Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พว22003

พว22003

Published by kunkrusena, 2020-05-21 05:16:02

Description: วัสดุศาสตร์ 2

Search

Read the Text Version

หลกั สตู ร วัสดุศาสตร์ 2 รายวิชาเลอื กบังคบั สาระความรพู้ ้นื ฐาน ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จานวน 3 หน่วยกิต รหสั พว22003 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ หลกั สตู รรายวิชาเลือกบังคับ วัสดุศาสตร์ 2 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี พัฒนาขึ้นตามนโยบายของรัฐบาล โดนเฉพาะนโยบายท่ีจัดเป็นวาระแห่งชาติ คือ นโยบายด้านการบริหารจัดการขยะ ซ่ึงเศษซากวัสดุที่เหลือจากการผลิตหรือการใช้งานในครัวเรือน กาลัง ทวีคูณและสะสมมากข้ึนเรื่อย ๆ ปัญหาขยะถือเป็นเร่ืองที่สาคัญเนื่องจากขยะมูลฝอยเป็นผลจากการใช้ สิ่งของ เครื่องอุปโภค บริโภค และมีการหีบห่อ หรือส่ิงของใช้แล้วหรือเหลือใช้ นามาทิ้งเป็นขยะ นอกจากนั้น กระบวนการในการเก็บ ขน และกาจัด ก็มีความสาคัญต่อการก่อให้เกิดการปนเป้ือนหรือ ก่อให้เกดิ มลพิษกบั สิ่งแวดล้อมได้ หากไมม่ ีการควบคมุ การกาจัดทถี่ ูกตอ้ ง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีบทบาทและภารกิจใน การจัดการศึกษาให้เปน็ ไปตามทิศทางในการขับเคลื่อนการปฏริ ูปด้านการศกึ ษา ท่ตี ้องการให้ผู้เรียน มีความ สนใจ กระตือรือรน้ ท่จี ะเรียนและสิ่งทีม่ าเรียนสามารถตอบโจทย์ในชีวิตได้จริง จึงได้สนองนโยบายรัฐบาล ในการที่จะจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียน ให้รู้ถึงปัญหาของวัสดุที่ใช้แล้วหรือขยะ โดยเริ่มต้ังแต่ต้นน้าให้รู้ แหล่งกาเนิด สมบตั ขิ องวัสดุ กว่าจะได้มาซึ่งวัสดุต้องผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อะไรบ้าง และกลาง น้าได้นาวัสดุต่าง ๆ มาใช้ในชีวิตประจาวันมีข้อคานึงในการเลือกใช้อย่างไร และสุดท้ายท่ีปลายน้า เม่ือ ทราบสมบัติของวัสดุต่าง ๆ แล้วจะมีแนวทางในการบริหารจัดการวัสดุท่ีใช้แล้ว หรือขยะเหล่านั้นอย่างไร บ้าง ดังนั้นจึงได้พัฒนาหลักสูตร วัสดุศาสตร์ 2 ข้ึน เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในลักษณะของรายวิชาเลือกบังคับ เพ่ือใหเ้ ป็นทางเลือกใหแ้ ก่ผเู้ รยี นสามารถเลอื กเรียนได้ตามความต้องการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ ผู้เชี่ยวชาญ คณะทางาน และผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้องในการพฒั นาหลกั สูตรน้ี จนสาเร็จลุลว่ งไปด้วยดี

สำรบัญ ข คำนำ หน้ำ สำรบัญ ก สว่ นท่ี 1 ผงั มโนทศั น์ ข สว่ นที่ 2 คาอธบิ ายรายวิชา และรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา 1 ส่วนที่ 3 โครงสร้างหลกั สูตร 2 คณะผูจ้ ดั ทา 5 10

(5) ผังมโนท การจดั การวัสดอุ ันตราย รายวิชาเลือกบังคบั “ (จำนวน 25 ชว่ั โมง) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 5.1 วัสดอุ ันตรำย 5.2 กำรจัดกำรขยะอันตรำย รายวิชาวสั 5.3 กำรลดปัญหำวัสดทุ เ่ี ป็นพิษต่อส่งิ แวดล้อม (จานวน 12 (4) (3) การคดั แยกและการรีไซเคิลวัสดุ การจดั การเศษซากวสั ดุ (จำนวน 30 ช่ัวโมง) (จำนวน 15 ชว่ั โมง) 4.1 กำรคัดแยกวสั ดุ 3.1 กำรจดั กำรเศษซำกวัสดุ 4.2 กำรรไี ซเคลิ วสั ดุ 3.2 อัตรำย่อยสลำยของเศษซำก 3.3 หลัก 3R ในกำรจดั กำรเศ 3.4 ภำชนะรองรับเศษซำกว 3.5 เทคโนโลยีกำรกำจัดเศษ

ทศั น์ (1) “วัสดุศาสตร์ 2” วัสดศุ าสตร์รอบตัว น จานวน 3 หนว่ ยกิต (จำนวน 30 ช่วั โมง) 1.1 ควำมหมำยของวัสดศุ ำสตร์ สดุศาสตร์ 1.2 ประเภทของวสั ดุ 20 ช่ัวโมง) 1.3 สมบัตขิ องวัสดุ (2) การใชป้ ระโยชน์และผลกระทบจากการใช้วสั ดุ (จำนวน 20 ช่วั โมง) 2.1 กำรนำวสั ดุศำสตร์ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั 2.2 ผลกระทบจำกกำรใชว้ ัสดุ 2.3 กำรเลอื กใช้ผลติ ภัณฑ์ท่เี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม กวสั ดุ 1 ศษซำกวัสดุ วัสดุ ษซำกวสั ดุ

2 คำอธิบำยรำยวชิ ำ พว22003 วสั ดุศำสตร์ 2 สำระควำมรู้พื้นฐำน จำนวน 3 หนว่ ยกติ (120 ชวั่ โมง) ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนต้น มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะและเห็นคุณค่าเกีย่ วกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งมีชีวติ ระบบนเิ วศ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ สาร แรงพลงั งาน กระบวนการ เปล่ียนแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตร์และนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ในการดาเนินชีวิต ศึกษำและฝกึ ทกั ษะ ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เร่ืองต่อไปน้ี วัสดุรอบตัว การใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้ วสั ดุ การจดั การวัสดทุ ี่ใช้แล้ว การคดั แยกและการรีไซเคิลวัสดุ การจัดการวัสดุอนั ตราย กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยการบรรยาย ศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเองจากสือ่ ทเ่ี กยี่ วข้อง แหลง่ เรียนรูใ้ นชุมชน พบกลุ่ม อภิปราย แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริงด้วยการทดลอง วเิ คราะห์ และ สรปุ การเรยี นรทู้ ไ่ี ดล้ งในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) กำรวัดและประเมินผล ประเมินความกา้ วหน้าผูเ้ รียนด้วยวิธีการสงั เกต ซกั ถาม ตอบคาถาม ตรวจเอกสารการเรียนรู้ ด้วยตนเอง (กรต.) และประเมินผลรวมผเู้ รียนด้วยการตอบคาถามกิจกรรมท้ายหนว่ ยและใชแ้ บบทดสอบ วัดความรู้

3 รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ พว22003 วัสดศุ ำสตร์ 2 จำนวน 3 หน่วยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ และเหน็ คณุ ค่าเกี่ยวกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งมชี วี ติ ระบบนเิ วศ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ในทอ้ งถน่ิ ประเทศ สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มจี ิตวทิ ยาศาสตร์และนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ในการ ดาเนนิ ชีวติ ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เนอื้ หำ จำนวน (ชั่วโมง) 1. วัสดศุ าสตร์ 1. บอกความหมายของวสั ดุ 1. วสั ดศุ าสตรร์ อบตัว 30 รอบตัว ศาสตร์ได้ 1.1 ความหมายของวสั ดศุ าสตร์ 2. จาแนกประเภทของวสั ดุ 1.2 ประเภทของวัสดุ ศาสตรไ์ ด้ 1.3 สมบตั ขิ องวัสดุ 3. เปรียบเทียบสมบตั ิของ วสั ดุได้ 2. การใชป้ ระโยชน์ 1. อธบิ ายประโยชน์ 2. การใชป้ ระโยชนแ์ ละผลกระทบ 20 และผลกระทบ ของวัสดุศาสตร์ จากการใช้วัสดุ จากการใช้วัสดุ ในชวี ติ ประจาวันได้ 2.1 การนาวัสดศุ าสตร์ไปใช้ใน 2. บอกผลกระทบ ชวี ติ ประจาวนั ตอ่ สิ่งแวดลอ้ มจากการใช้ 2.2 ผลกระทบจากการใชว้ สั ดุ วสั ดใุ นชวี ิตประจาวันได้ 2.3 เลือกใช้ผลติ ภณั ฑท์ ่เี ป็น 3. เลอื กใช้ผลิตภัณฑ์ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ที่เปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อมได้ 3. การจดั การ 1. อธิบายหลักสาคญั ในการ 3. การจดั การเศษซากวัสดุ 15 เศษซากวสั ดุ จัดการเศษซากวสั ดุ 3.1 การจัดการเศษซากวัสดุ 2. บอกอัตราเร็วในการย่อย 3.2 อตั รายอ่ ยสลายของเศษ สลายเศษซากวสั ดุ ซากวสั ดุ 3. อธิบายหลัก 3R ในการ 3.3 หลัก 3R ในการจดั การเศษ จัดการเศษซากวสั ดุ ซากวัสดุ 4. ระบปุ ระเภทของภาชนะ 3.4 ภาชนะรองรบั เศษซากวัสดุ รองรับเศษซากวัสดุ 3.5 เทคโนโลยกี ารกาจดั เศษซาก 5. อธิบายเทคโนโลยีการ วัสดุ กาจัดเศษซากวสั ดุ

4 ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หำ จำนวน (ช่ัวโมง) 4. การคดั แยกและ 1. อธิบายวิธกี ารคัดแยก 4. การคดั แยกและการรไี ซเคิลวสั ดุ 30 การรไี ซเคลิ วัสดุ วสั ดแุ ต่ละประเภทได้ 4.1 การคดั แยกวสั ดุ 2. อธบิ ายการรไี ซเคลิ วัสดุ 4.2 การรีไซเคิลวัสดุ แตล่ ะประเภทได้ 3. อธิบายความหมาย สัญลักษณ์รีไซเคลิ วัสดุแตล่ ะ ประเภทได้ 5. การจัดการ 1. บอกความหมายของวัสดุ 5. การจัดการวสั ดอุ นั ตราย 25 วสั ดอุ นั ตราย อันตรายได้ 5.1 วสั ดอุ ันตราย 2. จาแนกประเภทของวัสดุ 5.2 การจัดการขยะอันตราย อนั ตรายได้ 5.3 การลดปัญหาวัสดทุ ่เี ป็นพษิ 3. อธบิ ายลกั ษณะของวัสดุ ตอ่ ส่ิงแวดล้อม อันตรายได้ 4. อธิบายวธิ ีการจดั การขยะ อนั ตรายได้ 5. อธบิ ายวิธีการลดปัญหา วัสดุท่ีเป็นพษิ ต่อสิง่ แวดล้อม ได้

5 โครงสรา้ งชุดวชิ า พว22003 วสั ดศุ าสตร์ 2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ สาระการเรียนรู้ สาระความรูพ้ ื้นฐาน มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ และเหน็ คุณคา่ เก่ียวกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งมชี ีวิต ระบบนิเวศ ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มในทอ้ งถน่ิ และประเทศ สาร แรง พลงั งาน กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มจี ติ วทิ ยาศาสตร์และนา ความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนนิ ชีวิต ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั วสั ดศุ าสตรร์ อบตวั การใชป้ ระโยชน์และ ผลกระทบจากการใช้วัสดุ การจัดการวัสดุอนั ตราย การคัดแยกและการรไี ซเคลิ วัสดุ และการ จัดการวัสดุท่ีใช้แล้ว 2. ทดลองและเปรียบเทยี บสมบตั ิของวัสดชุ นิดตา่ ง ๆ ได้ 3. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบทเี่ กิดจากการใช้วัสดใุ นชีวิตประจาวนั

6 สรปุ สาระสาคัญ 1. วัสดุศาสตร์ (Materials Science) เปน็ การศกึ ษาองคค์ วามรทู้ ่ีเก่ียวข้องกับวัสดุ ท่ีนามาใช้ประกอบกันเป็นชิ้นงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละ ชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติ เชิงกล วัสดุท่ีเราใช้หรือพบเห็นในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกตามแหล่งท่ีมาของวัสดุ ได้แก่ วสั ดธุ รรมชาติ แบ่งออกเปน็ วสั ดุธรรมชาตทิ ีไ่ ด้จากส่ิงมีชวี ติ และวัสดุธรรมชาตทิ ีไ่ ดจ้ ากไม่มีชีวิต และวัสดสุ ังเคราะห์ ซึ่งเป็นวัสดทุ ีเ่ กิดจากกระบวนการทางเคมี 2. วสั ดศุ าสตร์มคี วามผกู พันกับการดาเนนิ ชีวิตของมนุษย์ มาเป็นเวลาช้านาน หรือ อาจกล่าวได้ว่า “วัสดุศาสตร์อยู่รอบตัวเรา” ซึ่งวัตถุต่าง ๆ ล้วนประกอบข้ึนจากวัสดุ โดยการ พัฒนาสมบตั ขิ องวสั ดุให้สามารถใชง้ านในด้านต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันได้มากข้ึน ทาให้วัสดุที่ใช้ ในปัจจุบันมีความแข็ง ความยืดหยุ่น นาไฟฟ้า หรือนาความร้อนได้ดี ตามความเหมาะสมของ การใชง้ าน 3. ขยะมูลฝอยที่เราพบเห็นในชีวิตประจาวัน เริ่มทวีคูณเพิ่มปริมาณข้ึนเร่ือย ๆ เพ่ือให้มีปริมาณขยะท่ีลดน้อยลง เราต้องมีการจัดการขยะมูลฝอยให้ถูกวิธี เพ่ือลดผลกระทบท่ี จะเกิดขึ้นกับส่ิงแวดล้อมมากท่ีสุด ในปัจจุบันการจัดการขยะมูลฝอยมีหลากหลายวิธี เป็นการ ผสมผสานเพื่อให้เป็นกระบวนการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาของขยะมูล ฝอย การจัดการขยะมูลฝอยข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง มีความยืดหยุ่น ไม่มีรูปแบบที่ตายตัว ข้ึนกับเงื่อนไขและปัจจัยด้านการจัดการขยะมูลฝอยของท้องถิ่นนั้น ๆ เช่น พ้ืนที่หรือสถานท่ี ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน และ ในปัจจุบันวิธีการจากัดขยะอย่างง่าย ๆ ที่พบเห็น มี 2 วิธี คือ โดยการเผาไหม้และฝังกลบ 4. การคัดแยกวัสดุเป็นการลดปริมาณขยะที่เกิดข้ึนจากต้นทาง ได้แก่ ครัวเรือน สถานประกอบการหรือสถานท่ีสาธารณะ ทั้งนี้ ก่อนทิ้งขยะ ครัวเรือน หน่วยงาน หรือสถานที่ สาธารณะต่าง ๆ ควรจดั ใหม้ รี ะบบการคดั แยกวัสดุประเภทตา่ ง ๆ เพอื่ นาวัสดเุ หลา่ น้ันกลับไปใช้ ประโยชน์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ และเข้าสู่ระบบการคัดแยกวัสดุเพ่ือนาไปรีไซเคิล เป็นการ เปลยี่ นสภาพของวสั ดใุ หม้ มี ลู คา่ จากส่ิงที่ไม่เป็นประโยชน์ ให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่ และลด ค่าใชจ้ า่ ยในการกาจัดขยะที่เกดิ ขึ้น 5. การจัดการวัสดุอันตราย ถือเป็นเร่ืองสาคัญท่ีต้องใส่ใจให้มีการคัดแยกและการ จดั การทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม เพอื่ ปอ้ งกันความเสียหายท่ีจะเกดิ ข้นึ ตอ่ สขุ ภาพและสิ่งแวดล้อม โดย การลดปริมาณขยะอันตราย จากการเลือกซื้อ การใช้ การท้ิง รวมถึงการรวบรวม เพ่ือนาไปสู่ การจัดการขยะอันตรายท่ีถูกวิธี รวมไปถึงการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่ีเป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีหมดอายุการใช้งานไม่สามารถนากลับมาใช้ได้ โดยคานึงถึงความ จาเป็นทจ่ี ะต้องใชส้ ิ่งของเหล่านี้อย่างรู้คุณค่า และสามารถช่วยลดปริมาณขยะอันตรายให้เหลือ นอ้ ยทสี่ ดุ ได้

7 ขอบข่ายเนอ้ื หา จานวน 30 ชั่วโมง หน่วยท่ี 1 วสั ดศุ าสตรร์ อบตวั จานวน 20 ชัว่ โมง หนว่ ยที่ 2 การใช้ประโยชน์และผลกระทบ จานวน 15 ชว่ั โมง จานวน 30 ชว่ั โมง จากการใช้วสั ดุ จานวน 25 ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี 3 การจัดการเศษซากวสั ดุ หนว่ ยท่ี 4 การคดั แยกและการรไี ซเคิลวสั ดุ หน่วยที่ 5 การจัดการวสั ดอุ นั ตราย การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 1. บรรยาย 2. ศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเองจากสือ่ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 3. พบกล่มุ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นเรียนรู้ วเิ คราะห์ และสรปุ การเรยี นรู้ท่ไี ด้ ลงในเอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) ส่อื ประกอบการเรียนรู้ 1. ส่ือเอกสาร ได้แก่ 1.1 ชุดวชิ า วสั ดศุ าสตร์ 2 รหสั วชิ า พว22003 1.2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ ชดุ วิชา วัสดุศาสตร์ 2 2. สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ 2.1 เว็ปไซต์ 2.2 หนังสอื เรียนอิเล็กทรอนิกส์ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ 2.3 CD,DVD ท่ีเกีย่ วข้อง 3. แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน ไดแ้ ก่ 3.1 มุมหนงั สือ กศน.ตาบล 3.2 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอ 3.3 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั 3.4 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษา 3.6 เทศบาลและสานักงานส่งิ แวดลอ้ ม จานวนหน่วยกติ ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สตู ร จานวน 120 ชัว่ โมง รวม 3 หนว่ ยกิต

8 กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่ รายวิชาวัสดศุ าสตร์ 2 2. ศึกษาเนอื้ หาสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ทกุ หน่วย 3. ทากิจกรรมตามที่กาหนดและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยและแนวตอบ ในทา้ ยเล่มรายวิชาวสั ดศุ าสตร์ 2 4. ทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายรายวิชา วสั ดุศาสตร์ 2 การวดั และประเมินผล 1. การวดั และประเมนิ ผลรายวิชา แนวทางการวัดผลและประเมินผล ควรดาเนนิ การ ดงั นี้ 1.1 การวดั และประเมินผลกอ่ นเรียน ให้สถานศกึ ษาดาเนินการประเมนิ ผลกอ่ นเรียน โดยใช้แบบทดสอบก่อน เรยี น เพ่ือทดสอบความรู้ ทักษะ และความพรอ้ มต่าง ๆ ของผ้เู รียน เพ่ือใช้เปน็ ข้อมูลพื้นฐาน ในการจัดกระบวนกาเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม 1.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน จานวน 60 คะแนน ให้สถานศกึ ษาดาเนินการประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน ดว้ ยวิธีการสังเกต การซักถาม ตอบคาถาม ตรวจกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และทดสอบหลังเรียน เพอื่ ทราบความกา้ วหนา้ ทางดา้ นความรู้ ทกั ษะ เจตคตแิ ละพฤตกิ รรมการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น 1.3 การวัดและประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น จานวน 40 คะแนน ให้สถานศึกษาดาเนินการประเมนิ ผลปลายภาคเรียน โดยการทดสอบ ปลายภาคเรียน เพ่ือทราบผลการเรยี นโดยรวมของผู้เรียน 2. การตดั สินผลการเรียนรายวิชา ให้นาคะแนนระหวา่ งเรียนมารวมกบั คะแนนปลายภาคเรียน และจะตอ้ งได้ คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 จงึ จะถอื ว่าผ่านการเรียน แล้วนาคะแนนมาแปลความหมาย ออกเปน็ 8 ระดับ ดังน้ี ได้คะแนนร้อยละ 80 – 100 ใหร้ ะดบั 4 หมายถึง ดีเยี่ยม ได้คะแนนรอ้ ยละ 75 – 79 ใหร้ ะดับ 3.5 หมายถงึ ดีมาก ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ให้ระดับ 3 หมายถงึ ดี ได้คะแนนรอ้ ยละ 65 – 69 ใหร้ ะดบั 2.5 หมายถึง ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 – 64 ให้ระดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ได้คะแนนรอ้ ยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถงึ พอใช้

9 ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ให้ระดับ 1 หมายถึง ผ่านเกณฑ์ ขั้นตา่ ทก่ี าหนด ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถงึ ตา่ กว่าเกณฑ์ ขั้นตา่ ท่กี าหนด 3. ผลการตรวจให้คะแนน ข้อ 1.2 และข้อ 1.3 ให้ครูผู้สอนนามาเป็นข้อมูลใน การปรับปรุงและพฒั นาหลักสตู ร รวมถึงการจัดการเรยี นรู้ของครูผู้สอนในภาคเรียนตอ่ ไป

10 คณะผ้จู ดั ทำต้นฉบบั ทปี่ รึกษำ ผู้อานวยการสถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นายวิเชียรโชติ โสอบุ ล รองผ้อู านวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นายทรงเดช โคตรสนิ ผเู้ ช่ียวชำญเน้อื หำ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฐติ พิ งษ์ อุน่ ใจ อาจารย์ประจาวชิ าฟิสกิ ส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ผู้เชีย่ วชำญดำ้ นเทคโนโลยี ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ นายสทิ ธิพร ประสารแซ่ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ นายไพจติ ร ผดุ เพชรแก้ว สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ นายสชุ าติ สวุ รรณประทีป สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ นายสมชาย คาเพราะ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ผเู้ ชีย่ วชำญด้ำนวัดและประเมนิ ผล ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ นางสาวนาลวี รรณ บุญประสงค์ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ครู วทิ ยาฐานะครชู านาญการพเิ ศษ นางสาวฉันทลกั ษณ์ ศรผี า สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ นางแสงจนั ทร์ เขจรศาสตร์ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

11 คณะบรรณำธิกำร ตรวจสอบควำมถกู ต้องและพสิ จู นอ์ ักษร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐติ พิ งษ์ อุน่ ใจ อาจารย์ประจาวิชาฟสิ ิกส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี นางลดั ดา คัมภีระ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นางสาววิภานติ ย์ สุขเกษรม ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นางนิทรา วสเุ พ็ญ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื นางสวุ มิ ล ทรงประโคน ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นางทวีภรณ์ บุญลา ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นางแสงจันทร์ เขจรศาสตร์ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ครู กศน. อาเภอวาปีปทุม นางศรญั ญา โนนคเู่ ขตโขง ครู สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นางอรญั ญา บวั งาม ขา้ ราชการบานาญ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ผเู้ ขียน/รวบรวม/เรียบเรียง ครู กศน. อาเภอวาปปี ทุม จังหวัดมหาสารคาม นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ผ้อู อกแบบปก กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและ นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป์ การศึกษาตามอธั ยาศัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook