็ เครือขา่ ยท่ีสมบูรณ์แบบและใช้เทคโนโลยี ชั้นสงู สามารถตอบสนองความต้องการใช้ของนิสติ อาจารย์ ข้าราชการ ตลอดจนการรองรับทางด้านทรพั ยากร เซอร์เวอรอ์ ยา่ งพอเพียง

79 5. เครอื ข่ายกระจายเสียงวทิ ยุ อสมท. จะรวมผังรายการวทิ ยใุ นเครอื ข่าย อสมท. มีไฟล์เสยี งรบั ฟังทางอินเทอร์เน็ต ได้. 6. เครอื ข่ายสมานฉนั ท์เพ่อื การปฏริ ปู การเมอื ง เปน็ เครือข่ายทใี่ ชแ้ ลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ประเดน็ ต่าง ๆ ทาง การเมอื ง และบทวิเคราะหด์ ้านการเมือง 7. ThaiSafeNet.Org เป็นเครือขา่ ยผปู้ กครองออนไลน์ มพี ันธกจิ ดา้ นการเชอ่ื มโยงครู ผูป้ กครอง นักการศกึ ษา … โครงการพฒั นาเครือข่ายผู้ปกครองออนไลน์ พนั ธกิจ : ฝกึ อบรมครู ผปู้ กครอง 8. เครอื ขา่ ยพทุ ธกิ า รวมตวั อย่างหนังสือเครอื ข่ายพทุ ธกิ าเพ่ือพระพทุ ธศาสนาและสังคม 5.7 ความสาคญั ของแหลง่ เรยี นร้แู ละเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ ความสาคญั ของแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ เรยี นรู้มคี วามความสาคัญกบั ผู้เรยี น ซึ่งไดร้ บั ความรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย ซ่ึงมีผใู้ ห้ความหมาย เก่ยี วกับความสาคญั ของแหล่งเรยี นรู้ดังต่อไปนี้ กงิ่ แกว้ อารรี กั ษ์ (2548 : 118) ใหค้ วามสาคัญของการศกึ ษาโดยใช้ แหลง่ เรียนรู้ ไว้ดงั น้ี กระตุ้นใหเ้ กดิ การเรยี นรูเ้ รื่องใดเรอื่ งหนง่ึ โดยอาศัยการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับสื่อทห่ี ลากหลาย 2. ช่วยเสรมิ สรา้ งการเรยี นรใู้ หล้ กึ ซ้งึ ข้นึ โดยใช้เวลาในการรวบรวมขอ้ มลู สะท้อนความคดิ เห็นจากแหลง่ การเรียนรู้ 3. กระตุน้ มุง่ เนน้ ลกึ ในเรือ่ งใดเรอื่ งหนงึ่ ซงึ่ ผลักดนั ให้ผู้เรยี นแสวงหาขอ้ มูลที่เก่ยี วขอ้ งเพิม่ มากขนึ้ สามารถสรา้ ง ผลผลิตในการเรียนรทู้ ่ีมคี ณุ ภาพสูงขนึ้ 4. เสริมสรา้ งการเรยี นรู้ จนเกดิ ทกั ษะการแสวงหาข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ โดยอาศยั การสร้างความตระหนักเชิง มโนทศั นเ์ กี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละความแตกตา่ งของขอ้ มลู 5. แหล่งการเรียนรู้เสริมสร้างการพัฒนาการคิด เชน่ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล และการประเมินอยา่ งมีวิจาร ญาณ โดยอาศยั กระบวนการวจิ ัยอิสระ 6. เปลี่ยนเจตคตขิ องครแู ละผเู้ รยี นทมี่ ตี ่อเน้ือหารายวิชา และผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน 7. พฒั นาทกั ษะการวจิ ยั และความเช่อื ม่ันในตนเองในการคน้ หาข้อมูล 8. เพิม่ ผลสมั ฤทธ์ดิ ้านวชิ าการ ในด้านเน้ือหา เจตคติ และการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ โดยอาศยั แหลง่ การเรียนรู้ที่ หลากหลายในการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้บนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต Online learning คานี้ หลายๆคนคงสงสัยวา่ เหมอื นกบั e-learning ไหม ท่จี ริงทั้ง Online learning กบั e- learning มาจากพ้ืนฐานเดียวกนั ทเี่ ป็นการพฒั นานาเอาบทเรียน เน้ือหาสาระ ในลกั ษณะเชน่ เดียวกันComputer Based Learning แต่ Online Learnig และ e-learning กม็ ีข้อแตกตา่ งกนั ในหลายๆด้าน จาก diagram ด้านบน Online learning เป็นรปู แบบการเรียนรู้ทีพ่ ฒั นาตอ่ มาจาก CAI หรือ Computer Based Learning ลักษณะของการเรียนรู้แบบ online learning มมี ากกว่า CAI กค็ ือ การปฎสิ ัมพนั ธ์ CAI มรี ะหวา่ ง ผูเ้ รียน กับตัวสือ่ บทเรยี น แต่ ลกั ษณะ online learning จะสามารถปฎิสัมพันธ์ร่วมกนั ระหว่าง ผเู้ รยี นกับผเู้ รียน และผู้เรยี นกบั ครผู ู้สอนได้ดว้ ย ซ่ึงรูปแบบการเรยี นแบบ online นี้ ตอบสนองใหผ้ ้เู รียนเป็นศูนย์กลางผู้เรยี น รับผดิ ชอบผลท่ีไดร้ บั จากการเรยี น โดยครู จะทาหนา้ ท่ใี หก้ ารสนับสนุน และใหค้ าแนะนามากกวา่ ให้นักเรียนจด ข้อมูลตา่ งๆในหอ้ งเรยี นผู้สนบั สนุนจัดหานกั เรียนจากแนวท่กี าหนดไว้ และ กิจกรรมในการเรยี นให้นักเรียนหา

80 ข้อสรปุ และตอบกลบั โดยการหาขอ้ มลู จากหลายๆ แหล่งหนงั สอื และส่งิ ตีพิมพเ์ ปน็ แหลง่ ข้อมูลท่ีสาคัญรวมถงึ เพ่อื นร่วมชั้นเรียนและไม่ควรมองขา้ มเร่อื งสถานที่ทจี่ ะใช้ ความหมายของ online-learning คาวา่ Online Learning หมายถึง การเรียนในลักษณะใดกไ็ ด้ ซงึ่ ใชก้ ารถ่ายทอดเนอื้ หาผ่านช่องทางเครือขา่ ย อนิ เทอรเ์ นต็ ซึง่ เน้ือหา สารสนเทศอาจอยู่ในรูปแบบการเรยี นด้วยขอ้ ความพรอ้ มสือ่ ประกอบอืน่ หรือมี กระบวนการ Interactive (ทม่ี ีการโตต้ อบระหวา่ งผู้เรยี นกับตวั engine ทม่ี ลี ักษณะคล้ายกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน) ปัจจบุ ัน เมือ่ กล่าวถึง online-learning คนส่วนใหญ่จะหมายถึง การเรียนเนื้อหา หรอื สารสนเทศ ซงึ่ ออกแบบมา สาหรบั การสอนหรอื การอบรม ซ่ึงใชเ้ ทคโนโลยีของเว็บในการถ่ายทอดเนือ้ หา และเทคโนโลยรี ะบบการบรหิ าร รายวิชา (Course Management System) ซงึ่ การถ่ายทอดเนอ้ื หาสามารถแบง่ ออกเป็น 3 ลกั ษณะ คอื เน้นขอ้ ความออนไลน์ (Text Online) เปน็ การนาเสนอเน้อื หาในรปู ของขอ้ ความเป็นหลกั โดยเน้นเนอ้ื หาท่เี ป็น ขอ้ ความและตวั อักษร มลี ักษณะเชน่ เดยี วกับการสอนบนเว็บ (WBI) รายวิชาออนไลนเ์ ชงิ โตต้ อบและประหยัด (Low Cost Interactive Online Course) เป็นการนาเสนอเนื้อหาในรูป ของตัวอกั ษร ภาพ เสยี งและวีดทิ ัศน์ท่ผี ลิตข้ึนมาอย่างงา่ ย ๆ นอกจากน้ียงั มีการพัฒนาระบบการบรหิ ารรายวชิ า เพอ่ื ช่วยใหผ้ ู้ใชป้ รับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยได้อย่างสะดวก รายวชิ าออนไลนค์ ุณภาพสูง (High Quality Online Course) เป็นการนาเสนอเนอ้ื หาในลกั ษณะของส่อื ประสมที่ ไดร้ ับการออกแบบและพัฒนาอย่างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนีม้ กี ารเน้นการเข้าถงึ เน้ือหาตามความต้องการใน ลักษณะทไ่ี ม่เป็นเชงิ เสน้ ตรง มกี ารออกแบบกิจกรรมซึง่ ผ้เู รยี นสามารถโต้ตอบกับเนือ้ หา รวมท้งั มีแบบฝกึ หดั และ แบบทดสอบให้ผู้เรยี นสามารถตรวจสอบความเข้าใจได้ หลังจากน้ันผู้สอนอาจนดั หมายผู้เรยี นมาพบ เพ่อื เน้นยา้ ประเดน็ สาคัญ ๆ ท่ีผู้สอนทราบว่าผู้เรยี นมกั เกดิ ปัญหา หรอื ตอบปัญหาท่ีผู้เรียนพบจากการทไ่ี ดศ้ ึกษาดว้ ยตนเอง แล้วก่อนท่จี ะมาเขา้ ชั้นเรยี นน่ันเอง นอกจากนหี้ น่วยงานวจิ ัย นกั การศกึ ษา สถานศกึ ษาต่างๆ ยังให้ความหมายของ Online -learning ไวอ้ กี หลาย ความหมาย อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์(Online Learning) เปน็ อีกหนง่ึ รปู แบบของการจดั การเรยี นรู้ท่ไี ด้รับความนิยมเปน็ อยา่ งมากในยุคปัจจุบัน สถานศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยต่างกใ็ ห้ความสาคัญกบั การจัดการเรียนรแู้ บบออนไลน์ เพราะ ชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ การท่ีเราจะจดั การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพ เราต้องเข้าใจ แนวคิด หลกั การทีส่ าคญั การประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีต่างๆ นามาออกแบบกจิ กรรมการ เรียนการสอน คุณสมบัติของครอู อนไลน์ การเตรยี มความพร้อมของผู้เรยี น การเตรยี มเครื่องมืออปุ กรณต์ า่ งๆ การ บรหิ ารจดั การคอรส์ การสรา้ งชุมชนออนไลน์ เป็นต้น เพอ่ื ใหก้ ารเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพ ผเู้ รยี นรู้สกึ สนุกไป กับการเรยี น online learning คอื การเรียนโดยผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง ผ้เู รียนรับผิดชอบผลที่ไดร้ ับจากการเรียน โดยใหก้ าร สนบั สนุนและให้คาแนะนามากกวา่ ให้นกั เรยี นจดข้อมลู ต่างๆในหอ้ งเรียนผสู้ นบั สนุนจัดหานักเรียนจากแนวท่ี กาหนดไว้ และ กจิ กรรมในการเรยี นให้นกั เรยี นหาข้อสรปุ และตอบกลับโดยการหาขอ้ มูลจากหลายๆ แหล่งหนังสือ และสิ่งตีพิมพเ์ ป็นแหลง่ ขอ้ มลู ที่สาคัญรวมถงึ เพ่ือนร่วมช้นั เรียน และไม่ควรมองข้ามเร่ืองสถานทที่ จ่ี ะใช้

81 จากคานิยาม online learning เนน้ กระบวนการ นอกจากการสะสมขอ้ มูล การจดจา online learning ยงั ก่อใหเ้ กิดการแลกเปล่ียน(กระบวนการ),การประเมนิ คา่ ,และการประยกุ ตใ์ ช้ขอ้ มูลความสามารถทางเทคโนโลยีของ คอมพวิ เตอร์ และอนิ เตอรเ์ น็ต ช่วยใหก้ ระบวนการต่างๆ บรรลุผลไดอ้ ย่างรวดเร็ว และทาใหเ้ ข้าใจไดค้ รอบคลุม เทคโนโลยีใหมๆ่ online learning..กระบวนการปฏิรปู (การเปล่ียนแปลง)การเรียนในห้องเรียนเสมือน เทคโนโลยีเปน็ ศาสตรแ์ ละ ศลิ ป์ ในการใช้เทคโนโลยีเชิงปฏสิ ัมพันธ์ ไม่ใช่เป็นเครอื่ งมอื ชว่ ยในการเรยี น แต่เปรียบเสมอื นการเขียนให้เหน็ ทางไกล สาหรับการเรยี น เปน็ ส่ิงทถ่ี ูกต้องทวี่ ่านกั เรียนเป็นศนู ย์กลางของการเรยี น เมอ่ื เทคโนโลยถี ูกนามาใช้ เพราะเทคโนโลยสี ร้างองค์ประกอบแวดล้อมและโอกาสในการเรยี นได้หลากหลายรูปแบบ ผู้สนับสนุนเรยี นรวู้ ิธกี าร ใหม่ในขณะท่เี ทคโนโลยีแสดงถงึ ความซับซ้อนในระดับต่างๆ, การประสทิ ธิภาพในการเรยี น ไดม้ ากขึน้ เพราะฉะน้นั เปน็ ส่ิงถูกต้องท่ีวา่ การเรียนคือศนู ยก์ ลางในหอ้ งเรยี นเสมอื นหลกั สูตรการเรียน online ตอ้ งการ ความรว่ มมือและการปฏสิ ัมพันธใ์ นระดบั สงู เพอื่ คน้ หา,ประเมนิ ค่า,และปฏิบัตกิ ารโดยไม่มขี ้อจากัดของจานวนข้อมูลทม่ี อี ยู่และเปน็ ประโยชน์ โดยผสู้ นบั สนนุ สมมตุ กิ ฎของผูน้ าและผู้เรยี น online-learning ใหอ้ ะไรแก่เราบ้าง คาถามท่มี ักจะมีผถู้ ามบ่อยคร้งั เม่ือมีการตัง้ ประเด็นสนทนา เก่ยี วกับ online-learning คือ online-learning จะ ให้อะไรแก่เราบา้ งถา้ ตอบอยา่ งรวบรดั กพ็ อมคี าตอบไดห้ ลายประการอาทิ 1) ความรวดเรว็ และผลกระทบที่มีตอ่ การพัฒนาตาม เปา้ หมายและวตั ถุประสงคข์ องการเรยี นรู้ เพราะ online- learning ใหบ้ ริการผา่ นสื่อทใ่ี ช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นหลักจึงมขี อ้ ไดเ้ ปรยี บที่สามารถนาผู้เรยี นเขา้ ส่บู ทเรียน ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วโดยผูเ้ รยี น แทบไมเ่ สียเวลาในการรอเพื่อเข้าสบู่ ทเรียนนั้นๆ เลยนอกจากนัน้ ผูเ้ รียนสามารถเลอื กที่ จะเขา้ เรียนในบทเรยี นใดกอ่ นหรือหลงั ไดด้ ้วยตวั เอง โดยทีไ่ ม่ต้องเรยี นตามลาดับของบทเรียนในรายวชิ านน้ั ซงึ่ นบั เป็นจุดเดน่ ของการเรยี นแบบ online-learning 2) ความทนั สมยั อยู่เสมอของหลกั สูตรการอบรม การทีผ่ ู้เรียนสามารถเลอื กบทเรียนและจดั ลาดับของการเรียนดว้ ย ตนเองในบรกิ ารแบบ online-learningทาให้สามารถ สนองตอบพฤติกรรมการเรยี นร้ขู องแตล่ ะบุคคลไดเ้ ปน็ อยา่ ง

82 ดี เพราะผ้เู รยี นบางคนมีพฤตกิ รรมท่ีจะเลือกเรียนในหวั ขอ้ หรือ บทเรยี นท่ตี นคดิ วา่ มปี ระโยชนห์ รือสามารถตอบ ปญั หาทีต่ นสงสยั ในขณะน้ันกอ่ นแล้วจงึ เรียนบทเรียนอนื่ ๆภายหลงั นอกจากนนั้ การ ทผี่ ูเ้ รียนสามารถเลือก สถานทีเ่ วลา และชว่ งเวลาที่ผ้เู รียนรู้สึกว่า สะดวกสบาย หรอื เหมาะสมตอ่ การเรยี นรู้ของตนทส่ี ุดการเรยี น ย่อมเกดิ จากความเต็มใจและมีความกระตือรือรน้ ที่จะเรยี นรู้ทาให้ เกิดสัมฤทธิผลของการเรยี นรู้ และการที่ผ้พู ฒั นาระบบ online-learning มีการปรับปรุงขอ้ มูลในบทเรยี นของตนใหท้ นั สมัยอยู่เสมอจะสง่ ผล ให้ผู้เรยี นผเู้ รียนไดร้ ับความรู้ ทเี่ หมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน 3) เปน็ การศกึ ษาที่เสยี ต้นทุนต่าท้ังนเ้ี พราะผู้เรยี นสามารถ เรยี นจากแหลง่ ท่มี กี ารเชือ่ มโยงเครอื ข่ายทใ่ี กล้กับทพี่ ัก อาศัยหรอื แหล่งที่ผูเ้ รยี นสะดวกท่ีสุด และสว่ นใหญ่ผ้เู รียนเสียค่าสมัครครั้ง เดียวแต่สามารถเรียนบทเรียนนั้นๆ ได้ หลายครงั้ ไม่มีการจากดั จานวนครงั้ ทีเ่ รียน การสอบเพอ่ื วัดผลกส็ ามารถทาได้จากสถานท่ีเดยี วกับท่เี รยี น ดงั น้ัน เมือ่ มองในแงข่ องการเปรียบเทยี บตน้ ทุนแห่งคา่ เสียโอกาส (Opportunity cost) แลว้ online-learning มตี ้นทนุ ตอ่ หนว่ ยสาหรบั ผู้เรยี นต่าการการเรยี นโดยปกติเพราะไมม่ ี คา่ เดนิ ทาง คา่ ทีพ่ ัก (ในกรณที ีผ่ ู้เรยี นอยไู่ กล สถานศึกษา) และสามารถเรยี น ไปในขณะท่ีกาลังทางานอย่ใู นที่ทางานด้วย (ในช่วงทม่ี เี วลาว่าง หรอื นายจา้ ง อนญุ าต)ิ โดยไมต่ ้องทง้ิ งานเพอื่ เดินทางไปเรียนในส่วน ของผู้พฒั นาบทเรยี นเองก็เสยี ตน้ ทุนตา่ เพราะเสียต้นทุนใน การพัฒนาครง้ั เดยี ว กส็ ามารถนาไปใช้งานไดห้ ลายต่อหลายครัง้ โดยจะเสียค่าใชจ้ ่ายเพม่ิ เปน็ ครง้ั คราว เฉพาะเพอ่ื การบารงุ รักษาขอ้ มูล อปุ กรณท์ ี่ให้บริการและค่าใชจ้ า่ ยในการปรับปรุงขอ้ มลู เท่าน้นั ซึง่ จะต่ากวา่ ท่จี ะต้องพฒั นา บทเรียนใหม่ทุกคร้งั ท่ีจะใหบ้ รกิ ารอย่างเหน็ ได้ชัด ดงั นัน้ ผใู้ หบ้ รกิ ารสามารถคิดค่าบรกิ ารในการ เรียนในราคาไม่ แพงนักเพอ่ื แขง่ ขันกบั ผูป้ ระกอบการรายอนื่ ลกั ษณะเฉพาะที่สาคัญของ online-learning ประเภทของ Online-learning online-learning คนสว่ นใหญ่จะหมายถงึ การเรียนเนอ้ื หา หรอื สารสนเทศ ซึ่งออกแบบมาสาหรับการสอนหรอื การอบรม ซงึ่ ใชเ้ ทคโนโลยีของเวบ็ ในการถา่ ยทอดเนอ้ื หา และเทคโนโลยรี ะบบการบรหิ ารรายวชิ า (Course Management System) ซึ่งการถา่ ยทอดเนอ้ื หาสามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คอื 1. เน้นขอ้ ความออนไลน์ (Text Online) เปน็ การนาเสนอเน้อื หาในรปู ของขอ้ ความเปน็ หลัก โดยเนน้ เนื้อหาทเ่ี ป็นข้อความและตัวอกั ษร มลี กั ษณะ เช่นเดยี วกับการสอนบนเว็บ (WBI) 2. รายวชิ าออนไลนเ์ ชิงโต้ตอบและประหยดั (Low Cost Interactive Online Course) เปน็ การนาเสนอเนื้อหาในรปู ของตวั อักษร ภาพ เสียงและวดี ิทัศนท์ ่ีผลติ ขึ้นมาอย่างงา่ ย ๆ นอกจากน้ียังมีการ พัฒนาระบบการบริหารรายวิชา เพอื่ ช่วยใหผ้ ใู้ ชป้ รบั ปรุงเน้ือหาให้ทันสมัยไดอ้ ย่างสะดวก 3. รายวชิ าออนไลน์คณุ ภาพสูง (High Quality Online Course) เปน็ การนาเสนอเนื้อหาในลักษณะของสื่อประสมท่ีได้รบั การออกแบบและพัฒนาอย่างมปี ระสิทธิภาพ นอกจากน้มี ี การเนน้ การเข้าถงึ เน้อื หาตามความตอ้ งการในลกั ษณะท่ีไมเ่ ปน็ เชิงเสน้ ตรง มกี ารออกแบบกิจกรรมซ่งึ ผเู้ รยี น สามารถโต้ตอบกับเนือ้ หา รวมทงั้ มีแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบให้ผเู้ รียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจได้ หลงั จาก นั้นผ้สู อนอาจนดั หมายผูเ้ รียนมาพบ เพ่อื เน้นยา้ ประเด็นสาคญั ๆ ทผ่ี ู้สอนทราบว่าผู้เรียนมักเกิดปัญหา หรือตอบ ปญั หาที่ผู้เรยี นพบจากการทไ่ี ด้ศึกษาดว้ ยตนเองแล้วกอ่ นทจ่ี ะมาเข้าชน้ั เรยี นน่ันเอง

83 ระบบการสบื ค้นผา่ นเครือขา่ ยเพื่อการเรยี นรู้ อนิ เทอรเ์ นต็ มาใชใ้ นการศึกษาสามารถทาไดห้ ลายรูปแบบด้วยกนั การประยุกต์น็ตเปน็ เครือขา่ ยที่สามารถติดต่อสื่อสารกนั ไดก้ ับแหลง่ ที่เชอื่ มต่อเข้าดว้ ยกัน สามารถสืบคน้ ขอ้ มูลได้ และมสี ถาบันต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐและเอกชนท่วั โลกไดเ้ ชื่อมเครือขา่ ยรว่ มกัน จึงเปน็ แหลง่ ท่ีจะสบื คน้ ขอ้ มูลเพือ่ นามา ศึกษาหาความรไู้ ด้ การนาอนิ เทอรเ์ นใ็ ชง้ านเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ทางการศกึ ษา ดังน้ี การใช้เครือข่ายเพ่ือการติดต่อส่อื สารเป็นการตดิ ต่อระหว่างผู้เรยี นกบั ผสู้ อน เพอ่ื ส่งรายงาน การบา้ น วทิ ยานพิ นธ์ ในรูปแบบแฟ้มขอ้ มูล การเป็นสมาชกิ กลมุ่ สนทนาเพ่ือเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เผยแพรผ่ ลงานวิจยั ช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกันทางด้านวชิ าการ และแจ้งข่าวความเคลอื่ นไหวทางวชิ าการ การใชเ้ ครอื ข่ายเพื่อการสบื ค้นข้อมูลซ่ึงผู้เรยี น นกั วิจยั และ ผู้สอนสามารถสบื คน้ จากฐานขอ้ มูลทางการศึกษา และ Online Library Catalog ของห้องสมดุ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ช่อื มโยงในอนิ เทอร์เนต็ จากประเทศในทวปี ต่าง ๆ ท่ัวโลก การใช้เครือข่ายเพื่อการสอน หรือการสอนทางไกลโดยผา่ นเครือขา่ ย โดยเปิดเปน็ หลกั สูตรการสอนในระดบั ปริญญาและในแบบประกาศนยี บัตร เรียกวา่ Online Program ซึ่งผูเ้ รยี นสามารถสมัครและเรียนผา่ นเครอื ข่าย อนิ เทอรเ์ น็ต ส่วนกิจกรรมการเรยี นการสอน เอกสารและการตดิ ตอ่ ตา่ ง ๆ อยู่ในรปู ของแฟม้ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ Internet ในชีวติ ประจาวันสง่ ผลในด้านการศึกษา เราต่อเขา้ กับอินเตอร์เนต็ เพอ่ื ค้นคว้าหาขอ้ มลู ได้ ไมว่ า่ จะเป็น ขอ้ มลู ทางวิชาการจากทตี่ า่ ง ๆ ซ่งึ ในกรณีน้ี อนิ เตอรเ์ นต็ จะทาหน้าท่ีเหมือนหอ้ งสมุด ขนาดยกั ษ์ สง่ ขอ้ มลู ที่เราต้องการ มาใหถ้ งึ บนจอคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านหรอื ทท่ี างานของเรา ไมก่ ี่วนิ าทจี ากแหล่งข้อมลู ท่ัวโลก ไมว่ า่ จะเป็น ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรม ศลิ ปกรรม สงั คมศาสตร์ กฎหมาย ความบันเทิง และการ พักผ่อนหยอ่ นใจ หรอื

84 สนั ทนาการ เช่น เลือกอ่านวารสารต่างๆ ผา่ นอนิ เตอร์เนต็ ทเ่ี รียกว่า magazine แบบ online รวมถึงหนังสือพมิ พ์ และขา่ วสารอ่ืน ๆ โดยมภี าพประกอบบนจอคอมพวิ เตอร์ เหมอื นกับหนงั สอื การใช้อนิ เตอรเ์ น็ตเพื่อการค้นหาข้อมูลในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง เนือ่ งจากข้อมูลท่อี ย่บู นเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ในปัจจบุ นั มมี ากมายและกระจดั กระจายอย่ตู ามทต่ี ่างๆ ดังนัน้ ผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตจึงจาเป็นตอ้ งเรียนรวู้ ธิ ีการใช้บริการอินเตอรเ์ น็ตและเลอื กใช้ให้เหมาะสม เพือ่ การคน้ หาข้อมูลในการ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองอย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยสามารถใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตในการสืบค้นข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า และวิจยั ได้ หลายวิธีด้วยกนั วธิ ีท่ีเปน็ ท่ีนิยมมากท่ีสุดในปัจจุบัน คือ การสืบค้นทางเวลิ ด์ไวด์เว็บ เน่อื งจากสามารถรองรบั ข้อมูลไดห้ ลายๆ รปู แบบ และเช่อื มโยงขอ้ มลู ท่ีเกย่ี วเนอ่ื งกัน ให้เราไดศ้ ึกษาอยา่ งสะดวกสบาย และมซี อฟตแ์ วร์ สาหรับอ่านขอ้ มูลในเวบ็ ทส่ี มบรู ณ์แบบมากการคน้ หาข้อมูล ใน การเรียนรูด้ ้วยตนเองอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จาเปน็ ตอ้ งใชเ้ ครื่องมือชว่ ยคน้ (Search engine) ซ่ึงซอฟต์แวรส์ าหรบั อ่านข้อมูลในเวบ็ (Web Browser) สว่ นใหญบ่ รกิ ารเช่ือมต่อกบั เครอื่ งมอื เหล่าน้ไี ว้ให้แล้ว ผู้ใชเ้ พยี งแต่กดป่มุ สาหรับเรยี กเคร่ืองมอื นขี้ ้นึ มา พมิ พ์คา หรอื ขอ้ ความทีต่ ้องการสบื คน้ ลงไป เครือ่ งกจ็ ะแสดงผลการค้น โดยการ แสดงช่อื ของขอ้ มลู ท่เี ราตอ้ งการศกึ ษา (Web Page) ซงึ่ ถ้าต้องการเข้าไปอ่าน กส็ ามารถกดลงไปบนชือ่ นน้ั ไดเ้ ลย ข้อมูลดงั กลา่ วจะปรากฏบนจอไม่วา่ จะเปน็ ข้อมลู จากเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ ครื่องใดในโลกก็ตาม นอกจากนกี้ ารเข้าใชค้ อมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอน่ื ๆ ท่ีตอ่ อยูก่ บั เครือข่าย และมกี ารอนญุ าตให้เขา้ ไปใชไ้ ด้ เช่น การตดิ ต่อ เขา้ สเู่ ครอื่ งคอมพิวเตอรข์ องห้องสมุดเพ่ือค้นหา ยืม ต่อเวลาการยืม หรือการจองหนังสอื สง่ิ พมิ พต์ า่ ง ๆ ก็เปน็ ที่ นยิ มกันมาก ปัจจุบันมหี ้องสมดุ หลายแหง่ เปิดให้บรกิ ารบริการน้สี ามารถเขา้ ใช้ได้โดยการ ใช้คาสัง่ Telnet และ ตามดว้ ยช่ือเครื่อง หรอื หมายเลขของเครอ่ื งแล้วพมิ พช์ อื่ ในการขอเข้าใช้ (Login) บางเครอื่ งอาจตอ้ งใช้รหัสลับ (Password) ด้วย หลงั จากนนั้ ตอ้ งทาตามคาสัง่ ท่ปี รากฏบนจอ ซ่ึงจะแตกต่างกันไปในแต่ละระบบของเครอื่ ง นอกจากหอ้ งสมดุ แลว้ เราอาจจะใช้คอมพิวเตอร์ทเี่ ปน็ ฐานขอ้ มูลต่าง ๆ ได้ด้วย โดยในบางฐานขอ้ มูล นอกจากผู้ใช้

85 จะเขา้ ไปคน้ หาบทความที่เคยตพี มิ พ์ในวารสารต่าง ๆ แล้วยงั สามารถใช้บรกิ ารพิเศษอื่น ๆ เช่น บริการสง่ อเี มล์แจง้ ให้ทราบเกีย่ วกบั บทความใหม่ ๆ ที่ได้ตพี มิ พ์ในวารสารการศึกษาท่ีสนใจเลม่ ล่าสุด โดยตอ้ งมกี ารกาหนดชอื่ ของ วารสารทสี่ นใจไวล้ ว่ งหน้า หรือ มบี รกิ ารส่งแฟกซ์ บทความนัน้ ให้แก่ผใู้ ช้ทีส่ นใจ อินเทอร์เนต็ เปน็ เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีบทบาทในยคุ นี้ โดยการนาความรู้ การเชอื่ มโยงแหล่งความรู้มาประกอบ กันเพอื่ ให้ผ้เู รยี น ทีต่ ้องการเรียนรใู้ ห้เขา้ ถงึ ไดจ้ ึงนบั วา่ เปน็ ประโยชน์ตอ่ วงการศกึ ษาในการใช้สบื คน้ ขอ้ มูลตา่ งๆจาก ความจาเป็นและความสาคญั ของอนิ เทอรเ์ น็ตดังกลา่ ว ผูว้ ิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาพฤตกิ รรมการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ การศึกษาของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั ผลการวจิ ยั ครัง้ นเี้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สถาบนั เพื่อใชใ้ นการวางแผนการบริหารจัดการและการลงทนุ ดา้ นเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สารเพ่ือเปน็ ประโยชน์สาหรับตัวเราเอง การใช้อินเทอร์เน็ตเพอ่ื การศกึ ษา ยุคแห่งสงั คมความรเู้ ปน็ ยุคท่ีนักการศึกษามบี ทบาทต่อการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยอ์ ยา่ งยิง่ อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ช่องทางของการสง่ ขอ้ มูลผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ่วั ทั้งโลก เราต่างกา้ วหนา้ ผ่านยุคแห่งสงั คมข่าวสารมาแลว้ ซ่งึ ท าใหป้ ระจักษไ์ ดว้ า่ ข่าวสารต่าง ๆ น้นั จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคมการศึกษา และอ่ืน ๆ ได้นนั้ ต้องอาศัยความร้ใู นการจดั การ การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพอ่ื การศึกษามีความหมายครอบคลมุ กิจกรรมด้านการศกึ ษาท่ถี ูกวางรูปแบบโดยครผู ทู้ าหนา้ ท่ี ถ่ายทอดความรู้ผา่ นทางอินเทอรเ์ นต็ เน่ืองจากรปู แบบการสอ่ื สารและการควบคมุ นักเรียนทางไกลแบบOnline มี ลกั ษณะพเิ ศษทีแ่ ตกต่างจากการเรียนการสอนในห้องเรียนซงึ่ ทากันเป็นปกติ ดงั นน้ั เปา้ หมายของการศึกษาผ่าน อินเทอรเ์ น็ตจึงประกอบด้วยวตั ถปุ ระสงค์หลกั 3 ประการ ได้แกก่ ารสรา้ งกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเครือขา่ ย อนิ เทอร์เน็ตใหเ้ หมาะสมกับระดับผูเ้ รียน การเสริมทกั ษะและความรเู้ พือ่ ให้ครูสามารถดาเนินการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ การกาหนดเปา้ หมายการศึกษาเพื่อสนับสนนุ การเรยี นการสอน การสรา้ งกจิ กรรมการเรียนการสอนผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ กิจกรรมการศกึ ษาในระบบเครอื ขา่ ย

86 อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความสมั พันธข์ องกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพราะจ านวนของผใู้ ช้อนิ เทอร์เน็ตตอ่ การใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อการศกึ ษามคี วามสมั พนั ธ์กันในอตั ราสว่ นท่ลี ดลงโดยพบวา่ ข้นั พ้นื ฐานจะมจี านวนประชากรท่ีใช้ อินเทอร์เนต็ มาก จานวนของผใู้ ช้ทม่ี ที กั ษะ หรอื ความสามารถในการใชป้ ระโยชนจ์ ากอินเทอรเ์ น็ตกลับมีจานวนท่ี ลดลงจากข้อเท็จจริงดังกลา่ วทาใหว้ ธิ กี ารที่จะสร้างใหม้ กี ิจกรรมเพ่อื การศกึ ษาผา่ นอนิ เทอร์เนต็ อย่างได้ผล จงึ จาเปน็ อย่างย่งิ ท่จี ะต้องดาเนินการวางแผนเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ให้เปน็ บรกิ ารสาธารณปู โภคของประเทศที่มี ประสิทธิภาพใหค้ รอบคลุมทกุ พ้นื ทใ่ี นเวลาอันรวดเรว็ ทส่ี ุดเทา่ ที่จะทาได้ซงึ่ ปัจจบุ ันมหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ ได้รับการ สนบั สนุนจากทบวงหาวิทยาลยั (Uninet) สว่ นโรงเรียนระดับมัธยมศกึ ษาก็ได้รบั การสนบั สนนุ จาก SchoolnetThailand เชน่ กนั การบรกิ ารอินเทอรเ์ น็ตระดบั พ้นื ฐาน แต่ละข้ันจะมีรปู แบบของกจิ กรรมการศกึ ษาท่ี แตกตา่ งกนั การใช้ระบบเครือขา่ ยระดบั พื้นฐานคือการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตตามโครงสรา้ งของสาธารณูปโภคทม่ี ีใช้กันอย่ใู นทุกแหง่ สาเหตุท่ีจะทาให้ กล่มุ ผู้ใชท้ ี่ยงั ไมร่ จู้ กั เครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ เปลย่ี นเจตคติมายอมรบั เพ่อื เข้าร่วมในการใชร้ ะบบ เครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ น่าจะเป็นเพราะความสามารถในการสื่อสารระหวา่ งบุคคล และความสามารถของ อนิ เทอร์เน็ตในการเข้าถึงขอ้ มูลทม่ี อี ยู่ในคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งอนื่ ๆ ท่วั โลกด้วยเวลาอนั รวดเร็วด้วยเหตนุ จี้ ึงสามารถ แบง่ บรกิ ารทีม่ ีอย่ใู นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ได้วา่ เป็นบรกิ ารด้านการสอ่ื สารระหว่างบคุ คลต่อบคุ คล และบคุ คลตอ่ กลุ่มบคุ คล เป็นบริการเพอื่ การเขา้ ถึงแหล่งข้อมลู การใช้อินเทอรเ์ น็ตในปัจจุบันที่สามารถนามาเป็นตวั อย่างไดแ้ ก่ การใช้ e-mail ในการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล การใช้ WWW เพือ่ สืบหาและเข้าถงึ แหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆการเข้าถึง แหล่งข้อมลู และความรู้ ในปัจจุบนั อินเทอรเ์ น็ตถูกนามาใช้เพอ่ื การสืบคน้ ขอ้ มลู มากท่สี ุด ซึง่ ผ้ใู ช้ที่มอี าชีพแตกตา่ ง กนั ยอ่ มใชบ้ ริการทีม่ ีอยู่ในปรมิ าณต่างกัน บา้ งเปน็ การสบื คน้ ขอ้ มูลท่ีเปน็ ตวั อักษร บา้ งกเ็ ปน็ ข้อมูลท่ีนาเสนอใน รปู แบบของมัลติมีเดีย ท่ีล้วนแตแ่ ปลงเปน็ สญั ญาณดจิ ติ อลแลว้ ทงั้ สิน้ ทางด้านการศกึ ษา อาจจะคล้ายคลึงกับการ ไปหอ้ งสมุดทห่ี าตารา วารสาร โดยที่มบี รรณารกั ษค์ อยให้คาปรึกษา เพื่อจะไดข้ อ้ มูลและความรู้ที่ตอ้ งการ การใช้ ข้อมลู ต่าง ๆ ในอินเทอรเ์ นต็ กเ็ ช่นเดียว เพราะผใู้ ช้สามารถ เข้าถึงข้อมลู ท่ีมีอยู่ทันที สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทางอนิ เทอร์เน็ตได้แมจ้ ะอยู่ต่างสถานท่ีกต็ าม เวน้ เสียแต่ว่าใน การศึกษาครงั้ นน้ั มีจุดประสงค์แตกต่างกนั การรว่ มกันใช้ข้อมลู แหลง่ ความรู้ การร่วมใช้ขอ้ มูลและแหลง่ ความรเู้ ปน็ เร่ืองปกตขิ องกลมุ่ ผู้ใช้ทีต่ ้องการจะมปี ระสบการณ์ดา้ นการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และขอ้ มลู ต่าง ๆ ใน อินเทอร์เน็ต โดยท่วั ไปแลว้ ผู้ใช้จะไมเ่ พียงแตม่ ปี ฏิสมั พนั ธ์กบั ข้อมลู หรอื ผู้เชยี่ วชาญเพยี งลาพงั เทา่ น้ัน แตจ่ ะเขา้ รว่ ม กิจกรรมทางอนิ เทอร์เน็ต เชน่ การแสดงความคดิ เห็น การสนทนา ผา่ นเครอื ข่ายกบผู้ที่มีความสนใจในเร่ือง เดยี วกัน การสมัครเข้าเป็นสมาชิกองค์กร ต่าง ๆ เพือ่ ร่วมกันใชข้ อ้ มูลหรือร่วมแสดงความคดิ เห็นการร่วมมอื รว่ มตดั สินใจ และร่วมกันบรหิ าร ปัจจบุ นั มี รูปแบบของการรว่ มกันในเครือข่ายอยู่ 3 รปู แบบได้แก่ การรว่ มมือ รว่ มตัดสนิ ใจ และร่วมกนั บรหิ าร ซ่ึงเปน็ การท างานระหว่างบคุ คล ทีย่ ังบกพรอ่ งในรปู แบบท่ีเหมาะสมแมจ้ ะมจี ุดหมายเพอ่ื การใช้ขอ้ มูลรว่ มกันกต็ าม ยอ้ นกลบั ไป ยังประเด็นการศกึ ษาซง่ึ เปน็ การรวมกันระหว่างการเรียนในโรงเรยี นหรอื การเรียนทางไกลสาหรบั ผู้ใหญ่ที่จ าเปน็ จะต้องมกี ารสอื่ สารกนั ตลอดเวลาครูผู้สอนต้องจดั โปรแกรม กิจกรรมการเรียนการสอน และการแลกเปลย่ี นข้อมูล เพอ่ื ใหก้ ระบวนการเรยี นรู้ สาหรบั การเรียนของนกั เรยี นกเ็ ชน่ กันทีต่ ้องจดั ใหม้ กี ิจกรรมท่จี ะรว่ มกนั ทางานกบั ผ้อู ืน่ เพ่อื ใหเ้ กิดบุคลกิ ภาพของการ ร่วมกนั ทางานหรอื ตอ้ งการใหส้ รา้ งสงั คมของการเรียนรแู้ บบร่วมมือนน้ั เอง

87 ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์พ้นื ฐาน 1.2 การใช้งานเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์กบั งานด้านต่างๆ 1.1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรพ์ ้ืนฐาน (Network Basic) ความหมายของระบบเครือขา่ ย ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร (์ ComputerNetwork) คือระบบทมี่ ีการเชือ่ มต่อคอมพวิ เตอร์ตั้งแต่ 2 เคร่ืองขน้ึ ไป ผา่ นชอ่ งทางการส่ือสารอยา่ งใดอย่างหนึง่ และระบบเครอื ข่ายใดๆ สามารถมีระบบเครอื ขา่ ยย่อยมากกวา่ 1 เครือขา่ ยอยูภ่ ายใน ความสาคัญของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 1. ทาให้เกิดการทางานในลักษณะกลุ่มในระหว่างเคร่ือง และอุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์ 2. เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกันข้นึ โดยผูใ้ ชค้ อมพิวเตอรท์ ุกเครอื่ งท่ีอยู่ในเครือขา่ ย สามารถใช้ แฟม้ ขอ้ มลู ชุดคาส่งั ข่าวสารสารสนเทศต่างๆ ตลอดใช้อุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์ทีม่ รี าคาแพงรว่ มกันได้ เช่น เคร่อื งพมิ พ์ ฮาร์ดดิสก์ สแกนเนอร์ ซดี ีรอม โมเด็ม ฯลฯ 3. ช่วยลดความซ้าซอ้ นและสามารถกาหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยใหก้ บั แฟม้ ข้อมูลตา่ งๆไดส้ ะดวก 4. สามารถขยายอาณาเขตในการสอ่ื สารขอ้ มูลได้ครอบคลมุ กวา้ งไกลยิ่งข้นึ จากเครอื ข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกนั ด้วยคอมพิวเตอรเ์ พยี งสองสามเครื่องภายในหน่วยงานหรือบริษทั เล็กๆไปจนถงึ เครือขา่ ยท่ีเชอื่ มตอ่ คอมพวิ เตอร์ นับล้านๆเคร่อื งทัว่ โลกครอบคลมุ ไปเกอื บทกุ ประเทศทรี่ ู้จกั กันดีคือเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ ซ่งึ เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ ท่ีสุดในโลก องคป์ ระกอบระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Network Elements) องค์ประกอบของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรม์ ี 7 องค์ประกอบด้วยกันประกอบดว้ ย 1. จดุ เช่ือมต่อ (Node) อย่างนอ้ ย 2 จดุ ข้ึนไป ซ่ึงอาจจะเปน็ Personal Computer , Host Computer, Workstation และ Printer 2.การด์ แลน(Network Interface Card : NIC)เปน็ อุปกรณ์ท่ที าหน้าที่แปลงสัญญาณและควบคุมการรบั สง่ ขอ้ มลู ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครื่องท่ีเชอ่ื มตอ่ กบั ระบบเครอื ขา่ ย รปู การด์ แลน10/100และการ์ดแลน10/10 3. สอ่ื กลางในการสง่ ขอ้ มูล (Media)ได้แก่สายเคเบลิ คล่นื วทิ ยุ คลื่นอินฟราเรด เปน็ ต้น ซ่งึ รายละเอยี ดเกี่ยวกับ สอ่ื กลางในการสง่ ข้อมูล จะอธิบายอยา่ งละเอียดในบทต่อไป สาย UTP Cat 5 4. แพกเกจของข้อมูล (Data Packets) เป็นสญั ญาณที่ว่ิงระหวา่ ง Node ภายในระบบ เครอื ข่าย 5. ทอ่ี ยู่ (Address) เปรยี บเสมอื นบ้านเลขที่ของแตล่ ะ Node ในระบบเครอื ขา่ ยซงึ่ จะไม่ ซ้ากัน 6. ซอฟต์แวร์ในการสอื่ สารขอ้ มูล (CommunicationSoftware)เปน็ โปรแกรมที่ตดิ ต้ังในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย (Server) เพอื่ ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพวิ เตอรล์ ูกข่าย ไดแ้ ก่ Netware, Window NT/ Windows 2000 Server, Linux และ Unix เป็นต้น -Netware เปน็ ระบบปฏิบตั กิ ารทมี่ ีผู้นยิ มใชง้ านในระบบเครือขา่ ยมากสาหรับเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ ในยคุ แรกๆ พฒั นาโดยบริษทั Novell จดั เปน็ ระบบปฏิบัตกิ ารเครือข่ายท่ีทางานภายใต้ MS-DOS

88 - Window NT, Windows 2000 Server เปน็ ระบบปฏบิ ัติการทพี่ ฒั นาโดยบริษทั ไมโครซอฟต์ จากดั สามารถ นาไปประยกุ ตใ์ ช้งานไดห้ ลากหลายรูปแบบ เรมิ่ ต้นไมโครซอฟต์ต้องการพฒั นาเปน็ แอปปลเิ คชน่ั เซอร์ฟเวอร์ แต่ ปัจจุบันสามารถประยุกตไ์ ด้เปน็ ดาต้าเบส เซอรฟเ์ วอร์ และอินเทอร์เนต็ เซอร์ฟเวอร์ -Unixเป็นระบบปฏิบตั กิ ารท่กี าเนิดมาบนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่(Mainframe)ทร่ี องรับผูใ้ ชจ้ านวนมาก สาหรบั ระบบเครอื ข่ายในหนว่ ยงานใหญๆ่ เปน็ โปรแกรมจัดการระบบงาน (Operating system) ในเครือข่าย คอมพิวเตอร์ระบบหนง่ึ ไดร้ บั การออกแบบโดยห้องปฏิบัตกิ ารเบลลข์ องบรษิ ัท AT&T ในปี ค.ศ. 1969 ถงึ แม้วา่ ระบบUnixจะคดิ คน้ มานานแล้วแตย่ ังเป็นท่ีนิยมใชก้ นั มากมาจนถงึ ปัจจบุ นั โดยเฉพาะระบบพืน้ ฐานของ อนิ เตอรเ์ นต เนือ่ งจากมีความคลอ่ งตวั สงู ตลอดจนสามารถใชไ้ ด้กับเครือ่ งคอมพิวเตอรห์ ลายชนิด นอกจากนัน้ Unixยงั เปน็ ระบบ ใช้ในลกั ษณะผใู้ ช้รว่ มกนั หลายคน (Multiuse) และงานหลายงานในขณะเดยี วกัน (Multitasking) ผู้ใช้สามารถดดั แปลง หรือเพม่ิ คาส่งั ใน Unix ด้วยตนเองเพื่อความสะดวกได้ - Linux เปน็ ระบบปฏิบตั กิ ารสาหรับระบบเครือข่าย ท่อี ยู่ในกลุ่มของ Free Ware ทมี่ ี คณุ ภาพและประสิทธิภาพ สูงLinux พฒั นาข้ึนโดยนายไลนัส ทอร์วัลด์ (Linus Torvalds) ขณะที่ยังเปน็ นักศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั เฮซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เขาได้สง่ ซอร์สโค้ด(Source Code) ให้นักพัฒนาท่ัวโลกร่วมกนั พฒั นา โดยข้อดขี อง Linux สามารถทางานไดพ้ ร้อมกนั (Multitasking) และใช้งานได้พรอ้ มกันหลายคน(Multiuse)ทาให้เป็นทนี่ ิยมแพรห่ ลาย บางคนกล่าวว่า\"Linuxกค็ ือน้องของUnix\"แต่จริงๆแลว้ Linuxมีข้อดีกว่ายูนิกซ์(Unix)คือสามารถทางานได้ บนเครอื่ งคอมพิวเตอรส์ ว่ นบคุ คล (PC) ที่ใชง้ านอยทู่ วั่ ๆ ไป เพราะวา่ Linux เป็นระบบปฏิบตั ิ 7. รปู แบบในการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topology) ซึ่งเปน็ แผนผงั ทางกายภาพที่จะบอกวา่ สัญญาณขอ้ มลู จะวิง่ จาก Nodeหน่งึ ไปยังอีก Node หนึ่งในลกั ษณะอย่างไร ซึง่ มี 3 รปู แบบ คือ Bus Topology0, Ring Topology และ Star Topology 8. อัตราการส่งขอ้ มลู (Data Transmission Rate) เปน็ ความเรว็ ท่ีแพกเกตจานวนหนึง่ สามารถเดินทางจาก Node หนง่ึ ไปยังอีก Node หนงึ่ ในระบบเครือข่าย เช่น ความเรว็ 1 Mbps (Megabits per second) , 1Gbps (Gigabits per second) ประเภทของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (Type of Network) ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์สามารถแบง่ แยกได้หลายรูปแบบ เช่น แบ่งแยกตามขนาดและ แบ่งแยกตามการให้และรับบริการ 1. การแบ่งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรต์ ามขนาด การแบง่ รูปแบบน้จี ะดขู นาดการครอบคลุมพนื้ ที่เปน็ สาคัญ ซง่ึ สามารถแบ่งได้เปน็ 3 ลักษณะดังนี้ - LAN (Local Area Network) เป็นกลมุ่ ของคอมพิวเตอรท์ ีเ่ ช่อื มต่อกนั ในพื้นทีจ่ ากดั เช่นภายในตกึ สานักงานหรอื ภายในโรงงาน ส่วนมากจะใชส้ ายเคเบล้ิ ในการติดต่อสือ่ สารกนั เครอื ข่าย LAN - MAN (Metropolitan Area Network) เป็นการนาเครอื ข่ายLANหลายๆเครอื ข่ายท่ีอยู่ในพน้ื ทใ่ี กลเ้ คียงกันมาเชือ่ มตอ่ กันใหม้ ีขนาดใหญ่ขึ้นเช่น เชือ่ มตอ่ กนั ในเมือง หรอื จังหวัด เปน็ ต้น

89 - WAN (Wide Area Network) เป็นกลมุ่ ของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ที่เชอื่ มตอ่ กนั แบบกวา้ งขวางอาจจะเป็นภายในประเทศระหว่างประเทศ ซึ่งภายในเครือข่าย WAN จะมีเครอื ขา่ ย LAN หรอื MAN เช่ือมต่อกนั อยภู่ ายใน เช่น สานักงานใหญ่ ท่เี มืองซานดเิ อโก้ประเทศสหรัฐอเมริกาตดิ ต่อกับสานกั งานสาขาในกรุงมะนลิ าประเทศฟิลิปปนิ สซ์ ง่ึ การติดต่อ ส่อื สารกนั อาจจะใชต้ ้งั แต่ระบบโครงข่ายโทรศัพท์จนกระทั่งถงึ ดาวเทยี ม2การแบ่งระบบเครือขา่ ยตามลกั ษณะ การใหแ้ ละรบั บรกิ ารเปน็ การแบง่ ตามลักษณะหนา้ ที่ของคอมพิวเตอรแ์ ต่ละเครอ่ื งในระบบเครือขา่ ยเป็นสาคัญ อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท - เพียร์ทเู พียร์ (Peer to Peer) เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบ Peer - To - Peer เปน็ ลักษณะของกล่มุ คอมพิวเตอรท์ ่ีคอมพิวเตอร์ทุกเคร่อื งมสี ทิ ธิเทา่ เทียมกันหมด (Peer)ไม่มเี ครอื่ งไหน ที่ทาหนา้ ท่ีเป็นศูนยก์ ลางของเครือขา่ ยเครือ่ งทุกเคร่อื งสามารถเปน็ ไดท้ ั้งผรู้ ับบริการ(Client)และ ผู้ใหบ้ รกิ าร(Server)ไม่มเี คร่อื งไดมีหนา้ ทีด่ แู ลจัดการระบบทงั้ หมดผู้ใช้งานแต่ละเครื่องจะเปน็ ผดู้ ูแล ขอ้ มลู และทรพั ยากรของตวั เอง - ไคลเอ็นต์ - เซริ ์ฟเวอร์ (Client-Server) เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบ Client- Server ในกรณที ี่องคก์ รมเี ครื่องคอมพวิ เตอรจ์ านวนมากเครอื ขา่ ยแบบ Peer- To- Peer อาจจะไมส่ ามารถรองรบั ได้ เครือขา่ ย Client Server จะเป็นทางเลือกทเ่ี หมาะสมกว่าเนอ่ื งจาก Client Server มีความสามารถในการดแู ล ควบคมุ ใชง้ านของระบบเครอื ท่มี ขี ่ายผู้ใช้จานวนมากได้ดกี วา่ มเี ครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทีท่ าหนา้ ทดี่ ูแลระบบ จัดเกบ็ ขอ้ มูลให้บรกิ ารทั้ง Hardware , Software และ Data รวมท้งั เรอื่ งของการรกั ษาความปลอดภยั ใหก้ ับคอมพวิ เตอรท์ ้งั ระบบเราเรยี กคอมพวิ เตอร์ทท่ี าหน้าท่เี หล่านี้วา่ เครอื่ งใหบ้ ริการหรอื เครื่องแม่ขา่ ย (Server) ส่วนเครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ เ่ี หลือในระบบทไี่ มไ่ ดท้ าหน้าทนี่ ้จี ะเรียกว่า เครอื่ งรบั บริการหรอื เครือ่ งลกู ข่าย (Client) หรือเวริ ์กสเตชนั (Workstation) ซึ่งจะเปน็ กล่มุ คอมพิวเตอร์ในระบบทที่ าหนา้ ทร่ี ับการบรกิ ารจากเคร่อื ง Server ซ่งึ จะทาหน้าที่ ควบคมุ การใช้งานทุกอยา่ งของระบบเครอื ข่าย เช่น การใชง้ านเคร่ืองพมิ พ์จะถูกดแู ลโดย Print Server หรอื อปุ กรณ์และทรัพยากรอ่ืนๆ จะถูกดแู ลโดย Server เชน่ File Server , Program Server ส่วนเคร่ือง Client ทุกเครือ่ งจะใชง้ านทรพั ยากรต่างๆ โดยผา่ นทาง Server การใชง้ านระบบเครอื ข่าย (Network Capability) การประยกุ ต์ใชง้ านระบบเครือข่ายมมี ากมายหลายประเภทขึ้นอยู่กับวตั ถปุ ระสงค์ขององคก์ รที่นา ระบบเครือข่าย มาใช้ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังน้ี - การบรกิ ารไฟล์ และการพมิ พ์ (File and Print Service) - การบรกิ ารแฟกส์ (Fax Service) - การบรกิ ารโมเด็ม (Modem Service) - การบริการการเข้าสู่โฮสต์ (Host Service) - การบริการ Client/Server Software - การบริการ Information Network เช่น Internet

90 อนิ เทอร์เน็ต (Internet) เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต คาวา่ Internet เปน็ คาผสมระหว่าง Interconnection กบั Network เปน็ การเชอื่ มตอ่ ระหว่างเครอื ขา่ ยเพื่อสามารถมองเหน็ กันได้ทุกเครือข่าย เป็นระบบเครอื ขา่ ยสากล ทมี่ ีเครือ่ งคอมพวิ เตอร์เชอ่ื มตอ่ กันมากที่สุดในโลก โดยที่เปน็ ผลจากการวิจัยและพฒั นาการทางทหาร ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในปี ค.ศ. 1969 เร่มิ จากการ เชอื่ มโยงขอ้ มูลใน 4 มหาวทิ ยาลยั ด้วยการใชโ้ ปรโตคอล (Protocol เปรียบเหมอื นกับภาษาที่ คอมพวิ เตอรใ์ ช้ เพื่อให้เข้าใจความหมายของขอ้ มูลทใ่ี ชร้ บั และส่งไปในเครอื ขา่ ย) แบบ TCP/IP ลกั ษณะสาคัญคือ กาหนดให้เครื่องทกุ เครือ่ ง ทีอ่ ย่ใู นระบบมหี มายเลขประจาตัวท่ีเรยี กว่า IP address การส่งข้อมูลระหว่างกนั ก็จะ ใชห้ มายเลขนี้เหมอื นกบั ระบบไปรษณยี ์ ซงึ่ ข้อกาหนดนี้เปน็ ทเี่ ปดิ เผย เขา้ ใจงา่ ย และใช้ไดผ้ ลดี ทาให้ระบบนีข้ ยาย ไปท่ัวโลก บรกิ ารต่างๆ บนอินเทอร์เนต็ - การรับสง่ ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) เป็นระบบสื่อสารทางคอมพิวเตอร์หรอื เรียกว่า จดหมายออนไลน์ ลักษณะของแอดเดรสผู้ใช้ เชน่ [email protected] - การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกนั (FTP หรอื Download) ทาให้ผู้ใชส้ ามารถรับสง่ แฟม้ ข้อมลู ระหว่างกนั หรือมี สถานีให้บริการเก็บแฟม้ ข้อมลู ทอ่ี ยู่ในท่ตี ่าง ๆ และใหบ้ ริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ - การใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ในที่หา่ งไกล(Telnet)การเชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์เขา้ กับเครือขา่ ยทาใหเ้ ราสามารถ เรยี กเข้าหาเคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ป็นสถานีบรกิ ารในที่ห่างไกลไดผ้ ูใ้ ช้สามารถนาข้อมลู ไปประมวลผลยัง เครอื่ งคอมพิวเตอร์ท่ีอยูใ่ นเครือขา่ ยโดยไมต่ ้องเดนิ ทางไปเอง

91 - การเรียกค้นหาข้อมูลข่าวสาร (Search) ปจั จบุ ันมีฐานข้อมูลข่าวสารที่เก็บไวใ้ ห้ใช้งานจานวนมาก ฐานขอ้ มูลบาง แหง่ เกบ็ ข้อมูลในรูปสง่ิ พิมพ์อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ี่ผ้ใู ชส้ ามารถเรียกอ่าน หรือนามาพมิ พ์ มลี กั ษณะเหมอื นห้องสมดุ ขนาด ใหญ่อยูภ่ ายในเครอื ขา่ ยท่ีสามารถคน้ หาขอ้ มูลใดๆ ก็ได้ เรยี กวา่ เครอื ข่ายใยแมงมุมครอบคลมุ ท่ัวโลก (World Wide Web : www) ซงึ่ เปน็ ฐานขอ้ มูลทเ่ี ช่อื มโยงกันทัว่ โลก - การอา่ นจากกลุม่ ข่าว หรอื กระดานขา่ ว (Web board) จะมกี ลมุ่ ขา่ วเปน็ กลุ่มๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่ม ขา่ วอนญุ าตให้ผ้ใู ช้อนิ เทอร์เน็ตส่งข้อความโตต้ อบได้ กลุ่มข่าวน้ีจงึ แพร่หลายกระจายข่าว ได้รวดเรว็ -การสนทนาบนเครือขา่ ย(ChatหรือIRC)ในยคุ แรกใชว้ ธิ กี ารสนทนากนั ดว้ ยตวั หนังสือเพื่อโต้ตอบกัน แบบทันทีทันใดบนจอภาพ ตอ่ มามีผู้พฒั นาใหใ้ ช้เสยี งไดจ้ นถึงปจั จุบนั ถ้าระบบส่ือสารขอ้ มลู มีความเรว็ พอ กส็ ามารถสนทนาโดยเหน็ หน้ากนั และกนั บนจอภาพได้ อินทราเนต็ (Intranet) เปน็ เครือขา่ ยภายในองค์กรทีเ่ ปลีย่ นโปรโตคอลในการสือ่ สารบนระบบเครือข่ายแบบแลนเดมิ ๆ ไปเป็นโปรโตคอลTCP/IPเช่นเดียวกับอนิ เทอร์เนต็ และสามารถใชโ้ ปรแกรมตา่ งๆทพี่ ัฒนาเพอ่ื ใช้ กบั อินเทอรเ์ น็ตไดท้ าใหม้ ีคา่ ใชจ้ า่ ยถกู ลงมาก ต่างกนั ตรงท่ี อนิ ทราเน็ต จะเป็นเครอื ขา่ ยปิด ใชเ้ ฉพาะในองค์กร เทา่ นนั้ กลับดา้ นบน 1.2 การใช้งานเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรก์ ับงานด้านต่าง ๆ จากการทค่ี อมพิวเตอรม์ ีลักษณะเด่นหลายประการทาใหถ้ กู นามาใชป้ ระโยชนต์ อ่ การดาเนินชวี ติ ประจาวันในสังคม เปน็ อยา่ งมาก ทพ่ี บเห็นได้บ่อยท่สี ุดก็คือ การใช้ในการพมิ พ์เอกสารต่างๆ เชน่ พิมพ์จดหมาย รายงาน เอกสาร ต่างๆ ซ่งึ เรยี กวา่ งานประมวลผล (word processing ) นอกจากนี้ยงั มกี ารประยุกตใ์ ช้คอมพิวเตอร์ในด้านตา่ งๆ อกี หลายดา้ น ดงั ต่อไปนี้

92 1. งานธุรกิจ เชน่ บรษิ ทั ร้านคา้ ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพวิ เตอร์ในการทาบญั ชี งาน ประมวลคา และติดตอ่ กบั หนว่ ยงานภายนอกผา่ นระบบโทรคมนาคม นอกจากนงี้ านอตุ สาหกรรม ส่วนใหญ่กใ็ ช้ คอมพิวเตอรม์ าช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบช้นิ ส่วนของอุปกรณ์ตา่ งๆ เช่น โรงงานประกอบ รถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมีคุณภาพดีขึ้นบริษทั ยงั สามารถรบั หรืองานธนาคาร ท่ใี หบ้ ริการถอนเงินผา่ นตูฝ้ ากถอน เงนิ อัตโนมัติ ( ATM ) และใชค้ อมพวิ เตอร์คิดดอกเบยี้ ใหก้ บั ผู้ฝากเงนิ และการโอนเงนิ ระหว่างบัญชี เชื่อมโยงกนั เป็นระบบเครือข่าย 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ในสว่ นของการ คานวณท่คี ่อนข้างซบั ซอ้ น เชน่ งานศกึ ษาโมเลกุลสารเคมี วถิ กี ารโคจรของการส่งจรวดไปสูอ่ วกาศ หรอื งาน ทะเบยี น การเงนิ สถติ ิ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซง่ึ จะให้ผลที่แมน่ ยากว่าการตรวจดว้ ยวธิ เี คมี แบบเดมิ และให้การรกั ษาได้รวดเรว็ ขึน้ 3. งานคมนาคมและสอ่ื สาร ในส่วนทเี่ กย่ี วกับการเดินทาง จะใช้คอมพวิ เตอร์ในการจองวนั เวลา ท่นี งั่ ซ่งึ มีการ เช่ือมโยงไปยงั ทกุ สถานหี รอื ทุกสายการบนิ ได้ ทาให้สะดวกตอ่ ผเู้ ดนิ ทางท่ีไมต่ ้องเสยี เวลารอ อีกท้ังยังใชใ้ นการ ควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรอื ในการสือ่ สารกใ็ ช้ควบคุมวงโคจร ของดาวเทียมเพอื่ ให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยสง่ ผลตอ่ การสง่ สัญญาณให้ระบบการสอื่ สารมคี วามชดั เจน 4. งานวศิ วกรรมและสถาปตั ยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ในการออกแบบ หรอื จาลอง สภาวการณ์ ต่างๆ เชน่ การรับแรงส่ันสะเทือนของอาคารเมอ่ื เกดิ แผน่ ดินไหว โดยคอมพวิ เตอร์จะคานวณและ แสดงภาพสถานการณ์ใกลเ้ คยี งความจริง รวมทงั้ การใชค้ วบคมุ และตดิ ตามความก้าวหนา้ ของโครงการตา่ งๆ เช่น คนงาน เครื่องมอื ผลการทางาน 5. งานราชการ เปน็ หนว่ ยงานท่มี กี ารใช้คอมพวิ เตอรม์ ากทส่ี ุด โดยมกี ารใชห้ ลายรูปแบบ ทั้งนข้ี ึน้ อย่กู บั บทบาท และหนา้ ท่ขี องหน่วยงานน้นั ๆ เช่น กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีการใชร้ ะบบประชุมทางไกลผา่ นคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือขา่ ย Internet เพื่อเชอื่ มโยงไปยงั สถาบันต่างๆ กรมสรรพากร ใชจ้ ดั ในการจัดเก็บภาษี บันทกึ การเสยี ภาษี เปน็ ตน้ 6. การศกึ ษา ได้แก่ การใช้คอมพวิ เตอรท์ างด้านการเรียนการสอน ซง่ึ มกี ารนาคอมพิวเตอร์มาชว่ ยการสอนใน ลกั ษณะบทเรยี น CAI หรอื งานด้านทะเบียน ซงึ่ ทาให้สะดวกตอ่ การค้นหาขอ้ มูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการ สง่ คนื หนังสอื หอ้ งสมุด การนาเอาเทคโนโลยี เข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดการเรยี นการสอน เปน็ การเพม่ิ พนู ประสิทธิภาพทางการเรียนรแู้ ก่ ผเู้ รียน และในสภาพปัจจุบนั การเรยี นการสอนกไ็ ม่อาจหลีกเลี่ยงสิ่งน้ีได้ ครูจะต้องปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการสอน ของตนเอง ตอ้ งยอมรับความเปลีย่ นแปลงท่ี เกิดขน้ึ จงึ ต้องเรียนรู้เทคโนโลยตี ่าง ๆ แล้ววเิ คราะหค์ วามเป็นไปได้ ใชใ้ ห้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุด ให้เหมาะสมกับสภาพของโรงเรยี น ท่มี ีความพร้อมในระดับหนึง่ ครคู วรต้องพัฒนา ตนเองเพอื่ พฒั นาผู้เรยี นได้อย่างเหมาะสม และยดึ ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง เพอ่ื นาพาผู้เรยี นให้สามารถเรียนรู้ ดารง ตนอยูไ่ ด้อย่างมีความสขุ 1. ความหมายและความสาคัญ \"เทคโนโลยี”(Technology) มาจากรากศพั ท์ \"Technic\" หรือ \"Techno\" ซง่ึ มีความหมายว่า วิธกี าร หรอื การจัดแจงอยา่ งเปน็ ระบบ รวมกบั \"logy\" ซึง่ แปลวา่ “ศาสตร์” หรือ “วิทยาการ” ดงั น้ัน คาวา่ \"เทคโนโลย\"ี ตามรากศัพท์จงึ หมายถงึ ศาสตร์วา่ ด้วยวธิ กี ารหรือศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดการ หรือการจดั แจงสิง่ ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน

93 อยา่ งเป็นระบบ เพือ่ ให้เกิดระบบใหม่และเปน็ ระบบท่สี ามารถนาไปใช้ตามวัตถปุ ระสงค์หรือเจตนารมณท์ ่ตี ้ังใจไวไ้ ด้ ซึ่งกม็ ีความหมายตรงกบั ความหมายทีป่ รากฏในพจนานุกรม คือ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ดังนนั้ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา จงึ เป็นการจดั แจงหรอื การประยกุ ต์หลักการทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพมาใช้ในกระบวนการของการศกึ ษา ซ่งึ เปน็ พฤตกิ รรมศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ ถอื เป็นสอ่ื นวัตกรรมใหมอ่ ยา่ งหนงึ่ เพิง่ แพร่หลายขึ้นมาประมาณ 40 ปี มาน้เี อง คอมพิวเตอรเ์ ปน็ อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการจดั เก็บ คานวณ ประมวลผล แสดงผล หรืองานอ่ืนใด ตามคาส่งั ที่จัดทาข้นึ แล้วบนั ทกึ เกบ็ ไวใ้ นหน่วยความจาของอปุ กรณน์ ้นั ปจั จุบันมกี ารพัฒนาคอมพวิ เตอร์อยา่ งรวดเร็วมาก จนเป็นสอ่ื สาคัญยิง่ ในการนาเข้าสูย่ ุคข้อมลู ขา่ วสาร ทกุ ๆ วนิ าที สามารถรบั รูค้ วามเป็นไปในทุกพืน้ พภิ พได้เกือบพร้อมกัน ทง้ั ท่อี ยู่กนั คนละซีกโลก การรบั รู้ขา่ วสารที่รวดเร็วนาประโยชนส์ ูผ่ ้ใู ช้ นาประโยชน์ส่ปู ระเทศชาตไิ ดอ้ ย่างมหาศาล เชน่ สามารถตดิ ต่อคา้ ขายกันได้ตลอด 24 ชวั่ โมง โดยท่ีผซู้ อ้ื และผ้ขู ายไมต่ อ้ งพบหน้ากัน ไมม่ ีขอ้ จากัดของเวลา ไม่ มีข้อจากัดด้านพรมแดน สามารถใช้ระบบ E - Commerce และใช้ในเรือ่ งการศึกษา การแสวงหาความรู้ การ สื่อสาร รวมถึงกิจการอ่นื ๆ มากมาย หากผู้ใช้สามารถใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ อยา่ งคมุ้ คา่ หลายปีที่ผา่ นมาโรงเรยี นทม่ี ี ความพรอ้ มเริม่ นาคอมพิวเตอรม์ าใชใ้ นโรงเรยี นกันมากข้นึ โดยโรงเรียนดงั กล่าวมกั จะอย่ใู นกรงุ เทพฯ และเมอื ง ใหญ่ที่มีเศรษฐกิจดี ผปู้ กครองมีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคง ชว่ งแรกเร่มิ ใช้เพอ่ื การบรหิ ารจัดการกอ่ น เรียกวา่ Computer Assisted Management โปรแกรมน้ีช่วยจัดการด้านงานธุรการ เงินเดือน หอ้ งสมดุ งานปกครอง และอืน่ ๆ ระยะต่อมาคอมพวิ เตอรม์ รี าคาถกู ลง โรงเรียนตา่ ง ๆ เร่ิมนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงเรยี กวา่ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction) หรือเรียกยอ่ ๆ ว่า \" CAI \" หมายถงึ การใช้คอมพวิ เตอร์เปน็ สื่อเสนอเนอ้ื หา กระตุ้นเร้าให้ผเู้ รยี นเกิดความสนใจ ต้องการเรยี นรู้ บทบาทของ CAI มีมากข้ึน ผลทไ่ี ด้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นในสง่ิ ท่ีตนเองต้องการ ตรงตามความประสงค์ เป็นการตอบสนอง ความเป็น Child Center ไดป้ ระการหนง่ึ ในกระบวนการจดั การเรียนรู้ ปัจจบุ ันรฐั บาลมนี โยบายใหโ้ รงเรยี นตา่ ง ๆ ใช้ ICT เพอื่ พฒั นาการเรยี นร้อู ย่างกว้างขวาง สภาพการณด์ งั กลา่ วทาให้ผู้ปกครองเกิดความตื่นตัว ตอ้ งการท่จี ะให้ บตุ รหลานไดเ้ รยี นรจู้ ากคอมพิวเตอรม์ ากข้ึน จนกลายเป็นกระแสของความทนั สมยั โรงเรยี นใดไมส่ อนวชิ า คอมพิวเตอร์ ผปู้ กครองจะย้ายเด็กไปเรียนโรงเรียนอน่ื ทส่ี อนคอมพวิ เตอร์ เป้าหมายสาคัญทนี่ อกเหนอื ไปจากภาระ งานปกติของโรงเรยี น คือการจดั การศึกษาใหต้ อบสนองความต้องการของชุมชน ผู้บริหาร คณะครู กรรมการ สถานศกึ ษา 2. การปฏวิ ัติทางการศกึ ษา (Education Revolution) วธิ ีการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นนักศึกษาในอนาคต จะเปลี่ยนไปอย่างมาก คือ จะเน้นตัวผู้เรียนเป็นหลกั แทนการเน้น ตัวผสู้ อนท่ีสอนนกั เรยี นจานวนมากพรอ้ มกันทั้งหอ้ ง ซงึ่ เป็นวธิ ีท่ีเกิดขึน้ มาพร้อมกับการปฏบิ ัติอุตสาหกรรม เม่อื ประมาณสองศตวรรษกอ่ น วิธีการเรยี นในครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๒๑ น้ี จะเปน็ การเรียนร้แู บบสร้างประสบการณ์ โดย เน้นให้นักเรียนค้นพบดว้ ยตัวเอง (learning by discovery) เป็นการศกึ ษา ท่ีนกั เรยี นจะเรียนรวู้ า่ จะเรยี นร้เู อง ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งไร (learning how to learn) ที่เป็นดังน้ไี ด้ เพราะเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ทท่ี างานมัลติมีเดีย จะทา ใหเ้ ราสามารถกลบั ไปใชร้ ะบบ ที่ครูทาหนา้ ทส่ี าคัญในการสอน และช้นี านักเรียนเปน็ รายบุคคล คอมพวิ เตอร์จะ ชว่ ยใหค้ รูไม่ต้องทางานซ้าๆ กนั ในการสอนกิจกรรมอยา่ งง่าย และสามารถใช้เวลามากขน้ึ กับนักเรียนท่ีตอ้ งการ ความเอาใจใส่มากเปน็ พเิ ศษ การศกึ ษาท่ีใช้เทคโนโลยี (technology aided education) มขี ้อได้เปรยี บหลาย ประการคอื การเรียนรู้เป็นแบบโตต้ อบกันนกั เรียนจะเรียนรไู้ ด้ในอัตราความเร็วท่เี หมาะสมกบั ตนเอง การเรียนรู้ จะเกดิ ข้นึ ท่ใี ดก็ได้ โดยผ่านระบบการเรียนทางไกล (distance learning) ทตี่ ่อโยงผู้เรียนผ่านเครอื ขา่ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook